Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารจัดการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

การบริหารจัดการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Published by Ople Papatsara, 2019-05-30 05:54:26

Description: การบริหารจัดการเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา Management of Education Technology and Communication นางสาวปภัสรา ทองสขุ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร Naresuan University Publishing House กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

ค�ำน�ำ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษาเป็นหน่วยงานที่ถูก จดั ตั้งขน้ึ มาเนิ่นนาน พรอ้ มๆ กับการศึกษา ซงึ่ หนว่ ยงานเทคโนโลยแี ละ สอื่ สารการศกึ ษา ถกู ใช้ชือ่ ต่างๆ กันไปในแต่ละยคุ แต่ละสมยั อาทิ ศูนย์ โสตทัศนศึกษา ศูนยเ์ ทคโนโลยีการศกึ ษา ศูนย์เวชนทิ ัศน์ ศนู ยน์ วัตกรรม การศึกษา เป็นตน้ การบรหิ ารจดั การหนว่ ยงานเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศกึ ษา มี ความจ�ำเป็นอย่างย่งิ ทจ่ี ะท�ำให้การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานเปน็ ไปอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธิผม ผู้เขียนในฐานะนกั เทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา จงึ ไดน้ ำ� เสนอเนือ้ หาเร่อื งดงั กล่าว ๘ บท ทั้งน้ี ในบทท่ี ๑ ผู้เขียนขอนำ� เสนอ หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งและเป็นหนว่ ยงานท่เี กิดขน้ึ ใหม่ คอื ศนู ยค์ อมพวิ เตอร์ ศึกษาควบคูไ่ ปด้วย กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

สารบญั บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสอ่ื สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศกึ ษา - ความหมายและความสำ� คัญของหนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษา - หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศึกษา - องคป์ ระกอบขององคก์ รเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา - หน่วยงานดา้ นคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา - ความส�ำคญั ของหน่วยงานดา้ นคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา - องค์ประกอบของหน่วยงานดา้ นคอมพวิ เตอร์ศึกษา - ประเภทของหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ศกึ ษา - รูปแบบหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ ศึกษา - วสิ ัยทัศน์ด้านการจัดระบบงานหน่วยงานด้านเทคโนโลยีและส่ือสารการ ศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา - วสิ ัยทัศน์ด้านภารกิจหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษาและ คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

สารบญั บทท่ี ๒ ทฤษฎีและแนวคิดทางการบริหาร - ความหมายของแนวความคิด - ความหมายของทฤษฎี - แนวความคดิ ทางการบรหิ าร บทท่ี ๓ การวางแผนกลยุทธ์ - แผนกลยทุ ธ์ - การจดั ทำ� แผนกลยทุ ธ์ - การบรหิ ารเชิงกลยุทธ์ - กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ บทที่ ๔ การบริหารจัดการแผนและโครงการ - ความหมายของการวางแผน - นโยบายกบั การวางแผน - ประเภทของแผน - การวางแผนกับการบรหิ ารงานอย่างมีระบบ - ขอ้ คิดสำ� หรบั ผูว้ างแผนและผ้ปู ฏิบัตติ ามแผน - แผนงานและโครงการ - วงจรการบรหิ ารแผนงานและโครงการ - การประเมนิ ผลงานโครงการ - การบรหิ ารแผนและโครงการด้านเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษาและ คอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

หนว่ ยงานดา้ น 1 เทคโนโลยี และ สอื่ สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ ศกึ ษา



บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสอื่ สารการศึกษา และคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา 2 บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษาและ คอมพิวเตอรศ์ กึ ษา ๑. ความหมายและความสาคัญของหน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศกึ ษา หนว่ ยงานเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา หมายถงึ หน่วยงานการผลิต การบรกิ าร และการให้คาปรึกษาด้านเทคโนโลยี และสอื่ สารการศกึ ษา เพื่อให้บริการดา้ นการผลิต และหรือการ ให้บรกิ ารงานในขอบข่ายต่าง ๆ ของเทคโนโลยีและสื่อสาร การศกึ ษาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ หน่วยงานทางเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษามี ความสาคัญในฐานะเป็นหน่วยกลางในการจัดระบบและออกแบบ ระบบ การผลิต การบริการและการให้คาปรกึ ษาสื่อการศกึ ษาอยา่ ง การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

3 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา ครบวงจร การพฒั นาบคุ ลากร และนวตั กรรมทางเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา องคป์ ระกอบขององคก์ รเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา การจาแนกองคป์ ระกอบขององคก์ รเทคโนโลยแี ละสอ่ื สาร การศึกษา จะสามารถจาแนกได้เปน็ ๒ องคป์ ระกอบ คือ ๑. องค์ประกอบเชงิ รปู ธรรม ไดแ้ ก่ โครงสร้างพ้นื ฐาน อปุ กรณก์ ารผลิตและบริการ บุคลากร ระบบการผลิตและบริการ และระบบการจดั การ ๒. องคป์ ระกอบเชงิ นามธรรม ไดแ้ ก่ ปรัชญา วิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย จุดมุ่งหมาย การติดตามและประเมนิ ซ่ึงสะทอ้ น ใหเ้ ห็นในรูปการบรรยายเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร องคป์ ระกอบขององค์กรเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา มี ๘ องค์ประกอบ อาจจาแนกไดห้ ลายแนว เชน่ จาแนกเป็น องคป์ ระกอบเชงิ รปู ธรรมและองค์ประกอบเชงิ นามธรรม ใน กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 4 ภาพรวม องค์ประกอบ องคก์ รเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา ซ่ึง แสดงเปน็ ภาพ ดังน้ี หนว่ ยงานดา้ นคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา หนว่ ยงานด้านคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา เป็นหนว่ ยงานที่ หนว่ ยงานการผลติ การบริการ และการใหค้ าปรึกษาและการใหก้ ารศึกษาหาความรู้ เกีย่ วกบั ศาสตร์ ด้านคอมพิวเตอร์ เชน่ การเขียนภาษาโปรแกรมต่าง ๆ การผลิต การใช้ การบารงุ รกั ษาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ (Hardware) และ ซอฟแวร์ (Software) รวมถึงการศึกษาวิธกี ารใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ เพ่อื กิจการด้านตา่ งๆ หน่วยงานดา้ นคอมพิวเตอร์ศกึ ษามกั อยูใ่ นโครงสร้างของ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา หรือ กลา่ วอกี นัย หนึ่งคือ อยูภ่ ายใต้การบริหารงานของหน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและ สอื่ สารการศกึ ษา ซึ่งคอมพิวเตอร์เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

5 บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสอื่ สารการศึกษาและคอมพิวเตอรศ์ ึกษา ในกจิ การดา้ นการศกึ ษา ประกอบด้วยงานหลัก ๔ ระบบ ๑. คอมพิวเตอร์เพ่ือบริหารการศกึ ษา (Computer for Education Administration) เป็นการนาคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ น การบรหิ ารงานด้านตา่ งๆ เชน่ การบริหารงานดา้ นการศึกษา ประกอบดว้ ยครู ผู้เรียน และเจ้าหน้าท่ีบุคลากรท่ีเกย่ี วขอ้ งอนื่ ๆ เปน็ ต้น ภาพ ๑ แสดงภาพการประชมุ เพ่อื การบริหารด้านการศกึ ษา ๒. คอมพวิ เตอร์เพื่อบรกิ ารการศกึ ษา (Computer for Education Service) หมายถงึ การบรกิ ารการศกึ ษา ด้านต่างๆ เช่น การบริการสารสนเทศการศกึ ษา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และส่อื สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 6 ภาพ ๒ แสดงตัวอยา่ งการบริการการศกึ ษา และการบรกิ าร สารสนเทศการศกึ ษา ๓. คอมพิวเตอรเ์ พอ่ื การเรยี นการสอน (Computer Assisted Instruction) หมายถงึ การนาคอมพวิ เตอร์มาช่วยใน กิจกรรมการเรยี นการสอนในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ภาพ ๓ จาลองภาพการเรียนการสอนคอมพวิ เตอร์เพอื่ การศึกษา การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

7 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศกึ ษาและคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา ๔. การรู้คอมพวิ เตอร์ (Computer Literacy) เปน็ การศกึ ษา การสอน/การ ฝึกอบรมเก่ียวกบั ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะ การใชค้ อมพวิ เตอร์โดนตรง รวมท้งั การประยกุ ต์ใช้ และเจตคตติ ่อคอมพวิ เตอรแ์ ละ ICT ภาพ ๔ แสดงโครงการอบรมความรูค้ อมพิวเตอร์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา ความสาคัญของหน่วยงานด้านคอมพิวเตอรศ์ ึกษา ๑. ใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมคี ุณภาพอย่าง ต่อเนือ่ งเพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผรู้ ับบริการ ๒. สร้างความร่วมมอื กับชุมชนในการสรา้ งเครอื ข่าย การ บรกิ ารวิชาการ กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 8 ๓. ศกึ ษาค้นคว้า พัฒนาความรทู้ างคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนาองคค์ วามรู้หรือนวัตกรรมใหม่ ใหบ้ ริการแก่สังคม ๔. เปน็ หนว่ ยงานประชาสัมพนั ธใ์ ห้ทราบถึงความกา้ วหนา้ ในดา้ นเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเครือขา่ ยการสื่อสาร องคป์ ระกอบของหนว่ ยงานดา้ นคอมพิวเตอรศ์ ึกษา สมชัย ศรสี ุทธิยากร (๒๕๓๗) อ้างใน ชัยยนั ต์ เล็ก บารุง วา่ หนว่ ยงานด้านคอมพวิ เตอร์ศึกษามีองค์ประกอบ เช่นเดยี วกบั หนว่ ยงานท่วั ไป คือประกอบดว้ ยองค์ประกอบหลกั ๔ ประการ ดงั นี้ ๑. วตั ถุประสงค์หรอื จดุ มุ่งหมาย ในการก่อตั้งองคก์ าร ข้ึนมา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ๒. โครงสรา้ ง หน่วยงานตอ้ งมีการจัดแบ่งหน่วยงาน ภายใน โดยอาศัยหลักการกาหนดอานาจหนา้ ที่ การแบง่ งานกนั ทา ตามความชานาญเฉพาะอย่าง และการบังคับบัญชาตามลาดับ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

9 บทที่ ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสอื่ สารการศึกษาและคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา ช้ัน อันจะเป็นหนทางนาไปสู่การรว่ มมือประสานงานเพื่อใหบ้ รรลุ วตั ถปุ ระสงค์ ๓. กระบวนการปฏิบตั งิ าน หมายถงึ แบบอย่างหรอื วิธี ปฏิบัตกิ จิ กรรมหรืองานท่ีกาหนดขนึ้ ไว้อยา่ งมแี บบแผน เพื่อให้ทุก คนในองคก์ ารใช้เป็นหลกั ในการปฏิบตั งิ าน ๔. บุคคล องคก์ ารต้องประกอบดว้ ยกลมุ่ บุคคลที่เป็น สมาชิก โดยกาหนดหน้าทีต่ ามภารกิจ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ภายใตโ้ ครงสรา้ งท่ีจัดตามกระบวนการ ปฏบิ ตั ิงานทกี่ าหนดไว้ใหส้ าเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ภาพ ๕ แสดงองค์ประกอบหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 10 ๑. ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์และปณธิ าน ปรชั ญา (Philosophy) เป็นแนวทางกวา้ งๆ เพอื่ กาหนดทิศทาง แนวคิดและกรอบกลางๆ สาหรับการดาเนินงาน หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ศึกษาโดยกาหนดไวใ้ นรปู ขอ้ ความส้นั ๆ ใ นรปู คาขวัญ ปรชั ญา เปรียบเหมือนโคมไฟส่องทาง หากเป็นโคมสีขาวมีความสว่างสงู ก็ ส่องไดไ้ กล เหน็ ชัดเม่อื กาหนดปรชั ญาแล้ว กก็ าหนดภาพท่มี องเหน็ ในระยะทางหรือช่วงเวลาใดเวลาหนงึ่ เรยี กว่ากาหนดวสิ ัยทัศน์ ซ่งึ แปลวา่ สงิ่ ท่มี องเหน็ ในชว่ งระยะท่ีกาหนด วสิ ยั ทัศน์ (Vision) เปน็ ขอ้ ความกวา้ งๆ ที่ระบุภารกจิ เหตุการณ์ กิจกรรมและผลทีอ่ งคก์ รเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา คาดหวงั ท่จี ะดาเนนิ การใหไ้ ดแ้ ละไปไดใ้ ห้ถงึ ในชว่ งเวลาทก่ี าหนดไว้ โดยจะมกี ารกาหนดพนั ธกจิ รองรบั เพอ่ื ใหอ้ งค์กรดาเนินไปให้ถึง วสิ ัยทศั น์ทกี่ าหนดไว้ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

11 บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศึกษาและคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา พันธกจิ (Mission) เปน็ ขอ้ ความทแ่ี สดงถงึ สงิ่ ที่องค์กร ฯ มุ่งจะทาให้สาเรจ็ โดยมกี ารกาหนดพนั ธกิจตามวิสยั ทัศน์ท่ี กาหนดไว้อย่างชดั เจน ๒. เปา้ หมายและจดุ ม่งุ หมาย เป้าหมาย เปน็ สิ่งทีอ่ งค์กรเทคโนโลยีและส่ือสาร การศกึ ษา มงุ่ ดาเนนิ การใหถ้ ึง ครอบคลมุ เปา้ หมายผู้รบั บริการ เปา้ หมายเวลา เปา้ หมายปรมิ าณและคณุ ภาพ จดุ มุ่งหมาย เป็นสงิ่ ทีห่ น่วยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละ สื่อสารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษาตอ้ งการจะทาหรอื ดาเนนิ การให้สาเร็จตามเปา้ หมาย โดยเป็นขอ้ ความทกี่ าหนดการ ดาเนนิ การภายในเง่ือนไขและเวลาที่กาหนด ๓. โครงสรา้ งพ้ืนฐาน โครงสรา้ งพ้นื ฐาน เป็นองค์ประกอบถาวรทีจ่ ะตอ้ งจดั หา หรอื จัดเตรียมเพ่ือใหพ้ รอ้ มสาหรบั การบริการดา้ นการลิตและการ ใหบ้ รกิ าร ได้แก่ อาคารสถานท่ี สาธารณูปโภค และอปุ กรณก์ าร สื่อสาร กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 12 อาคารสถานที่ ไดแ้ ก่ ท่ดี ินและสิ่งปลูกสร้างสาหรับ องคก์ รเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา ได้แก่ อาคารท่ีทาการ อาคารผลติ อาคารแพร่เสยี งและภาพและอาคารบริการ สาธารณปู โภค เชน่ ประปา ไฟฟ้า ฯลฯ อุปกรณ์การส่ือสาร ไดแ้ ก่ โทรศัพท์ โทรสาร อุปกรณ์ รับสง่ สัญญาณภาพและเสยี ง ๔. ระบบการผลิตและการบรกิ าร หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศกึ ษาและ คอมพวิ เตอรศ์ กึ ษาจาเปน็ ท่จี ะตอ้ งพัฒนาระบบการผลิตและการ บริการเป็นของตนเอง เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั สภาพการณ์และความ ตอ้ งการของผูร้ ับบรกิ ารท่ีหน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่ือสาร การศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษาต้งั อยู่ โดยการวเิ คราะห์ระบบ สังเคราะห์ระบบ สร้างแบบจาลองระบบ และทดสอบระบบ เพ่ือให้ ไดร้ ะบบการผลิต และบริการที่มปี ระสทิ ธภิ าพ ระบบการผลิตและการบริการอาจเป็นระบบทม่ี ุ่งให้ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

13 บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา ศึกษาดาเนินการผลิตและบรกิ ารเองเต็มรปู แบบ หรอื ดาเนินการ บางส่วน ใหห้ น่วยงานภายนอกดาเนนิ ใหบ้ างสว่ น หรือให้หนว่ ยงาน ภายนอกดาเนนิ การเองทงั้ หมด ๕. อุปกรณ์การผลิตและการบริการ อุปกรณก์ ารผลติ และการบริการ หมายถงึ เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ ในการผลิตและบรกิ ารส่อื การศึกษาและเครอ่ื งมอื อานวยความ สะดวก อุปกรณก์ ารผลิต ไดแ้ ก่ เคร่ืองพิมพ์ อปุ กรณ์การผลติ สื่อ โสตทัศน์ อปุ กรณ์ผลติ รายงาน วทิ ยุกระจายเสียง วทิ ยุโทรทศั น์ อุปกรณ์บันทึกและสาเนาเทปบนั ทึกเสียงและเทปบันทกึ ภาพ อปุ กรณ์การให้บริการ ได้แก่ เครอื่ งมอื ทีจ่ ะนาไปบริการ หรอื ใหผ้ รู้ ับบริการยมื ไปใช้ อาทิ เครอื่ งฉายภาพข้ามศีรษะ เคร่ือง ฉายภาพยนตรเ์ คร่อื งฉายสไลด์ เครื่องบนั ทกึ เสียง เคร่อื ง บนั ทกึ ภาพ ฯลฯ ทั้งนี้ รวมถงึ อุปกรณส์ านกั งานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การ บรกิ ารด้วย เชน่ คอมพวิ เตอรบ์ นั ทกึ รายละเอียดเกย่ี วกับ ผู้รับบริการ ต้บู ตั รรายการ เป็นต้น กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษา และคอมพิวเตอรศ์ ึกษา 14 เครือ่ งมอื อานวยความสะดวก ไดแ้ ก่ เครือ่ งใช้ สานักงาน รถยนต์ รถยก รถเขน็ และเคร่อื งมอื ประเภทต่างๆ ทจ่ี ะ ทาใหก้ ารผลติ และการบริการดาเนินไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ๖. บุคลากร บคุ ลากร หมายถงึ ผู้ที่มีหนา้ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การผลิตและ การให้บรกิ าร ทงั้ บุคลากรประจาและบุคลากรภายนอก ประกอบดว้ ยผู้บรหิ าร นกั เทคโนโลยแี ละสื่อสารการศึกษา นกั เน้ือหา เจา้ หน้าทเ่ี ทคนคิ และบุคลากรสนับสนนุ การผลติ และ บริการ ผูบ้ ริหาร ไดแ้ ก่ ผอู้ านวยการ หัวหนา้ ฝ่าย หัวหน้าศูนย์ และ หัวหนา้ แผนก หรือหน่วยงานทม่ี ชี ่ือเรยี กอยา่ งอนื่ ข้ึนอยู่กับ ขนาดขององคก์ รเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษา นักเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา จาแนกเปน็ นกั จัดระบบและออกแบบระบบ ผคู้ วบคมุ การผลิต ผู้กากบั รายการ (สาหรบั วิทยุกระจายเสยี ง และวทิ ยุโทรทศั น์ ภาพยนตร์) ผู้เขียน บท ผู้ประสานงานการผลติ ชา่ งเทคนิคประเภทต่างๆ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

15 บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษา นกั เน้อื หา ไดแ้ ก่ ผู้มีหนา้ ท่ใี ห้ประเด็นและเนื้อหา ตรวจสอบความถูกต้อง และประเมินเนอื้ หาท่ีบรรจุในส่อื การศกึ ษา ประเภทต่างๆ เจา้ หน้าทเี่ ทคนคิ หมายถึง ผมู้ ีหน้าท่ีจัดระบบวศิ วกรรม ดาเนนิ การ ควบคมุ ดูแล และการบารุงรกั ษาอุปกรณก์ ารผลิต ไดแ้ ก่ วศิ วกร ชา่ งอิเลคทรอนิกส์ ช่างกลอ้ ง ชา่ งไฟ ช่างควบคมุ แสง เสียง ฯลฯ บคุ ลากรสนบั สนนุ การผลติ และบรกิ าร ไดแ้ ก่ เจ้าหนา้ ท่ี บริหารการผลิต ช่างศิลป์ ช่างกราฟกิ ชา่ งแตง่ ผม แตง่ หน้า ช่าง สรา้ งและจดั ฉาก พนกั งานขับรถ พนักงานทาความสะอาด เป็นตน้ ๗. ระบบการจดั การ การดาเนินงานการผลติ และบรกิ ารทีด่ มี ีประสิทธภิ าพ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยีและสอื่ สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ ศึกษาจาเป็นจะต้องพฒั นาระบบการจดั การท่เี หมาะสมกับ ธรรมชาติของสือ่ ท่ีให้บรกิ ารและผรู้ ับบรกิ ารเป้าหมาย กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และส่อื สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 16 ในการพฒั นาระบบการจดั การ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสอ่ื สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษาจาเป็นจะตอ้ งเลอื ก แนวคดิ การจดั การ เช่น แบบวิทยาศาสตร์ มนุษยสมั พนั ธ์ หรอื แบบ องิ ระบบสถานการณ์ เปน็ ต้น ตอ้ งเลือกแบบจาลองทฤษฎีองคก์ ร เช่น ของ โรเบริ ต์ ซี ฟอร์ด ท่ีจะใชเ้ ป็นฐานในการจัดการองคก์ ร ๘. การติดตามและการประเมิน การตดิ ตามและการประเมนิ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษาเปน็ การเกบ็ ขอ้ มลู จาก การสงั เกต สมั ภาษณ์ ดงู าน เก็บขอ้ มูลเปน็ ตัวเลขเพอ่ื ตคี วามและ สรุปให้ทราบว่า องคก์ รเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษาดาเนินงาน เป็นไปตามปรัชญา วสิ ยั ทศั นแ์ ละปณธิ าน เปา้ หมายและ จุดม่งุ หมายหรอื ไมเ่ พยี งใด เพ่ือจะได้นาผลการตดิ ตามและ ประเมินผลมาใช้ในการปรบั เปลี่ยนและปรับปรงุ งานการผลิตและ การบริการใหด้ ีข้นึ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

17 บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา ประเภทของหน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษาและ คอมพิวเตอร์ศึกษา ๑. องค์กรทเ่ี ป็นเอกเทศ องค์กรหรือหนว่ ยงานด้านเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษาที่มลี ักษณะเปน็ เอกเทศ หมายถึง หนว่ ยงานทจ่ี ัดตง้ั ขน้ึ อยา่ งอสิ ระ ไมเ่ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของหน่วยงานอื่นๆ ตั้งข้ึนเพ่อื ทาหน้าที่ บริการและผลิตงานทางเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา โดยจัดต้งั ในรปู ของศนู ย์ สถาบนั หรอื สานัก ฯลฯ บางกรณีอาจเป็น หน่วยงานที่เอกชน สมาคม มูลนิธิตัง้ ขึ้นเพ่อื หวงั ผลกาไรของบรษิ ทั หรือไม่หวงั ผลกาไรของบรษิ ัท ข้อดี ๑. มีผูบ้ รหิ ารระดับสูง เปน็ ของตนเอง มีอานาจการ ตดั สินใจสงู ๒. มีการจดั องค์กรหรือแบ่งส่วนงานได้ครบวงจรที่ ครอบคลุมการบริหาร การจดั ระบบ การผลติ และบรกิ ารสอื่ กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษา และคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 18 ประเภทตา่ งๆ รวมทั้งการวจิ ัยและประเมิน และมีบุคลากรเพียงพอ ในการให้บรกิ าร ๓. ได้รับการจัดสรรทรพั ยากรและงบประมาณในฐานะ หน่วยงานระดบั กองหรือกรมเลก็ โดยไมต่ อ้ งไปแบง่ ส่วนกับ หน่วยงานอนื่ ๔. สามารถให้บรกิ ารได้กว้างขวาง ทั้งผรู้ บั บรกิ าร ภายนอกและภายในท้งั ในแง่ปรมิ าณและขอบข่ายการบริการ ๒. องค์กรที่ไม่เปน็ เอกเทศ องคก์ รที่ไม่เปน็ เอกเทศหรือหน่วยงานเทคโนโลยีและ สือ่ สารการศึกษาทเี่ ปน็ สว่ นของหนว่ ยงานอ่นื หมายถงึ องค์กร เทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา ท่ีเป็นส่วนของหนว่ ยงานบรกิ ารอนื่ ส่วนใหญ่เปน็ ของหอ้ งสมดุ หอสมุด สานกั หอสมุด สานกั วิทย บรกิ ารฯลฯ เหตผุ ลท่ีจัดตง้ั เป็นสว่ นหนึ่งขององคก์ รบรกิ ารอนื่ เพราะหนว่ ยงานตน้ สังกัด มีงบประมาณจากัดในแง่บุคลากรและ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ ปรมิ าณผูร้ บั บริการมจี ากดั ขอบขา่ ยการบรกิ ารมี การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

19 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษา จากัด และขดี ความสามารถของบคุ ลากรในการผลติ และการ ให้บรกิ าร ข้อจากดั ๑. ไมม่ ีผู้บริหารระดับสงู เป็นของตนเอง จงึ ไม่มอี านาจ ในการตัดสนิ ใจระดบั สงู ๒. มกี ารจัดองคก์ รหรือแบง่ ส่วนงานได้ไมค่ รบวงจร สว่ น ใหญม่ งุ่ ไปท่งี านผลิตส่ือ ส่วนการบริการบางส่วนจะไปอยใู่ นความ รับผิดชอบของหอ้ งสมดุ บคุ ลากรไม่เพยี งพอในการใหบ้ ริการ ๓. มีการจดั สรรทรพั ยากรและงบประมาณได้รับในฐานะ หนว่ ยงานระดบั แผนก โดยต้องแบง่ ส่วนกบั หน่วยงานอนื่ ในระดับ เดียวกนั ภายในศูนย์หรือสานกั ทีต่ นสังกดั ๔. ขอบขา่ ยการใหบ้ ริการจากัดเฉพาะผ้รู ับบริการ ภายใน จงึ มีความจากัดทัง้ ในแงป่ รมิ าณและขอบข่ายการบรกิ าร กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสือ่ สารการศึกษา และคอมพิวเตอรศ์ ึกษา 20 รูปแบบหนว่ ยงานด้านเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศกึ ษาและ คอมพิวเตอร์ศึกษา สามารถจาแนกรปู แบบหน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษาไดห้ ลายแนว คือ จาแนก ตามหน่วยงานที่สังกัด ตามประเภทส่ือ ตามขอบข่ายเทคโนโลยีและ ส่ือสารการศกึ ษา และตามวงจรการบรกิ าร ตามหน่วยงานทสี่ งั กัด จาแนกเป็นองคก์ รรปู แบบ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาของราชการ องค์กรของรฐั และองคก์ รเอกชน องค์กรราชการ (Governmental Organizations) หมายถงึ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและสือ่ สารการศกึ ษาและ คอมพิวเตอรศ์ กึ ษาทีเ่ ปน็ ส่วนของหนว่ ยราชการ ไดแ้ ก่ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัย โรงเรยี น และหนว่ ยงานส่งเสริมและเผยแพรข่ อง กระทรวงทบวงกรมตา่ งๆ เช่น - สานกั เทคโนโลยีการศึกษาของ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

21 บทที่ ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และสอื่ สารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา - ศนู ย์เทคโนโลยที างการศึกษาของการศกึ ษานอก โรงเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ - ศนู ยเ์ ทคโนโลยกี ารศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวยิ าลัย ฯลฯ อรฐั องค์กร (Non- Governmental Organizations: NGO) หมายถงึ องคก์ รท่ีจดั ขนึ้ ด้วยกลมุ่ คน เพือ่ ดาเนินกจิ การตาม วัตถปุ ระสงค์ให้บรรลุทก่ี าหนด โดยไมห่ วงั กาไร แตกต่างจากองคก์ ร เอกชน (Private Organization) ซง่ึ เปน็ องค์กรทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ภายใต้ การกากับของกระทรวงพาณิชย์ และดาเนนิ งานโดยหวังผลกาไร ภายใต้กรอบของกฎหมาย ตามประเภทส่อื จาแนกรูปแบบเปน็ หนว่ ยผลิตและบริการ ส่ือแต่ละประเภท เชน่ ศูนยส์ ือ่ การศึกษา ศนู ยโ์ สตทัศนศกึ ษา ศนู ย์ เอกสาร ศูนยว์ ทิ ยุและโทรทัศน์ เป็นตน้ ตามขอบข่ายเทคโนโลยีและสือ่ สารการศกึ ษา เชน่ หนว่ ย บริการจดั ระบบและออกแบบระบบการเรียนการสอน หน่วยบรกิ าร วจิ ยั พฤติกรรมครู/นกั เรยี น ศูนยว์ ิทยบรกิ าร พพิ ธิ ภณั ฑ์ ฯลฯ กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และสือ่ สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา 22 ตามวงจรการบรกิ าร จาแนกเป็นหน่วยงานท่ีใหบ้ ริการ เฉพาะชว่ งใดชว่ งหนง่ึ หรอื ครบวงจร เช่น ศูนยผ์ ลิตส่อื ศนู ย์บริการ สื่อ หรอื ใหบ้ ริการทัง้ สองอยา่ ง วสิ ัยทัศนด์ า้ นการจัดระบบงานหนว่ ยงานด้านเทคโนโลยแี ละ สอื่ สารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศกึ ษา วิสัยทศั น์ดา้ นการจดั ระบบงานหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และสอื่ สารการศกึ ษาและคอมพิวเตอร์ศกึ ษาตอ้ งครอบคลุมการ กาหนดภาพรวมที่สะทอ้ นหลักการและแนวทางการจัดองคก์ ร การ วางแผนการผลิตและการตลาด การเงนิ และงบประมาณ การ บริหารบคุ ลากร และการจดั การสารสนเทศในองค์กร ๑. วสิ ยั ทัศน์ด้านการจัดการ เปน็ การกาหนดภาพรวมทเี่ ก่ียวกับรูปแบบ วิธกี ารจัด องค์กร การแบ่งสว่ นงาน ประเภท และจานวนบุคลากรและ ชว่ งเวลาในการดาเนนิ การในการจัดองคก์ รและการแบ่งสว่ นเป็นไป ตามเป้าหมายในระยะเวลาทกี่ าหนด ๒. วิสยั ทศั นด์ า้ นการวางแผนการผลิตและการตลาด การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

23 บทที่ ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา เปน็ การกาหนดภาพรวมใหเ้ กดิ การผลิตและการจาหนา่ ย เผยแพร่โดยคานงึ ถึงจุดแขง็ จุดอ่อนโอกาสและความเสีย่ ง (Strength, Weakness, Opportunity, Threats: SWOT) การ ลงทนุ (Investment) ผลตอบแทนการลงทุน (Return on Investment: ROI) จดุ ค้มุ ทุน (Break-Even Point) และระยะเวลา คนื ทุน (Payback Period) ๓. วิสัยทัศนด์ ้านการเงนิ และงบประมาณ เป็นการกาหนดภาพรวมของแหล่งทมี่ าของรายได้ ที่ไป ของรายจา่ ย และการจัดงบประมาณท่ีจะประกนั ประสทิ ธิภาพของ การใช้เงินใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนที่คุ้มค่าท่สี ุดในสถานการณท์ ีก่ าหนด ๔. วสิ ัยทศั น์ดา้ นการบรหิ ารบคุ คล เปน็ การกาหนดภาพรวมเก่ยี วกบั การแสวงหา การ คดั เลือก การบรรจุ การพฒั นาบรรยากาศในการทางาน การสรา้ ง ขวัญและกาลังใจ สวัสดิการ การเลอ่ื นขั้นเล่ือนตาแหนง่ และการ ประเมนิ การทางานอย่างเปน็ ระบบ ๕. วสิ ัยทัศนด์ า้ นการจัดการสารสนเทศ กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสอ่ื สารการศึกษา และคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 24 เปน็ การกาหนดภาพรวมท่ีเกย่ี วกบั การจัดหา รวบรวม วเิ คราะห์ และการให้บริการด้านขอ้ มูลเพื่อใช้ในองค์กรเทคโนโลยี และส่อื สารการศึกษา วสิ ัยทัศนด์ ้านภารกิจหนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่ือสาร การศึกษาและคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา วสิ ยั ทศั น์ดา้ นภารกจิ หน่วยงานด้านเทคโนโลยีและ สอ่ื สารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษาครอบคลุมวสิ ยั ทศั น์ภารกิจ ด้านการบริหาร วสิ ัยทัศนภ์ ารกิจด้านวชิ าการ วิสัยทัศน์ภารกจิ ด้าน การบริการ ทีส่ อดคลอ้ งกบั ปรัชญาของหน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศกึ ษาโดยกาหนดแนวทางใน รูปคาหลกั เงอ่ื นไขและเกณฑ์ และนาเสนอขอ้ ความแสดงวิสัยทัศน์ แบบกวา้ ง หรือแบบจาเพาะเจาะจง หรือท้ังสองแบบ ๑. วิสยั ทัศน์ภารกจิ ดา้ นการบริหาร เปน็ ข้อความแสดงภาพรวมแสดงกจิ กรรมหลักด้านการ บรหิ ารเพ่อื ให้หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษาและ คอมพิวเตอร์ศกึ ษาสามารถดาเนินงานตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

25 บทที่ ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสือ่ สารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา โดยกาหนดบริบทของวิสัยทัศนด์ า้ นภารกิจโดยให้ครอบคลุม ภารกจิ หรือส่งิ ทต่ี ้องทา เงือ่ นไขเวลา สถานที่ และวธิ ีการ และ มาตรฐานหรือเกณฑส์ าหรบั การประเมนิ ความสาเร็จของภารกจิ ๒. วสิ ัยทศั นภ์ ารกจิ ด้านวชิ าการ เปน็ การกาหนดภาพรวมของภารกิจด้านวิชาการศูนย์ เทคโนโลยกี ารศึกษาจะดาเนินการในชว่ งเวลาหน่งึ โดยการกาหนด บริบทของวิสัยทศั น์ด้านภารกจิ ด้านวิชาการโดยให้ครอบคลมุ ๑) สง่ิ ทตี่ อ้ งทา อาทิ การพัฒนาบคุ ลากรดา้ นผลิตส่อื การศึกษาวิจยั การเผยแพรผ่ ลงาน และการเพ่ิมพูนความรู้ ฯลฯ ๒) เงอ่ื นไข เวลา สถานท่ี และวิธกี าร เช่น จะดาเนนิ การ ฝกึ อบรม เกีย่ วกบั อะไร เมอ่ื ไร ทีไ่ หน ใช้วิธีการฝกึ อบรมแบบใด ฯลฯ และ ๓) เกณฑส์ าหรับประเมนิ ความสาเร็จของภารกจิ วชิ าการ เช่น เกณฑส์ าหรับประเมินความสาเร็จของภารกิจวิชาการ เช่น เกณฑ์การทดสอบประสิทธภิ าพสื่อเดยี่ ว หรือสอ่ื ประสมในรูปของ ชุดการสอน เป็นต้น กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษา และคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 26 ๓. วิสยั ทัศน์ภารกิจดา้ นการบริการ การนาผลผลติ ในรปู แบบสินคา้ และบริการของศนู ย์ เทคโนโลยีการศกึ ษา ออกสกู่ ลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย โดยใหบ้ รกิ ารใน ๓ รูปแบบ คอื บรกิ ารด้านการใช้สอ่ื การเรียนการสอนและการ ฝกึ อบรม บริการดา้ นการบารงุ รกั ษา และบรกิ ารด้านการให้ คาปรึกษา การบริการท่ีดจี ะครอบคลุมขอบข่ายอย่างไร จาเป็นตอ้ ง กาหนดวสิ ยั ทศั น์ไวอ้ ย่างชัดเจน เพื่อจะได้สะทอ้ นให้เหน็ ชัดเจนขน้ึ ในระดบั นโยบาย บทสรปุ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษาเป็น หน่วยงานทถ่ี กู จดั ต้ังขนึ้ มาเพอ่ื การผลติ การบริการงานในขอบขา่ ย ตา่ งๆ และการใหค้ าปรกึ ษาด้านเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา ซง่ึ หนว่ ยงานดา้ นคอมพิวเตอรศ์ ึกษาอาจถกู จัดขึ้นมาใหม้ วี ตั ถปุ ระสงค์ ใกล้เคยี งกบั หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษาแต่อาจมี โครงสร้างการบรหิ ารทีเ่ ลก็ กว่า และมีการผลิต การบรกิ าร การให้ คาปรึกษา มงุ่ เนน้ ไปทีด่ ้านของคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการศกึ ษามากกว่า การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

27 บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสอ่ื สารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา แตท่ งั้ น้ีทั้งนั้นหน่วยงานท้งั ๒ ประเภท ก็มีรูปแบบ รวมถงึ องค์ประกอบต่างๆ ไม่ตา่ งจากกนั มากนัก กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

2 ทฤษฎีและแนวคดิ ทางการบรหิ าร



บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 30 บทที่ ๒ ทฤษฎีและแนวคิดทางการบริหาร ความหมายของแนวความคิด แนวความคดิ (Concept) สามารถให้ความหมายไดว้ ่า หมายถึง “การสรปุ และจดั ระเบียบเรอื่ งราวจากรายละเอียดตา่ งๆ เพอ่ื วางเป็นหลักการ” อาจพูดได้เป็นอกี นยั หนึง่ ว่า แนวความคิด ต่างๆ นน้ั แท้จรงิ คอื การใหค้ าจากดั ความ การให้นิยาม หรือการ กาหนดความหมายน่นั เอง ท้งั น้เี พราะถ้าหากขาดการสรปุ ความ และจดั เป็นขอบเขตคานยิ ามทจี่ ะไว้ใชย้ ดึ ถอื แลว้ การทจี่ ะคดิ ค้น และพัฒนาเป็นความรแู้ ละเปน็ ข้อเท็จจริงต่อไปอีกกจ็ ะทาได้ยาก การมแี นวความคิดเปน็ ส่งิ ยดึ ถืออยู่ตลอดเวลา จงึ นับวา่ เปน็ ส่งิ สาคัญยิง่ ท่จี ะได้มกี ารพฒั นาต่อไปอีก เพอ่ื เปน็ หลกั (principles) และทฤษฎี (theory) ได้ในที่สดุ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

31 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และส่อื สารการศกึ ษาและคอมพวิ เตอร์ศึกษา ความหมายของทฤษฎี ทฤษฎี หมายถึง ความรู้ทีเ่ กดิ ขนึ้ มาจากการรวบรวมแนวความคิด และหลกั การตา่ งๆ ให้เปน็ กลมุ่ กอ้ น และสร้างเป็นทฤษฎขี ึน้ มานั่น คอื ทฤษฎีใดๆ กต็ ามทต่ี ้ังขึน้ มานั้น จะมีขอบเขตกวา้ งกว่าทีจ่ ะคลมุ ถึงการจัดจาแนกหลักการและแนวความคดิ ประเภทเดยี วกนั เอาไว้ ด้วยกนั เป็นหมวดหมนู่ ัน่ เอง การมที ฤษฎคี รอบคลุมเอาไว้ จึง เทา่ กบั เปน็ เคร่ืองมอื เออื้ อานวยให้สามารถมกี รอบของเรื่องราวท่ี เกย่ี วข้องกบั หลกั การต่างๆ และแนวความคดิ เพื่อทจี่ ะสามารถทา การปรับปรุงคาจากัดความและขดั เกลาทฤษฎีนัน้ ๆ ใหล้ ะเอยี ดชัด แจง้ ย่งิ ข้นึ ต่อไปอกี ดงั นนั้ คาวา่ ทฤษฎีการบรหิ ารในทน่ี ้ีจึงนา่ จะ หมายถงึ การพยายามสรปุ ความและจัดระเบียบเรื่องราวต่างๆ ท่ี เปน็ ทง้ั แนวความคดิ และหลักการตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระเบียบนน่ั เอง และในการศกึ ษาวิเคราะหเ์ ร่ืองราวทางการบรหิ ารที่จะกระทาต่อๆ ไป กจ็ ะมุ่งพยายามให้มคี วามชัดเจนที่สุด ในแง่ของแนวความคดิ ทางการบริหารกอ่ นทกุ คร้ัง กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่อื สารการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา 32 แนวความคดิ ทางการบริหาร กระบวนการบริหารมีแนวคิดหลากหลายทั้งจากนัก ทฤษฎีและนักปฏิบตั ิ แต่ละคนจะมีแนวคิดบางส่ิงบางอย่างในการ บริหารที่แตกต่างกัน แล้วแสดงความโดดเด่น ตลอดจนข้อสรุป นาไปสู่กระบวนการบริหารตามแนวคิดของตน ผู้บริหารสานกั งาน ควรได้รับรู้แนวคิดเหล่าน้ี เพ่ือศึกษาเป็นแนวทางการปฏิบัติและ ช่วยให้เข้าใจแนวคิดการบริหารข้อมูลข่าวสารได้ดียิ่งขึ้น แนวคิด ดังกล่าวอาจแบง่ ได้ ๕ ประเภท ดงั นี้ ๑. แนวคดิ ดั้งเดิม (Classical Concept) ๑.๑ ยุคการบริหารเชิงวทิ ยาศาสตร์ เกดิ ขึ้นเพือ่ แก้ปญั หาหลัก ๒ ประการ คอื จะ เพ่มิ ผลผลติ ของคนงานโดยเฉล่ยี ไดอ้ ย่างไร และจะปรบั ปรุง ประสทิ ธภิ าพการบริหารได้อยา่ งไร การบริหารเชิงวทิ ยาศาสตร์จึง เกดิ ข้นึ เพ่อื ทาสง่ิ ทีเ่ ป็นเหตุเป็นผล (Logical) โดยใชส้ ามัญสานกึ ในการตัดสนิ ใจประกอบกบั ความระมดั ระวังปญั หา และการพัฒนา แนวทางแกไ้ ขปัญหาทมี่ ีเหตผุ ล บางคร้งั เรยี กยุคนว้ี า่ ยคุ ของวธิ กี าร การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

33 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษาและคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา แกป้ ัญหาเชงิ วทิ ยาศาสตร์ มงี านของนักบริหารในยคุ น้หี ลายท่านท่ี ใชห้ ลักการบริหารเชงิ วิทย์ เช่น Frederick W. Taylor (ค.ศ. ๑๘๕๖-๑๙๑๕) ถือวา่ เป็นบดิ าแหง่ การบริหารเชิงวทิ ยาศาสตร์ เขาเนน้ การบริหาร ระดับปฏบิ ัติมากกว่าการบริหารท่วั ไป และสนใจประสิทธิภาพ คนงานในการผลติ ที่เกิดขน้ึ จรงิ เขาเชอื่ วา่ คนงานแตล่ ะคนสามารถ ถกู จงู ใจไดด้ ว้ ยผลตอบแทนด้านการเงนิ โดยจะพยายามเรง่ ทา ผลผลติ อย่างเครง่ ครัด เพราะกลัวถูกการไลอ่ อก ซง่ึ ถา้ ผลิตได้มาก ก็สามารถมผี ลตอบแทนมาก ๑.๒ ยคุ การบรหิ ารองคร์ วมท้งั หมด ในยุคนเี้ ปน็ การเน้นถึงปัญหาการบริหาร โดยรวมท้งั หมด ดงั นน้ั การมองภาพจะพิจารณาจากประสทิ ธภิ าพ ของธรุ กิจโดยรวมเป็นเกณฑ์ บางคร้ังเราเรยี กว่า การวเิ คราะหก์ าร บริหารโดยสรปุ มงี านของนักบรหิ ารหลายท่านในยคุ นี้ ไดแ้ ก่ Henri Fayol (ค.ศ. ๑๘๔๑-๑๙๒๕) แนวคิดของเขาคือ ธรรมชาติการบริหาร จึงมบี างคนกลา่ วว่าเขา กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 34 คือ นกั วิเคราะหท์ ฤษฎี โดยเป็นผู้พฒั นาทฤษฎีการบริหารใน ภาพรวมเป็นคร้ังแรก และสรา้ งพลงั กดดนั ให้เกิดความต้องการ โรงเรยี น หรอื มหาวิทยาลยั ในการสอนด้านบรหิ ารอีกดว้ ย ความคดิ ของเขาเปน็ แนวทางการบริหารในยคุ ตอ่ มาจนถงึ ปจั จุบนั ดว้ ย หนา้ ทก่ี ารบรหิ ารหลกั คือ การวางแผน การจัดองค์การ การส่งั การ การประสานงาน และการควบคมุ หลกั การบรหิ ารดังกล่าวไม่เพียง ใช้ในธรุ กิจแต่ใช้ได้ ทกุ แหง่ ทัว่ โลกไม่วา่ จะเปน็ การเมอื ง ศาสนา หนว่ ยงานการกุศล หน่วยงานทหาร หรือองค์การอื่นใด ถอื ไดว้ า่ เปน็ ตน้ กาเนิดการบริหารและเปน็ หลักเกณฑใ์ ห้เกิดการสอนด้าน การบรหิ ารที่มีประสิทธิภาพในยคุ ตอ่ ๆ มา ๒. แนวคิดพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Concept) จากแนวคดิ ด้งั เดิม เรม่ิ มีการขยายความสนใจสู่ เรอ่ื งของมนุษยสมั พันธ์และพฤติกรรมมนุษย์ด้วยแนวคดิ ว่ามนษุ ย์ เป็นสัตวส์ ังคม มีความต้องการดา้ นรา่ งกายและจิตใจทีม่ ี ความสาคัญต่อการทางานดว้ ย การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

35 บทท่ี ๑ หน่วยงานด้านเทคโนโลยี และสอื่ สารการศึกษาและคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา ๒.๑ ยุคมนุษยสมั พันธ์ Elton Mayo (ค.ศ. ๑๘๘๐-๑๙๔๙) เป็น หัวหนา้ นกั วจิ ัยจากมหาวทิ ยาลยั Harvard ทาการศกึ ษากลุม่ คนงานหญงิ ในโรงงาน Hawthrone ที่ Chicago จากปี ๑๙๒๗- ๑๙๓๒ โดยศกึ ษาผลกระทบของสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่มี ตอ่ ผลผลิตภาพของคนงาน จากผลสรุปในการศึกษาพบว่า การ เปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมในการทางาน เชน่ แสง ช่ัวโมงทางาน เวลาพัก การทานอาหารกลางวนั และอื่นๆ ล้วนมีผลกระทบตอ่ ผลติ ภาพของคนงานในระยะยาว การทดลอง Hawthrone พิสจู น์วา่ ความพยายามให้มปี ระสทิ ธภิ าพเพิ่มขึน้ ของคนงาน ขนึ้ อยู่ กบั อารมณ์เทา่ ๆ กับส่ิงแวดลอ้ มในการทางานของคนงาน จึงกล่าว ไดว้ า่ ปจั จยั มนุษย์มีอทิ ธพิ ลตอ่ องคก์ ารและผลกระทบก็มศี ักยภาพ สูงทีเดยี ว กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา และคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 36 ๒.๒ ยคุ พฤติกรรมศาสตร์ จากแนวโนน้ ทฤษฎเี ชงิ พฤตกิ รรมเห็นไดว้ า่ มี ความพยายามอธิบายพฤตกิ รรมในพ้ืนฐานความต้องการดา้ น กายภาพของแตล่ ะบุคคล แตใ่ นยุคนกั พฤตกิ รรมสมัยใหม่ เริม่ มี ความตอ้ งการมากขึน้ เช่น สังคม ด้านจิตใจ เปน็ ตน้ จงึ เกิดความ หลากหลายเปน็ ความสมั พันธ์ร่วมในเชิงพฤตกิ รรมศาสตร์ตา่ งๆ เชน่ Abraham Maslow ความตอ้ งการของมนษุ ย์ ทใ่ี ชเ้ ปน็ กฎเกณฑ์ปัจจบุ ันมาจากนักจติ วิทยาคนน้นี ่นั เอง เขาใช้ การพัฒนาทฤษฎแี รงจูงใจของมนษุ ย์ดว้ ยหลักการวา่ มนษุ ย์ถูกจงู ใจ ด้วยสายลาดบั ช้นั ของความตอ้ งการซึ่งประกอบดว้ ย ๕ ขน้ั ดังภาพ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

37 บทท่ี ๑ หนว่ ยงานด้านเทคโนโลยี และสอ่ื สารการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา ภาพ ๖ แสดงพรี ะมิดแสดงลาดับขั้นความต้องการตามทฤษฎีของ Maslow จากทฤษฎนี ้ี ผบู้ ริหารสานกั งานตอ้ งรบั รู้และตระหนักถึง ความตอ้ งการแตล่ ะชว่ งแตล่ ะข้นั ของพนักงาน ซง่ึ ความแตกต่างกัน ต้องรจู้ กั เลอื กใช้การกระตนุ้ จูงใจใหต้ รงความตอ้ งการของแตล่ ะ บคุ คลหรือกลุม่ ในสานักงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ จึงจะก่อให้เกดิ การบรหิ ารสานักงานท่มี ีประสิทธผิ ลต่อไป กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทที่ ๑ หนว่ ยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษา และคอมพิวเตอรศ์ ึกษา 38 Douglas McGregor ค้นพบวา่ ธรรมชาติมนุษย์มคี ู่ กัน บางคร้งั เป็นความรู้สกึ และอารมณ์ทขี่ ัดแยง้ และมคี วาม ซบั ซ้อนด้วยกลไกทางจิตวิทยา เขาทาการสารวจพฤติกรรมมนษุ ย์ ในองค์การและระบุวา่ ผบู้ ริหารสานักงานอาจพจิ ารณาพฤตกิ รรม มนุษยแ์ ตกต่างกันข้ึนอยู่กบั ประสบการณแ์ ตล่ ะคน แตก่ อ็ าจแยก เป็น ๒ แนวทาง เรียกวา่ ทฤษฎี X และทฤษฎี Y โดยทฤษฎี X จะเน้นความคิดการบรหิ ารเชงิ วิทยาศาสตร์ ในขณะท่ที ฤษฎี Y จะเน้นแนวคดิ ดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์ สรปุ เปน็ ตาราง ดงั น้ี ทฤษฎี X ทฤษฎี Y - พนกั งานไมช่ อบทางานและ - พนกั งานทางานเป็น มักชอบเลยี่ ง ธรรมชาติมีการพัก (ถ้ามีโอกาส) และเล่นในการทางานบ้าง - และพวกเขาไม่ชอบทางาน - การบงั คบั ไมใ่ ชว่ ิธเี ดยี วเพือ่ พนกั งานจึง บรรลุเป้าหมาย ถูกบงั คับใหใ้ ช้ความพยายาม เท่านน้ั พนกั งานต้อง เพื่อบรรลุ ควบคมุ ตวั เอง การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา

39 บทท่ี ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษาและคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา เป้าหมายขององคก์ าร เพอ่ื ให้บรรลตุ ามท่ตี นเอง - มคี วามสัมพันธ์กับความ รับปากไว้ ทะเยอทะยาน - พนักงานจานวนมาก น้อย พวกเขาตอ้ งถูก ชี้แนะ สามารถใช้ ควบคุมและ ความคิดสรา้ งสรรค์ เพอื่ มกั หลกี เลยี่ งความ แกไ้ ขปัญหาได้ รบั ผดิ ชอบ - พนกั งานมโี อกาสใช้ - พนักงานตอ้ งการความมนั่ คง ความสามารถท่ีเฉลยี วฉลาดใน พื้นฐานใน การพฒั นางานเพียงเล็กนอ้ ย การทางาน แตพ่ วกเขามีความต้องการใช้ มาก ตาราง ๑ แสดงการเปรียบเทียบสมมติฐานทฤษฎี X และ Y ของ McGregor กากราบรรบหิ ราหิ ราจรดั จกดั ากราเทรเคทโคนโโนลโยลแี ยลแีะลสะอ่ื สสอ่ื าสรากรากราศรกึ ศษกึ าษา

บทท่ี ๑ หน่วยงานดา้ นเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษา และคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 40 ๓. แนวคดิ การบรหิ ารดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (Management Science Concept) มหี ลายคนให้คานิยามว่าเปน็ แนวคดิ ท่เี น้นวธิ ีเชิง วิทยาศาสตร์ให้เหน็ ปญั หาในระบบการปฏิบัติงานแลว้ ทาการ แกป้ ญั หา โดยการแก้ไขสมการคณิตศาสตรท์ ่ีเปน็ ตวั แทนของ ระบบงาน แนวคดิ นี้เสนอใหผ้ บู้ รหิ ารสานักงานปรบั ปรุงสานักงาน โดยใชว้ ิธีวทิ ยาศาสตร์และเทคนคิ คณิตศาสตรเ์ พ่อื แกป้ ัญหาใน การทางานนัน่ เอง ๔. แนวคดิ การบรหิ ารเชิงคุณภาพ (Quality Management Concept) เปน็ ปรัชญาและหลกั การใช้เปน็ แนวทางองค์การ ในการปรบั ปรุงทีต่ ่อเน่ือง (Continuous Improvement) การ บรหิ ารเชิงคุณภาพตอ้ งใช้วิธีการเชงิ ปริมาณรว่ มกับทรัพยากร องคก์ าร เพ่อื ทาการปรบั ปรงุ ตง้ั แตก่ ระบวนการปฏิบตั ิทุกตาแหน่ง หนา้ ท่ีและระดบั ของความตอ้ งการตา่ งๆ ทง้ั จากลูกค้าและผู้จัดหา (Suppliers) ท่มี ีอยูใ่ นปัจจุบันและอนาคตทม่ี ีผลกระทบตอ่ การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook