Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนเครื่องกลไฟฟ้าและการควบคุม (AutoRecovered)

แผนการสอนเครื่องกลไฟฟ้าและการควบคุม (AutoRecovered)

Published by supakhet sunsrok, 2021-10-19 03:48:10

Description: แผนการสอนเครื่องกลไฟฟ้าและการควบคุม (AutoRecovered)

Search

Read the Text Version

2 แผนการจดั การเรียนรู้ แบบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ บรู ณาการ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 3D ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการและอาเซยี น วิชาเคร่อื งกลไฟฟา้ และการควบคุม รหสั วชิ า 30104 0003 หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาช่างอตุ สาหกรรม สาขาวิชาไฟฟา้ กำลัง จัดทำโดย นายศุภเขตต์ ศนู ยโ์ ศรก วุฒกิ ารศกึ ษา คอบ.วิศวกรรมไฟฟา้ งานพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอน วิทยาลยั เทคนิคสระแก้ว สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3 รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้  ขออนุญาตใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ ................................................................................................................................................................ .................................................... ลงชอ่ื (นายศุภเขตต์ ศนู ย์โศรก) ครูผสู้ อนแผนกวชิ าช่างไฟฟา้ กำลัง .............../................./................  ความเหน็ ของหัวหนา้ แผนกวิชา ...................................................................................................................................................................... .................................................... ลงช่ือ (นายธีระยทุ ธ มอญขาม) หัวหนา้ แผนกวชิ าไฟฟา้ กำลัง .............../................./................  ความเหน็ ของหัวหน้างานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน ...................................................................................................................................................................... .................................................... ลงช่ือ (นายธรรมนูญ แก้วเสถียร) หัวหนา้ งานพฒั นาหลักสูตรการเรยี นการสอน .............../................./................  ควรอนญุ าตใหใ้ ช้การสอนได้  เห็นควรปรบั ปรุงดังเสนอ  อ่ืน............................................................................................................................................................ ............................................. ลงชอื่ (ดร.ธรี ะพงษ์ วงศป์ ระเสริฐ) รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ .............../................./...............  อนญุ าตให้ใชก้ ารสอนได้  อ่นื ............................................................................................................................................................. .............................................. ลงชื่อ (นายจรสั เล่หส์ งิ ห)์ ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยเทคนคิ สระแกว้ .............../................./...............

4 โครงการสอนรายวชิ า รหัสวิชา 30104 0003 รายวิชา เครื่องกลไฟฟ้าและการควบคุม ระดับชัน้ .......... ปวส. 1 ..........................สาขาวิชา.....ช่างไฟฟ้ากำลงั .................สาขางาน.............ไฟฟา้ กำลงั ... จำนวนชว่ั โมง/สัปดาห์..........7..........ชวั่ โมง จำนวน..............3...............หนว่ ยกติ 1. จุดประสงคร์ ายวชิ า เพื่อให้ 1. เขา้ ใจโครงสร้าง ส่วนประกอบ หลกั การทำงานและใช้งานของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงและ เครื่องกล ไฟฟา้ กระแสสลบั 2. มีทกั ษะในการควบคุมเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครอ่ื งกลไฟฟ้ากระแสสลบั 3. สามารถตรวจสอบและบำรุงรักษาเคร่อื งกลไฟฟ้ากระแสตรงและเคร่ืองกลไฟฟา้ กระแสสลบั 4. มีกจิ นิสัยในการทำงานรว่ มกับผ้อู ื่นด้วยความประณตี รอบคอบ และปลอดภยั 2. สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับโครงสรา้ ง สว่ นประกอบ หลกั การทำงานและใช้งานของเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสตรง และเครื่องกลไฟฟา้ กระแสสลับ 2. ปฏิบัตงิ านควบคุม ตรวจสอบและบำรุงรกั ษาเคร่ืองกลไฟฟา้ กระแสตรงและเคร่อื งกลไฟฟา้ กระแสสลับ 3. คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั หลักการแมเ่ หล็กไฟฟ้า การเหน่ียวนำไฟฟา้ โครงสรา้ ง สว่ นประกอบเครื่องกำเนิด ไฟฟ้ากระแสตรง เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ หม้อแปลง ไฟฟา้ การทดสอบ การควบคุม อุปกรณ์ในงานควบคุมเคร่อื งกลไฟฟ้า การนำไปใชง้ านและตรวจสอบบำรุงรักษา

4. การวิเคราะหเ์ นื้อหา 5 สมรรถนะรายวิชา เนอ้ื หา/สาระ 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั โครงสรา้ ง ส่วนประกอบ ศกึ ษาเกยี่ วกบั หลักการทำงานและใช้งานของเครื่องกลไฟฟ้า 1. หลักการแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและการเหนี่ยวนำ กระแสตรงและเคร่อื งกลไฟฟ้ากระแสสลบั 2. โครงสร้างและหลักการเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 3. โครงสร้างและหลักการเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 2. ปฏิบัติงานควบคุม ตรวจสอบและบำรงุ รกั ษา 4. โครงสร้างและหลกั การมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เครอ่ื งกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครื่องกลไฟฟ้า 5. โครงสร้างและหลกั การมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั กระแสสลับ 6. โครงสร้างและหลักการหม้อแปลงไฟฟา้ 1. การขนานเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 2. อุปกรณใ์ นงานควบคุมเคร่ืองกลไฟฟา้ 3.วธิ กี ารกลบั ทิศทางการหมุนของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 4. การควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 5. วธิ ีการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 6. การควบคุมความเรว็ ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลับ 7. การทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้า

6 ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร รหัสวชิ า 30104 0003 ชื่อวิชา เคร่ืองกลไฟฟ้าและการควบคมุ ที่ เรือ่ ง เนอื้ หา ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม • แมเ่ หล็กไฟฟา้ 2 12 14 • วงจรแม่เหลก็ 3 18 21 • กระแสไหลวน • สนามแม่เหลก็ 1 แม่เหลก็ ไฟฟา้ และการ • เส้นแรงแมเ่ หลก็ เหน่ียวนำ • การเหนยี่ วนำ • กฎของฟาราเดยเ์ กยี วกบั การเหนยี วนำ • กฎมือขวาของเฟลมมิ่ง • กฎของแมกซ์เวลล์ • การเหนีย่ วนำแรงดันไฟฟ้า • โครงสร้างและสว่ นประกอบ • หลกั การเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง • ชนิดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 2 เครือ่ งกำเนดิ ไฟฟา้ • การเกิดแรงดันไฟฟา้ เหน่ียวนำในเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง กระแสตรง • อารเ์ มเจอรร์ ีแอกชนั • ประสทิ ธิภาพขอเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง • โครงสร้างและสว่ นประกอบ 3 18 21 • ความเร็วรอบและความถ่ี • ขดลวดอารเ์ มเจอร์ 3 เครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้า • การต่อขดลวดในเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั กระแสสลับ • สมการแรงดนั ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ • เครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับขณะมีโหลด • ซิงโครนัสรีแอกซ์แตนซ์ • โวลเตจเรกูเลชนั การขนานเครือ่ งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

7 ท่ี เร่ือง เนื้อหา ชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม • โครงสร้างและส่วนประกอบ 3 18 21 • ชนิดของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง • อารเ์ มเจอร์รแี อกชันในมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระสตรง • คณุ ลักษณะและการใชง้ านมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 4 • อปุ กรณ์ในงานควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟ้า • วธิ ีการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง • การควบคมุ ความเร็วของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง • โครงสร้างและสว่ นประกอบ 3 18 21 • ชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 5 มอเตอรไ์ ฟฟ้า • คณุ ลกั ษณะและการใช้งานมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั กระแสสลับ • วิธีการกลับทิศทางการหมนุ ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ การควบคมุ ความเรว็ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั • โครงสร้างของหมอ้ แปลง 3 18 21 • หลกั การทำงานเบ้อื งต้นของหม้อแปลงไฟฟ้า • หม้อแปลงไฟฟ้าในอดุ มคติ • หม้อแปลงไฟฟ้าที่ใชง้ านจรงิ 6 หมอ้ แปลงไฟฟ้า • การทดสอบหมอ้ แปลงไฟฟ้า • การสูญเสยี ในหม้อแปลงไฟฟ้า • ประสิทธภิ าพของหม้อแปลงไฟฟ้า • หม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟส • หม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส • การขนานหม้อแปลงไฟฟ้า สอบปลายภาคเรียน 167 รวม 18 108 126

8 ตารางวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา รหสั วชิ า 30104 0003 ชอื่ วิชา เครื่องกลไฟฟา้ และการควบคมุ ท่ี เรอ่ื ง จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1.1 อธิบายกฎของฟาราเดยเ์ กียวกับการเหนยี วนำได้ 1 แมเ่ หล็กไฟฟา้ และการ 1.2 อธบิ ายการใช้กฎมือขวาของเฟลมมงิ่ ได้ เหนย่ี วนำ 1.3 อธบิ ายกฎของแมกซเ์ วลล์ได้ 1.4 อธิบายการเกดิ การเหน่ยี วนำแรงดันไฟฟา้ ได้ 2.1 บอกหนา้ ทโี่ ครงสรา้ งและส่วนประกอบของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 2.2 อธิบายหลักการเคร่อื งกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรงได้ 2 เคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ 2.3 บอกชนดิ ของเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรงได้ กระแสตรง 2.4 อธบิ ายนการเกดิ แรงดนั ไฟฟา้ เหนย่ี วนำในเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า กระแสตรงได้ 2.5 อธบิ ายการเกดิ อาร์เมเจอรร์ ีแอกชนั ได้ 2.6 อธบิ ายข้นั ตอนการหาประสทิ ธภิ าพขอเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 3.1 บอกหน้าทโี่ ครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า กระแสสลบั ได้ 3.2 บอกความสมั พันธร์ ะหวา่ งความเร็วรอบและความถ่ีได้ 3.3 อธิบายการพันขดลวดอารเ์ มเจอร์ได้ 3 เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า 3.4 อธิบายการต่อขดลวดในเครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับได้ กระแสสลับ 3.5 ใช้สมการแรงดันไฟฟ้าเหน่ยี วนำในการคำนวณได้ 3.6 อธิบายเครอื่ งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั ขณะมีโหลดได้ 3.7 อธบิ ายการเกดิ ซงิ โครนสั รีแอกซแ์ ตนซ์ได้ 3.8 อธบิ ายการเกดิ โวลเตจเรกูเลชันได้ 3.9 อธิบายขนั้ ตอนการขนานเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับได้ 4.1 บอกหน้าที่โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4.2 บอกชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4.3 อธิบายการเกดิ อารเ์ มเจอรร์ ีแอกชันในมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4.4 บอกหนา้ ทอี่ ปุ กรณ์ในงานควบคุมเคร่ืองกลไฟฟา้ ได้ 4 มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระสตรง 4.5 อธบิ ายคุณลักษณะและการใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4.6 ปฏิบัติการต่อวงจรการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงได้ 4.7 ปฏบิ ตั กิ ารตอ่ วงจรการควบคุมความเร็วของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้

ท่ี เรอ่ื ง 9 5 มอเตอรไ์ ฟฟ้า จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม กระแสสลับ 5.1 บอกหน้าทีโ่ ครงสร้างและส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 6 หม้อแปลงไฟฟ้า 5.2 บอกชนดิ ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั ได้ 5.3 บอกคุณลกั ษณะและการใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับได้ 5.4 ปฏิบตั ิการตอ่ วงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้า กระแสสลับ 5.5 ปฏบิ ตั กิ ารต่อวงจรการควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 6.1 บอกหนา้ ทโี่ ครงสรา้ งของหม้อแปลงได้ 6.2 อธบิ ายหลกั การทำงานเบ้ืองต้นของหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 6.3 อธิบายหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติได้ 6.4 อธบิ ายหมอ้ แปลงไฟฟ้าทีใ่ ช้งานจริงได้ 6.5 บอกขน้ั ตอนการทดสอบหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ 6.6 อธบิ ายการเกิดการสูญเสียในหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 6.7 อธบิ ายการหาประสิทธิภาพของหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 6.8 อธบิ ายการทำงานหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสได้ 6.9 อธบิ ายการทำงานหม้อแปลงไฟฟา้ 3 เฟสได้ 6.10 บอกขนั้ ตอนการขนานหม้อแปลงไฟฟา้ ได้

แผนการวเิ ครา รหสั วชิ า 30104 0003 วิชา เคร่อื งกลไฟฟา้ และการคว ระดับประกาศนยี บัตรว จดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะ คำอธบิ ายรายวชิ า หน่วย รายวชิ า 1. เข้าใจโครงสร้าง 1. แสด ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ แมเ่ หล็กไฟ และกา ส่วนประกอบ หลักการ งความรู้ หลักการแม่เหล็กไฟฟ้า การ เหนีย่ วน ทำงานและใช้งานของ เก่ียวกบั เหนี่ยวนำไฟฟ้า โครงสร้าง เ ค ร ื ่ อ ง ก ล ไ ฟ ฟ้ า โครงสรา้ ง ส่วนประกอบเครื่องกำเนิด กระแสตรงและ ส่วนประกอบ ไฟฟ้ากระแสตรง เครื่อง หลักการทำงาน เ ค ร ื ่ อ ง ก ล ไ ฟ ฟ้ า และใชง้ านของ กำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เครอ่ื งกำเ กระแสสลับ เครอื่ งกลไฟฟา้ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟา้ หม้อแปลงไฟฟ้า การ กระแสตรงและ กระแสต เครื่องกลไฟฟ้า กระแสสลับ ท ด ส อ บ ก า ร ค ว บ คุ ม 2. มีทักษะในการ 2. ปฏิ อุปกรณ์ในงาน ค ว บ คุ ม เครื่องกลไฟฟ้า การนำไปใช้ ควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า บัติงานควบคมุ งานและตรวจสอบ เครอ่ื งกำเ บำรงุ รกั ษา ไฟฟา้ ก ร ะ แ ส ต ร ง แ ล ะ ตรวจสอบและ บำรงุ รกั ษา กระแสส เครอ่ื งกลไฟฟา้

11 าะห์หลักสูตร วบคมุ สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลัง สาขางานไฟฟา้ กำลัง วิชาชีพชัน้ สงู (ปวส.) ย ชม. จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ทป ฟฟ้า 1.1 อธบิ ายกฎของฟาราเดย์เกยี วกบั การเหนียวนำได้ าร นำ 2 12 1.2 อธบิ ายการใช้กฎมือขวาของเฟลมม่งิ ได้ 1.3 อธบิ ายกฎของแมกซเ์ วลล์ได้ 1.4 อธบิ ายการเกดิ การเหน่ียวนำแรงดันไฟฟา้ ได้ 2.1 บอกหนา้ ที่โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า กระแสตรงได้ เนดิ 2.2 อธบิ ายหลกั การเครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรงได้ า ตรง 3 18 2.3 บอกชนดิ ของเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2.4 อธบิ ายนการเกดิ แรงดันไฟฟา้ เหนี่ยวนำในเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า กระแสตรงได้ 2.5 อธิบายการเกิดอารเ์ มเจอรร์ ีแอกชนั ได้ อธิบายขน้ั ตอนการหาประสิทธิภาพขอเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 3.1 บอกหน้าท่ีโครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า เนิด กระแสสลับได้ า 3 18 3.2 บอกความสมั พนั ธ์ระหว่างความเร็วรอบและความถ่ีได้ สลบั 3.3 อธบิ ายการพันขดลวดอาร์เมเจอร์ได้ 3.4 อธบิ ายการต่อขดลวดในเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับได้

เ ค ร ื ่ อ ง ก ล ไ ฟ ฟ้ า กระแสตรงและ กระแสสลบั เครือ่ งกลไฟฟ้า กระแสสลบั 3. สามารถตรวจสอบ มอเตอร์ไฟ และบำรุงรักษา กระสตร เ ค ร ื ่ อ ง ก ล ไ ฟ ฟ้ า กระแสตรงและ มอเตอรไ์ ฟ เ ค ร ื ่ อ ง ก ล ไ ฟ ฟ้ า กระแสส กระแสสลบั 4. มีกิจนิสัยในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นด้วย ความประณีต รอบคอบ และปลอดภยั

12 3.5 ใช้สมการแรงดนั ไฟฟา้ เหนย่ี วนำในการคำนวณได้ 3.6 อธิบายเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั ขณะมีโหลดได้ 3.7 อธบิ ายการเกดิ ซงิ โครนสั รแี อกซแ์ ตนซ์ได้ 3.8 อธบิ ายการเกดิ โวลเตจเรกูเลชันได้ อธบิ ายขั้นตอนการขนานเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 4.1 บอกหน้าที่โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ได้ 4.2 บอกชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ ฟฟ้า 4.3 อธิบายการเกิดอาร์เมเจอร์รีแอกชันในมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้ รง 3 18 4.4 บอกหน้าที่อุปกรณ์ในงานควบคุมเครื่องกลไฟฟ้าได้ 4.5 อธบิ ายคุณลักษณะและการใช้งานมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 4.6 ปฏบิ ัติการตอ่ วงจรการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 4.7 ปฏิบตั ิการตอ่ วงจรการควบคุมความเรว็ ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง ได้ 5.1 บอกหน้าท่โี ครงสรา้ งและสว่ นประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ ฟฟ้า 3 5.2 บอกชนิดของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ได้ สลบั 18 5.3 บอกคณุ ลกั ษณะและการใชง้ านมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับได้ 5.4 ปฏิบตั ิการต่อวงจรการกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้า กระแสสลับ ปฏิบตั กิ ารตอ่ วงจรการควบคุมความเรว็ ของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั

หม้อแปล ไฟฟ้า สอบปลายภาค รวม รวมท้ังส้ิน

13 6.1 บอกหน้าท่ีโครงสรา้ งของหม้อแปลงได้ 6.2 อธิบายหลักการทำงานเบื้องต้นของหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 6.3 อธบิ ายหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติได้ 6.4 อธิบายหม้อแปลงไฟฟ้าทใ่ี ชง้ านจริงได้ 6.5 บอกขัน้ ตอนการทดสอบหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ 6.6 อธบิ ายการเกิดการสญู เสยี ในหม้อแปลงไฟฟ้าได้ ลง 6.7 อธิบายการหาประสิทธภิ าพของหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ า 3 18 6.8 อธบิ ายการทำงานหม้อแปลงไฟฟ้า 1 เฟสได้ 6.9 อธิบายการทำงานหม้อแปลงไฟฟา้ 3 เฟสได้ บอกขนั้ ตอนการขนานหมอ้ แปลงไฟฟา้ ได้ 16 18 108 126

ผังการสร้างแบบทดสอบ (Te รหสั วิชา 30104 0003 วชิ า เคร่อื งกลไฟฟ้าและกา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู ( หน่วย/เรอ่ื ง จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม แมเ่ หล็กไฟฟ้าและการ 1.1 อธิบายกฎของฟาราเดย์เกียวกับการเหนยี วนำได้ เหน่ยี วนำ 1.1 อธิบายการใช้กฎมือขวาของเฟลมมิ่งได้ 1.2 อธิบายกฎของแมกซเ์ วลล์ได้ เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ 1.3 อธบิ ายการเกิดการเหนี่ยวนำแรงดนั ไฟฟา้ ได้ กระแสตรง 2.1 บอกหนา้ ที่โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครื่องกำ เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า ได้ กระแสสลับ 2.2 อธิบายหลกั การเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2.3 บอกชนิดของเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรงได้ 2.4 อธบิ ายนการเกดิ แรงดนั ไฟฟ้าเหนี่ยวนำในเคร่อื งกำเน 2.5 อธิบายการเกิดอารเ์ มเจอรร์ ีแอกชันได้ 2.6 อธบิ ายข้นั ตอนการหาประสิทธภิ าพขอเครอื่ งกำเนิดไ 3.1 บอกหนา้ ที่โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครื่องกำ ได้ 3.2 บอกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความเร็วรอบและความถ่ีไ 3.3 อธบิ ายการพันขดลวดอาร์เมเจอร์ได้ 3.4 อธบิ ายการต่อขดลวดในเครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสล

14 est Blueprint) ภาคทฤษฎี ระดบั พฤตกิ รรมพทุ ธพิ สิ ัย ารควบคมุ สาขาวชิ า ไฟฟา้ สาขางานไฟฟา้ กำลงั (ปวส.) เวลาที่ใช้ทดสอบ 1 ชั่วโมง จำนวน ข้อ น้ำหนัก ความสำคัญ ู้ร-จำ เข้าใจ นำไปใ ้ช ิวเคราะ ์ห ประเมิน ส ้รางค่สารรค์ ำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง 2 2 11 2 1 11 2 1 11 2 2 11 2 2 11 นดิ ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2 2 11 2 2 11 ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2 2 11 ำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 3 12 4 2 11 2 2 11 ได้ 2 2 1 1 3 2 111 ลับได้ 3 2 1 1 1

มอเตอร์ไฟฟ้ากระสตรง 3.5 ใช้สมการแรงดนั ไฟฟ้าเหนยี่ วนำในการคำนวณได้ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3.6 อธบิ ายเครอื่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับขณะมีโหลดได 3.7 อธิบายการเกดิ ซิงโครนัสรีแอกซแ์ ตนซ์ได้ หม้อแปลงไฟฟ้า 3.8 อธบิ ายการเกิดโวลเตจเรกเู ลชนั ได้ 3.9 อธิบายข้นั ตอนการขนานเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสส 4.1 บอกหนา้ ท่โี ครงสร้างและส่วนประกอบของมอเตอร์ไ 4.2 บอกชนดิ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงได้ 4.3 อธิบายการเกิดอาร์เมเจอร์รีแอกชันในมอเตอรไ์ ฟฟ้า 4.4 บอกหน้าท่ีอปุ กรณใ์ นงานควบคุมเครื่องกลไฟฟ้าได้ 4.5 อธบิ ายคุณลักษณะและการใช้งานมอเตอร์ไฟฟา้ กระ 4.6 ปฏิบตั ิการตอ่ วงจรการกลบั ทิศทางการหมนุ ของมอเ ได้ 4.7 ปฏิบัติการต่อวงจรการควบคุมความเร็วของมอเตอร 5.1 บอกหน้าทโ่ี ครงสร้างและส่วนประกอบของมอเตอร์ไ 5.2 บอกชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั ได้ 5.3 บอกคณุ ลกั ษณะและการใชง้ านมอเตอร์ไฟฟ้ากระแส 5.4 ปฏบิ ตั กิ ารตอ่ วงจรการกลับทิศทางการหมุนของมอเ 5.5 ปฏิบตั กิ ารต่อวงจรการควบคุมความเร็วของมอเตอร 6.1 บอกหนา้ ที่โครงสรา้ งของหม้อแปลงได้ 6.2 อธบิ ายหลกั การทำงานเบ้ืองต้นของหม้อแปลงไฟฟา้ ไ 6.3 อธบิ ายหมอ้ แปลงไฟฟ้าในอุดมคติได้ 6.4 อธิบายหม้อแปลงไฟฟ้าที่ใชง้ านจรงิ ได้ 6.5 บอกขั้นตอนการทดสอบหม้อแปลงไฟฟา้ ได้

15 ด้ 2 2 11 2 2 11 สลับได้ 4 2 112 ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 4 2 112 4 2 112 ากระแสตรงได้ 2 2 111 4 2 112 ะแสตรงได้ 4 2 112 เตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 4 2 112 4 2 112 ร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 4 2 112 ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 4 2 112 สสลบั ได้ 2 2 11 เตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลับ 4 2 112 ร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 4 2 112 4 2 112 ได้ 4 2 112 2 2 11 4 2 22 2 2 11 2 2 11 5 2 122

6.6 อธบิ ายการเกดิ การสญู เสยี ในหม้อแปลงไฟฟ้าได้ 6.7 อธบิ ายการหาประสทิ ธภิ าพของหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ 6.8 อธบิ ายการทำงานหม้อแปลงไฟฟา้ 1 เฟสได้ 6.9 อธบิ ายการทำงานหม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟสได้ 6.10 บอกข้ันตอนการขนานหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ รวม

16 2 2 11 2 2 11 2 2 11 2 2 11 4 2 121 100 80 42 45 32

ผงั การสร้างแบบทดสอบ (Te รหัสวิชา 30104 0003 วิชา เครือ่ งกลไฟฟา้ และการคว ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพชนั้ สูง ( จุดประสงค์รายวชิ า/สมรรถนะรายวิชา/คำอธบิ ายรายวิชา จ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. ปฏ 1. เข้าใจโครงสร้าง ส่วนประกอบ หลักการทำงานและใช้งานของเครอื่ งกลไฟฟา้ กระแสตรง มอเต และ เครอ่ื งกลไฟฟา้ กระแสสลบั 2. ปฏ 2. มีทกั ษะในการควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลบั มอเต 3. สามารถตรวจสอบและบำรงุ รักษาเครอื่ งกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครอื่ งกลไฟฟา้ ออโต กระแสสลับ 4. มีกจิ นิสัยในการทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ดว้ ยความประณีต รอบคอบ และปลอดภยั สมรรถนะรายวชิ า 2. มที ักษะในการควบคุมเคร่ืองกลไฟฟา้ กระแสตรงและเครอ่ื งกลไฟฟ้ากระแสสลับ 3. สามารถตรวจสอบและบำรุงรักษาเครือ่ งกลไฟฟา้ กระแสตรงและเครอ่ื งกลไฟฟา้ กระแสสลับ 4. มีกจิ นสิ ยั ในการทำงานรว่ มกับผู้อ่นื ดว้ ยความประณตี รอบคอบ และปลอดภยั คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัติเก่ียวกบั หลักการแม่เหล็กไฟฟา้ การเหนี่ยวนำไฟฟา้ โครงสร้าง ส่วนประกอบเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั หม้อแปลงไฟฟา้ การทดสอบ การควบคุม อปุ กรณใ์ นงานควบคมุ เครอ่ื งกลไฟฟ้า การนำไปใชง้ านและตรวจสอบบำรงุ รกั ษา

17 est Blueprint) ภาคปฏิบตั ิ วบคมุ สาขาวชิ า ชา่ งไฟฟ้ากำลัง สาขางานไฟฟ้ากำลงั (ปวส.) เวลาท่ีใช้ทดสอบ 4 ชั่วโมง จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม กำหนดงานทใี่ ช้วดั สอบ น้ำหนัก เวลาท่ี ภาคปฏิบัติ ใช้สอบ 30 6 ชม. ฏิบัตกิ ารตอ่ วงจรควบคุม 1. ปฏบิ ตั ิการต่อวงจรกำลงั 30 40 ตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสได้ 2. ปฏิบตั กิ ารตอ่ วงจรควบคุม ฏบิ ตั ิการต่อวงจรเรม่ิ เดิน 3. การทดสอบวงจร ตอร์แบบสตาร์-เดลตา และด้วย ตท้ รานส์ฟอร์เมอร์ได้



18

19 แผนการประเมนิ ผลการเรียน รหสั วชิ า 30104 0003 รายวชิ า เคร่ืองกลไฟฟา้ และการควบคุม 6.1 แนวการประเมนิ ผลการเรยี น 6.1.1 พทุ ธพิสัย 20 คะแนน 6.1.2 ทกั ษะพสิ ยั 60 คะแนน 6.1.3 คุณธรรม จริยธรรม 20 คะแนน 6.2 แผนการวัด ประเมิน หน่วย คะแนนระหว่างภาค คะแนน เครอ่ื งมอื การวดั ผล หมายเหตุ ครงั้ ที่ ที่ เรอ่ื ง/ขอบเขต/เน้ือหา 1 1 แมเ่ หล็กไฟฟา้ และการเหน่ียวนำ 10 แบบทดสอบภาคทฤษฎี 2 2 เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรง 10 แบบทดสอบการต่อวงจร 3 3 เครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 10 แบบทดสอบการต่อวงจร 4 4 มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระสตรง 15 แบบทดสอบการต่อวงจร 5 5 มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ 15 แบบทดสอบการต่อวงจร 6 6 หมอ้ แปลงไฟฟ้า 10 แบบทดสอบการต่อวงจร รวมคะแนนระหว่างภาค 70 คะแนนสอบปลายภาค 10 คะแนนคุณธรรม จริยธรรมฯ 20 คะแนนรวม 100

20 แผนการสอน/การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 1 ชอ่ื วิชา เคร่ืองกลไฟฟา้ และการควบคมุ สปั ดาหท์ ี่ 1-2 ชื่อหน่วย แม่เหลก็ ไฟฟ้าและการเหน่ยี วนำ คาบรวม 14 ช่ือเรอ่ื ง แม่เหล็กไฟฟ้าและการเหนีย่ วนำ จำนวนคาบ 7 1. สาระสำคญั ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism) คือ วิชาฟิสิกส์ที่ศึกษาสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็น สนามที่แผ่ไปในปริภูมิ (space) และออกแรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า มีผลทำให้เกิดการเคลื่อนท่ี ของอนุภาคนั้นโดยแรงแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหนึ่งในสี่อันตรกิริยาพื้นฐาน (fundamental interaction in nature) อนั ประกอบไปด้วยแรงนวิ เคลียรช์ นิดเข้ม (strong interaction), แรงแมเ่ หล็กไฟฟ้า, แรงนิวเคลียร์ ชนิดอ่อน (weak interaction), และแรงโน้มถว่ ง 2. สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย 1. แสดงความร้เู กยี่ วกับทฤษฎแี ม่เหลก็ 2. ต่อวงจรขดลวดและคำนวณหาแรงดันแม่เหลก็ ตามการทดลอง 3. จดุ ประสงค์การสอน/การเรยี นรู้ จดุ ประสงคท์ ั่วไป 1. อธิบายสารแม่เหล็ก 2. บอกค่าต่าง ๆ ที่ควรทราบเก่ียวกบั แม่เหล็ก 3. อธิบายค่าความซาบซึมได้ 4. อธบิ ายเสน้ โค้งกำเนดิ แม่เหล็ก 5. คำนวณหาค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับแม่เหล็ก จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. ต่อวงจรของขดลวดในการเกิดแม่เหล็กและบอกขวั้ แม่เหล็ก 2. ตอ่ วงจรการเกิดอำนาจแม่เหล็กจากแกนเหล็ก 3. คำนวณหาค่าแรงดันแมเ่ หล็กและความเข้มของสนามแมเ่ หล็กจากการทดลอง 4. เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรียนรู้ • ด้านความรู้(ทฤษฎี) 1.1 สารแม่เหลก็ สารแม่เหล็ก คือสารทส่ี ามารถแสดงอำนาจแม่เหล็กออกมาไดห้ รอื สารท่ีแม่เหลก็ สามารถดงึ ดูดได้ 1.2 ค่าต่าง ๆ ท่ีควรทราบเกี่ยวกบั แมเ่ หล็ก 1.2.1 ขว้ั แม่เหล็ก (Pole)

21 1.2.2 เสน้ แรงแม่เหลก็ และสนามแมเ่ หลก็ 1.2.3 ความหนาแนน่ ของเสน้ แรงแม่เหล็ก 1.2.4 แรงดันแมเ่ หล็ก 1.2.5 ความเขม้ ของสนามแมเ่ หลก็ 1.3 ความซาบซึมได้ 1.3.1 ความซาบซึมได้ของอากาศ 1.3.2 ความซาบซมึ ได้สัมพัทธ์ 1.4 เส้นโค้งกำเนิดแม่เหลก็ • ดา้ นทักษะ(ปฏบิ ัติ) 1.5 การคำนวณหาค่าตา่ ง ๆ เก่ียวกบั แม่เหล็ก • ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม/ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/อาเซียน/ คา่ นิยม 12 ประการ เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ์ สอดคล้องกับงานและใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติงานได้ถูกต้องและสำเร็จภายในเวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุผล ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สอนและฝึกหดั ให้นกั เรยี น นกั ศกึ ษา รจู้ กั การทำงานเป็นกลมุ่ การรับ ฟังความคิดเห็นเหตุผลของผู้อื่นและปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูล และรักใคร่ปรองดองในสถานศึกษา กระตุ้นและเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษากล้าที่จะแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา และกิจกรรมของชุมชน ปลูกจิตสำนึกใหน้ ักเรียน นักศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม รู้รับผิดชอบชั่วดี มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับโทษภัยของยาเสพตดิ และการหลีกเลย่ี งหา่ งไกลยาเสพติดเพื่อให้มี ภมู ิคมุ้ กนั อยา่ งย่งั ยนื 5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้ กจิ กรรมนักเรยี น กิจกรรมครู ขน้ั สนใจปัญหา 1. นักเรยี นจดบนั ทกึ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ข้ันนำเข้าสู่บทเรียน ข้ันศกึ ษาข้อมลู 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี น 2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ข้ันสอนทฤษฎี 3. นักเรียนฟังครบู รรยายและจดบันทกึ 2. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครบู รรยายเนือ้ หาประกอบแผ่นใส/ power point 4. ครูให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาการเรียนรูใ้ นหนงั สือ

22 5. ซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเน้ือหาที่เรยี น 4. นักเรียนศึกษาหนว่ ยการเรียนที่ไดร้ บั มอบหมาย และตอบคำถาม ขนั้ สอนปฏบิ ัติ ขน้ั ศึกษาขอ้ มลู 6. ครูให้นักเรียนศึกษาใบงานการทดลองประจำหน่วยการ 6. นักเรยี นศกึ ษาใบงานการทดลองประจำ เรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ 7. ครูให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มจดั เตรยี มเครอ่ื งมือและอุปกรณ์ 7. นกั เรยี นจัดเตรยี มเครื่องมือและอปุ กรณ์ ตามใบงานการทดลอง 8. ครูสังเกตการปฏบิ ตั ิงานและคอยใหค้ ำแนะนำ อยา่ งใกล้ชดิ สรุป ขน้ั พยายามและขน้ั สำเร็จผล 9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปผลการเรียนรู้ 8. นกั เรยี นช่วยกนั สรุปเนื้อหาท่เี รียนและจด 10. ครูใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ติ ามใบงานการทดลองประจำ บนั ทกึ หนว่ ยการเรยี นรู้ 9. นักเรยี นปฏิบัตติ ามใบงานการทดลอง 11. ครูคอยสังเกตลำดับขน้ั ตอนการทำงานและให้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ เม่ือพบปญั หาให้ คำแนะนำเมื่อพบนักเรยี นปฏิบัติไม่ถูกต้อง สอบถามครูผู้สอน 12. ครใู ห้นกั เรียนท่ปี ฏบิ ัตงิ านเสรจ็ แล้วส่งตรวจทโ่ี ตะ๊ ตรวจ 10. นกั เรียนส่งผลการปฏิบตั งิ านใหค้ รูตรวจ งานเพ่ือขอคำแนะนำและและประเมินผล13. ทำ 11.นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น แบบทดสอบหลังเรียน 12. นกั เรียนชว่ ยกนั สรุปเนือ้ หาและจดบันทึก 14. ครแู จ้งนโยบายสถานศึกษา 3D ของกระทรวงศึกษา ซ่ึง ประกอบด้วยสาระเกี่ยวกับเร่ืองทีเ่ รียน เป็นกจิ กรรมทม่ี งุ่ ส่งเสริมพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะทดี่ ี 13. นกั เรียนจดบนั ทึกนโยบายสถานศกึ ษา งาม 3 ด้าน คือ 1. ด้าน 3 D พร้อมกบั อภิปรายแนวทางนำไปปฏบิ ัติ ประชาธปิ ไตย (Democracy) 2. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ใชใ้ นชีวติ ประจำวันและในรายวิชาทเี่ รยี น และความเปน็ ไทย (Decency) 3. ดา้ นภูมิค้มุ กนั จากยาเสพ 14. นักเรยี นรบั ฟงั และจดบนั ทึกหลักปรัชญา ตดิ (Drug – Free) ของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยมีความรับผดิ ชอบ 15. ครอู ธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อบรู ณา และพยายามสืบคน้ ข้อมูลและปฏบิ ัติงานให้ การเข้ากบั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย 1. สำเรจ็ อย่างมีเหตผุ ล ความพอประมาณ 2. ความมเี หตุผล 3. การมภี ูมคิ มุ้ กนั ใน 15. นกั เรียนช่วยกันทำความสะอาดเครอ่ื งมือ ตวั ทดี่ ี อปุ กรณ์ จัดห้องเรียนใหเ้ รยี บร้อย 16. ครูซักถามนักเรยี นว่ามีข้อสงสยั อะไรอีกหรอื ไม่17. ครู ใหน้ ักเรียนทำความสะอาดห้องเรยี น

ขั้นนำไปใช้ 23 18. ครใู ห้นกั เรียนเขียนรายงานสรุปผลการเรยี นรู้ 19. ครูบันทึกหลังการสอน ขัน้ นำไปใช้ 16. นักเรียนทำแบบสรปุ ผลการเรยี นรูป้ ระจำ หนว่ ยการเรยี น 6. สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 6.1 หนังสือเรียนวิชาการควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ 6.2 แผน่ โปสเตอร์ หรือแผน่ ใสแสดงลักษณะของอุปกรณ์ควบคมุ เคร่อื งกลไฟฟา้ ชนดิ ตา่ งๆ 6.3 อปุ กรณ์ควบคุมเคร่อื งกลไฟฟ้าที่เป็นของจริง 6.4 ใบงาน 6.5 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 6.6 นติ ยสาร วารสารท่เี กี่ยวกับไฟฟ้า 6.7 หอ้ งสมดุ 6.8 อินเทอร์เนต็ 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 ผลการสรปุ ความรจู้ ากการทำกิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 7.2 ผลจากการทำใบงาน 7.3 ผลการทำแบบทดสอบเพื่อประเมนิ ผลหลังการเรียนรู้ 8. การวดั และประเมนิ ผล 8.1เครือ่ งมือประเมิน 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2) แบบประเมนิ ผลใบงาน 3) แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ 8.2 เกณฑ์การประเมนิ 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจมคี ุณภาพระดบั พอใช้ขน้ึ ไป 2) แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ปรนยั และแบบทดสอบพิจารณาข้อถกู และข้อขอ้ ผดิ จำนวน 10 ขอ้ ทำถกู ต้อง 6 ขอ้ ข้นึ ไป 3) คะแนนใบงานไมต่ ่ำกวา่ รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป

24 9. บนั ทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้ 9.1 ขอ้ สรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.2 ปญั หาที่พบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.3 แนวทางแกป้ ญั หา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

25 หนว่ ยท่ี 1 ทฤษฎีแม่เหล็ก คำช้ีแจง 1. จงทำเคร่อื งหมาย  ทับ ก ข ค หรือ ง ลงในกระดาษคำตอบ ท่เี หน็ ว่าถกู ท่สี ดุ 2. อนญุ าตให้ใชเ้ ครื่องคำนวณได้ 1. สารทแี่ สดงอำนาจแมเ่ หล็กการจดั เรียงตัวของโมเลกลุ ต้องเป็นอย่างไร ก. N-S, S-N อยา่ งเป็นระเบยี บ ข. S-N, N-S อย่างเปน็ ระเบียบ ค. N-S, N-S กระจดั กระจาย ง. N-S, N-S อย่างเป็นระเบยี บ 2. ฟลกั ซ์แม่เหล็กหมายถึงข้อใด ก. จำนวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ท้ังหมดที่เกิดขนึ้ จากข้วั แมเ่ หล็ก ข. อำนาจแม่เหลก็ ท่ีเกิดขึน้ จากขว้ั แมเ่ หลก็ เหนือ ค. อำนาจแม่เหลก็ ทเี่ กดิ ขึน้ จากขวั้ แม่เหลก็ ใต้ ง. สนามแม่เหล็กท่ใี ช้ในการดงึ ดูดวตั ถทุ ี่เป็นเหลก็ 3. ความหนาแนน่ ของฟลกั ซแ์ มเ่ หล็กจะวัดต่อหนว่ ยใด ก. เวลา ข. ความยาว ค. พืน้ ท่ี ง. ปรมิ าตร 4. ความเข้มของสนามแมเ่ หล็ก หมายถึงขอ้ ใด ก. แรงเคล่ือนซึ่งทำให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กต่อพน้ื ทีห่ น้าตดั ข. แรงเคล่ือนซึ่งทำให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กตอ่ ระยะความยาวเฉลีย่ ค. แรงเคล่ือนซึ่งทำให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กตอ่ จำนวนรอบท่ีพัน ง. แรงเคลื่อนซึ่งทำให้เกิดฟลักซ์แม่เหล็กตอ่ จำนวนกระแสไฟฟา้ ทีไ่ หลผ่าน 5. คุณสมบตั ิของตวั กลางท่ียินยอมใหเ้ ส้นแรงแมเ่ หล็กผ่านไปได้มากหรือน้อย เปน็ ความหมายของค่าใด ก. ความซาบซึมได้สัมพัทธ์ ข. ความซาบซมึ ไดข้ องอากาศ ค. ความซาบซมึ ได้ ง. ความหนาแนน่ ของเส้นแรงแมเ่ หลก็ 6. สารทีม่ คี า่ r ประมาณเทา่ กบั 1 หรือมากกวา่ 1 เล็กน้อย เปน็ สารชนดิ ใด ก. พาราแมกเนติก ข. ไดอาแมกเนติก ค. ซูเปอร์แมกเนติก ง. เฟอรโ์ รแมกเนติก 7. การอมิ่ ตวั ของสารแม่เหล็กเปน็ ลักษณะอย่างไร ก. เพ่มิ ค่า H เพยี งเล็กนอ้ ย ค่า B เพิม่ ขน้ึ อยา่ งรวดเร็ว ข. เพิ่มค่า H เพียงเล็กนอ้ ย คา่ B ลดลงอยา่ งรวดเรว็ ค. เพ่มิ ค่า H จากเดิมอีก คา่ B เปลี่ยนแปลงเพม่ิ ข้นึ เล็กน้อย ง. เพิม่ คา่ H จากเดมิ อกี คา่ B เปล่ียนแปลงลดลงเลก็ น้อย 8. สารแม่เหล็กชนดิ ใดทีใ่ ห้คา่ ความหนาแนน่ ของเส้นแรงแมเ่ หลก็ มากท่สี ุด

26 ก. เหลก็ หลอ่ ข. เหล็กหล่อเหนยี ว ค. เหล็กแผ่น ง. เหลก็ กล้าซิลคิ อน 9. สารแมเ่ หล็กชนิดใดท่ีใหค้ า่ ความซาบซมึ ได้สมั พทั ธน์ อ้ ยท่สี ดุ ก. เหล็กหลอ่ ข. นกิ เกลิ ค. เหลก็ แผ่น ง. เหลก็ กล้าซิลคิ อน โจทยส์ ำหรบั คำถามจากข้อที่ 10-12 ลวดทองแดงพันรอบแกนเหล็ก 60 รอบ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 2 A โดยมีระยะทางเฉลี่ยที่เส้นแรง-แม่เหล็ก ผา่ น 0.5 m 10. แรงเคลื่อนแม่เหล็กมคี า่ เท่าไร ก. 30 At ข. 60 At ค. 120 At ง. 80 At 11. ความเขม้ ของสนามแมเ่ หลก็ มคี า่ เทา่ ไร At At m ก. 360 m ข. 240 ค. 120 At ง. 60 At m m 12. ถ้าเพม่ิ จำนวนรอบจากเดิม 60 รอบ เปน็ 100 รอบ และลดกระแสลง 1 A แรงเคลอื่ นแม่เหล็กมคี ่า เท่าไร ก. 40 At ข. 60 At ค. 80 At ง. 100 At

27 แผนการสอน/การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 2 ชื่อวิชา เคร่ืองกลไฟฟา้ และการควบคุม สัปดาหท์ ่ี 3-5 ช่ือหน่วย เคร่อื งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง คาบรวม 21 ชื่อเรอ่ื ง เครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง จำนวนคาบ 7 1. สาระสำคัญ เครือ่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรงโดยท่วั ไปเราเรียกว่า “ไดนาโม” (Dynamo) เปน็ เคร่ืองกลจักรกลไฟฟา้ ที่ ใชห้ ลกั การเปล่ยี นพลังงานกลเปน็ พลงั งานไฟฟ้า โดยอาศัยการเหนย่ี วนำกระแสไฟฟ้าของขดลวดและ สนามแมเ่ หล็กจากแท่งแมเ่ หล็กตามหลักการทฤษฎขี อง ไมเคิล ฟาราเดย์ จากหลักการดงั กล่าวเราจึงใชพ้ ลังงาน จากแหล่งตา่ งๆ เช่น พลังงานจาการเผาไหมเ้ ช้ือเพลิง พลังงานนวิ เคลียร์ พลังงานลม พลงั งานน้ำ และพลงั งาน ความรอ้ นใต้พภิ พ เปน็ ตน้ โดยนำมาขับเคล่ือนกังหนั หรือใบพัดของเคร่ืองกำเนิด ตวั อยา่ งเช่นนำความร้อนมาตม้ น้ำให้เดือดเพื่อทำใหเ้ กดิ ไอน้ำมาหมนุ ไดนาโมแล้วผลติ เป็นกระแสไฟฟ้าออกมา ในเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง นั้นชดุ ขดลวดฟิลดจ์ ะเป็นสว่ นทอ่ี ยกู่ บั ท่ี อาเมเจอรจ์ ะเป็นส่วนที่เคลื่อนท่ี โดยแรงดันท่เี กิดขนึ้ ในเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ จะมากหรือน้อยขนึ้ อยู่กับปจั จัยทสี่ ำคัญสองตวั คอื ความเรว็ รอบและเสน้ แรงแมเ่ หล็ก ในเคร่ืองกำเนิด ไฟฟ้ากระแสตรงเราสามารถเพิ่มแรงดนั ไฟฟ้าข้ึนได้โดยการปรับความเขม้ ของสนามแมเ่ หล็ก และเพิ่มความเรว็ รอบของเคร่ืองกำเนดิ 2. สมรรถนะอาชพี ประจำหน่วย 1 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสตรง 2 หน้าท่ขี องส่วนต่าง ๆ ของเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสตรง 3. จุดประสงคก์ ารสอน/การเรยี นรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1. อธิบายโครงสร้างและส่วนประกอบของเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง 2. อธบิ ายหนา้ ที่ของส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. บันทึกข้อมลู บนแผ่นป้ายของเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสตรง 2. อธิบายข้อมูลต่าง ๆ บนแผน่ ปา้ ยของเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสตรง 3. ถอดประกอบเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสตรง 4. ตรวจสอบหาขดลวดของเครื่องกลไฟฟา้ กระแสตรง 5. อธิบายการตรวจสอบหาขดลวดแบบต่าง ๆ ของเคร่อื งกลไฟฟ้ากระแสตรง

28 4. เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรียนรู้ • ดา้ นความรู้(ทฤษฎี) 1 โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเครอื่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสตรง 1.1 สว่ นที่อยกู่ ับท่ี 1.2 สว่ นท่ีเคล่อื นท่ี 2 หน้าทข่ี องส่วนต่าง ๆ ของเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง 2.1 โครงเครอ่ื งหรอื กรอบโครง 2.2 แกนของขั้วแม่เหล็กและโปลชู (Pole shoe) 2.3 ขดลวดสนามแมเ่ หลก็ 2.4 แปรงถา่ น • ด้านทกั ษะ(ปฏบิ ตั ิ) 1. บอกผลการพิจารณาในการพันขดลวดอารเ์ มเจอรจ์ ากแผน่ ภาพของการพันแบบตา่ ง ๆ 2. อธบิ ายผลจากการพิจารณาตามหัวข้อต่าง ๆ ของการพนั ขดลวดอาร์เมเจอร์แบบตา่ ง ๆ • ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม/ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/อาเซียน/ คา่ นยิ ม 12 ประการ เตรียมความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ์ สอดคล้องกับงานและใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปฏบิ ตั งิ านได้ถูกต้องและสำเร็จภายในเวลาที่กำหนดอยา่ งมเี หตุผล ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอนและฝึกหัดให้นักเรียน นักศึกษา รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การรับฟังความ คิดเห็นเหตุผลของผู้อื่นและปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ ชว่ ยเหลือเก้ือกลู และรักใคร่ปรองดองในสถานศึกษา กระตุน้ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นนักศึกษา กล้าที่จะแสดงความคิดเห็นในเรือ่ งต่างๆ เช่น กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาและกิจกรรม ของชมุ ชน ปลูกจติ สำนึกให้นักเรยี น นกั ศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม รรู้ บั ผิดชอบช่วั ดี มคี วามภูมิใจในความเป็น ไทย ใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั โทษภยั ของยาเสพตดิ และการหลกี เล่ยี งห่างไกลยาเสพตดิ เพ่ือใหม้ ีภูมิคุ้มกนั อยา่ งยั่งยนื 5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้ กจิ กรรมนกั เรียน กจิ กรรมครู ขัน้ สนใจปญั หา 1. นักเรียนจดบันทกึ จุดประสงค์การเรียนรู้ ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น ขัน้ ศึกษาข้อมลู 1. ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ หน่วยการเรียน 2. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขั้นสอนทฤษฎี 3. นักเรียนฟงั ครบู รรยายและจดบนั ทึก 2. ครูให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูบรรยายเน้ือหาประกอบแผ่นใส/ power point

29 4. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาเน้ือหาการเรียนรูใ้ นหนังสือ 4. นกั เรยี นศึกษาหน่วยการเรียนที่ได้รับ 5. ซักถามนักเรยี นเกีย่ วกบั เนื้อหาที่เรยี น มอบหมาย และตอบคำถาม ขนั้ สอนปฏิบัติ ขั้นศึกษาขอ้ มูล 6. ครูให้นักเรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำหน่วยการ 6. นักเรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำ เรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ 7. ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลุม่ จัดเตรยี มเคร่อื งมือและอุปกรณ์ตาม 7. นักเรียนจัดเตรยี มเครื่องมือและอุปกรณ์ ใบงานการทดลอง 8. ครูสังเกตการปฏิบตั งิ านและคอยให้คำแนะนำ อย่างใกลช้ ดิ สรุป ขน้ั พยายามและข้ันสำเร็จผล 9. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปผลการเรียนรู้ 8. นกั เรยี นชว่ ยกันสรุปเน้อื หาท่เี รียนและจด 10. ครูให้นักเรยี นปฏิบัติตามใบงานการทดลองประจำหน่วย บนั ทึก การเรียนรู้ 9. นกั เรียนปฏิบตั ติ ามใบงานการทดลองประจำ 11. ครูคอยสังเกตลำดับขัน้ ตอนการทำงานและให้คำแนะนำ หน่วยการเรยี นรู้ เมอ่ื พบปญั หาใหส้ อบถาม เมอื่ พบนักเรียนปฏบิ ตั ิไมถ่ ูกต้อง ครูผสู้ อน 12. ครใู หน้ ักเรยี นทีป่ ฏบิ ัติงานเสรจ็ แล้วส่งตรวจที่โต๊ะตรวจ 10. นักเรยี นสง่ ผลการปฏิบัติงานใหค้ รูตรวจ งานเพ่ือขอคำแนะนำและและประเมนิ ผล13. ทำแบบทดสอบ 11.นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น หลงั เรียน 12. นักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาและจดบันทึก 14. ครแู จ้งนโยบายสถานศึกษา 3D ของกระทรวงศกึ ษา ซ่ึง ประกอบด้วยสาระเกยี่ วกับเร่ืองทเ่ี รียน เป็นกจิ กรรมทม่ี ุ่งสง่ เสริมพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะทีด่ ีงาม 13. นักเรยี นจดบันทกึ นโยบายสถานศกึ ษา 3 ดา้ น คอื 1. ด้าน 3 D พรอ้ มกบั อภิปรายแนวทางนำไปปฏิบัติ ประชาธิปไตย (Democracy) 2. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ใช้ในชีวติ ประจำวนั และในรายวชิ าทเ่ี รียน และความเป็นไทย (Decency) 3. ดา้ นภมู ิคุม้ กนั จากยาเสพ 14. นักเรียนรับฟงั และจดบันทึกหลกั ปรัชญา ตดิ (Drug – Free) ของเศรษฐกจิ พอเพยี งโดยมีความรับผิดชอบ 15. ครอู ธบิ ายหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือบูรณา และพยายามสบื ค้นข้อมลู และปฏิบตั งิ านให้ การเขา้ กับกิจกรรมการเรยี นการสอน ประกอบด้วย 1. ความ สำเรจ็ อยา่ งมีเหตผุ ล พอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล 3. การมีภมู คิ ุ้มกนั ในตวั ท่ดี ี 15. นักเรียนชว่ ยกนั ทำความสะอาดเคร่ืองมอื 16. ครูซักถามนักเรียนวา่ มีขอ้ สงสัยอะไรอีกหรือไม1่ 7. ครใู ห้ อุปกรณ์ จัดห้องเรียนใหเ้ รียบรอ้ ย นกั เรยี นทำความสะอาดห้องเรียน ขนั้ นำไปใช้ ขั้นนำไปใช้ 18. ครูใหน้ กั เรียนเขียนรายงานสรุปผลการเรยี นรู้

19. ครูบนั ทกึ หลังการสอน 30 16. นักเรยี นทำแบบสรปุ ผลการเรียนรปู้ ระจำ หนว่ ยการเรียน 6. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 6.1 หนังสอื เรียนวิชาการควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ 6.2 แผน่ โปสเตอร์ หรอื แผน่ ใสแสดงลกั ษณะของอปุ กรณค์ วบคุมเครื่องกลไฟฟ้าชนดิ ตา่ งๆ 6.3 อปุ กรณ์ควบคมุ เคร่ืองกลไฟฟา้ ที่เปน็ ของจริง 6.4 ใบงาน 6.5 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลังการเรียนรู้ 6.6 นติ ยสาร วารสารท่เี กีย่ วกับไฟฟ้า 6.7 หอ้ งสมุด 6.8 อินเทอรเ์ นต็ 7. หลักฐานการเรยี นรู้ 7.1 ผลการสรุปความรจู้ ากการทำกจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 7.2 ผลจากการทำใบงาน 7.3 ผลการทำแบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ 8. การวัดและประเมินผล 8.1เครอ่ื งมือประเมนิ 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 2) แบบประเมินผลใบงาน 3) แบบทดสอบเพื่อประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ 8.2 เกณฑ์การประเมิน 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจมีคุณภาพระดบั พอใช้ข้ึนไป 2) แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลหลงั การเรยี นรู้ ปรนัย และแบบทดสอบพจิ ารณาข้อถูกและขอ้ ขอ้ ผดิ จำนวน 10 ขอ้ ทำถกู ต้อง 6 ข้อขึน้ ไป 3) คะแนนใบงานไมต่ ำ่ กว่ารอ้ ยละ 60 ข้ึนไป

31 9. บนั ทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 9.1 ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 9.2 ปัญหาที่พบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 9.3 แนวทางแกป้ ญั หา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

32 หนว่ ยที่ 2 โครงสรา้ งของเครื่องกำเนิดไฟฟา้ คำช้แี จง 1. จงทำเครอื่ งหมาย  ทับ ก ข ค หรือ ง ลงในกระดาษคำตอบ ทเ่ี ห็นวา่ ถูกท่สี ดุ 2. อนุญาตให้ใช้เคร่อื งคำนวณได้ 1. โครงสรา้ งของเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟ้าในส่วนที่อยู่กับท่ที ้งั หมด คอื ข้อใด ก. แกนขัว้ แมเ่ หลก็ กับแปรงถา่ น ข. ขดลวดสนามแม่เหลก็ กับขดลวดอาร์เมเจอร์ ค. ฝาครอบหัวทา้ ยกบั แกนอารเ์ มเจอร์ ง. กรอบโครงเครอ่ื งกบั คอมมิวเตเตอร์ 2. โครงสรา้ งของเครื่องกำเนิดไฟฟา้ ในส่วนทีเ่ คลอื่ นที่ทั้งหมด คือขอ้ ใด ก. แกนเพลากบั แปรงถ่าน ข. ขดลวดสนามแม่เหลก็ กับขดลวดอารเ์ มเจอร์ ค. คอมมวิ เตเตอร์กบั แกนอารเ์ มเจอร์ ง. กรอบโครงเครื่องกบั คอมมวิ เตเตอร์ 3. สว่ นทีท่ ำหนา้ ทเี่ ปน็ ทางเดนิ ของเสน้ แรงแม่เหล็ก คือข้อใด ก. ขดลวดอาร์เมเจอร์กับแปรงถ่าน ข. กรอบโครงเครื่องกบั คอมมวิ เตเตอร์ ค. คอมมวิ เตเตอรก์ ับแกนขวั้ ง. กรอบโครงเครอื่ งกบั แกนขั้ว 4. หนา้ ท่ขี องแกนข้ัวแม่เหล็ก คือข้อใด ก. รบั แรงขณะทีอ่ าร์เมเจอร์หมนุ ข. สร้างเส้นแรงแมเ่ หล็กรว่ มกับขดลวดสนามแม่เหล็ก ค. สร้างเส้นแรงแม่เหลก็ ร่วมกับขดลวดอารเ์ มเจอร์ ง. รองรบั ขดลวดอารเ์ มเจอร์ 5. ขดลวดสนามแมเ่ หล็กท่พี ันอยู่บนแกนขั้ว จะเปน็ แบบใด ก. แบบชนั ต์กับแบบอาร์เมเจอร์ ข. แบบชนั ต์กบั แบบซรี สี ์ ค. แบบซีรสี ก์ ับแบบคอมปาวด์ ง. แบบชันตก์ บั แบบคอมปาวด์ 6. การเกิดขั้วแมเ่ หลก็ ทพี่ ันอยบู่ นแกนขั้วแบบ 6 ขัว้ จะเปน็ ลกั ษณะข้วั อย่างไรท่ีวางอยปู่ ระชดิ กัน ก. N, N, N, S, S, S ข. S, S, N, N, S, S ค. N, S, N, S, N, S ง. N, N, S, S, N, N 7. ขอ้ ใดกล่าว ไม่ถูกตอ้ ง เกย่ี วกบั แกนอาร์เมเจอร์ ก. ทำจากแผ่นเหลก็ ซิลคิ อนแผ่นบางผิวสองข้างอาบฉนวนวานิช ข. เครื่องกำเนิดขนาดใหญ่รอ่ งของแกนเปน็ แบบร่องเปิด ค. ทำจากแผน่ เหลก็ ซิลิคอนแผ่นบางผวิ สองข้างค่ันด้วยฉนวนไมกา ง. เครอ่ื งกำเนิดขนาดเลก็ รอ่ งของแกนเปน็ แบบร่องก่ึงปิด 8. ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั ขดลวดอารเ์ มเจอร์ ก. สรา้ งเส้นแรงแม่เหล็กรว่ มกับขดลวดสนามแมเ่ หลก็ แบบชนั ต์

33 ข. แปลงไฟฟา้ กระแสสลบั ใหเ้ ปน็ ไฟฟ้ากระแสตรง ค. สรา้ งเสน้ แรงแมเ่ หล็กรว่ มกับขดลวดสนามแม่เหล็กแบบซรี ีส์ ง. ผลิตแรงดันไฟฟา้ เหน่ยี วนำ 9. ขดลวดอาร์เมเจอร์ท่ีบรรจุลงในร่องแกนอาร์เมเจอร์เรียกว่าอะไร ก. คอยลไ์ ซด์ ข. คอยล์เอน็ ด์ ค. แลปคอยล์ ง. เวฟคอยล์ 10. เครอ่ื งกลไฟฟ้ากระแสตรงขนาดเล็กจะใชแ้ ปรงถา่ นชนิดใด ก. แบบคารบ์ อนบรสิ ุทธ์ิ ข. แบบแกรไฟต์ ค. แบบสว่ นผสมระหวา่ งทองแดงกับแกรไฟต์ ง. แบบผงทองแดง 11. คอมมิวเตเตอร์ที่ประกอบกันเปน็ รูปทรงกระบอกทำมาจากวัสดุอะไร ก. แท่งเงินบรสิ ุทธ์ิ ข. แท่งทองแดง ค. แท่งอะลูมเิ นยี ม ง. แทง่ เหลก็ แผ่นบาง 12. หนา้ ท่ีของคอมมวิ เตเตอร์ คอื ขอ้ ใด ก. แปลงไฟฟ้ากระแสตรงจากขดลวดอาร์เมเจอร์ให้เป็นไฟฟา้ กระแสสลบั ข. ควบคมุ กระแสไฟฟ้าจากขดลวดอารเ์ มเจอร์ไปยงั โหลดให้คงที่ ค. เพ่มิ กระแสไฟฟ้าจากขดลวดอารเ์ มเจอรใ์ หส้ งู ข้ึน ง. แปลงไฟฟ้ากระแสสลบั จากขดลวดอาร์เมเจอร์ใหเ้ ปน็ ไฟฟ้ากระแสตรง

34 แผนการสอน/การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 ชือ่ วิชา เครื่องกลไฟฟา้ และการควบคมุ สัปดาห์ท่ี 6-9 ชือ่ หน่วย เครอื่ งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ คาบรวม 21 ชอ่ื เร่ือง เคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั จำนวนคาบ 7 1. สาระสำคัญ เคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า คือ เคร่ืองมือชนิดหน่งึ ทใี่ ช้สาํ หรบั แปลงพลงั งานกล เปน็ พลังงานไฟฟา้ โดยจะ อาศยั หลักการทาํ งาน 2 รปู แบบดว้ ยกันคอื 1 สนามแมเ่ หล็กทต่ี ัดผ่านขดลวด “สนามแมเ่ หล็กเคลือ่ นท่ตี ัดผ่าน ขดลวดซึ่งอยู่กับท”่ี 2 ขดลวดทต่ี ัดผ่านสนามแม่เหลก็ “ขดลวดเคลอ่ื นท่ตี ดั ผ่านสนามแม่เหล็ก” ซง่ึ ทัง้ 2 รปู แบบน้ี จะไดพ้ ลงั งานไฟฟา้ ออกมา ทั้งนี้ ไมว่ า่ เคร่ืองกําเนิดไฟฟา้ จะ อาศยั หลักการทํางานในรูปแบบใด จะ ประกอบด้วยสว่ นทส่ี ําคัญ 2 ส่วน คือ ส่วน แรก Field (ฟิวส)์ หรือทีเ่ รียกว่า สนามแมเ่ หลก็ ซึ่งสว่ นน้ีจะเปน็ ส่วนท่สี ร้างสนาม แม่เหล็กขนึ้ มา ด้วยพลังงานไฟฟา้ สว่ นหนึ่ง “แม่เหล็กไฟฟ้า” และสว่ นทส่ี อง คือ Armature (อาร์เมเจอร์ หรอื ขดลวดอารเ์ มเจอร)์ หรอื ท่ีเรียกวา่ “แรงดันไฟฟ้า” โดยส่วนนจ้ี ะเป็นสว่ นที่สรา้ งแรงดนั ไฟฟ้า ซง่ึ สว่ นประกอบหลกั น้ี จะมีอยใู่ นเครือ่ ง กําเนิดไฟฟา้ ทัง้ แบบสนามแมเ่ หลก็ เคลื่อนท่ีตดั ผ่านขดลวดซ่งึ อยู่กบั ที่ และแบบขดลวดเคลอ่ื นที่ตดั ผ่านสนามแม่เหลก็ 2. สมรรถนะอาชีพประจำหนว่ ย 1 โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 2 หน้าท่ีของส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3. จดุ ประสงค์การสอน/การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทัว่ ไป 1. อธบิ ายโครงสรา้ งและสว่ นประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 2. อธบิ ายหน้าที่ของส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บนั ทกึ ข้อมูลบนแผน่ ป้ายของเคร่ืองกลไฟฟา้ กระแสสลบั 2. อธบิ ายขอ้ มลู ตา่ ง ๆ บนแผ่นปา้ ยของเครือ่ งกลไฟฟ้ากระแสสลับ 3. ถอดประกอบเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสสลบั 4. ตรวจสอบหาขดลวดของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสสลบั 5. อธบิ ายการตรวจสอบหาขดลวดแบบตา่ ง ๆ ของเคร่อื งกลไฟฟ้ากระแสสลับ

35 4. เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้ • ด้านความรู(้ ทฤษฎ)ี 1 โครงสร้างและส่วนประกอบของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 1.1 สว่ นท่ีอย่กู ับท่ี 1.2 สว่ นท่ีเคลอ่ื นท่ี 2 หน้าท่ขี องส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่อื งกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 2.1 โครงเครือ่ งหรอื กรอบโครง 2.2 แกนของขั้วแมเ่ หล็กและโปลชู (Pole shoe) 2.3 ขดลวดสนามแมเ่ หล็ก 2.4 แปรงถา่ น • ด้านทกั ษะ(ปฏบิ ัติ) 1. ตรวจสอบอปุ กรณ์ควบคุมมอเตอร์ชนิดต่างๆ 2. เลอื กอปุ กรณ์อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ • ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม/ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง/อาเซียน/ ค่านยิ ม 12 ประการ เตรยี มความพรอ้ มด้านวสั ดุ อปุ กรณ์ สอดคล้องกับงานและใช้วัสดุอปุ กรณ์อย่างคุ้มค่า ประหยัด ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติงานได้ถูกต้องและสำเร็จภายในเวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุผล ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอนและฝึกหัดให้นักเรียน นักศึกษา รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การรับฟัง ความคิดเห็นเหตุผลของผู้อื่นและปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูล และรักใคร่ปรองดองในสถานศึกษา กระตุ้นและเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษากล้าที่จะแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา และกิจกรรมของชุมชน ปลูกจิตสำนึกให้นักเรียน นักศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม รู้รับผิดชอบชั่วดี มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด และการหลีกเลี่ยงห่างไกลยาเสพติดเพื่อให้มี ภูมิคุ้มกนั อยา่ งย่งั ยนื 5. กิจกรรมการเรยี นการสอนหรือการเรยี นรู้ กจิ กรรมนักเรยี น กิจกรรมครู ขั้นสนใจปัญหา 1. นกั เรียนจดบนั ทึกจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน ข้ันศกึ ษาขอ้ มลู 1. ครูแจ้งจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียน ขนั้ สอนทฤษฎี

36 2. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 3. ครูบรรยายเนอื้ หาประกอบแผ่นใส/ power point 3. นกั เรียนฟังครูบรรยายและจดบนั ทกึ 4. ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาเนื้อหาการเรยี นรใู้ นหนงั สอื 4. นกั เรียนศกึ ษาหนว่ ยการเรียนท่ีไดร้ บั 5. ซักถามนักเรียนเกย่ี วกับเน้ือหาทเี่ รยี น มอบหมาย และตอบคำถาม ขั้นสอนปฏบิ ตั ิ ขั้นศกึ ษาขอ้ มลู 6. ครูให้นกั เรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำหนว่ ยการ 6. นักเรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำ เรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ 7. ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ จัดเตรยี มเครือ่ งมือและอุปกรณต์ าม 7. นกั เรียนจดั เตรยี มเครื่องมือและอปุ กรณ์ ใบงานการทดลอง 8. ครูสงั เกตการปฏิบตั ิงานและคอยใหค้ ำแนะนำ อย่างใกลช้ ิด สรปุ ข้ันพยายามและขนั้ สำเร็จผล 9. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรุปผลการเรยี นรู้ 8. นกั เรยี นช่วยกนั สรุปเนอื้ หาที่เรยี นและจด 10. ครใู ห้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิตามใบงานการทดลองประจำหนว่ ย บนั ทึก การเรยี นรู้ 9. นกั เรียนปฏิบัติตามใบงานการทดลอง 11. ครคู อยสังเกตลำดบั ข้นั ตอนการทำงานและให้คำแนะนำ ประจำหนว่ ยการเรียนรู้ เมื่อพบปัญหาให้ เมือ่ พบนกั เรียนปฏบิ ตั ิไมถ่ ูกต้อง สอบถามครูผสู้ อน 12. ครูใหน้ กั เรียนท่ีปฏิบัตงิ านเสรจ็ แล้วสง่ ตรวจที่โต๊ะตรวจ 10. นกั เรยี นส่งผลการปฏบิ ตั ิงานให้ครตู รวจ งานเพื่อขอคำแนะนำและและประเมินผล13. ทำแบบทดสอบ 11.นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน หลงั เรียน 12. นักเรยี นชว่ ยกนั สรุปเนอ้ื หาและจดบนั ทึก 14. ครูแจ้งนโยบายสถานศึกษา 3D ของกระทรวงศกึ ษา ซึ่ง ประกอบดว้ ยสาระเกยี่ วกับเรื่องท่เี รยี น เปน็ กิจกรรมทีม่ ุ่งส่งเสริมพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลักษณะที่ดีงาม 13. นกั เรียนจดบันทึกนโยบายสถานศกึ ษา 3 ด้าน คอื 1. ดา้ น 3 D พรอ้ มกบั อภปิ รายแนวทางนำไปปฏบิ ตั ิ ประชาธปิ ไตย (Democracy) 2. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั และในรายวิชาที่เรยี น และความเป็นไทย (Decency) 3. ด้านภมู ิคุม้ กันจากยาเสพ 14. นกั เรียนรบั ฟังและจดบันทกึ หลักปรัชญา ตดิ (Drug – Free) ของเศรษฐกิจพอเพยี งโดยมีความรบั ผิดชอบ 15. ครูอธิบายหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพื่อบรู ณา และพยายามสืบค้นขอ้ มลู และปฏิบตั ิงานให้ การเขา้ กบั กิจกรรมการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย 1. ความ สำเรจ็ อย่างมเี หตุผล พอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล 3. การมีภมู ิค้มุ กันในตวั ทด่ี ี 15. นักเรียนชว่ ยกนั ทำความสะอาดเครื่องมือ 16. ครซู ักถามนกั เรียนว่ามีขอ้ สงสัยอะไรอีกหรือไม1่ 7. ครใู ห้ อปุ กรณ์ จดั ห้องเรยี นใหเ้ รยี บรอ้ ย นกั เรยี นทำความสะอาดห้องเรยี น

ข้ันนำไปใช้ 37 18. ครใู หน้ กั เรียนเขียนรายงานสรปุ ผลการเรียนรู้ 19. ครบู ันทึกหลังการสอน ขัน้ นำไปใช้ 16. นักเรียนทำแบบสรปุ ผลการเรยี นรูป้ ระจำ หนว่ ยการเรยี น 6. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 6.1 หนังสอื เรยี นวชิ าการควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ 6.2 แผ่นโปสเตอร์ หรอื แผ่นใสแสดงลักษณะของอุปกรณ์ควบคมุ เคร่อื งกลไฟฟา้ ชนดิ ตา่ งๆ 6.3 อุปกรณ์ควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้าทเี่ ปน็ ของจริง 6.4 ใบงาน 6.5 แบบทดสอบเพื่อประเมินผลหลงั การเรียนรู้ 6.6 นิตยสาร วารสารทีเ่ ก่ียวกับไฟฟา้ 6.7 ห้องสมดุ 6.8 อนิ เทอร์เน็ต 7. หลักฐานการเรยี นรู้ 7.1 ผลการสรุปความรจู้ ากการทำกิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 7.2 ผลจากการทำใบงาน 7.3 ผลการทำแบบทดสอบเพอ่ื ประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ 8. การวดั และประเมินผล 8.1เครอื่ งมือประเมิน 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2) แบบประเมินผลใบงาน 3) แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลหลังการเรยี นรู้ 8.2 เกณฑ์การประเมนิ 1) กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจมีคุณภาพระดบั พอใช้ขน้ึ ไป 2) แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลหลังการเรยี นรู้ ปรนยั และแบบทดสอบพิจารณาข้อถูกและข้อขอ้ ผดิ จำนวน 10 ข้อ ทำถกู ต้อง 6 ข้อข้นึ ไป 3) คะแนนใบงานไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป

38 9. บนั ทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 9.1 ขอ้ สรุปหลงั การจดั การเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.2 ปญั หาทีพ่ บ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

39 หน่วยท่ี 3 เครือ่ งกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนทำเคร่ืองหมาย  ทับข้อทีถ่ ูกทสี่ ุด 1. แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำท่ีได้มาจากเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเพื่อนำไปใชง้ านเกิดขนึ้ จากสว่ นใดข อ ง เคร่อื ง ก. ขดลวดโรเตอร์ ข. ขดลวดอาร์เมเจอร์ ค. เอก็ ไซเตอร์ ง. ขัว้ แมเ่ หลก็ 2. ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil) ในเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั ทำหนา้ ทีอ่ ะไร ก. จา่ ยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนำ ข. ให้ความถ่เี พิม่ ขนึ้ ค. สรา้ งข้ัวแมเ่ หล็ก ง. ปอ้ งกันการสั่นขณะหมนุ 3. เครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั ทีใ่ ช้กับโรงไฟฟา้ กังหนั ไอน้ำและกงั หันแกส๊ ส่วนท่หี มนุ ของเครื่องกำเนดิ ไ ฟ ฟ้ า มกั เป็นแบบใด ก. ขั้วแมเ่ หลก็ เรียบ ข. ขัว้ แม่เหล็กย่นื ค. ขว้ั แม่เหลก็ ถาวร ง. ขั้วแม่เหลก็ จาน 4. แรงเคลอ่ื นไฟฟา้ เหน่ยี วนำเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ก. ขดลวดวางอยใู่ นสนามแม่เหล็ก ข. ตวั นำเคลือ่ นทข่ี นานกบั เส้นแรงแมเ่ หล็ก ค. ตัวนำและแมเ่ หล็กเสยี ดสีกนั ง. ตัวนำเคลื่อนทตี่ ัดสนามแม่เหลก็ 5. เมอ่ื ความเรว็ ในการหมุนตดั ของขดลวดคงท่ขี นาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหน่ียวนำขนึ้ อยูก่ บั อะไร ก. ความหนาแนน่ ของสนามแมเ่ หลก็ ข. คณุ สมบตั ิของลวดตวั นำและแมเ่ หลก็ ค. ความยาวของลวดตัวนำ ง. ถูกทง้ั ข้อ ก. และ ค. 6. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 2 ขั้วแม่เหล็กหมุนตัดกับขดลวดอาร์เมเจอร์ 2 รอบ จะได้รูปคลื่นกี่องศา ทางไฟฟา้ ก. 720o ข. 640o ค. 540o ง. 360o 7. เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับมี 2 ขวั้ แมเ่ หลก็ ถา้ ตอ้ งการเพ่มิ ความถี่ของแรงเคล่ือนไฟฟา้ จะต้องทำ อยา่ งไร ก. เพ่ิมความเร็วรอบของตัวขับ ข. พันขดลวดใหม่ ค. เพมิ่ กระแสขดลวดสนามแม่เหล็ก ง. ลดโหลดใหน้ อ้ ยลง 8. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับมี 4 ขั้วแม่เหล็ก หมุนด้วยความเร็ว 1,800 รอบต่อนาที จะได้ความถี่ของ แรงเคล่อื นไฟฟา้ เปน็ เท่าไร ก. 70 Hz ข. 60 Hz

40 ค. 50 Hz ง. 40 Hz 9. เคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส มี 2 ข้วั แม่เหล็ก ทำงานจา่ ยแรงเคล่อื นไฟฟา้ ที่ความถ่ี 50 Hz ใ ห ้ กั บ โหลดจะตอ้ งนำตัวตน้ กำลังมาขับเครือ่ งกำเนดิ ไฟฟา้ ดว้ ยความเรว็ รอบเท่าไร ก. 3,500 รอบต่อนาที ข. 3,000 รอบตอ่ นาที ค. 2,000 รอบตอ่ นาที ง. 1,500 รอบต่อนาที 10. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส ถูกขับให้หมุนด้วยความเร็ว 250 รอบต่อนาที เพื่อจ่าย แรงเคลอื่ นไฟฟ้าใหก้ ับโหลดด้วยความถี่ 50 Hz จงคำนวณหาจำนวนข้ัวแม่เหลก็ ของเครอ่ื งกำเนิด ไฟฟ้าตัว น้ี ก. 54 ข้วั ข. 44 ข้วั ค. 34 ขว้ั ง. 24 ขว้ั 11. การพันขดลวดอาร์เมเจอร์ที่มีระยะห่างของขดลวดมีค่าน้อยกว่าระยะห่างระหว่างกึ่งกลางของ ขัว้ แม่เหลก็ ทอี่ ยู่ประชดิ กัน เป็นการพนั ขดลวดแบบใด ก. พติ ชเ์ ศษส่วน ข. พติ ช์เตม็ ค. โพลพติ ช์ ง. คอยลพ์ ติ ช์ 12. สมการของตัวประกอบระยะขดลวดตรงกบั ข้อใด ก. Kp = cos 2 ข. KP = cos  ค. Kp = cos  2 ง. KP = cos 13. สมการของตวั ประกอบการกระจายตรงกบั ข้อใด ก. K d = sin 2 ข. Kd = sin m 2 ค. Kd sin m ง. Kd m sin  2 = = 2 m m sin  sin 2 2

41 จากโจทยจ์ งตอบคำถามขอ้ 14–17 เครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสตอ่ แบบสตาร์มี 24 ขว้ั แม่เหล็ก ถกู ขับใหห้ มนุ ด้วยความเรว็ รอบ 250 รอบ ต่อนาที ขดลวดอาร์เมเจอร์พันเป็นแบบพิตช์เต็ม มี 216 สลอต ใน 1 สลอตมี 5 ตัวนำ ตัวนำในแต่ละเฟสต่อ อนุกรมกัน จงคำนวณหา 14. คา่ Kp มีคา่ เทา่ ไร ก. 0.96 ข. 0.98 ค. 0.99 ง. 1 15. คา่ Kd มคี า่ เทา่ ไร ก. 0.86 ข. 0.96 ค. 0.98 ง. 0.99 16. แรงเคล่อื นไฟฟ้าเหนยี่ วนำต่อเฟส (Eph) มีคา่ เทา่ ไร ก. 950.6 V ข. 1050.6 V ค. 1150.6 V ง. 1250.6 V 17. แรงเคล่อื นไฟฟา้ เหน่ียวนำระหว่างสาย (EL) มคี ่าเท่ากบั เทา่ ไร ก. 1992.9 V ข. 2092.9 V ค. 2192.9 V ง. 2292.9 V 18. เครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้าต่อแบบสตาร์ เมอ่ื วัดท่สี ายไฟคูห่ น่ึงอา่ นคา่ ได้ 380 V แรงเคล่ือนไฟฟ้าแต่ละเฟสของเครื่อง กำเนดิ ไฟฟ้าเปน็ เท่าไร ก. 110 V ข. 220 V ค. 380 V ง. 440 V 19. การต่อวงจรเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบสตาร์ (Star–Y) คือขอ้ ใด ก. ข. ค. ง.

42 20. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 3 เฟสต่อแบบเดลตา () วัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ปลายสายคู่หนึ่งได้ 440 V จา่ ยกระแสใหก้ ับโหลด 150 A และมเี พาเวอร์แฟกเตอร์ 0.8 ลา้ หลัง จงหากำลงั ไฟฟ้าท่ีเครอ่ื งกำเนิด ไฟฟ้าตัว นีจ้ ่ายออก ก. 25 kW ข. 32.39 kW ค. 56 kW ง. 91.45 kW

43 แผนการสอน/การเรียนรู้ หน่วยท่ี 4 ชือ่ วิชา เคร่ืองกลไฟฟ้าและการควบคุม สปั ดาห์ที่ 10-12 ช่อื หน่วย มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง คาบรวม 21 ชื่อเร่ือง การควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง จำนวนคาบ 7 1. สาระสำคัญ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor) หรอื ท่ีเรียกวา่ ดีซมี อเตอร์ หมายถึง เครื่องกล ไฟฟา้ ชนดิ หนงึ่ ที่เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานกล โดยถือว่าเป็นต้นกำลงั ท่ีมีความสำคัญอย่างมากใน โรงงานอตุ สาหกรรม เพราะมีสมบตั ิในการปรับความเร็วรอบการหมนุ ได้ตั้งแต่ความเรว็ ต่ำสดุ จนถงึ สงู สุด เชน่ โรงงานทอผา้ โรงงานถลุงโลหะ เป็นต้น 2. สมรรถนะอาชีพประจำหนว่ ย 1. ร้เู กย่ี วกบั การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 2. เขา้ ใจหลักการควบคุมความเร็ว การเร่มิ เดิน และการกลับทางหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 3. จุดประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้ จุดประสงคท์ ่ัวไป 1. บอกส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2. บอกชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 3. บอกวิธกี ารควบคมุ ความเร็วและวธิ ีการกลบั ทางหมุนมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 4. บอกและเขียนวงจรเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 5. ปฏบิ ัติการต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. บอกและเขียนวงจรเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 2. ต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ 4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้ • ดา้ นความรู้(ทฤษฎี) 1. สว่ นประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2. ชนดิ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 3. การควบคมุ ความเรว็ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง 4. การเริ่มเดนิ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง 5. การกลับทางหมนุ มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง

44 • ดา้ นทักษะ(ปฏิบัติ) 1. บอกและเขียนวงจรเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 2. ต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง • ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม/ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 3D /ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/อาเซียน/ ค่านยิ ม 12 ประการ เตรยี มความพร้อมด้านวสั ดุ อปุ กรณ์ สอดคลอ้ งกับงานและใช้วสั ดุอุปกรณ์อยา่ งคุม้ ค่า ประหยัด ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติงานได้ถูกต้องและสำเร็จภายในเวลาที่กำหนดอย่างมีเหตุผล ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สอนและฝึกหัดให้นักเรียน นักศึกษา รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม การรับฟัง ความคิดเห็นเหตุผลของผู้อื่นและปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูล และรักใคร่ปรองดองในสถานศึกษา กระตุ้นและเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษากล้าที่จะแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น กิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา และกิจกรรมของชุมชน ปลูกจิตสำนึกให้นักเรียน นักศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม รู้รับผิดชอบชั่วดี มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด และการหลีกเลี่ยงห่างไกลยาเสพติดเพื่อให้มี ภมู คิ มุ้ กนั อย่างยงั่ ยืน 5. กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรยี นรู้ กิจกรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน ข้นั สนใจปัญหา 1. ครแู จง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียน 1. นกั เรยี นจดบันทกึ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นสอนทฤษฎี ขัน้ ศึกษาข้อมลู 2. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครบู รรยายเนอ้ื หาประกอบแผน่ ใส/ power point 3. นกั เรยี นฟงั ครูบรรยายและจดบนั ทึก 4. ครูให้นักเรยี นศึกษาเน้ือหาการเรียนรใู้ นหนังสอื 4. นักเรียนศึกษาหนว่ ยการเรียนทไ่ี ด้รับ 5. ซกั ถามนักเรียนเกีย่ วกับเน้ือหาที่เรยี น มอบหมาย และตอบคำถาม ข้นั สอนปฏิบตั ิ ขนั้ ศกึ ษาขอ้ มูล 6. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาใบงานการทดลองประจำหนว่ ยการ 6. นกั เรียนศึกษาใบงานการทดลองประจำ เรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ 7. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุม่ จดั เตรยี มเคร่อื งมือและอุปกรณ์ตาม 7. นักเรยี นจดั เตรยี มเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ใบงานการทดลอง 8. ครสู ังเกตการปฏิบัตงิ านและคอยให้คำแนะนำ อย่างใกลช้ ิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook