Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Published by Ople Papatsara, 2019-05-31 11:26:43

Description: รหัสวิชา 355112-กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Law and Ethics for Information and Communication Technology

Search

Read the Text Version

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 45 บญั ญัตคิ ุม้ ครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ความหมายของ กฎหมายคมุ้ ครองผู้บริโภค กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค คือ กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การ ด�ำ รงชวี ติ ของผคู้ นในทุกๆสังคม โดยจะเกย่ี วข้องกการใชบ้ รกิ าร และ การใช้สนิ ค้า เช่น มนุษยม์ ีความตอ้ งการอาหาร ยารักษา โรค มนษุ ย์จ�ำ เป็นต้องใช้บริการรถโดยสาร รถประจำ�ทาง เครอื่ ง บนิ เปน็ ตน้ เพอ่ื เอื้ออ�ำ นวยความสะดวกให้แก่ตนเอง เชน่ การใช้ โทรศพั ทม์ ือถอื ตดิ ตอ่ สอื่ สาร การใช้เอทีเอม็ ดังนน้ั การใช้บริการ ต่างๆ หรือ การบริโภค จำ�เป็นตอ้ งไดม้ ีคุณภาพอยา่ งถกู ต้อง และ ได้มาตรฐานตามท่ผี ู้ผลติ ได้โฆษณาเอาไว้ จงึ ท�ำ ให้ รัฐบาลซงึ่ อยใู่ น ฐานะเปน็ ผู้คมุ้ ครองดแู ลประชาชน เมื่อไหรก่ ต็ ามที่พบวา่ ประชาชน ได้รบั ความเดอื ดรอ้ นหรือความเสียหายจากการใชส้ นิ คา้ และ บรกิ าร จะตอ้ งรีบเขา้ มาคุ้มครอง และ แกไ้ ขปญั หาเหล่านน้ั อยา่ งทัน ทว่ งทใี ห้แก่ประชาชน นอกจากน้ี ยังมี ศ.ชยั วฒั น์ วงศ์วัฒนศานต์ ยงั ให้ความหมาย ของกฎหมายคมุ้ ครองผบู้ ริโภคว่า คอื กฎหมายหนง่ึ ที่มงุ่ ท่ีจะคมุ้ ครอง แก่ประโยชนข์ องผู้บรโิ ภค กฎหมายใดก็ตามท่มี สี ่วนคมุ้ ครอง กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 46 บัญญตั ิคมุ้ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2522 ประโยชนข์ องผูบ้ รโิ ภคในสว่ นที่เก่ียวกบั ผปู้ ระกอบกจิ การธุรกิจซ้งึ เปน็ กฎหมายคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ดงั นั้นกฎหมายคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภคจึงมี หลากหลายฉบบั ไม่เพยี งแค่มีพระราชบัญญัติค้มุ ครองผู้บรโิ ภคเพยี ง แค่ฉบบั เดยี วเทา่ นัน้ [1] หากแตก่ ฎหมายในแตล่ ะฉบับจะมอี �ำ นาจ หน้าทีใ่ นการมุ่งคุม้ ครองผบู้ ริโภคที่แตกต่างกนั ออกไป โดยจะมหี นว่ ย งานราชการซ่งึ ทำ�หนา้ ท่บี ังคบั ใช้ให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเป็น ธรรม ซึ่งหนว่ ยราชการดังทก่ี ล่าวมาจะกระจายอยูต่ ามกระทรวงตา่ ง แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคซง่ึ มีหนา้ ทค่ี ุ้มครองสิทธิผู้บริโภค โดยตรง คอื พระราชบัญญตั ิค้มุ ครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึง ได้แก้ไขเพ่มิ เตมิ มาจากพระราชบญั ญตั คิ ณะกรรมการคมุ้ ครองผู้ บริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ไดก้ �ำ หนดเอาไวว้ ่าให้ผบู้ รโิ ภคมสี ทิ ธิ ได้รับความคมุ้ ครองตามกฎหมาย ตาม 5 ประการดงั ตอ่ ไปนี้ 1.1 สทิ ธจิ ะไดร้ บั ข่าวสาร รวมทัง้ คำ�ติชมคณุ ภาพที่ถูกต้องใน สินคา้ หรือบริการ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 47 บญั ญัติคุ้มครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 1.2 สทิ ธิในการไดอ้ ิสระในการเลอื กบรโิ ภคสนิ คา้ และบริการ 1.3 สทิ ธใิ นการได้รบั ความปลอดภยั จากการบรโิ ภคสินคา้ หรอื บริการ 1.4 สิทธทิ ่ีจะได้รบั ความเปน็ ธรรมจากสญั ญาหรอื การท�ำ สัญญา 1.5 สทิ ธิท่ีจากการท่จี ะไดร้ ับการพิจารณาและเยยี วยาความเสีย หาย 2. กฎหมายการคุ้มครองผูบ้ ริโภคมีหลกั เกณฑแ์ ละหนา้ ที่ จาก มาตรา 3 ว่าด้วยเรือ่ งบทนิยามของผู้บรโิ ภค บญั ญตั วิ ่า กฎหมายน้ันไมไ่ ดค้ ุ้มครองเพยี งแคผ่ ้ซู ้ือเท่านัน้ แตย่ งั รวมถงึ ผู้รบั บรกิ ารโดยเสียค่าตอบแทนอ่ืนๆ เชน่ สญั ญาจา้ งท�ำ ของ หรือ สัญญา เช่าซือ้ ด้วย ไปนอกจากน้ี ปี 2541 ไดม้ กี ารแก้ไขนยิ ามของ ผ้บู รโิ ภค ข้ึนใหม่วา่ คอื ผูไ้ ดร้ บั บรกิ ารจากผ้ปู ระกอบธุรกจิ หรือผู้ซือ้ หรอื เป็นบคุ คลทถี่ ูกชกั ชวนจากผู้ประกอบกิจการด้านธรุ กจิ เพอ่ื ให้บริโภค สนิ ค้า หรอื บริการ อกี ท้ังยังรวมถึงผูใ้ ช้สินค้า จากผูป้ ระกอบธุรกจิ โดยชอบแม้จะมไิ ด้เปน็ ผเู้ สยี ค่าตอบแทนก็ตามที กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 48 บัญญตั ิคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ส่วน หน้าที่ สามารถทำ�ได้โดยการเขา้ ไปตรวจสอบหรอื ควบคุมก�ำ กบั ดูแลผปู้ ระกอบกจิ การด้านธุรกจิ ทผ่ี ลิตทำ�การสินคา้ และบริการ เพ่อื ใหผ้ บู้ ริโภคไดร้ ับความเปน็ ธรรม และความปลอดภยั ต่อการเลือกใชส้ ินคา้ และตอ่ การรับบริการ ซงึ่ สามารถแบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 2.1 กฎหมายคมุ้ ครองเพ่ือท่ีจะใหผ้ ูบ้ รโิ ภคมคี วามปลอดภัยในการ บริโภคสินค้าและรับบริการ 2.2 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคเพ่อื ท่จี ะให้ผู้บรโิ ภคได้รับความ เป็นธรรมในการบรโิ ภคสนิ ค้าและรบั บรกิ าร - หน่วยงานท่ีคุ้มครองผบู้ รโิ ภคมหี ลายแบบและกระจายออกไป ตามประเภทของการบริโภคสนิ ค้าและบริการ เชน่ 1. ในกรณที ปี่ ระชาชนไดร้ บั ความเสยี หายจาก อาหาร ยา หรอื เคร่ืองส�ำ อาง เปน็ หนา้ ท่ขี องส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา สงั กัดของกระทรวงสาธารณาสุข ทจ่ี ะต้องเขา้ มาดแู ลประชาชนผูไ้ ด้ รับความเสียหาย กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 49 บญั ญัตคิ ุ้มครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. 2522 2. ในกรณีท่ีประชาชนมีความเดอื ดรอ้ นเก่ียวกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ จะเป็นหน้าที่ของส�ำ นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม ใน สังกดั ของกระทรวงอตุ สาหกรรม เข้ามาดูแล 3. ในกรณีทป่ี ระชาชนได้รบั ความเดือดร้อนเกยี่ วกบั เจา้ ของ ธรุ กิจอสงั หาริมทรัพย์ เช่น จดั สรรทีด่ ิน อาคารชดุ เป็น หน้าที่ ของกรมท่ีดนิ กระทรวงมหาดไทย ที่จะเข้ามาให้ความดแู ล 4. ในกรณีทีป่ ระชาชนมคี วามเดือดร้อนเก่ยี วกับด้านคุณภาพ หรอื ราคาสนิ คา้ อปุ โภคบริโภคทีไ่ ม่เป็นธรรม เป็นหนา้ ทขี่ องกรมการ ค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เข้ามาดแู ลกำ�กับ 5. ในกรณีทป่ี ระชาชนไดม้ ีความเดือดร้อนเก่ียวกับ ประกันชีวติ หรือ ด้านประกันภัย เปน็ หน้าท่ีของกรมการประกันภัย กระทรวง พาณิชย์ ท่ีดแู ลประชาชน นอกจากนี้ ผู้บริโภคจะต้องปฏิบตั หิ น้าท่โี ดยไม่ขัดต่อกฎหมาย ซ่งึ หน้าทขี่ องผู้บรโิ ภคท่ีควรปฏบิ ัติ คือ 1) ผูบ้ ริโภคต้องใชค้ วามระมดั ระวงั ในการซ้ือสินคา้ หรอื เข้ารบั บริการ เช่น ตรวจสอบฉลาก กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 50 บญั ญัติคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 2) การเขา้ ทำ�สัญญาตามกฎหมาย โดยการลงลายมือชือ่ ตอ้ ง ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและชดั เจนในสญั ญา อย่างละเอยี ด 3) ผู้บรโิ ภคมีหน้าที่เกบ็ หลกั ฐานเอาไว้ เพ่ือประโยชนใ์ นการทีจ่ ะ สามารถกลับมาเรียกรอ้ งคา่ เสยี หาย กรณีทีเ่ กดิ ความเสียหายขึ้นแก่ 4) เมอ่ื ผ้บู ริโภคถกู ละเมดิ สทิ ธิของตน ผบู้ ริโภคควรทำ�การ เรยี กร้องตอ่ หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งหรอื ต่อคณะกรรมการท่ีทำ�หนา้ ท่ี คุม้ ครองผู้บริโภคโดยตรง[2] วธิ กี ารคุ้มครองผู้บรโิ ภค ตามหลักทว่ั ไป ในมาตรา 21 บัญญัติวา่ ในกรณที ่ีวา่ ด้วยการใดกฎหมายบัญญัติเรื่องใดไวโ้ ดยเฉพาะแล้วใหบ้ งั คบั ตาม บทบญั ญัติแห่งกฎหมายวา่ ด้วยการนัน้ และใหน้ ำ�บทบญั ญตั ิใน หมวดนีไ้ ปใชบ้ ังคับได้เทา่ ทีไ่ ม่ซ�ำ้ หรือขัดกบั บทบญั ญตั ิดังกล่าว เว้น แต่ 1.ในกรณีมคี วามจำ�เปน็ เพื่อประโยชนข์ องผูบ้ ริโภคโดยการส่วน รวม หากวา่ เจา้ หนา้ ที่ผู้มีอำ�นาจตามกฎหมายดงั กล่าว มิได้มีการ ดำ�เนนิ การหรือดำ�เนินการยังไมค่ รบขั้นตอนตามกฎหมายวา่ ด้วยการ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 51 บัญญัตคิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 นั้น และยงั มิไดอ้ อกค�ำ ส่ังเกยี่ วกบั การคุ้มครองผู้บรโิ ภคตามกฎหมาย ดงั กลา่ วภายใน 90 วันนบั แตว่ ันที่ไดร้ ับหนงั สอื แจง้ จากกรรมการ เฉพาะเรอื่ งหรอื คณะกรรมการเสนอเรอ่ื งใหน้ ายกรฐั มนตรีพจิ ารณา ออกคำ�สัง่ ตามความในหมวดนี้ 2. ในกรณีตาม ขอ้ 1 ถา้ มีความจ�ำ เปน็ เรง่ ดว่ นอันมอิ าจปลอ่ ย ใหเ้ นิน่ ชา้ ต่อไปได้ ใหค้ ณะกรรมการเฉพาะเรอื่ งหรอื คณะกรรมการ เสนอเร่ืองใหน้ ายกรฐั มนตรพี ิจารณาออกค�ำ สง่ั ตามความในหมวดน้ี ไดโ้ ดยไมต่ ้องมหี นังสือแจ้งหรอื รอใหค้ รบกำ�หนด 90 วนั ตามเงอื่ นไข ใน ขอ้ 1[3] หลักทัว่ ไปของการบังคับใช้กฎหมาย เมื่ออมกี ฎหมายฉบับใดไดใ้ ห้อำ�นาจกระทำ�การค้มุ ครอง ผู้บริโภคเปน็ การเฉพาะแลว้ ต้องมีการบังคับตามกฎหมายฉบบั นั้น ดว้ ย เช่น กรณที ่ีผูบ้ รโิ ภคถกู ละเมดิ สิทธิในเรื่องอาหาร ผู้บรโิ ภค สามารถไปร้องเรยี นตอ่ สำ�นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาซงึ่ เป็นหนว่ ยงานทีม่ อี ำ�นาจหน้าท่ี ในการขอรบั การคมุ้ ครองเรอ่ื งสนิ คา้ อาหารเท่านนั้ แตถ่ ้าไมม่ ีกฎหมายใด หรอื หนว่ ยงานใดระบวุ า่ ให้ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 52 บัญญตั ิค้มุ ครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ความคมุ้ ครองเปน็ การเฉพาะแล้วจึงตอ้ งใช้ พระราชบัญญตั คิ ุ้มครอง ผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึง่ ใหค้ วามคุม้ ครองในดา้ นสินคา้ และบริการ ทัว่ ไป เมอ่ื ผู้บรโิ ภคโดนละเมดิ สิทธิ หรือ ไม่ไดร้ ับความเป็น ธรรมจากผปู้ ระกอบกิจการธรุ กิจเพราะเหตจุ ากการใชส้ ินค้าหรือ บริการ ผู้น้นั ยอ่ มได้รบั ความคุ้มครองตามกฎหมาย โดยสามารถ ทำ�การร้องเรยี นไดท้ ส่ี �ำ นักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภค คณะ กรรมการคุ้มครองผูบ้ ริโภค ประจำ�จงั หวัด หรือจากหน่วยงานท่มี ี ความเกีย่ วข้องกบั เรอ่ื งนน้ั และเมอ่ื สำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครอง ผู้บรโิ ภคได้รับแจง้ เรอื่ งรอ้ งเรียนแล้ว จะเรยี กใหค้ กู่ รณมี าเจรจาไกล่ เกลย่ี เพือ่ ยตุ ิขอ้ พิพาท และ ชดใชค้ ่าเสียหายได้ ซึง่ หากไม่สามารถ เจรจาไกลเ่ กลย่ี กัน ทางคณะกรรมการคุ้มครองผ้บู รโิ ภคก็มอี �ำ นาจ ในการด�ำ เนินคดีแทนผูบ้ ริโภค ซ่งึ พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522จะ เปน็ กฎหมายฉบบั เดยี วทมี่ ีอ�ำ นาจในการดำ�เนนิ คดี แทนผู้บริโภค เพ่ือฟ้องเอาคา่ เสียหายให้แก่ผบู้ ริโภค ผซู้ ึ่งถกู ละเมิด สทิ ธิจากการใชส้ นิ คา้ และการรับบริการ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 53 บญั ญัติคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 กฎหมายดา้ นการโฆษณา กฎหมายดา้ นการโฆษณา ความจ�ำ เปน็ ของรัฐในการออกกฎหมายเพื่อคมุ้ ครอง สทิ ธผิ บู้ ริโภคหากมองจากสภาพทางเศรษฐกจิ คงจะเป็นผลสืบ เนือ่ งจากระบบเศรษฐกจิ เสรี (Laisser Fair) ซง่ึ เปน็ ระบบทเี่ ปดิ โอกาสใหเ้ อกชนแข่งขันในทางการค้าโดยรฐั ไม่เขา้ ไปยงุ่ เก่ยี ว จน กระท่ังเกิดการผูกขาดโดยระบบทุนและกำ�ไรในการผลิต เกิดความ คิดในการใชง้ านโฆษณาเพอ่ื จำ�หน่ายสนิ ค้าและบริการโฆษณาถูกน�ำ มาใชอ้ ยา่ งต่อเน่ือง ทุกวนั นี้รัฐไดเ้ ลง็ เห็นปัญหาและความเสยี เปรียบ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ กับผู้บรโิ ภคในการตัดสนิ ใจทจี่ ะซอ้ื สินค้าหรือบรกิ าร รฐั มีหนา้ ท่ีต้องรับผิดชอบอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อคมุ้ ครอง สทิ ธขิ องผบู้ รโิ ภคไวจ้ ึงไดต้ รากฎหมายขน้ึ และดำ�เนนิ การโดยฝา่ ย ปกครองเพือ่ คุ้มครองสิทธิและเขา้ ไปด�ำ เนินคดที ีส่ ิทธผิ บู้ ริโภคถกู ละเมิด เพราะการโฆษณาไดฝ้ า่ ฝืนขอ้ ห้ามหรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย กฎหมายที่นักส่ือสารมวลชนหรือผปู้ ระกอบอาชีพโฆษณาควรรู้ ได้แก่ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทท่ี 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 54 บญั ญตั คิ มุ้ ครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 1. พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 แก้ไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2541 2. พระราชบัญญตั ิยา พ.ศ. 2510 , 2518 , 2522 3. พระราชบัญญัตอิ าหาร พ.ศ. 2522 4. พระราชบญั ญัตวิ ตั ถุออกฤทธต์ิ ่อจิตประสาท พ.ศ. 2518 5. พระราชบัญญัตเิ ครื่องส�ำ อาง พ.ศ. 2535 6. พระราชบญั ญัติวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 1.) พระราชบัญญัติคุ้มครองผ้บู ริโภค พ.ศ.2522 แก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ.2541 ผบู้ ริโภคมสี ิทธจิ ะได้รบั ความค้มุ ครองตามกฎหมาย 1.สิทธิที่จะได้รบั ข่าวสารรวมท้ังค�ำ พรรณนาคณุ ภาพทถ่ี กู ต้องและ เพยี งพอเก่ียวกบั สินค้าหรอื บรกิ าร 2.สิทธิท่ีจะมีอสิ ระในการเลอื กหาสินค้าและบริการ 3.สิทธทิ ีจ่ ะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใช้สนิ คา้ หรือบริการ (3.ทว)ิ สิทธทิ จี่ ะไดร้ บั ความเป็นธรรมในการท�ำ สญั ญา 2 4.สทิ ธทิ ีจ่ ะไดร้ บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย(มาตรา4) กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 55 บัญญตั ิคุ้มครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2522 กฎหมายด้านการโฆษณายา 2. )พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 “ผูอ้ นุญาต” หมายความว่า 1. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรอื ผซู้ งึ่ คณะกรรมการ อาหารและยามอบหมาย ส�ำ หรับการอนญุ าตผลติ ยา หรือการนำ� หรือสงั่ ยาเขา้ มาในราชอาณาจักร 2. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ซึ่งเลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยามอบหมาย สำ�หรับการขายยาใน กรงุ เทพมหานคร 3. ผ้วู า่ ราชการจังหวัดส�ำ หรับการอนญุ าตขายยาในจังหวดั ที่อยใู่ น เขตอำ�นาจนอกจากกรงุ เทพมหานคร “คณะกรรมการ” หมายความ วา่ คณะกรรมการยาตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี ก. ขอ้ ห้ามและระเบยี บปฏิบตั ิ พระราชบญั ญัตยิ าได้วางบรรทดั ฐานในการโฆษณาขายยาไว้ใน หมวด 11 การโฆษณายามี ทัง้ ข้อห้าม แนวปฏบิ ัติ และบทลงโทษ หากมกี ารฝา่ ฝนื ตามบทบัญญัติ ดังน้ี กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 56 บญั ญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 1. การโฆษณาขายยาจะต้อง 1.1 การโฆษณาจะตอ้ งคำ�นงึ (1) ไม่เป็นการโอ้อวดสรรพคณุ ยาหรือวตั ถอุ ันเป็นส่วน ประกอบของยาว่าสามารถบำ�บดั บรรเทา รักษา หรอื ปอ้ งกนั โรค หรือความเจบ็ ปว่ ยได้ อย่างศกั ดส์ิ ิทธ์ิ หรอื หายขาด หรอื ใชถ้ ้อยค�ำ อนื่ ใดทมี่ ี ความหมายทำ�นองเดียวกัน (2) ไมแ่ สดงสรรพคณุ ยาอันเป็นเทจ็ หรอื เกนิ ความจริง (3) ไมท่ ำ�ให้เขา้ ใจวา่ วตั ถุใดเป็นตวั ยาหรอื ส่วนประกอบ ของยา ซึ่งความจริงไมม่ ีส่วนประกอบหรือวัตถุ น้ันในยาหรอื มแี ต่ไม่ทำ�ทเ่ี ข้าใจผดิ (4) ไมท่ �ำ ใหเ้ ข้าใจว่าเปน็ ยาทำ�ให้แทง้ ลกู หรอื ยาขับระดู อยา่ งแรง (5) ไมท่ �ำ ให้เข้าใจวา่ เป็นยาบำ�รุงกามหรอื คมุ กำ�เนดิ (6) ไม่แสดงสรรคณุ อันตราย หรอื ยาคมุ พิเศษ (7) ไมม่ ีการรบั รองหรือยกย่องสรรพคณุ ยาโดยบคุ คลอื่น กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 57 บญั ญัติคุม้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 (8) ไม่แสดงสรรพคุณยาวา่ สามารถบ�ำ บดั บรรเทา รกั ษา หรอื ปอ้ งกันโรคหรอื อาการของโรคท่ีรฐั มนตรี ประกาศตามมาตรา 77 1.2 ห้ามมใิ ห้โฆษณาขายยาโดยไม่สภุ าพหรอื การร้องร�ำ ทำ�เพลง หรือแสดงความทกุ ข์ทรมานของผู้ป่วย(มาตรา 89) 1.3 ห้ามมิใหม้ ีการโฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพกหรอื ออกสลาก รางวลั (มาตรา 90) 2. วิธีปฏิบตั ใิ นการโฆษณา การโฆษณาขายยาทางวทิ ยุกระจาย เสยี ง เครือ่ งขยายเสยี ง วิทยโุ ทรทศั น์ ทางฉายภาพหรือทาง ภาพยนตร์หรอื ทางส่งิ พิมพจ์ ะตอ้ ง (1) ได้รับอนุญาตขอ้ ความเสียง หรอื ภาพท่ใี ชใ้ นการโฆษณาจากผู้ อนุญาต (2) ปฏบิ ัติตามเงอ่ื นไขท่ผี อู้ นุญาตก�ำ หนด (มาตรา 88 ทว)ิ 3. อ�ำ นาจการสงั่ การ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามี อำ�นาจส่ังเป็นหนังสือให้ระงับการโฆษณาขายยาทีเ่ ห็นวา่ เป็นการ โฆษณาโดยฝา่ ฝนื พระราชบัญญัตนิ ้ไี ด้ (มาตรา 90 ทวิ) กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 58 บญั ญตั คิ มุ้ ครองผูบ้ ริโภค พ.ศ. 2522 ข. บทก�ำ หนดโทษ หากผใู้ ดฝา่ ฝืนข้อห้าม แนวทางปฏิบัติจะต้องได้รับโทษตาม กฎหมาย ดังน้ี (1) ผู้ใดโฆษณาขายยาโดยฝ่าฝนื มาตรา 88 มาตรา 88 ทวิ มาตรา 89 และมาตรา 90 ต้องระวางโทษ จำ�คุกไม่เกนิ 6 เดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ หน่งึ หมน่ื บาท หรือทัง้ จ�ำ ท้งั ปรบั (มาตรา 124) (2) ผูใ้ ดฝ่าฝนื คำ�สง่ั ใหร้ ะงบั การโฆษณาขายยาของคณะกรรมการ อาหารและยา ซง่ึ ส่ังตามมาตรา 90 ทวิ ตอ้ งระวางโทษจ�ำ คุกไม่เกิน 3 เดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ หา้ พนั บาท หรอื ท้งั จ�ำ ทง้ั ปรบั และใหป้ รับ รายวันอีกวนั ละหา้ รอ้ ยจนกวา่ จะปฏบิ ตั ติ ามคำ�สง่ั ดังกล่าว (มาตรา 124 ทว)ิ กฎหมายด้านการโฆษณาอาหาร 3.) พระราชบัญญัติว่าด้วยอาหาร พ.ศ. 2522 ขอ้ หา้ มและระเบยี บปฏบิ ตั ิ เพือ่ ควบคมุ ให้มีการโฆษณาไม่เปน็ พษิ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 59 บญั ญัตคิ มุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ภัยต่อผูบ้ รโิ ภค พระราชบญั ญัตนิ จ้ี งึ ได้กำ�หนดไวว้ ่า 1.ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาคณุ ประโยชน์ คณุ ภาพ หรือ สรรพคณุ ของอาหารอนั เป็นเท็จ หรือเปน็ การหลอหลวงให้เกดิ ความ หลงเชอ่ื โดยไม่สมควร ( มาตรา 40 ) 2. ผใู้ ดประสงคจ์ ะโฆษณาคณุ ประโยชน์ คุณภาพ หรือ สรรพคุณของอาหารทางวิทยกุ ระจายเสียงวิทยโุ ทรทศั น์ ทางฉาย ภาพ หรอื ทางหนงั สอื พิมพ์หรอื หนังสอื พมิ พ์อ่นื หรือด้วยวิธีอน่ื เพ่อื ประโยชน์ในทางการคา้ ต้องน�ำ เสียง ภาพ ภาพยนตร์ หรือขอ้ ความ ทจ่ี ะโฆษณาดงั กลา่ วนนั้ ใหผ้ ู้อนุญาตตรวจพิจารณากอ่ น เม่อื ได้รับ อนญุ าตแล้วจงึ จะโฆษณาได้ ( มาตรา 41 ) 3.เพื่อพทิ กั ษป์ ระโยชน์ และความปลอดภัยของผ้บู ริโภค ให้ผู้ อนญุ าตมอี �ำ นาจส่งั เปน็ หนงั สืออย่างใดอยา่ งหนึง่ ดังน้ี 3.1 ใหผ้ ู้ผลิตน�ำ เข้าหรอื จำ�หน่ายอาหาร หรือผ้ทู ำ�การ โฆษณาระงับการโฆษณาอาหารท่ีเห็นว่าเป็นการโฆษณาโดยฝ่าฝนื มาตรา 41 3.2 ให้ผูผ้ ลิตผนู้ �ำ เข้าหรอื จ�ำ หน่ายอาหาร หรอื ผู้ท า กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 60 บัญญัติคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 การโฆษณาอาหาร ระงับการผลิตการนำ�เขา้ การจ�ำ หน่าย หรอื การโฆษณาอาหารท่ีคณะกรรมการเหน็ ว่าอาหารดังกล่าวไม่มีคณุ ประโยชน์ คุณภาพ หรอื สรรพคุณตามท่โี ฆษณา ( มาตรา 42 ) ก. บทกำ�หนดโทษ หากผู้ใดฝา่ ฝนื ไม่ปฏบิ ตั ิตามต้องรบั โทษ ดังนี้ 1 ผใู้ ดโฆษณาอาหารโดยฝ่าฝนื มาตรา 40 ตอ้ งระวางโทษจ�ำ คกุ ไม่ เกนิ สามปหี รอื ปรับไมเ่ กินหรือปรบั ไม่เกนิ สามหมนื่ บาท หรอื ทง้ั จำ�ทั้ง ปรับ ( มาตรา 70 ) 2 ผใู้ ดฝา่ ฝนื มาตรา 41 ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกินห้าพนั บาท ( มาตรา 71 ) 3 ผู้ใดฝ่าฝืนค�ำ สัง่ ของผู้อนญุ าตซึ่งสั่งตามมาตรา 42 ต้องระวาง โทษจ�ำ คกุ ไม่เกนิ สอง ปหี รือปรับไมเ่ กินสองหมน่ื บาทหรอื ทง้ั จ�ำ ทัง้ ปรับ และใหป้ รับเปน็ รายวนั อกี วันละไมน่ อ้ ยกวา่ ห้ารอ้ ยบาทแตไ่ ม่ เกนิ หน่ึงพันบาทตลอดเวลาทไี่ มป่ ฏบิ ตั ิตามคำ�สงั่ ดงั กลา่ ว ( มาตรา 72 ) กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 61 บัญญัติคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 กฎหมายดา้ นการโฆษณาวัตถุออกฤทธติ์ ่อจติ ประสาท 4.) พระราชบัญญัตวิ ัตถอุ อกฤทธ์ิต่อจติ ประสาท พ.ศ. 2518 มาตรา 48 หา้ มมใิ ห้ผูใ้ ดโฆษณาเพ่อื การค้า ซึง่ วัตถอุ อกฤทธ์เิ วน้ แต่ (1) การโฆษณาซง่ึ กระทำ�โดยตรงต่อผูป้ ระกอบอาชีพ เวชกรรม ผู้ ประกอบโรคศลิ ปะแผนปัจจบุ ันชั้นหน่งึ ในสาขาทนั ตกรม เภสัชกร หรอื ผู้ประกอบการบ�ำ บดั โรคสัตวช์ ้ันหน่ึง (2) เปน็ ฉลากหรือเอกสารก�ำ กับวัตถุออกฤทธิท์ ่ีภาชนะ หรหิ บี หอ่ บรรจวุ ตั ถอุ อกฤทธ์ิ วตั ถุออกฤทธ์ิ หมายความวา่ วัตถทุ ่ีออกฤทธ์ิ ตอ่ จติ ประสาท ท่ีเป็นส่งิ ธรรมชาตหิ รือทไ่ี ด้จากสงิ่ ธรรมชาติ หรอื วตั ถุออกฤทธ์ิต่อจติ และประสาททีเ่ ปน็ วตั ถุสังเคราะห์ ทง้ั นี้ตามที่ รฐั มนตรีประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เอกสารกำ�กบั วตั ถอุ อกฤทธ์ิ หมายความวา่ กระดาษหรือสง่ิ อนื่ ใดที่ท�ำ ใหป้ รากฏความหมายด้วย รูป – รอย ประดษิ ฐ์ หรอื ข้อความใดๆ อันเก่ียวกับวตั ถอุ อกฤทธิ์ ซ่ึง สอดแทรกหรอื รวบรวมไว้กับภาชนะ หรอื หีบห่อบรรจุวตั ถอุ อกฤทธิ์ ( มาตรา 4 ) กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 62 บัญญตั ิคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 กฎหมายดา้ นการโฆษณาวัตถอุ ันตราย 5.) พระราชบญั ญตั ิวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 มาตรา 51 การควบคุมการโฆษณาวัตถุอันตราย ใหเ้ ปน็ ไปตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครอง ผู้บรโิ ภค และเพือ่ ประโยชนใ์ นการควบคุมโฆษณาใหถ้ ือวา่ วตั ถุ อันตรายที่มีการกำ�หนดฉลากตามมาตรา 20 ( 1 ) เปน็ สนิ คา้ ท่ีมีการ ควบคุมฉลาก โดยคณะกรรมการควบคมุ ฉลากตามกฎหมายดังกล่าว โดยอนโุ ลม วัตถอุ ันตราย หมายความว่า วัตถดุ ังต่อไปนี้ 1 วตั ถรุ ะเบิดได้ 2 วตั ถุไวไฟ 3 วตั ถุออกซไิ ดซแ์ ละวัตถุเปอร์ออกไซด์ 4 วัตถมุ ีพิษ 5 วัตถุท่ที �ำ ใหเ้ กิดโรค 6 วตั ถุกมั มันตรังสี 7 วัตถทุ ่ีกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรม กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 7. กฎหมายดา้ นการโฆษณาพระราช 63 บญั ญัติคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 8 วัตถุกดั กรอ่ น 9 วัตถทุ ่กี อ่ ให้เกดิ ระคายเคือง 10 วัตถุอยา่ งอ่ืน ไม่วา่ จะเปน็ เคมีภณั ฑ์ หรือสงิ่ อน่ื ใด ทีอ่ าจท�ำ ให้ เกิดอนั ตรายแกบ่ ุคคล สัตว์ พืชทรัพย์ หรือสง่ิ แวดลอ้ ม ( มาตรา4)   กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 8 กฎ พระราชบ

ฎหมายด้านภาพยนตร์ บญั ญตั ิภาพยนตรแ์ ละวีดที ัศน์ พ.ศ. 2551

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 66 บัญญตั ิภาพยนตรแ์ ละวดี ีทศั น์ บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราชบญั ญตั ิ ภาพยนตร์และวดี ที ัศน์ พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติน้ีมบี ทบญั ญัตบิ างประการเกยี่ วกับการจ�ำ กัด สิทธิและเสรภี าพของบคุ คล ซ่งึ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย บญั ญตั ิให้กระทำ�ได้โดยอาศัยอำ�นาจตามบทบญั ญัติ แห่งกฎหมายจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญัติ ขนึ้ ไวโ้ ดยค�ำ แนะนำ�และยินยอมของสภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่ ชาติ ดงั ต่อ ไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ เี้ รยี กวา่ “พระราชบญั ญัติ ภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั น์ พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญตั ินี้ให้ใชบ้ งั คบั เม่ือพ้นก�ำ หนดเกา้ สิบวันนับ แต่วันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ (๑) พระราชบญั ญตั ภิ าพยนตร์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๓ (๒) พระราชบัญญัตภิ าพยนตร์ (ฉบับท่ี ๒) พทุ ธศักราช ๒๔๗๙ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 67 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวดี ีทัศน์ (๓) ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ที่ ๒๐๕ ลงวันที่ ๙ กนั ยายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๕ (๔) พระราชบัญญตั ิควบคมุ กจิ การเทปและวัสดโุ ทรทศั น์ พ.ศ. ๒๕๓๐ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “ภาพยนตร”์ หมายความว่า วสั ดุทมี่ กี ารบนั ทกึ ภาพ หรือ ภาพและเสียงซงึ่ สามารถน�ำ มาฉายให้เหน็ เป็นภาพทเี่ คลื่อนไหวได้ อยา่ งต่อเน่อื ง แต่ไมร่ วมถึงวดี ทิ ศั น์ “วีดิทศั น”์ หมายความวา่ วสั ดทุ ี่มีการบนั ทกึ ภาพ หรือภาพ และเสียงซงึ่ สามารถนำ�มาฉายให้เหน็ เป็นภาพทีเ่ คลอ่ื นไหวได้อย่าง ต่อเนอ่ื งในลักษณะท่เี ป็นเกมการเล่น คาราโอเกะทีม่ ีภาพประกอบ หรอื ลกั ษณะอ่ืนใดตามทกี่ ำ�หนดในกฎกระทรวง “ภาพยนตรไ์ ทย” หมายความว่า ภาพยนตรท์ ใ่ี ชภ้ าษาไทย หรือภาษาท้องถ่ินของประเทศไทยท้ังหมดหรือเป็นส่วนใหญใ่ นบท ภาพยนตร์ตน้ ฉบบั ส�ำ หรับการแสดงภาพยนตรแ์ ละเจา้ ของลิขสทิ ธ์ิ เปน็ ผมู้ สี ัญชาตไิ ทย กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 68 บัญญตั ิภาพยนตรแ์ ละวีดที ศั น์ “สรา้ งภาพยนตร์” หมายความว่า การผลติ ถา่ ย อดั บันทึก หรอื ทำ�ด้วยวิธกี ารใด ๆ เพื่อใหเ้ ป็นภาพยนตร์ “ฉาย” หมายความว่า การนำ�ภาพยนตรห์ รือวดี ิทศั น์มากระ ท�ำ ใหป้ รากฏภาพ หรอื ภาพและเสียงดว้ ยเครื่องฉาย หรอื เครื่องมือ อ่ืนใด และใหห้ มายความรวมถงึ การถ่ายทอดด้วย “สอื่ โฆษณา” หมายความว่า สงิ่ ที่ใช้เปน็ ส่อื ในการโฆษณา หรอื ประชาสัมพนั ธ์ภาพยนตรห์ รอื วดี ิทศั น์ แลว้ แตก่ รณี “โรงภาพยนตร”์ หมายความวา่ สถานทีฉ่ ายภาพยนตร์ ดัง ต่อไปนี้ ทงั้ นี้ เท่าทม่ี ไิ ดอ้ ยภู่ ายใต้บังคับตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการ ประกอบกจิ การกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (๑) อาคารหรือสว่ นใดของอาคารท่ีใช้เปน็ สถานทสี่ �ำ หรับฉาย ภาพยนตร์ (๒) สถานที่กลางแจง้ ส�ำ หรบั ฉายภาพยนตร์ (๓) สถานท่อี ่นื ตามทก่ี ำ�หนดในกฎกระทรวง “รา้ นวีดทิ ัศน์” หมายความว่า สถานท่ที จ่ี ัดให้มเี ครือ่ งมอื หรอื อปุ กรณต์ ลอดจนสิง่ อ�ำ นวยความสะดวกในการฉาย เลน่ หรือดู กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 69 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวดี ที ัศน์ วีดทิ ัศน์“หมายเลขรหัส” หมายความวา่ หมายเลขที่กำ�หนดส�ำ หรับ ภาพยนตร์หรอื วดี ิทัศน์ทีผ่ า่ นการพิจารณาและไดร้ ับอนญุ าตจาก คณะกรรมการแลว้ “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการภาพยนตร์ และวีดิทัศน์แหง่ ชาติ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการภาพยนตร์และวดี ิ ทศั น์แห่งชาติ “นายทะเบยี น” หมายความวา่ นายทะเบยี นกลางหรือนาย ทะเบยี นประจ�ำ จังหวดั แลว้ แตก่ รณี “พนกั งานเจ้าหนา้ ที”่ หมายความวา่ เจ้าหน้าทีข่ องรฐั ซึ่ง รฐั มนตรแี ต่งต้ังให้ปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญัตินีพ้ นักงานเจา้ หน้าที่ซง่ึ รัฐมนตรีแตง่ ตั้งตามวรรคหนง่ึ ใหม้ ีอ�ำ นาจเขา้ ไปในสถานที่ สร้างภาพยนตร์ จะต้องเปน็ เจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ซง่ึ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ ไมต่ �่ำ กวา่ ข้าราชการพลเรือนสามญั ระดบั เจด็ หรือเทียบเทา่ “เจ้าหน้าท่ขี องรฐั ” หมายความวา่ ขา้ ราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ หรือผ้ปู ฏบิ ัติงานอน่ื ในกระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วน กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 70 บญั ญัติภาพยนตรแ์ ละวดี ีทัศน์ กลาง ราชการสว่ นภูมิภาค ราชการสว่ นทอ้ งถิ่น หรือหน่วยงานอื่น ของรัฐ “รฐั มนตร”ี หมายความว่า รัฐมนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญตั ิ นี้ มาตรา ๕ ให้เลขาธิการคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เป็นนายทะเบยี นกลางมอี ำ�นาจหน้าที่ตามพระราชบัญญตั นิ ้แี ละเป็น นายทะเบียนประจำ�กรุงเทพมหานครใหร้ ฐั มนตรแี ต่งต้ังนายทะเบยี น ประจำ�จังหวัดมีอ�ำ นาจหน้าที่ตามพระราชบญั ญัตนิ ีภ้ ายในเขต จังหวดั ของตน มาตรา ๖ ใหร้ ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและ กฬี าและรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรมรกั ษาการตามพระราช บญั ญตั ิน้ี และใหม้ ีอ�ำ นาจแต่งตงั้ นายทะเบยี น พนักงานเจ้าหนา้ ท่ี กบั ออกกฎกระทรวงกำ�หนดคา่ ธรรมเนียมไม่เกินอตั ราท้ายพระราช บญั ญตั นิ ้ี และก�ำ หนดกิจการอ่นื หรือออกประกาศเพื่อปฏิบตั กิ าร ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ทัง้ นี้ ในสว่ นท่เี กย่ี วกบั อำ�นาจหน้าที่ของตน กฎกระทรวงและประกาศนัน้ เม่อื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 71 บญั ญัตภิ าพยนตรแ์ ละวีดีทัศน์ หมวด ๑ คณะกรรมการภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ัศนแ์ หง่ ชาติ มาตรา ๗ ให้มคี ณะกรรมการภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั นแ์ ห่ง ชาติประกอบด้วย นายกรัฐมนตรเี ป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงวัฒนธรรมเปน็ รองประธานกรรมการคนทห่ี นึ่ง รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬาเป็นรองประธาน กรรมการคนทีส่ อง ปลัดสำ�นกั นายกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวงการ คลงั ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและ กีฬา ปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ ปลัด กระทรวงพาณิชย์ ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ผบู้ ัญชาการตำ�รวจ แห่งชาติ เลขาธกิ ารคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เลขาธกิ าร คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ ผแู้ ทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และผู้ทรงคุณวฒุ ิ ซง่ึ รัฐมนตรแี ต่งตง้ั ไม่เกนิ สิบเอด็ คน เปน็ กรรมการ และให้ปลดั กระทรวงวัฒนธรรมเป็นกรรมการและเลขานุการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒติ ามวรรคหนึ่งตอ้ งประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวุฒิ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 72 บัญญตั ภิ าพยนตรแ์ ละวดี ีทัศน์ ด้านภาพยนตร์ วีดิทัศน์ โทรทศั น์ หรอื การคุ้มครองผบู้ ริโภคซึง่ มใิ ช่ เจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐ เว้นแต่อาจารย์ในสถาบันการศึกษาของรัฐ ด้านละ หน่ึงคน และผู้แทนนติ บิ คุ คลซึง่ ประกอบกจิ การภาพยนตร์หรอื วดี ิ ทศั น์ จ�ำ นวนเจ็ดคน มาตรา ๘ ใหส้ ำ�นกั งานปลัดกระทรวงวฒั นธรรมท�ำ หนา้ ท่ี เป็นส�ำ นักงานเลขานกุ ารของคณะกรรมการรับผดิ ชอบงานธรุ การ งานประชุม การศึกษาขอ้ มูล และกิจการต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกับงานของ คณะกรรมการ มาตรา ๙ คณะกรรมการมีอ�ำ นาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เสนอนโยบาย แผน และยุทธศาสตรเ์ กยี่ วกับการประกอบ อตุ สาหกรรมภาพยนตร์ และการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาพยนตรแ์ ละ วดี ิทศั นต์ ่อคณะรฐั มนตรี (๒) ก�ำ หนดมาตรการในการสง่ เสรมิ ให้มีการสรา้ งภาพยนตรแ์ ละวดี ิ ทศั น์ทมี่ ลี ักษณะสรา้ งสรรค์ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ หรอื มีคณุ คา่ ในทาง ศิลปวัฒนธรรมในรปู แบบทคี่ นทุกกล่มุ รวมท้งั คนพิการสามารถเข้า ถึงและใชป้ ระโยชนไ์ ด้ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 73 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวดี ีทัศน์ (๓) เสนอความเหน็ ต่อรัฐมนตรใี นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกยี่ ว กับภาพยนตรแ์ ละวดี ทิ ศั น์ (๔) เสนอค�ำ แนะนำ�ตอ่ รัฐมนตรใี นการออกกฎกระทรวงและประกาศ ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี (๕) ออกประกาศก�ำ หนดสดั สว่ นระหว่างภาพยนตร์ไทยและ ภาพยนตร์ตา่ งประเทศที่จะน�ำ ออกฉายในโรงภาพยนตรต์ าม (๑) ของบทนยิ ามคำ�ว่า “โรงภาพยนตร”์ ในมาตรา ๔ (๖) พจิ ารณาวินิจฉัยอทุ ธรณ์คำ�ส่ังของนายทะเบยี นและคณะ กรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ทิ ัศน์ (๗) ปฏิบัตกิ ารอ่ืนตามที่กฎหมายก�ำ หนดให้เป็นอ�ำ นาจหน้าทข่ี อง คณะกรรมการหรอื ตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย ประกาศตาม (๕) ใหป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาเพอ่ื ประโยชน์ในการส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ัศน์ ให้ กระทรวงวฒั นธรรมกำ�หนดหนว่ ยงานทมี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการ สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมภาพยนตรแ์ ละวีดิทศั นต์ ามนโยบาย แผน ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการที่คณะกรรมการเสนอหรือกำ�หนดตาม (๑) กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 74 บัญญัติภาพยนตรแ์ ละวดี ีทัศน์ มาตรา ๑๐ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒซิ ่งึ รัฐมนตรแี ต่งต้ังตอ้ งมคี ุณสมบัติ และไม่มลี กั ษณะต้องหา้ ม ดังตอ่ ไปน้ี (๑) มสี ัญชาติไทย (๒) มอี ายุไมต่ �ำ่ กวา่ สามสบิ หา้ ปีบรบิ ูรณ์ (๓) ไม่เป็นบคุ คลลม้ ละลาย (๔) ไมเ่ ปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ไมเ่ คยไดร้ ับโทษจ�ำ คกุ โดยคำ�พพิ ากษาถึงที่สุดให้จ�ำ คุก เวน้ แต่เปน็ โทษส�ำ หรบั ความผดิ ท่ไี ด้กระท�ำ โดยประมาท หรือความผิด ลหุโทษ (๖) ไมเ่ คยถูกไลอ่ อก ปลดออก หรอื ใหอ้ อกจากราชการ หนว่ ยงาน ของรฐั หรอื รัฐวิสาหกิจเพราะทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ี หรือถือว่ากระท�ำ การ ทจุ ริตและประพฤติมชิ อบในวงราชการ มาตรา ๑๑ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ รัฐมนตรีแตง่ ต้ังมวี าระ การดำ�รงต�ำ แหนง่ สามปี ในกรณีทกี่ รรมการพ้นจากต�ำ แหนง่ ตามวาระ แต่ยังมไิ ด้แต่ง ต้ังกรรมการใหม่ใหก้ รรมการนน้ั ปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกวา่ จะ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 75 บญั ญัตภิ าพยนตร์และวีดีทศั น์ ได้แตง่ ตง้ั กรรมการใหม่กรรมการซง่ึ พ้นจากตำ�แหนง่ ตามวาระอาจได้ รับแตง่ ตั้งอกี ได้ แต่จะด�ำ รงตำ�แหนง่ ตดิ ตอ่ กันเกนิ สองวาระไมไ่ ด้ มาตรา ๑๒ นอกจากการพน้ จากต�ำ แหน่งตามวาระ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ซิ ่งึ รัฐมนตรีแต่งตงั้ พ้นจากต�ำ แหนง่ เมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รัฐมนตรใี หอ้ อก เพราะบกพรอ่ งตอ่ หน้าที่ มีความประพฤติเสื่อม เสยี หรอื หย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบตั หิ รอื มลี ักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๓ ในกรณที ก่ี รรมการผู้ทรงคณุ วุฒิซึง่ รฐั มนตรีแต่ง ต้ังพน้ จากตำ�แหน่งกอ่ นวาระให้รัฐมนตรแี ตง่ ต้ังผู้อน่ื ด�ำ รงต�ำ แหน่ง แทน และให้ผูไ้ ด้รบั แต่งตง้ั อยใู่ นตำ�แหนง่ เท่ากบั วาระที่เหลืออยู่ของ ผซู้ ง่ึ ตนแทน เว้นแต่วาระของกรรมการเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสบิ วันจะไม่ ด�ำ เนินการเพือ่ ให้มีการแต่งตัง้ กรรมการแทนก็ได้ มาตรา ๑๔ การประชุมของคณะกรรมการตอ้ งมีกรรมการ มาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด จงึ จะเปน็ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 76 บัญญัตภิ าพยนตร์และวีดีทศั น์ องค์ประชุมในการประชมุ คณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มา ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัตหิ น้าท่ไี ด้ ให้รองประธานกรรมการคนใดคน หน่ึงเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการหรอื รองประธาน กรรมการไมม่ าประชุมหรอื ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิหน้าท่ไี ด้ ให้กรรมการซง่ึ มา ประชุมเลือกกรรมการคนหนึง่ เปน็ ประธานในทีป่ ระชมุ การวินจิ ฉยั ชีข้ าดของท่ีประชมุ ใหถ้ อื เสียงขา้ งมาก กรรมการคนหนึง่ ใหม้ ีเสียง หนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเทา่ กันใหป้ ระธานในที่ประชุม ออกเสียงเพ่ิมขึ้นอีกเสยี งหน่ึงเป็นเสยี งชี้ขาดในการประชุมถา้ มีการ พจิ ารณาเรื่องทก่ี รรมการผู้ใดมสี ว่ นได้เสีย กรรมการผูน้ นั้ ไม่มสี ทิ ธิ เขา้ ร่วมประชุม มาตรา ๑๕ ในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ตี ามพระราชบัญญัตินี้ คณะ กรรมการมอี �ำ นาจแตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการเพอ่ื พจิ ารณาหรอื ดำ�เนิน การตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ใหน้ ำ�ความในมาตรา ๑๔ มา ใชบ้ งั คับแกก่ ารประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนโุ ลม กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 77 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวดี ีทศั น์ หมวด ๒ คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ศั น์ มาตรา ๑๖ ใหม้ คี ณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวดี ิ ทัศนค์ ณะหนงึ่ หรอื หลายคณะ โดยแต่ละคณะให้ประกอบดว้ ยบุคคล ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้งั ตามขอ้ เสนอของคณะกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั น์ซ่งึ มีอำ�นาจหนา้ ท่ี ตามมาตรา ๑๘ (๑) ให้มีจำ�นวนไมเ่ กินเก้าคน โดยแต่งตัง้ จากผูท้ รง คุณวฒุ ิด้านการตา่ งประเทศ ภาพยนตร์ ศลิ ปวฒั นธรรม สอ่ื สาร มวลชน หรอื สง่ิ แวดลอ้ ม ซ่ึงไม่มีสว่ นเกยี่ วข้องกับการประกอบ กิจการภาพยนตรค์ ณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวดี ิทัศนซ์ ่ึง มอี �ำ นาจหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๒) (๓) (๔) และ (๕) ใหม้ จี ำ�นวน ไม่เกินเจด็ คน โดยแตง่ ตัง้ จากผู้ทรงคุณวฒุ ดิ า้ นภาพยนตร์ วีดทิ ัศน์ โทรทัศน์ ศิลปวฒั นธรรม หรอื การคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค ซงึ่ ต้องแต่งต้ัง จากเจ้าหน้าท่ขี องรัฐจำ�นวนไมเ่ กินส่ีคนและจากภาคเอกชนจำ�นวน ไม่เกนิ สามคน กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 78 บัญญตั ิภาพยนตร์และวดี ที ัศน์ มาตรา ๑๗ ให้ส�ำ นักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่ง ชาติท�ำ หน้าทเี่ ป็นส�ำ นักงานเลขานุการของคณะกรรมการพจิ ารณา ภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ศั น์ รับผิดชอบงานธุรการ งานประชมุ การศึกษา ขอ้ มลู และกิจการตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วกับงานของคณะกรรมการพจิ ารณา ภาพยนตรแ์ ละวดี ทิ ัศน์ตามมาตรา ๑๘ (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ให้สำ�นกั งานพัฒนาการท่องเท่ียวทำ�หนา้ ท่เี ปน็ ส�ำ นกั งานเลขานุการ ของคณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวีดิทัศน์ รบั ผิดชอบงาน ธรุ การ งานประชมุ การศึกษาขอ้ มูล และกิจการตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวกบั งานของคณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวดี ทิ ัศนต์ ามมาตรา ๑๘ (๑) มาตรา ๑๘ คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวีดทิ ศั นม์ ี อำ�นาจหน้าทีด่ ังต่อไปนี้ (๑) อนุญาตการสร้างภาพยนตร์ตา่ งประเทศในราชอาณาจักร (๒) ตรวจพจิ ารณาและก�ำ หนดประเภทภาพยนตร์ทจ่ี ะน�ำ ออกฉาย ให้เชา่ แลกเปลย่ี น หรือจำ�หนา่ ยในราชอาณาจักร (๓) อนุญาตการนำ�วดี ทิ ศั นอ์ อกฉาย ใหเ้ ชา่ แลกเปลี่ยน หรอื กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 79 บัญญตั ิภาพยนตรแ์ ละวดี ีทัศน์ จำ�หนา่ ยในราชอาณาจกั ร (๔) อนญุ าตการน�ำ สื่อโฆษณาออกโฆษณาหรอื ประชาสมั พนั ธ์ในราช อาณาจักร (๕) อนญุ าตการสง่ ภาพยนตรห์ รือวดี ิทศั น์ออกไปนอกราชอาณาจักร (๖) ปฏบิ ัติการอนื่ ตามทีก่ ฎหมายก�ำ หนดให้เปน็ อ�ำ นาจหน้าท่ขี อง คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ศั น์หรือตามทรี่ ฐั มนตรี หรือคณะกรรมการมอบหมาย มาตรา ๑๙ ใหน้ ำ�ความในมาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ มาใชบ้ ังคับแกค่ ณะ กรรมการพจิ ารณาภาพยนตรแ์ ละวีดทิ ศั นโ์ ดยอนโุ ลม หมวด ๓ การประกอบกิจการภาพยนตร์ มาตรา ๒๐ ผู้ใดประสงค์จะสรา้ งภาพยนตรต์ า่ งประเทศ ในราชอาณาจักร ให้ย่นื คำ�ขออนญุ าตพร้อมดว้ ยบทภาพยนตร์ เคา้ โครง และเรอื่ งย่อของภาพยนตร์ทจี่ ะสร้างตอ่ ส�ำ นักงาน พฒั นาการท่อ’เทยี่ ว และต้องไดร้ ับอนุญาตจากคณะกรรมการ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 80 บัญญัติภาพยนตรแ์ ละวีดีทศั น์ พิจารณาภาพยนตร์และวีดทิ ศั นแ์ ละหน่วยงานของรัฐท่มี หี น้าท่ีรบั ผิดชอบสถานที่ท่ีจะใชส้ รา้ งภาพยนตรต์ ามกฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ งการ ขออนุญาตและการอนญุ าตใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการก�ำ หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๒๑ ผ้รู ับอนุญาตตามมาตรา ๒๐ ต้องด�ำ เนนิ การสร้าง ภาพยนตร์ตามบทภาพยนตรแ์ ละเคา้ โครงตลอดจนเง่ือนไขทไี่ ดร้ บั อนุญาต โดยค�ำ นึงถึงฉากท่ีถา่ ยทำ� บทสนทนา และสถานท่ถี ่ายทำ� เพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ สภาพสงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม มาตรา ๒๒ การสรา้ งภาพยนตร์ต่างประเทศในราชอาณาจักรดังต่อ ไปน้ี ไมต่ อ้ งขออนุญาต (๑) ภาพยนตร์ขา่ วหรอื เหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขน้ึ (๒) ภาพยนตร์ทส่ี ร้างขนึ้ เพอื่ ดเู ปน็ การส่วนตวั (๓) ภาพยนตร์ท่ีมกี ารสรา้ งในตา่ งประเทศและไดน้ ำ�มาใช้บริการ ตามกระบวนการหลังการถ่ายท�ำ ภาพยนตร์ในราชอาณาจักร ซ่ึงได้ แจ้งตอ่ สำ�นักงานพฒั นาการทอ่ งเที่ยวตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และ เงื่อนไขท่คี ณะกรรมการก�ำ หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 81 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวีดีทศั น์ (๔) ภาพยนตรอ์ ่ืนตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๓ ผูส้ ร้างภาพยนตรต์ อ้ งด�ำ เนนิ การสร้าง ภาพยนตรใ์ นลักษณะที่ไม่เปน็ การบอ่ นท�ำ ลาย ขดั ตอ่ ความสงบ เรยี บรอ้ ยหรอื ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน หรอื อาจกระทบกระเทือน ตอ่ ความมั่นคง และเกียรติภมู ขิ องประเทศไทยผู้สร้างภาพยนตรผ์ ู้ ใดสงสัยวา่ การสรา้ งภาพยนตร์ของตนจะเป็นการฝา่ ฝนื บทบญั ญัติ ตามวรรคหนง่ึ อาจขอให้คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตรแ์ ละวีดิ ทัศนพ์ จิ ารณาใหค้ วามเหน็ ในเรื่องนนั้ กอ่ นดำ�เนินการสร้างได้ ใน กรณนี คี้ ณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวดี ิทัศนจ์ ะต้องให้ความ เห็นและแจง้ ใหผ้ ้ซู ง่ึ ขอความเห็นทราบภายในสิบหา้ วนั นับแต่วนั ท่ี คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวดี ทิ ัศนไ์ ดร้ บั คำ�ขอ ถา้ ไม่แจ้ง ภายในกำ�หนดระยะเวลาดังกล่าวให้ถือว่าคณะกรรมการพจิ ารณา ภาพยนตรแ์ ละวีดิทศั น์ให้ความเหน็ ชอบแล้วการขอความเหน็ และคา่ ปว่ ยการในการให้ความเห็นใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการ กำ�หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา คา่ ปว่ ยการท่ีไดร้ บั ใหน้ ำ�สง่ คลังเป็นรายไดแ้ ผน่ ดิน การใดทไ่ี ดก้ ระท�ำ ไปตามความเหน็ ของคณะ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 82 บญั ญัตภิ าพยนตรแ์ ละวดี ีทัศน์ กรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวีดทิ ศั น์ มใิ ห้ถือว่าการกระท�ำ นั้น เป็นการกระท�ำ ท่ีฝา่ ฝนื บทบญั ญัตติ ามวรรคหนงึ่ มาตรา ๒๔ ในกรณที ่ีการสร้างภาพยนตรม์ ีผลกระทบหรอื กอ่ ให้เกิดความเสยี หายตอ่ ส่ิงแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติซง่ึ เป็นของรฐั หรือสาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ ผสู้ ร้างภาพยนตรต์ อ้ ง ดำ�เนินการปรบั ปรุงส่งิ ดงั กลา่ วใหอ้ ยูใ่ นสภาพท่เี หมาะสม ท้ังนี้ ตาม กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง มาตรา ๒๕ ภาพยนตรท์ จ่ี ะน�ำ ออกฉาย ให้เชา่ แลกเปลีย่ น หรอื จำ�หนา่ ยในราชอาณาจกั รต้องผา่ นการตรวจพจิ ารณาและได้ รบั อนญุ าตจากคณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวีดิทัศน์การ ขออนุญาตและการอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงือ่ นไขทีค่ ณะกรรมการกำ�หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๒๖ ในการตรวจพิจารณาภาพยนตร์ตามมาตรา ๒๕ ให้คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวดี ทิ ัศนก์ �ำ หนดดว้ ยว่า ภาพยนตรด์ ังกลา่ วจดั อยูใ่ นภาพยนตร์ประเภทใด ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ภาพยนตร์ทีส่ ่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละควรสง่ เสริมใหม้ ีการด กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 83 บัญญัตภิ าพยนตรแ์ ละวีดีทัศน์ (๒) ภาพยนตร์ท่ีเหมาะสมกับผดู้ ทู วั่ ไป (๓) ภาพยนตรท์ ่เี หมาะสมกับผมู้ อี ายตุ ้ังแตส่ ิบสามปขี ้นึ ไป (๔) ภาพยนตรท์ ี่เหมาะสมกับผมู้ ีอายุตงั้ แต่สบิ หา้ ปีขึ้นไป (๕) ภาพยนตรท์ ี่เหมาะสมกับผมู้ อี ายุต้ังแตส่ บิ แปดปีขึ้นไป (๖) ภาพยนตร์ทห่ี ้ามผ้มู ีอายุต่�ำ กว่ายี่สิบปีดู (๗) ภาพยนตรท์ ี่หา้ มเผยแพร่ในราชอาณาจกั ร ความใน (๖) มิให้ใชบ้ ังคับแก่ผูด้ ซู ่ึงบรรลุนิติภาวะโดยการสมรสหลัก เกณฑ์ในการก�ำ หนดว่าภาพยนตร์ลักษณะใดควรจัดอยู่ในภาพยนตร์ ประเภทใดให้เป็นไปตามทก่ี �ำ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๗ ภาพยนตรด์ ังตอ่ ไปนี้ ไมต่ อ้ งผ่านการตรวจ พจิ ารณาและได้รบั อนุญาตตามมาตรา ๒๕ (๑) ภาพยนตรข์ า่ วหรือเหตุการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ (๒) ภาพยนตร์ท่ีสรา้ งขึ้นเพ่ือดูเป็นการสว่ นตวั (๓) ภาพยนตรท์ ส่ี ว่ นราชการ รฐั วสิ าหกิจ องคก์ ารมหาชน หรือ หน่วยงานอน่ื ของรฐั สร้างข้นึ เพอ่ื เผยแพร่หรอื ส่งเสริมการด�ำ เนนิ งานของหน่วยงานน้ัน กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 84 บัญญตั ภิ าพยนตรแ์ ละวีดที ัศน์ (๔) ภาพยนตรท์ ี่ฉายในเทศกาลภาพยนตรร์ ะหว่างประเทศตามท่ี คณะกรรมการกำ�หนด (๕) ภาพยนตรท์ ฉ่ี ายทางโทรทศั นแ์ ละผา่ นการตรวจพจิ ารณา ตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกอบกิจการกระจายเสียงและกจิ การ โทรทัศนแ์ ล้ว (๖) ภาพยนตรอ์ ื่นตามทีก่ ำ�หนดในกฎกระทรวง ภาพยนตรต์ าม (๒) (๔) และ (๖) หากน�ำ ออกฉายเปน็ การ ทว่ั ไป ใหเ้ ชา่ แลกเปลี่ยน หรือจ�ำ หนา่ ยในราชอาณาจกั ร ต้องผา่ น การตรวจพจิ ารณาและได้รบั อนุญาตตามมาตรา ๒๕ ภาพยนตรต์ าม (๕) หากนำ�ออกฉายทางสอื่ ประเภทอื่น หรอื น�ำ ออก ให้เช่า แลกเปลย่ี น หรอื จ�ำ หนา่ ยในราชอาณาจกั ร ต้องผา่ นการ ตรวจพิจารณาและได้รบั อนุญาตตามมาตรา ๒๕ มาตรา ๒๘ การตรวจพิจารณาและก�ำ หนดประเภท ภาพยนตรท์ ่ฉี ายทางโทรทศั นต์ ามกฎหมายวา่ ด้วยการประกอบ กจิ การกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ให้น�ำ ความในมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม ภาพยนตร์ตามมาตรา ๒๖ (๕) และ (๖) ให้ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทท่ี 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 85 บญั ญตั ิภาพยนตร์และวดี ที ัศน์ ฉายทางโทรทัศนไ์ ดใ้ นระหวา่ งเวลาทคี่ ณะกรรมการกำ�หนดโดย ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๒๙ ในการพิจารณาอนญุ าตภาพยนตร์ตาม มาตรา ๒๕ ถา้ คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวีดทิ ศั นเ์ ห็น ว่าภาพยนตรใ์ ดมเี นือ้ หาที่เป็นการบ่อนท�ำ ลาย ขดั ตอ่ ความสงบ เรยี บร้อยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน หรืออาจกระทบกระเทอื น ต่อความม่นั คงของรัฐและเกยี รติภมู ขิ องประเทศไทย ใหค้ ณะ กรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ิทัศน์มีอ�ำ นาจสงั่ ให้ผู้ขออนญุ าต แก้ไขหรอื ตดั ทอนกอ่ นอนญุ าต หรือจะไมอ่ นุญาตกไ็ ดภ้ าพยนตรท์ ี่ ผา่ นการตรวจพิจารณาและไดร้ บั อนุญาตตามมาตรา ๒๕ มิให้ถือวา่ ภาพยนตรน์ ัน้ มลี ักษณะท่ฝี า่ ฝนื บทบัญญตั ิตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๓๐ ภายใต้บงั คับมาตรา ๒๙ การอนุญาตให้น�ำ ภาพยนตร์ ออกฉาย ใหเ้ ช่า แลกเปลี่ยน หรือจ�ำ หนา่ ยในราชอาณาจกั ร ไม่ คุม้ ครองผ้รู ับอนญุ าตตามมาตรา ๒๕ ใหพ้ ้นจากความรับผดิ ในทาง แพง่ ทางอาญา หรอื จากการกระทำ�ทีต่ ้องรับผดิ ตามกฎหมายอืน่ อนั เกิดจากการฉาย ให้เชา่ แลกเปล่ียน หรือจ�ำ หน่ายภาพยนตร์ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 86 บญั ญตั ภิ าพยนตรแ์ ละวีดีทศั น์ มาตรา ๓๑ ใหน้ ายทะเบยี นกลางก�ำ หนดหมายเลขรหสั และ ประทบั ตราเครอื่ งหมายการอนญุ าต ประเภทของภาพยนตร์ และ หมายเลขรหสั ลงบนภาพยนตร์ทผ่ี า่ นการตรวจพจิ ารณาและไดร้ ับ อนุญาตตาม มาตรา ๒๕ในกรณีทีน่ ายทะเบียนกลางเหน็ สมควร อาจส่ังให้ผู้ยน่ื ค�ำ ขออัดหรอื บันทกึ ค�ำ บอกแจง้ วา่ ภาพยนตรด์ งั กล่าว ได้ผา่ นการตรวจพิจารณาและไดร้ บั อนญุ าต รวมทัง้ ประเภทของ ภาพยนตรไ์ ว้บนภาพยนตร์และบนหีบหอ่ ทบ่ี รรจภุ าพยนตรน์ น้ั ดว้ ย ก็ได้การกำ�หนดหมายเลขรหสั ลกั ษณะเคร่อื งหมายการอนุญาตและ ประเภทของภาพยนตร์ หรือค�ำ บอกแจ้งวา่ ภาพยนตรไ์ ดผ้ า่ นการ ตรวจพิจารณาและไดร้ บั อนุญาตแลว้ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ี การ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกำ�หนด มาตรา ๓๒ ให้นายทะเบยี นกลางเกบ็ สำ�เนาภาพยนตร์ที่ได้ รับอนญุ าตตามมาตรา ๒๕ ไวเ้ พ่อื ใชใ้ นการตรวจสอบหนงึ่ ชดุ ใหน้ าย ทะเบยี นกลางสง่ ส�ำ เนาภาพยนตรท์ ่ีหมดความจำ�เปน็ ตอ้ งใช้ในการ ตรวจสอบใหห้ อภาพยนตรแ์ หง่ ชาติเพือ่ เก็บรักษาไว้เพ่อื ประโยชน์ใน การเกบ็ รักษา สำ�เนาภาพยนตรจ์ ะจดั ทำ�ในรูปของวัสดใุ ดก็ได้ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 87 บัญญตั ิภาพยนตรแ์ ละวดี ีทศั น์ มาตรา ๓๓ ใหน้ ำ�ความในมาตรา ๒๕ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๒ วรรคหนงึ่ รวมทงั้ บทก�ำ หนดโทษที่ เก่ียวขอ้ ง มาใช้บังคับแก่สอ่ื โฆษณาภาพยนตรโ์ ดยอนโุ ลม มาตรา ๓๔ หา้ มผู้ใดส่งภาพยนตรท์ ส่ี ร้างขึน้ ในราช อาณาจกั รออกไปนอกราชอาณาจกั ร เวน้ แตจ่ ะได้รับอนุญาตจาก คณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตร์และวีดิทศั น์การขออนญุ าตและ การอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขที่คณะ กรรมการกำ�หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๓๕ การสง่ ภาพยนตร์ดงั ตอ่ ไปนี้ออกไปนอกราช อาณาจักร ไม่ตอ้ งได้รบั อนญุ าตตามมาตรา ๓๔ (๑) ภาพยนตรท์ ไ่ี ด้รับอนุญาตใหส้ รา้ งตามมาตรา ๒๐ (๒) ภาพยนตร์ตามมาตรา ๒๒ (๓) ภาพยนตรท์ ี่ผา่ นการตรวจพิจารณาและไดร้ บั อนุญาตจากคณะ กรรมการพิจารณาภาพยนตร์และวีดิทศั นต์ ามมาตรา ๒๕ (๔) ภาพยนตรท์ ไ่ี ด้รับยกเวน้ ไมต่ ้องผา่ นการตรวจพจิ ารณาและได้รบั อนญุ าตตามมาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 88 บญั ญตั ภิ าพยนตร์และวีดที ัศน์ มาตรา ๓๖ การพิจารณาและอนุญาตตามมาตรา ๒๕ มาตรา ๓๓ และมาตรา ๓๔ คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละ วดี ทิ ศั นจ์ ะต้องพจิ ารณาให้แล้วเสรจ็ ภายในสบิ ห้าวนั นับแตว่ ันทไี่ ด้ รับค�ำ ขอ ถา้ พจิ ารณาไม่เสร็จภายในกำ�หนดระยะเวลาดังกลา่ วให้ ถอื วา่ อนุญาต มาตรา ๓๗ ห้ามผูใ้ ดประกอบกจิ การโรงภาพยนตรโ์ ดยท�ำ เปน็ ธรุ กจิ หรือไดร้ ับประโยชน์ตอบแทน เวน้ แตจ่ ะได้รับใบอนญุ าต จากนายทะเบียนใบอนญุ าตน้ัน ให้ออกสำ�หรบั โรงภาพยนตร์แตล่ ะ โรง ยกเว้นใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงภาพยนตรต์ าม (๒) ของบท นยิ ามคำ�วา่ “โรงภาพยนตร”์ ในมาตรา ๔ ให้ใช้ไดท้ ่วั ราชอาณาจกั ร การขอใบอนญุ าตและการออกใบอนญุ าตใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทก่ี �ำ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๘ หา้ มผู้ใดประกอบกิจการใหเ้ ชา่ แลกเปล่ียน หรือจำ�หน่ายภาพยนตร์โดยทำ�เปน็ ธรุ กจิ หรือไดร้ ับประโยชน์ ตอบแทน เว้นแต่ได้รบั ใบอนุญาตจากนายทะเบียนใบอนุญาตนน้ั ให้ ออกสำ�หรบั สถานท่ใี หเ้ ชา่ แลกเปลยี่ น หรอื จำ�หน่ายภาพยนตร์แต่ละ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 89 บัญญตั ภิ าพยนตร์และวีดีทัศน์ แห่งการขอใบอนุญาตและการออกใบอนญุ าตให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขท่กี �ำ หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๙ ผู้ทจ่ี ะขออนุญาตประกอบกจิ การตามมาตรา ๓๗ หรือมาตรา ๓๘ ต้องมีคุณสมบัติและไมม่ ลี ักษณะต้องหา้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) มีอายไุ ม่ต�่ำ กวา่ ยส่ี ิบปบี รบิ รู ณ์ (๒) ไมเ่ ปน็ ผมู้ ีความประพฤตเิ ส่อื มเสียหรอื บกพร่องในศลี ธรรมอันดี (๓) ไม่เปน็ คนไร้ความสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๔) ไมเ่ คยได้รับโทษจ�ำ คุกโดยคำ�พพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหจ้ �ำ คกุ ในความ ผิดเกย่ี วกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา (๕) ไมเ่ ปน็ ผู้อยใู่ นระหว่างถกู ส่งั พกั ใช้ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๗ หรอื มาตรา ๓๘ (๖) ไมเ่ คยถูกเพิกถอนใบอนญุ าตตามมาตรา ๓๗ หรือมาตรา ๓๘ เว้นแตเ่ คยถูกเพกิ ถอนใบอนุญาตและเวลาได้ล่วงพน้ มาแล้วไม่น้อย กวา่ ห้าปีในกรณที นี่ ิตบิ คุ คลเปน็ ผ้ขู ออนญุ าต กรรมการ ผู้จดั การ หรอื ผรู้ ับผิดชอบในการด�ำ เนินการของนติ บิ ุคคลน้ันต้องมคี ณุ สมบัติ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 90 บัญญตั ภิ าพยนตร์และวีดีทัศน์ และไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามท่ีก�ำ หนดในวรรคหน่งึ มาตรา ๔๐ ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ให้ มีอายหุ ้าปีนบั แต่วันทอี่ อกใบอนุญาตการขอตอ่ อายใุ บอนุญาต ให้ ผู้รบั ใบอนญุ าตย่นื คำ�ขอก่อนวันท่ใี บอนญุ าตสน้ิ อายุและเมอื่ ไดย้ น่ื คำ�ขอดังกลา่ วแลว้ ใหถ้ อื วา่ ผู้ยื่นค�ำ ขออยใู่ นฐานะผู้รับใบอนญุ าต จนกว่าจะได้รับแจ้งคำ�สง่ั ไม่อนญุ าตใหต้ ่ออายใุ บอนุญาต การขอตอ่ อายุใบอนุญาตและการใหต้ อ่ อายุใบอนญุ าตใหเ้ ป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ีกำ�หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๑ ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ ต้อง แสดงใบอนุญาตไวใ้ นทเี่ ปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานท่ีประกอบ กจิ การ มาตรา ๔๒ ถา้ ใบอนุญาตสูญหาย ถกู ท�ำ ลาย หรอื บกพร่อง ในสาระสำ�คญั ให้ผู้รบั ใบอนญุ าตแจ้งต่อนายทะเบยี นและย่นื ค�ำ ขอรบั ใบแทนใบอนญุ าตภายในสบิ หา้ วันนบั แต่วันทีท่ ราบถึงกรณดี ังกลา่ ว การขอใบแทนใบอนุญาตและการออกใบแทนใบอนญุ าตให้เป็นไป ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขทค่ี ณะกรรมการก�ำ หนดโดย กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 91 บญั ญตั ิภาพยนตรแ์ ละวีดีทศั น์ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๔๓ ภาพยนตรท์ ี่ผู้รับใบอนญุ าตตามมาตรา ๓๗ หรือมาตรา ๓๘ จะมีไว้ในสถานทีป่ ระกอบกจิ การของตนเพ่อื นำ� ออกฉาย ให้เชา่ แลกเปลยี่ น หรอื จ�ำ หน่ายจะตอ้ งเป็นภาพยนตร์ท่ีมี เนือ้ หาสาระเชน่ เดยี วกับภาพยนตรท์ ผ่ี า่ นการตรวจพิจารณาและได้ รับอนญุ าตตามมาตรา ๒๕ และมกี ารแสดงเครอื่ งหมายการอนญุ าต ประเภทของภาพยนตร์และหมายเลขรหสั เชน่ เดียวกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๔๔ ให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๗ แจง้ ประเภท ของภาพยนตรท์ น่ี ำ�ออกฉายแตล่ ะเรอ่ื งไวใ้ นทเ่ี ปดิ เผยและเหน็ ได้ ชดั เจนในบริเวณโรงภาพยนตร์หา้ มผ้รู ับใบอนญุ าตตามมาตรา ๓๗ ยินยอมหรือปลอ่ ยปละละเลยให้ผ้ซู ึง่ มีอายตุ ำ�่ กวา่ ทีก่ ำ�หนดตาม มาตรา ๒๖ (๖) เข้าไปในโรงภาพยนตร์ในระหว่างทที่ �ำ การ ฉายภาพยนตรท์ ่จี ดั อย่ใู นประเภทดังกล่าว มาตรา ๔๕ ห้ามผรู้ บั ใบอนุญาตตามมาตรา ๓๘ ให้เชา่ แลกเปล่ยี น หรอื จ�ำ หน่ายภาพยนตร์ทจ่ี ัดอย่ใู นประเภทตามมาตรา ๒๖ (๖) ให้ แก่ผู้ซง่ึ มีอายุตำ่�กว่าท่ีก�ำ หนดไว้สำ�หรับภาพยนตร์ประเภทดงั กล่าว กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทที่ 8. กฎหมายดา้ นภาพยนตร์ พระราช 92 บัญญตั ภิ าพยนตรแ์ ละวดี ที ัศน์ มาตรา ๔๖ การฉายภาพยนตรใ์ นสถานทท่ี ี่บคุ คลทัว่ ไป สามารถดไู ด้ ตอ้ งเปน็ ภาพยนตร์ท่จี ดั อยใู่ นประเภทตามมาตรา ๒๖ (๑) หรือ (๒) หมวด ๔ การประกอบกิจการวีดทิ ศั น์ มาตรา ๔๗ วีดทิ ศั นท์ ่จี ะน�ำ ออกฉาย ให้เชา่ แลกเปลีย่ น หรอื จำ�หนา่ ยในราชอาณาจักรตอ้ งผ่านการตรวจพจิ ารณาและได้ รับอนญุ าตจากคณะกรรมการพจิ ารณาภาพยนตรแ์ ละวีดิทัศนก์ าร ขออนญุ าตและการอนญุ าตให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และ เงือ่ นไขท่ีคณะกรรมการกำ�หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๔๘ วีดทิ ัศนด์ ังต่อไปนี้ ไม่ต้องผา่ นการตรวจ พิจารณาและไดร้ ับอนญุ าตตามมาตรา ๔๗ (๑) วีดิทศั นท์ ี่สรา้ งขึ้นเพ่อื ใชเ้ ป็นการส่วนตวั (๒) วดี ทิ ัศน์ทส่ี ว่ นราชการ รัฐวสิ าหกิจ องคก์ ารมหาชน หรือหน่วย งานอนื่ ของรฐั สรา้ งขึ้น เพอื่ เผยแพร่หรอื สง่ เสรมิ การด�ำ เนนิ งานของ หน่วยงานน้นั กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 93 บญั ญตั ิภาพยนตรแ์ ละวดี ที ัศน์ (๓) วีดทิ ศั น์อน่ื ตามท่กี ำ�หนดในกฎกระทรวงวดี ทิ ศั นต์ าม (๑) และ (๓) หากน�ำ ออกฉายเป็นการทั่วไป ใหเ้ ช่า หรอื จำ�หน่ายในราช อาณาจักร ตอ้ งผา่ นการตรวจพจิ ารณาและไดร้ บั อนญุ าตตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๙ หา้ มผใู้ ดส่งวดี ทิ ัศนท์ ีส่ รา้ งขนึ้ ในราชอาณาจกั ร ออกไปนอกราชอาณาจักร เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะ กรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ทิ ศั นก์ ารขออนญุ าตและ การอนุญาตใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขทคี่ ณะ กรรมการกำ�หนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๕๐ การส่งวดี ทิ ัศนด์ ังตอ่ ไปน้อี อกไปนอกราช อาณาจกั ร ไม่ตอ้ งไดร้ ับอนุญาตตามมาตรา ๔๙ (๑) วดี ทิ ัศน์ท่ผี า่ นการตรวจพิจารณาและไดร้ บั อนญุ าตจากคณะ กรรมการพจิ ารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั นต์ ามมาตรา ๔๗ (๒) วีดทิ ศั นท์ ่ไี ดร้ ับยกเว้นไม่ตอ้ งผา่ นการตรวจพจิ ารณาและไดร้ บั อนญุ าตตามมาตรา ๔๘ วรรคหนงึ่ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราช 94 บัญญัติภาพยนตร์และวดี ที ัศน์ มาตรา ๕๑ ใหน้ ำ�ความในมาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ วรรคหนึง่ และมาตรา ๓๖ มาใชบ้ ังคับแก่วีดทิ ัศนโ์ ดย อนุโลม มาตรา ๕๒ ใหน้ �ำ ความในมาตรา ๔๗ และมาตรา ๕๑ รวม ทง้ั บทก�ำ หนดโทษท่เี ก่ียวข้องมาใช้บังคบั แกส่ ือ่ โฆษณาวดี ทิ ศั น์โดย อนุโลม มาตรา ๕๓ ห้ามผใู้ ดจดั ตง้ั หรือประกอบกจิ การร้านวดี ทิ ัศน์ โดยทำ�เป็นธุรกิจหรอื ไดร้ ับประโยชน์ตอบแทน เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั ใบ อนุญาตจากนายทะเบียนใบอนุญาตนัน้ ให้ออกสำ�หรบั รา้ นวีดทิ ัศน์ แต่ละแหง่ การขอใบอนุญาตและการออกใบอนญุ าตใหเ้ ป็นไปตาม หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขทกี่ �ำ หนดในกฎกระทรวงความใน วรรคหน่ึงมใิ ห้นำ�มาใชบ้ งั คบั แกก่ ารประกอบกิจการรา้ นวีดทิ ศั น์ท่ี ตงั้ อย่ใู นสถานบรกิ ารทีไ่ ด้รับใบอนญุ าตตามกฎหมายว่าด้วยสถาน บริการเพอ่ื ประโยชน์ในการคุ้มครองเดก็ และเยาวชน การออกกฎ กระทรวงตามวรรคสามจะก�ำ หนดหลกั เกณฑ์เกยี่ วกับอาคารหรือ สถานที่ตงั้ ของรา้ นวีดิทศั นด์ ้วยก็ได้ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร