Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

Published by Ople Papatsara, 2019-05-31 11:26:43

Description: รหัสวิชา 355112-กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Law and Ethics for Information and Communication Technology

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 ความหมายของกฎหมายและ 1 จรยิ ธรรม กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเเทปค็นโสน่วโนลหยนีสึง่ าขรอสงกนาเรทจศดั แกาลระเรียนการสอนรายวชิ าเทคโนโลยสี อ่ื การสื่อสสงิ่าพรมิ พ์ เรียบเรียงโดยจริ วฒั น์ แก้วสรุ บิ ูรณ์

กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร Law and Ethics for Information and Communication Technology หนงั สอื เล่มนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการจัดการเรยี นการสอน ในรายวิชาเทคโนโลยสี ่ือสิ่งพมิ พ์ เรยี บเรยี งโดย นายจริ วฒั น์ แกว้ สรุ บิ ูรณ์ รหัสนิสิต 60410311 สาขาเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำ�นำ� หนังสือเลม่ นเ้ี ป็นสว่ นหน่งึ ของการจัดการเรียนการสอนใน รายวิชาเทคโนโลยีส่อื ส่ิงพมิ พ์ เรยี บเรียงโดย นสิ ติ หลักสูตรศลิ ปศาสตร บนั ฑติ (เทคโนโลยสี ่อื สารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร) ในหวั ข้อเรือ่ ง กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร (Law and Ethics for Information and Communication Technology) เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั สาระวิชาใน กรอบหลักสูตรมาตรฐานดา้ นเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา ผู้เรียบเรยี งหวงั วา่ การเรยี บเรียงครั้งนม้ี ีผลประโยชนต์ ่อผสู้ นใจ ไม่มากก็นอ้ ย เรยี บเรียงโดย จิรวฒั น์ แก้วสุริบูรณ์

สารบญั เรอื่ ง หน้า บทท่ี 1.ความหมายของกฎหมายและจรยิ ธรรม 1 -ความหมายของกฎหมายและจริยธรรม 2 -กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 บทที่ 2 .จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 8 -จริยธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 10 -จรรยาบรรณของนกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 11 บทท่ี 3. สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทยและสอ่ื มวลชล ที่มตี ่อรัฐธรรมนญู 2560 14 -สทิ ธิและเสรีภาพตามรฐั ธรรมนูญ 15 บทที่ 4. พระราชบญั ญัติ วา่ ด้วยการกระทําความผิด เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ 2560 26 -พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์ พ. ศ. 2550 -พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ 2560 บทที่ 5. พระราชบญั ญัตขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ 32 -พระราชบัญญตั ขิ อ้ มูลข่าวสารราชการ พ.ศ. 2540 35 บทที่ 6. พระราชบญั ญัตจิ ดแจง้ การพมิ พพ์ .ศ. ๒๕๕๐ 40 -พ.ร.บ.จดแจง้ การพิมพ์ พ.ศ.2550 42 บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 ( แกไ้ ขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2541 ) 40 - กฎหมายคมุ ครองผู้บรโิ ภค 42

-กฎหมายด้านการโฆษณา 43 -กฎหมายดา้ นการโฆษณายา 44 -กฎหมายด้านการโฆษณาอาหาร 45 -กฎหมายด้านการโฆษณาวตั ถุออกฤทธิต์ อ่ จติ ประสาท 46 -กฎหมายด้านการโฆษณาวัตถุอันตราย 47 บทที่ 8. กฎหมายด้านภาพยนตร์ พระราชบญั ญัติภาพยนตร์ และวีดที ัศน์ พ.ศ. 2551 58 -หมวด ๑ คณะกรรมการภาพยนตรแ์ ละวีดิทศั น์แหง่ ชาติ 59 -หมวด ๒ คณะกรรมการพิจารณาภาพยนตรแ์ ละวดี ิทัศน์ 60 -หมวด ๓ การประกอบกจิ การภาพยนตร ์ 61 -หมวด ๔ การประกอบกจิ การวดี ิทศั น์ 62 บทท่ี 9. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ในประเทศ และตา่ งประเทศ 84 - ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร ์ 86 -ประเภทของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 88 -ปญั หาทเี่ กี่ยวข้องกับการปอ้ งกนั อาชญากรรมคอมพวิ เตอร ์ 89 -แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 90 บทท่ี 10. กฎหมายด้านวิทยุและโทรทัศน์ พ.ศ.2553 41 -กฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกับวทิ ยุกระจายเสียงและวิทยโุ ทรทัศน์ 94 ภาคผนวก บรรณานกุ รม 

บทท่ี 1

ความหมายของกฎหมาย และจริยธรรม

บทท่ี 1 ความหมายของกฎหมายและ 2 จริยธรรม บทท่ี 1.ความหมายของกฎหมายและจริยธรรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน “กฎหมาย คอื กฎที่ สถาบนั หรือผูท้ ี่มอี �ำ นาจสูงสดุ ในรัฐตราขนึ้ หรือท่เี กิดขนึ้ จากจารตี ประเพณีอนั เปน็ ทยี่ อมรับนับถือเพื่อใช้ในบริหารประเทศ เพื่อบงั คบั บคุ คลใหป้ ฏบิ ัติตามหรอื ก�ำ หนดระเบยี บแห่งความสมั พันธร์ ะหวา่ ง บคุ คลหรอื ระหว่างบุคคลกับรัฐ” พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบรุ ีดเิ รกฤทธิ์ ไดร้ บั การ ยกยอ่ งวา่ เป็นพระบดิ าแห่งกฎหมายไทยทรงอธิบาย “กฎหมาย คือ ค�ำ สงั่ ท้ังหลายของผูป้ กครองวา่ การแผ่นดนิ ต่อราษฎรทง้ั หลายเมื่อไม่ ท�ำ ตามแล้วตามธรรมดาตอ้ งรบั โทษ” ศาสตราจารย์หลวงจำ�รูญอธิบายว่า “กฎหมายได้แก่กฎข้อ บังคบั วา่ ดว้ ยการปฏบิ ัติ ซ่ึงผู้มอี �ำ นาจของประเทศได้บญั ญัติข้ึนและ บงั คับใหผ้ ูท้ ่อี ยูใ่ นสงั กดั ของประเทศนน้ั ถือปฏิบตั ติ าม” สรุปความหมายของกฎหมาย คอื “กฎระเบียบ ข้อบงั คบั ท่สี ถาบนั ผู้มอี ำ�นาจสูงสุดของประเทศตราข้นึ ใชบ้ งั คับรวมทง้ั กฎ ระเบยี บข้อบงั คบั ท่ีเกดิ จากจารตี ประเพณีท่ไี ดร้ บั การยอมรับนบั ถอื กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 1 ความหมายของกฎหมายและ 3 จรยิ ธรรม จากสงั คม หรือจากบุคคลทวั่ ไปทอ่ี ยรู่ วมกนั ในสังคมเพอื่ ใช้กบั บคุ คล ทุกคนในการบริหารประเทศหากไม่ปฏบิ ัติตาม” พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน “จรยิ ธรรม คอื ธรรมที่ เปน็ ขอ้ ประพฤติ ปฏบิ ัติ ศลี ธรรม กฎศีลธรรม” คารเ์ ตอร์ วี ก๊ดู ให้ความหมายไว้ว่า “จริยธรรม คือ การปรบั ตัวให้เขา้ กบั กฎเกณฑห์ รอื มาตรฐานของความประพฤติท่ถี ูกตอ้ งดี งาม” อลั เบิรด์ แบนดูรา ให้ความหมายไว้ว่า “จริยธรรม คอื กฎ ส�ำ หรบั การประเมินพฤติกรรมทเี่ กิดจากการ เรียนรู”้ ลอร์เรนซ์ โคลเบอร์ก กล่าวว่าจริยธรรมเป็นพืน้ ฐานของความ ยตุ ธิ รรม ซึง่ ยึดถอื เอาการกระจายสทิ ธิและหน้าทอี่ ย่างเท่าเทียมกนั โดยมิได้หมายถึง กฎเกณฑซ์ งึ่ มคี วามเป็นสากลท่ีคนสว่ นใหญ่รบั ไว้ ในทกุ สถานการณ์ ไม่มีการขัดแยง้ กนั เน้นอดุ มคติ ดังนั้นพันธะทาง จรยิ ธรรมจึงเป็นการเคารพตอ่ สิทธิและขอ้ เรียกรอ้ งของบคุ คลอย่าง เสมอภาคกัน กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 1 ความหมายของกฎหมายและ 4 จริยธรรม สรุปความหมายของจริยธรรม คือ “แนวทางปฏบิ ตั ขิ องคนในสังคม ซ่งึ บุคคลผนู้ น้ั ควรยดึ ถอื ในการด�ำ รงชีวิต และการทำ�ตนเพอื่ ให้เกดิ ประโยชน์ และมีความสงบสขุ ตอ่ ตนเอง ผอู้ ืน่ และสงั คม” กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศของประเทศไทย คณะรฐั มนตรี อนมุ ัติเม่อื วันที่ 15 ธันวาคม 2541 ใหก้ ระทรวงวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาตเิ ป็นผ้รู า่ ง มกี ารกำ�หนดกฎหมายทจ่ี ะร่างทง้ั สน้ิ 6ฉบับ คือ 1. กฎหมายธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Transactions Law) 2. กฎหมายลายมอื ช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) 3. กฎหมายการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศ (National Information Infrastructure) 4. กฎหมายการคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบุคคล (Data Protection Law) 5. กฎหมายการโอนเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Fund กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 1 ความหมายของกฎหมายและ 5 จรยิ ธรรม Transfer Law) 6. กฎหมายเกี่ยวกบั การกระท�ำ ความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) 1.กฎหมายธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Transac- tions Law) เพ่ือรับรองสถานะทางกฎหมายของขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้ เสมอดว้ ยกระดาษ อันเปน็ การรองรบั นิติ สัมพันธ์ตา่ ง ๆ ซึง่ แต่เดมิ อาจจะจัดท�ำ ขึ้นในรูปแบบของหนงั สอื ให้เท่า เทยี มกับนติ สิ ัมพนั ธร์ ปู แบบใหมท่ ี่จดั ท�ำ ขนึ้ ให้อยูใ่ นรูปแบบ ของข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมตลอดท้งั การลงลายมอื ช่ือในข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ และการรบั ฟงั พยานหลกั ฐานทอี่ ยใู่ นรูปแบบของ ข้อมลู อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 2.กฎหมายลายมือชือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Signatures Law) เพ่ือรบั รองการใชล้ ายมือชอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยกระบวนการ ใด ๆ ทางเทคโนโลยีใหเ้ สมอด้วยการลงลายมือ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 1 ความหมายของกฎหมายและ 6 จรยิ ธรรม ชอ่ื ธรรมดา อนั ส่งผลต่อความเชอ่ื ม่นั มากข้นึ ในการท�ำ ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ และก�ำ หนดใหม้ กี ารกำ�กบั ดแู ลการใหบ้ ริการ เกยี่ วกับ ลายมือชอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ตลอดจนการให้ บรกิ ารอ่ืน ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ 3.กฎหมายการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศ (National Information Infrastructure) เพ่ือก่อใหเ้ กิดการสง่ เสริม สนับสนนุ และพัฒนาโครงสรา้ ง พื้นฐานสารสนเทศ อนั ได้แก่ โครงข่าย โทรคมนาคม เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศทรพั ยากรมนุษย์ และโครงสรา้ งพน้ื ฐานสารสนเทศสำ�คัญอื่น ๆ อันเป็นปจั จัยพนื้ ฐาน ส�ำ คัญในการพฒั นาสงั คม และชุมชนโดยอาศยั กลไกของรฐั ซง่ึ รองรับเจตนารมณส์ �ำ คัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพ้นื ฐาน แหง่ รัฐตามรฐั ธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทว่ั ถึง และเทา่ เทยี มกนั และนับเปน็ กลไกสำ�คัญในการชว่ ยลดความ เหลื่อมล้ำ�ของสงั คมอย่างคอ่ ยเป็นค่อยไป เพอ่ื สนับสนุนใหท้ อ้ งถ่นิ มี ศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชมุ ชน และ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 1 ความหมายของกฎหมายและ 7 จรยิ ธรรม น�ำ ไปสูส่ งั คมแห่งปญั ญา และการเรียนรตู้ ัวอย่างกฎหมายเก่ยี วกับ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศใหท้ วั่ ถึง และเทา่ เทียมกนั 4.กฎหมายการคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล (Data Protection Law) เพอื่ กอ่ ให้เกดิ การรับรองสทิ ธแิ ละใหค้ วามคมุ้ ครองขอ้ มูล ส่วนบุคคล ซงึ่ อาจถูกประมวลผล เปดิ เผยหรอื เผยแพรถ่ งึ บคุ คลจ�ำ นวนมากได้ในระยะเวลาอนั รวดเรว็ โดยอาศยั พฒั นาการทางเทคโนโลยี จนอาจกอ่ ใหเ้ กดิ การนำ�ข้อมลู นั้นไปใชใ้ น ทางมชิ อบอนั เป็นการละเมิดต่อเจา้ ของขอ้ มลู ทง้ั น้ี โดยค�ำ นึงถึงการ รกั ษาดลุ ยภาพระหวา่ งสิทธขิ ัน้ พน้ื ฐานในความเป็นส่วนตวั เสรภี าพ ในการติดตอ่ ส่อื สาร และความมนั่ คงของรฐั 5.กฎหมายการโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Fund Transfer Law) เพอื่ ก�ำ หนดกลไกสำ�คัญทางกฎหมายในการรองรบั ระบบการ โอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทั้งทเ่ี ปน็ การโอนเงนิ ระหว่างสถาบันการ เงนิ และระบบการชำ�ระเงนิ รูปแบบใหมใ่ นรูปของเงินอิเล็กทรอนกิ ส์ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 2

จรยิ ธรรมทาง เทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทที่ 2 .จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 10 บทท่ี 2 .จรยิ ธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยแี ละความนยิ มใชอ้ นิ เทอร์เน็ต อยา่ งแพรห่ ลาย ทำ�ใหผ้ ใู้ ช้คอมพิวเตอรส์ ามารถจดั เก็บขอ้ มูลส่วน บคุ คลหรอื ขอ้ มูลส่วนตัวแบบออนไลน์ได้จ�ำ นวนมาก ความไวว้ างใจ ในระบบสารสนเทศกม็ ีมากขน้ึ ทำ�ให้มคี วามเสี่ยงในการใช้เทคโนโลยี ในทางท่ผี ดิ มากขน้ึ ดว้ ยแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศส�ำ คญั ที่ ส่งผลกระทบต่อจริยธรรมสาเหตหุ ลกั ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะในการประมวลผลของระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ี เพ่มิ ขน้ึ อย่างรวดเร็ว ทำ�ให้หลายองคก์ รนำ�ระบบ สารสนเทศมาใช้ในธุรกจิ หลกั ขององคก์ รมากขึ้น ทำ�ให้ผูใ้ ชแ้ ละผู้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับระบบตอ้ งพง่ึ พาระบบมากขึ้น เส่ยี งต่อการถูกขโมย ขอ้ มลู ส่วนตัว อกี ท้ังคุณภาพและความน่าเชอื่ ถอื ของขอ้ มูลลดลง 2. ต้นทุนของแหล่งจดั เกบ็ ข้อมูลลดลงแต่ใช้เทคโนโลยใี น การจดั เก็บทส่ี ูงข้นึ เป็นผลให้องค์กรจดั เก็บข้อมลู แยกยอ่ ยแต่ละกลมุ่ ได้มากขนึ้ ถงึ แม้ในแต่ละกลุ่มจะมีลูกคา้ ซำ�้ กนั กต็ าม เช่น เกบ็ ขอ้ มูล แยกเป็นกลุ่มลูกคา้ ทง้ั หมดทำ�ให้การละเมดิ ความเปน็ ส่วนตวั ของ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทที่ 2 .จริยธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 11 ลกู คา้ มตี ้นทุนต่ำ� นอกจากนี้การทแี่ หลง่ เก็บข้อมลู มตี น้ ทุนต�ำ่ บริษทั ขนาดเลก็ ท่ัวไปก็สามารถจดั เกบ็ กลุ่มคนทส่ี ามารถเข้าถึงข้อมูล ลูกค้าเพิ่มมากขึน้ 3. ความก้าวหน้าในการวเิ คราะหข์ ้อมูล เทคโนโลยใี ช้ในการ วิเคราะห์ข้อมลู มีความก้าวหน้ามากขน้ึ ท�ำ ให้ ผู้บริหารเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มูลไดม้ ากข้ึน ซ่ึงหมายถงึ การเข้าถึงข้อมูล สว่ นตวั ของลูกคา้ หรือบุคคลทวั่ ไปได้มากขึน้ ดว้ ย 4. ความกา้ วหน้าของระบบเครือขา่ ยและอนิ เทอรเ์ นต็ ทำ�ให้ การขโมยขอ้ มูลจากเครอื ข่ายอื่นและเครอื ขา่ ย อนิ เทอรเ์ น็ตท�ำ ไดง้ ่ายขนึ้ จรรยาบรรณของนักเทคโนโลยีสารสนเทศ จรรยาบรรณ คอื การประมวลความประพฤติทผ่ี ปู้ ระกอบอาชีพ การงานแต่ละอย่างกำ�หนดข้ึน เพือ่ รักษา และส่งเสรมิ เกียรตคิ ณุ ชื่อเสยี งและฐานะของสมาชกิ อาจเขยี นเป็น ลายลกั ษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ จรรยาบรรณของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ มดี งั น้ี กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 2 .จรยิ ธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 1. ตอ้ งไม่ใช้คอมพวิ เตอร์ทำ�ร้ายหรอื ละเมดิ ผู้อืน่ 2. ตอ้ งไมร่ บกวนการท�ำ งานของผ้อู ื่น 3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื แก้ไขเปิดดูในแฟม้ ของผู้อน่ื 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื การโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร 5. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรส์ รา้ งหลักฐานท่ีเปน็ เทจ็ 6. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมผอู้ น่ื ทม่ี ลี ขิ สิทธ์ิ 7. ต้องไมล่ ะเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไมม่ สี ทิ ธิ์ 8. ต้องไมน่ �ำ เอาผลงานของผ้อู ืน่ มาเปน็ ของตน 9. ตอ้ งคำ�นงึ ถึงส่ิงท่ีจะเกิดขน้ึ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระท�ำ 10.ต้องใชค้ อมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท   กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 2 .จริยธรรมทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13 กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 3

สทิ ธิและเสรภี าพของชนชาว ไทยและสื่อมวลชล ท่ีมตี อ่ รฐั ธรรมนญู 2560

บทที่ 3 สทิ ธิและเสรภี าพของชนชาวไทย 16 และสื่อมวลชล ทีม่ ีต่อรฐั ธรรมนูญ 2560 บทท่ี 3. สทิ ธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย และส่อื มวลชล ท่ีมตี อ่ รัฐธรรมนญู 2560 สิทธิและเสรีภาพตามรฐั ธรรมนูญ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศกั ราช 2475 ได้ นำ�เรือ่ งการคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชนมาบัญญัติไว้เป็น คร้งั แรก ว่า “บุคคลยอ่ มมีเสรีภาพบรบิ รู ณใ์ นการถอื ศาสนาหรือลัทธิ ใด ๆ และมีเสรภี าพในการปฏิบตั พิ ิธีกรรมตามความเช่ือถอื ของตน เม่อื ไม่เปน็ ปฏิปักษ์ตอ่ หน้าที่ของพลเมอื งและไม่เปน็ การขัดต่อความ สงบเรยี บรอ้ ยหรือศีลธรรมของประชาชน”[3] และ “ภายในบงั คบั แหง่ กฎหมาย บุคคลย่อมมีเสรีภาพบรบิ รู ณใ์ นร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สนิ การพูด การเขยี น การโฆษณา การศกึ ษาอบรม การ ประชุมโดยเปิดเผย การตงั้ สมาคม การอาชพี ”[4] แม้วา่ จะวางหลัก ไวอ้ ย่างกวา้ ง ๆ เพอื่ เป็นแนวทางปฏบิ ัติ แต่ในเม่อื ไมม่ กี ฎหมายมาร องรับ ในบางเร่อื งจงึ มกี ารละเมิดจนเกิดผลเสยี ต่อการปกครองบา้ น เมือง เชน่ การตงั้ สมาคมคณะราษฎร ที่มีกจิ กรรมในทางการเมอื ง ประหนึ่งเป็นพรรคการเมืองทม่ี งุ่ เนน้ ส่งผสู้ มคั รรบั เลอื กตัง้ จนกระท่งั กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสาร

บทที่ 3 สิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย 17 และสือ่ มวลชล ท่ีมตี อ่ รฐั ธรรมนญู 2560 น�ำ ไปส่คู วามขดั แยง้ ทางการเมอื งระหวา่ งคณะราษฎรกบั ขุนนางชั้น สูง เปน็ ตน้ นับแต่น้ันมา ในการจดั ทำ�รัฐธรรมนูญแตล่ ะฉบับ ผทู้ ่ี เก่ยี วข้องจะคำ�นึงถงึ การคุม้ ครองสทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน เป็นประการสำ�คญั เสมอ เพราะมองว่าสิทธแิ ละเสรีภาพเป็น เกียรติยศและศักดศิ์ รีของความเป็นมนุษย์ และประเทศทีป่ กครอง ในระบอบประชาธิปไตย หากละเลยหรือไมค่ ุม้ ครองเรอ่ื งเหลา่ น้ี ยอ่ มส่ง ผลต่อเกยี รติภมู ขิ องประเทศชาตอิ ีกดว้ ย ดังจะเห็นไดจ้ าก ในการจดั ท�ำ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 สภารา่ งรัฐธรรมนญู ได้กำ�หนดกรอบการจดั ท�ำ ไว้ว่า “...มสี าระ ส�ำ คัญเป็นการสง่ เสริมคุ้มครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพของประชาชน ให้ ประชาชนมีส่วนรว่ มในการปกครองและตรวจสอบการใช้อ�ำ นาจรฐั เพ่ิมขน้ึ ...”[5] และในการจัดท�ำ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 สภาร่างรัฐธรรมนูญก็ได้ยดึ กรอบดงั กล่าว และได้ ขยายขอบเขตการคมุ้ ครองสทิ ธิเสรีภาพให้กว้างขวางข้ึน พรอ้ มทงั้ ได้ ก�ำ หนดออกมาเปน็ ส่วน ๆ เพอ่ื ความเข้าใจของประชาชนผู้ไดร้ บั การ กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 3 สทิ ธิและเสรภี าพของชนชาวไทย 18 และสือ่ มวลชล ทม่ี ตี อ่ รฐั ธรรมนญู 2560 การคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรภี าพตามเจตนารมณข์ อง รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ได้ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความกา้ วหน้าในการค้มุ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของ ปวงชนชาวไทย โดยแบง่ ออกเปน็ 12 สว่ น แตล่ ะสว่ นมเี จตนารมณ์ สรุปไดด้ งั น้ี 1. การใช้อ�ำ นาจโดยองคก์ รของรฐั มีเจตนารมณเ์ พอ่ื คุม้ ครองศักดศิ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย จากการใช้อ�ำ นาจใด ๆ โดยองค์กรของรฐั ทุกองค์กร 2. ความเสมอภาค มเี จตนารมณเ์ พ่ือกำ�หนดหลักความเสมอ ภาค และการไม่เลือกปฏบิ ตั แิ ก่บคุ คลทม่ี ีความแตกตา่ งกันว่าย่อม เสมอกนั ในกฎหมายและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียม กัน 3. สิทธแิ ละเสรภี าพส่วนบุคคล มีเจตนารมณเ์ พือ่ ประกัน สทิ ธิและเสรีภาพในชวี ิตและร่างกายในเคหสถาน การเลอื กทีอ่ ยู่ อาศยั การเดนิ ทาง เกียรตยิ ศชอ่ื เสียง ความเปน็ ส่วนตัว การสือ่ สาร กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร

บทท่ี 3 สทิ ธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย 19 และส่อื มวลชล ทม่ี ตี อ่ รฐั ธรรมนูญ 2560 ของบุคคล การนบั ถือศาสนา การป้องกนั มิใหร้ ัฐบังคบั ใช้แรงงาน 4. สทิ ธใิ นกระบวนการยุตธิ รรม มีเจตนารมณเ์ พือ่ คมุ้ ครอง สทิ ธแิ ละเสรีภาพของบุคคลเกยี่ วกบั ความ รับผิดทางอาญามิให้ ตอ้ งรับโทษหนักกวา่ ที่บัญญัติไวใ้ นกฎหมายทใ่ี ชอ้ ยู่ในขณะทก่ี ระท�ำ ความผดิ คุ้มครองความเสมอภาค และการเข้าถงึ ไดโ้ ดยง่ายใน กระบวนการยตุ ิธรรม การได้รบั ความช่วยเหลือทางกฎหมายท้ังทาง แพง่ และทางอาญา 5. สิทธใิ นทรพั ย์สิน มีเจตนารมณเ์ พือ่ ประกันความมัน่ คงใน การถือครองทรพั ยส์ นิ ประกันสิทธขิ องผถู้ ูกเวนคืนทรัพยส์ นิ ทตี่ อ้ ง ก�ำ หนดค่าทดแทนทีเ่ ปน็ ธรรม 6. สิทธแิ ละเสรีภาพในการประกอบอาชีพ มเี จตนารมณ์เพ่ือ ประกนั เสรภี าพในการประกอบอาชีพ การแข่งขนั ทางธุรกจิ ที่เปน็ ธรรม ความปลอดภัย สวสั ดิภาพ และการดำ�รงชีพของคนทำ�งาน 7. เสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ ของบุคคลและ สือ่ มวลชน มีเจตนารมณเ์ พื่อคุ้มครองเสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ของบคุ ลและสือ่ มวลชนดว้ ยการพูด การเขยี น การพิมพ์ การ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 3 สิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย 20 และสือ่ มวลชล ทมี่ ตี อ่ รฐั ธรรมนญู 2560 โฆษณา การกำ�หนดมใิ ห้รฐั จำ�กัดเสรีภาพการแสดงออกของบุคคล เว้นแต่เพื่อความมัน่ คงของรัฐ เพอ่ื ความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ เพอ่ื คมุ ครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ชอ่ื เสยี ง สิทธใิ นครอบครวั ของ บุคคลอ่นื หรือเพือ่ รกั ษาความสงบเรียบรอ้ ย หรือศีลธรรมอนั ดีของ ประชาชน หรอื เพ่ือปอ้ งกันความเสื่อมทรามทางจิตใจหรือสขุ ภาพ ของประชาชน อกี ทั้งเพอื่ ปอ้ งกันมิใหร้ ัฐสง่ั ปดิ กจิ การหนงั สอื พมิ พ์ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ คุ้มครองและจดั สรรคลืน่ ความถี่ อย่างเปน็ ธรรม ใหป้ ระชาชนมีส่วนรว่ ม และปอ้ งกนั การควบรวม การครองสิทธขิ ้ามสือ่ เพื่อคมุ้ ครองให้ประชาชนได้รับขอ้ มลู ข่าวสาร ทห่ี ลากหลาย จงึ ปอ้ งกันมใิ หผ้ ดู้ ำ�รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งเข้าเป็น เจ้าของกิจการหรอื ถอื หุ้นในกจิ การหนงั สือพมิ พ์ วทิ ยกุ ระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรอื โทรคมนาคม รวมถึงการแทรกแซงทง้ั ทางตรงและ ทางออ้ ม 8. สทิ ธิและเสรภี าพในการศกึ ษา มีเจตนารมณ์เพ่ือใหบ้ ุคคล มคี วามเสมอภาคในการได้รับการศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ สบิ สองปีตง้ั แต่ ชนั้ ประถมศึกษาจนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า ซึ่งรัฐ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทที่ 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย 21 และส่ือมวลชล ท่ีมตี อ่ รัฐธรรมนูญ 2560 จะตอ้ งจะตอ้ งจัดให้อยา่ งทวั่ ถึง มีคณุ ภาพ และเหมาะสมกับผ้เู รยี น คุ้มครองเสรภี าพทางวิชาการท่ีไมข่ ัดต่อหน้าทีพ่ ลเมืองหรือศลี ธรรม อนั ดขี องประชาชน 9. สทิ ธิในการไดร้ ับบรกิ ารสาธารณสขุ และสวัสดิการจาก รฐั มเี จตนารมณเ์ พ่ือให้ประชาชนได้รบั บรกิ ารทางสาธารณสขุ จาก รัฐอย่างเสมอภาค เพ่ือคุ้มครองสิทธเิ ดก็ เยาวชน สตรี ผู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพ การดำ�รงชพี ของผู้สูงอายุ 10. สทิ ธใิ นข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน มเี จตนารมณเ์ พอื่ ค้มุ ครองการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ข่าวสารสาธารณะ การรับรแู้ ละรับฟังความ คดิ เห็นของประชาชน การร้องทุกข์ การโต้แยง้ การปฏิบัติราชการใน ทางปกครอง และเพ่อื คุม้ ครองสิทธขิ องบุคคลในการฟอ้ งหน่วยงาน ของรัฐ 11. เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม มเี จตนารมณ์ เพอ่ื คุ้มครองเสรีภาพของประชาชนในการชุมนุมโดยสงบและ ปราศจากอาวุธ คุม้ ครองประชาชนให้ได้รบั ความสะดวกในการใช้ พนื้ ท่ีสาธารณะ ค้มุ ครองการรวมกลมุ่ เปน็ สมาคม สหภาพ สหพันธ์ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทที่ 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย 22 และสื่อมวลชล ท่มี ตี อ่ รัฐธรรมนูญ 2560 สหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร องค์กรเอกชน องค์การพฒั นาเอกชน หรือ หมูค่ ณะอน่ื ค้มุ ครองการต้งั พรรคการเมอื งเพื่อสบื สานเจตนารมณ์ ทางการเมืองตามวถิ ที างการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระ มหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ในระบบรัฐสภา 12. สิทธิชมุ ชน มีเจตนารมณ์เพ่อื รบั รองสทิ ธชิ มุ ชน ชุมชน ทอ้ งถ่นิ และชุมชนทอ้ งถิ่นด้ังเดิม คุ้มครองบุคคลในการอนุรักษ์ บำ�รงุ รกั ษาและการไดร้ บั ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ 13. สิทธพิ ทิ กั ษ์รัฐธรรมนญู มีเจตนารมณเ์ พอื่ คุ้มครองการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข คมุ้ ครองบคุ คลในการต่อต้านโดยสนั ติวธิ ตี ่อการกระทำ�เพ่อื ใหไ้ ด้มา ซงึ่ อ�ำ นาจในการปกครองด้วยวิถที างทมี่ ชิ อบ ทัง้ นี้ หากได้พจิ ารณาแลว้ จะเห็นไดว้ ่าสทิ ธิและเสรภี าพของ ปวงชนชาวไทยที่ได้รบั การคุ้มครองโดยรัฐธรรมนญู น้นั จำ�แนกออก ได้ 3 ประเภท คอื (1) สทิ ธิและเสรภี าพส่วนบุคคล (2) สทิ ธแิ ละเสรภี าพในทางเศรษฐกิจ และ (3) สิทธแิ ละเสรีภาพในการมสี ว่ นร่วมทางการเมอื ง กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 3 สิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย 23 และสื่อมวลชล ทม่ี ีต่อรัฐธรรมนญู 2560 สทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชน นอกจากจะไดร้ บั การคุ้มครองโดย รฐั ธรรมนญู แล้ว ในความเปน็ ประชาคมโลกท่มี คี วามแตกตา่ งกนั ตามอตั ลักษณ์ของแตป่ ระเทศ จึงมวี ิถปี ฏิบัติตอ่ ประชาชนของตน แตกตา่ งกนั และเพ่อื ให้มนุษยไ์ ด้รบั การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพ้นื ฐานเหมือนกนั จึงได้มีขอ้ ตกลงระหว่างประเทศหลายฉบบั ที่ประเทศ ภาคีสมาชกิ ยดึ ถอื ปฏิบตั ิ เช่น ปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นุษยชน หากพบวา่ ประเทศภาคสี มาชกิ ใดละเมดิ หรือไมป่ ฏิบัติตามข้อตกลง ย่อมได้รับการลงโทษ ตอบโต้ หรือนำ�มาตรการทางเศรษฐกิจมา ก�ำ หนดด้านความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศได้. สรุปสิทธแิ ละเสรีภาพของสื่อมวลชนเพือ่ ความเข้าใจงา่ ยขน้ึ จงึ ขอสรุปสาระส�ำ คัญของสิทธเิ สรีภาพของส่อื มวลชน (ตามมาตรา 45-48) ไว้ดงั นี้ 1. บคุ คลย่อมมเี สรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็ การพูด การเขยี นการพมิ พ์การโฆษณาและการสอื่ ความหมายโดยวธิ ีอื่นการ จ�ำ กัดเสรีภาพนีก้ ระท�ำ มไิ ด้ 2. การสัง่ ปดิ กิจการหนังสอื พมิ พห์ รียส่ือมวลชนอืน่ กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย 24 และสื่อมวลชล ทม่ี ตี อ่ รัฐธรรมนญู 2560 3. การห้ามหนังสือพมิ พห์ รอื ส่ือมวลชนคนเสนอขา่ วสาร หรอื แสดงความคิดเห็นหรอื การแทรกแซงดว้ ยวธิ ีการใด ๆ จะกระทำ� มไิ ด้ 4. การให้น�ำ้ ท่วมหรอื บทความไปให้เจา้ หน้าที่ตรวจก่อนน�ำ ไปพิมพห์ รอื โฆษณาในสือ่ มวลชนจะกระทำ�มไิ ด้ 5. เจา้ ของกจิ การหนงั สอื พมิ พห์ รือสอ่ื มวลชนอนื่ ต้องเป็น บคุ คลสัญชาติไทย 6. รัฐจะใหเ้ งินหรอื ทรพั ยส์ นิ อนื่ เพ่อื อุดหนนุ กิจการ หนังสอื พิมพ์หรอื สื่อมวลชนอื่นจะกระท่ามไิ ด้ 7. พนกั งานหรียลกู จ้างสื่อมวลชนทงั้ ของเอกชนและของรฐั มเี สรีภาพในการเสนอขา่ วและแสดงความคดิ เหน็ โดยไม่ตกอยภู่ ายใต้ อทิ ธพิ ลของเจา้ ของและหน่วยงานราชการแตต่ อ้ งไม่ขัดตอ่ จริยธรรม 8. ผดู้ ำ�รงตำ�แหน่งทางการเมืองเจา้ หน้าทีร่ ฐั และเจ้าของ กจิ การกระทำ�ใด ๆ อันเป็นการแทรกแซมการเสนอข่าวหรอื แสดง ความคดิ เหน็ ในประเดน็ สาธารณะใหถ้ อื ว่าเปน็ การจงใจใชอ้ ำ�นาจ หนา้ ทโี่ ดยมชิ อบและไม่มีผลใชบ้ ังคับ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 3 สทิ ธิและเสรภี าพของชนชาวไทย 25 และสื่อมวลชล ท่มี ตี อ่ รฐั ธรรมนญู 2560 9. คล่ืนความถ่ีทีใ่ ช้ในการส่งวทิ ยโุ ทรทัศนแ์ ละโทรคมนาคม เปน็ ทรพั ยากรของชาติเพือ่ ประโยชนส์ าธารณะให้มีองคก์ รของรัฐทม่ี ี อสิ ระเป็นผู้จัดสรรคล่นื 10. การควบรวมการครองสทิ ธิข้ามเสอื หรอื การครอบง�ำ ระหวา่ งสอ่ื มวลชนด้วยกนั เองจะกระทำ�มไี ด้ 11. ผูด้ ำ�รงตำ�แหนง่ ทางการเมอื งจะเปน็ เจ้าของกจิ การหรอื ถอื หนุ้ ในกิจการหนังสอื พมิ พว์ ทิ ยกุ ระจายเสียงวิทยุโทรทัศนห์ รอื โทรคมนาคมมีได้   กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 4

พระราชบญั ญตั ิ วา่ ด้วย การกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกับ คอมพวิ เตอร์ 2560

บทที่ 4.พระราชบัญญัติ วา่ ด้วยการกระทํา 28 ความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ 2560 บทที่ 4. พระราชบญั ญัติ ว่าดว้ ยการกระทาํ ความผดิ เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ 2560 พ. ร. บ. วา่ ดว้ ยการกระท�ำ ความผิดทางคอมพวิ เตอร์พ. ศ. 2550 พระราชบญั ญัติฉบบั นีเ้ ปน็ กฎหมายใหม่ประชาชนท่วั ไปยงั ไม่ ค่อยทราบเป็นกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับในเตอรเ์ นต็ และคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ มอี ิทธพิ ลตอ่ การด�ำ รงชีวติ ของคนรุ่นใหมอ่ นั ก่อให้เกดิ ประโยชน์ อย่างใหญ่หลวงและบางคนใชไ้ ปในทางทผี่ ิดกอ่ ให้เกดิ ความเดือน รอ้ นแก่สังคมสังคมจงึ เรียกร้องใหต้ รากฎหมายฉบับน้ีข้ึนมาเพอ่ื ควบคมุ สง่ เสริมและรองรับกจิ การทีเ่ กย่ี วกบั อเิ ล็กทรอนิกส์และ คอมพวิ เตอร์นกั ศกึ ษาควรสนใจเป็นพิเศษ หมวด 1 ความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอรน์ �ำ เสนออยา่ งละเอียดไม่ มสี รูปเพราะเป็นเรอ่ื งสำ�คญั มากหมวด 2 พนกั งานเจา้ หนา้ ทนี่ �ำ แสน ดโดยการสรุปสาระสำ�คัญ นยิ ามที่ส�ำ คัญ มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “ระบบคอมพิวเตอร”์ หมายความวา่ อปุ กรณ์หรอื ชุดอุปกรณ์ของ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

บทท่ี 4.พระราชบัญญัติ วา่ ด้วยการกระทาํ 29 ความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์ 2560 คอมพวิ เตอร์ท่เี ช่ือมการท�ำ งานมาดว้ ยกนั โดยได้มีการกำ�หนดตัว สงั่ ชุดคา้ ส่งหรือส่งิ อ่นื ใดและแนวทางปฏิบตั ิงานใหอ้ ุปกรณ์หรอื ชุด อปุ กรณท์ ำ�หน้าที่ประมวลผล “ ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ “หมายความ วา่ ข้อมูลข้อความฟ้าส่ังชุดค�ำ สั่งพรยี เพ่งิ อน่ื ใดบรรดาทีอ่ ยใู่ นระบบ คอมพิวเตอรใ์ นสภาพทร่ี ะบบคอมพวิ เตอรอ์ าจประมวลผลได้และให้ หมายความรวมถึงขอ้ มูลอิเล็กทรอนกิ สต์ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยธุรกรรม ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วย“ขอ้ มลู อบจรทางคอมพิวเตอร”์ หมายความ ว่า ขอ้ มลู เก่ยี วกบั การติดต่อเช่ือเขารของระบบคอมพวิ เตอร์ซึ่งแสดง ถงึ แหลง่ กำ�เนิดต้นทางปลายทางเสน้ ทางเวลาวันที่ปริมาณระยะเวลา ชนดิ ของบริการหรอื อื่น ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การติดตอ่ สอื่ สารของระบบ คอมพิวเตอรน์ ้นั “ ผู้ให้บริการ” หมายความว่า (1) ผใู้ หบ้ ริการแก่บุคคลอ่ืนในการเขา้ สอู่ ินเทอร์เนต็ หรือใหเ้ ขามารถ ติดตอ่ ถงึ กันโดยประการอ่นื โดยผ่านทางระบบทยมพวิ เตอรท์ ้ังนไ้ี ม่ว่า จะเปน็ การใหบ้ ริการในนามของตนเองหรอื ในนามหรอื เพื่อประโยชน์ (2) ผใู้ ห้บริการเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู คอมพิวเตอรเ์ พือ่ ประโยชนข์ อง บุคคลอน่ื ข้อมูลโดยอัตโนมตั ิ กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร

บทที่ 4.พระราชบัญญตั ิ ว่าดว้ ยการกระทํา 30 ความผิดเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ 2560 “ ผใู้ ชบ้ รกิ าร” หมายความว่าผใู้ ช้บรกิ ารของผู้ให้บริการไมว่ า่ ต้อง เสียคา่ ใชบ้ รกิ ารหรือไมก่ ็ตาม “ พนกั งานเจ้าหน้าที”่ หมายความวา่ ผูซ้ ึ่งรฐั มนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบตั ิ การตามพระราชบัญญัตนิ ี้ “ รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัติ มาตรา 4 ให้รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สารรักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ีและให้มีอานาจออกกฎ กระทรวงเพอ่ื ปฏิบัติการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ กฎกระทรวงนั้นเมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ให้ใช้ บงั คับได้ พ. ร. บ. ลิขสทิ ธพ์ิ . ศ. 2550 พ. ร. บ. ลขิ สิทธพ์ิ . ศ. 2550 เป็นกฎหมายทค่ี มุ้ ครองผ้สู ร้างสรรค์ งานมิให้ผ้อู ่นื ละเมดิ สทิ ธงิ านท่ตี ้มครองสิทธิมถี ึง 8 ประเภท นกั สอ่ื สารมวลชนบางสว่ นอยใู่ นฐานะสรา้ งสรรคง์ านเชน่ วรรณกรรม ดนตรีกรรมงานเพเสยี งเพร่ภาพเปน็ ตน้ บางครง้ั ถกู ผอู้ น่ื นำ�ไปใช้ โดยละเมดิ สิทธห์ิ รือนักส่อื สารมวลชนยานจำ�เปน็ ตอ้ งใช้งานอันมี กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทที่ 4.พระราชบัญญตั ิ วา่ ด้วยการกระทํา 31 ความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ 2560 ลิขสทิ ธ์ิของบคุ คลอื่นบ้างตามความจา้ เปน็ ดังน้ันจงึ จ�ำ เป็นต้องศกึ ษา กฎหมายลิขสทิ ธใิ์ หเ้ ข้าใจเพือ่ ปอ้ งกนั ความเสยี หายท่ีอาจเกิดขึ้นได้   กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 5

พระราชบัญญตั ิข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐

บทที่ 5. พระราชบญั ญตั ขิ ้อมลู ขา่ วสารของ 34 ราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ บทที่ 5. พระราชบญั ญัติขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ พระราชบัญญตั ิขอ้ มูลขา่ วสารราชการ พ.ศ. 2540 พระราชบญั ญตั ิฉบับนเ้ี ปดิ โอกาสให้ประชาชนไดร้ ับรขู้ อ้ มลู ข่าวสารเกย่ี วกับการดำ�เนนิ การตา่ ง ๆ ของรัฐ และยงั คุ้มครองสทิ ธิ สว่ นบุคคลในส่วนทเ่ี กยี่ วกับขอ้ มลู ข่าวสารของราชการไปพร้อม กนั โดยไดใ้ ห้นยิ ามคำ�ว่า “ข้อมลู ขา่ วสารส่วนบคุ คล” ไวใ้ นมาตรา ๔ ว่าหมายถึง “ขอ้ มลู ขา่ วสารเก่ยี วกับสิ่งเฉพาะตวั ของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงนิ ประวตั ิสุขภาพ ประวตั อิ าชญากรรม หรือ ประวัตกิ ารท�ำ งาน บรรดาทีม่ ีช่ือของผนู้ ้นั หรือ มหี มายเลข รหสั สง่ิ บอกลกั ษณะอืน่ ท่ที �ำ ใหร้ ู้ตวั ผนู้ ้นั ได้ เช่น ลายพิมพน์ ้วิ มือ แผน่ บนั ทึก ลักษณะเสยี งของคนหรือรปู ถ่าย และให้หมายความรวมถึงข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกบั สิ่งเฉพาะตวั ของผทู้ ถ่ี ึงแก่กรรมแล้วดว้ ย” สาระสำ�คัญของการค้มุ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คลตามพระราช บัญญัติน้มี ี 3 ประการ ไดแ้ ก่ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 5. พระราชบัญญัตขิ อ้ มลู ขา่ วสารของ 35 ราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ 1) ก�ำ หนดหนา้ ท่ีตา่ ง ๆ เก่ียวกับการจัดระบบข้อมูลส่วน บุคคลของหนว่ ยงานของรัฐ เพ่อื ใหก้ ารคุม้ ครองขอ้ มลู ขา่ วสารสว่ น บุคคลเป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและปลอดภยั 2) กำ�หนดข้อหา้ มในการเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารสว่ นบุคคล โดยกำ�หนดใหต้ อ้ งได้รับความยินยอมเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรจาก เจา้ ของขอ้ มลู กอ่ นทที่ ำ�การเปดิ เผยข้อมลู น้ัน เว้นแต่เปน็ กรณตี ามที่ กฎหมายบัญญัติ 3) ให้สทิ ธแิ ก่เจ้าของขอ้ มลู ในการตรวจสอบขอ้ มลู ขา่ วสาร ส่วนบุคคลของตนเองทีอ่ ยู่ในความครอบครองของหนว่ ยงานของ รัฐ และให้สทิ ธใิ นการขอแกไ้ ขข้อมูลใหถ้ กู ต้องตามความเป็นจรงิ อกี ท้งั ให้สทิ ธใิ นการอทุ ธรณต์ ่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมลู ข่าวสาร ( มีศึกษาต่อในลงิ ค์ ในภาคผนวก) กฎหมายและจรยิ ธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทท่ี 6

พระราชบญั ญัติจดแจ้ง การพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

บทที่ 6 พระราชบญั ญัติจดแจ้ง 38 การพมิ พ์พ.ศ. ๒๕๕๐ บทท่ี 6. พระราชบัญญัตจิ ดแจ้งการพมิ พ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ พรบ.จดแจ้งการพมิ พ์ พ.ศ.2550 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรม ราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยที่เปน็ การสมควรให้มี กฎหมายวา่ ด้วยการจดแจ้งการพมิ พ์พระราชบญั ญัตนิ ้ีมบี ทบัญญตั ิ บางประการเกีย่ วกับการจำ�กัดสทิ ธิและเสรภี าพของบคุ คลซ่ึง มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และ มาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญตั ใิ ห้ กระท�ำ ไดโ้ ดยอาศยั อ�ำ นาจตามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย จงึ ทรงพระ กรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญัติขึ้นไวโ้ ดยคำ�แนะนำ�และ ยินยอมของสภานิตบิ ญั ญตั แิ หง่ ชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตนิ ี้เรยี กว่า “พระราชบญั ญตั จิ ด แจง้ การพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินใี้ ห้ใช้บังคบั ตง้ั แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ (๑) พระราชบัญญัตกิ ารพิมพ์ กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร

บทท่ี 6 พระราชบญั ญัตจิ ดแจง้ 39 การพมิ พพ์ .ศ. ๒๕๕๐ พุทธศกั ราช ๒๔๘๔ (๒) พระราชบัญญัตกิ ารพมิ พ์ (ฉบบั ที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๕ (๓) พระราชบญั ญัตกิ ารพมิ พ์ (ฉบบั ที่ ๓) พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ (๔) ค�ำ สง่ั ของคณะปฏิรูปการปกครองแผน่ ดิน ฉบับที่ ๕ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๙ (๕) ค�ำ สงั่ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดนิ ฉบับท่ี ๓๖ ลงวนั ท่ี ๒๑ ตุลาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๙ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ “พิมพ”์ หมายความว่า ท�ำ ใหป้ รากฏด้วยตวั อกั ษร รปู รอย ตัวเลข แผนผงั หรอื ภาพโดยวิธีการอย่างใดๆ “สง่ิ พิมพ”์ หมายความวา่ สมุด หนงั สอื แผน่ กระดาษ หรือวัตถุใดๆ ท่พี มิ พข์ ้นึ เป็นหลายสำ�เนา “หนงั สือพมิ พ์” หมายความวา่ สิง่ พิมพ์ซงึ่ มชี ่อื จ่าหนา้ เช่นเดียวกัน และออกหรอื เจตนาจะออกตามลำ�ดับเรอ่ื ยไป มกี ำ�หนดระยะเวลา หรอื ไม่กต็ าม มขี ้อความตอ่ เน่ืองกันหรอื ไมก่ ็ตาม ทงั้ น้ใี ห้หมายความ รวมถึงนิตยสาร วารสาร สงิ่ พมิ พท์ ีเ่ รียกชื่ออยา่ งอ่ืนทำ�นองเดยี วกัน กฎหมายและจริยธรรมดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่อื สาร

บทที่ 6 พระราชบญั ญตั จิ ดแจ้ง 40 การพิมพ์พ.ศ. ๒๕๕๐ “ผพู้ ิมพ์” หมายความวา่ บุคคลซึง่ จดั การและรบั ผิดชอบในการ พมิ พ์ “ผโู้ ฆษณา” หมายความวา่ บคุ คลซ่ึงรบั ผดิ ชอบในการจัดใหส้ ่ิงพมิ พ์ แพรห่ ลายด้วยประการใดๆ ไมว่ ่าจะเปน็ การขายหรอื ใหเ้ ปลา่ “บรรณาธกิ าร” หมายความว่า บุคคลผูร้ บั ผดิ ชอบในการจัดท�ำ และ ควบคุมเนือ้ หา ขอ้ ความหรอื ภาพท่ลี งพิมพใ์ นหนังสือพมิ พ์ รวม ทง้ั วัสดุหรือเอกสารที่แทรกในหนงั สอื พมิ พ์โดยความเหน็ ชอบของ บรรณาธิการด้วย “เจ้าของกิจการหนงั สือพิมพ”์ หมายความวา่ บุคคลซึง่ เปน็ เจา้ ของ กจิ การหนังสือพมิ พ“์ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี” หมายความว่า ผู้ซึ่งนายก รัฐมนตรแี ตง่ ต้ังใหป้ ฏิบัตหิ นา้ ท่ตี ามพระราชบญั ญตั ิน้ี มาตรา ๕ พระราชบัญญัตนิ ี้ไมใ่ ชบ้ ังคบั กบั สง่ิ พมิ พ์ ดงั ต่อไปน้ี คือ (๑) สิง่ พมิ พข์ องส่วนราชการ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) บัตร บตั รอวยพร ตราสาร แบบพมิ พ์ และรายงานซึง่ ใช้กันตาม ปกติในการส่วนตัว การสังคม การเมือง การคา้ หรอื ส่ิงพมิ พ์ทม่ี อี ายุ การใช้งานสนั้ เช่น แผน่ พบั หรือแผ่นโฆษณา กฎหมายและจริยธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การส่ือสาร

บทท่ี 6 พระราชบญั ญัติจดแจง้ 41 การพิมพ์พ.ศ. ๒๕๕๐ (๓) สมุดบันทกึ สมุดแบบฝึกหดั หรือสมดุ ภาพระบายสี (๔) วทิ ยานพิ นธ์ เอกสารค�ำ บรรยาย หลักสตู รการเรียนการสอน หรอื สิ่งพมิ พ์อื่นทำ�นองเดียวกนั ท่ีเผยแพรใ่ นสถานศกึ ษา มาตรา ๖ ใหน้ ายกรัฐมนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ีและให้มี อ�ำ นาจแตง่ ตง้ั พนกั งานเจา้ หน้าทก่ี ับออกกฎกระทรวงเพอื่ ปฏิบัติการ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ก้ี ฎกระทรวงนน้ั เมื่อไดป้ ระกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คับได้   กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร

บทท่ี 7 กฎหมายดา้ น แ

นการโฆษณาพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครอง ผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2541

บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราช 44 บัญญัติคุม้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 บทท่ี 7. กฎหมายด้านการโฆษณาพระราชบัญญตั ิ ค้มุ ครองผ้บู รโิ ภค พ.ศ. 2522 ( แกไ้ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2541 ) กฎหมาย ค้มุ ครองผู้บรโิ ภค ในมาตรา 3 พระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 และฉบับแก้ไขเพ่ิมเตมิ พ.ศ.2541บัญญัติ ไวว้ ่า ผู้บรโิ ภคนนั้ หมายถึง ผ้ซู ้ือสนิ คา้ หรือ ผทู้ ไ่ี ด้รับการจงู ใจ หรือ การชักชวนจากผู้ประกอบ กิจการดา้ นธุรกจิ เพอ่ื ใหซ้ ื้อสนิ คา้ ทัง้ ยงั หมายถงึ ผซู้ ื้อสินค้า หรอื ผรู้ บั บรกิ ารจากผปู้ ระกอบการทางด้านธรุ กจิ โดยสุจริต แม้จะยงั ไม่ได้ เสยี ค่าตอบแทนก็ตาม และในมาตราน้ี ยังใหค้ ำ�นิยามของ ผปู้ ระกอบกจิ การด้านธรุ กิจ วา่ ผูข้ าย ผผู้ ลติ เพอื่ น�ำ ไปขายผูส้ ั่ง หรือ น�ำ เข้ามาในราชอาณาจักรเพ่ือ ทำ�การคา้ ขาย หรอื ผซู้ อื้ เพอ่ื น�ำ ส้นิ คา้ ขายตอ่ หรือเป็นผู้ใหบ้ ริการ และท้งั ยงั รวมถึงผู้ประกอบกิจการด้านโฆษณา กฎหมายและจรยิ ธรรมด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สาร