Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2

Published by Nui Wachirawit, 2018-09-16 07:23:01

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 รายวิชา ศิลปศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ (ดนตร)ี จดั ทาโดย นายวชริ วิทย์ หันจางสทิ ธ์ิ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเค่ิง อาเภอแม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษสานักงานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจดั หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง ด แผนการสอนท่ี 1 เร่อื ง องค์ประกอ รายวิชา ศิลปะพน้ื ฐาน (ดน ครูผู้สอน นายวชริ วิทย์ หันจางสิทธ์ิ ตาแห ตัวชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ 1 ผลการเรยี นรู้ ชน้ิ งาน ประเมนิ ผล ใ องค์ประกอบ นศ 2.1 ม.2/1 ของดนตรีจาก แบบทดสอบ ประเมนิ ตามสภาพ นเปรยี บเทยี บการ แหล่ง ก่อนเรียน จริง) 2ใชอ้ งคป์ ระกอบ วฒั นธรรมตา่ งๆ หนว่ ยการ เกดนตรที ่มี าจาก เรียนรู้ที่ 1 ววฒั นธรรมต่างกนั 3 ส ห 4 อ จ - - - - ป -

ดการเรยี นรู้ดนตรกี บั สังคมและวฒั นธรรมอบของดนตรีในสงั คมและวัฒนธรรมนตร)ี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2หน่ง พนกั งานราชการ เวลาท่ีใช้ 1 ช่วั โมงกจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้1. ครเู ปิดเพลงไทยเดมิ และเพลงของชาติอื่นๆ 1. หนงั สอื เรียน ดนตรี-ให้นกั เรียนฟัง แลว้ ถามนกั เรียนวา่ บทเพลงท่ี นาฏศลิ ป์ ม.2นักเรียนได้ฟงั นน้ั มาจากวัฒนธรรมใด และ 2. ซีดเี พลงนกั เรยี นทราบได้อย่างไร2. ครูเฉลยคาตอบแลว้ สนทนากบั นักเรียนกย่ี วกับองค์ประกอบทางดนตรีในสังคมและวฒั นธรรม3. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 6 คน ตามความสมัครใจ แล้วใหส้ มาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ เลือกหมายเลขประจาตัว ตง้ั แตห่ มายเลข 1-64. สมาชกิ แต่ละหมายเลขศึกษาความร้เู รื่ององค์ประกอบของดนตรีในสงั คมและวัฒนธรรมจากหนงั สือเรียน ดงั น้ี หมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรือ่ ง เสยี ง หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรือ่ ง จงั หวะ หมายเลข 3 ศกึ ษาความรเู้ รื่อง ทานอง หมายเลข 4 ศึกษาความรเู้ รอ่ื ง การประสานเสยี ง หมายเลข 5 ศกึ ษาความรู้เร่ือง เนอื้ ดนตรี

-5แใค67วนกเพแ8คแตค9วอบเร1เปเปเพ

หมายเลข 6 ศกึ ษาความรู้เรือ่ ง บนั ไดเสียง5. สมาชกิ แต่ละหมายเลขกลบั เขา้ กลุ่มเดิมแล้วผลดั กนั อธิบายความรทู้ ่ีได้จากการศกึ ษาให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ในกลุ่มฟัง จนเกิดความเขา้ ใจท่ีตรงกัน6. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด7. ครูเปิดเพลง 2 เพลง (เลือกเพลงที่มาจากวฒั นธรรมท่ีต่างกนั ) ใหน้ ักเรียนฟงั แลว้ ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ นาความรู้ท่ไี ดจ้ ากการศึกษามาวิเคราะห์และเปรียบเทยี บวา่พลงทงั้ 2 เพลงน้ี มีองค์ประกอบของดนตรีที่แตกต่างกันอย่างไร8. สมาชิกแตล่ ะคนรับฟังการแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับองคป์ ระกอบของดนตรีท่ีแตกต่างกันของบทเพลงท่ีมาจากวฒั นธรรมตา่ งกันของสมาชิกในกลุ่มและผลดั กนั เสนอความคิดเห็นเพมิ่ เติม9. ครูให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการวเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทียบเกี่ยวกบัองคป์ ระกอบของดนตรีท่แี ตกต่างกนั ของบทเพลงที่มาจากวฒั นธรรมต่างกนั หน้าชน้ัรียน10. สมาชกิ กล่มุ อ่นื ๆ นาผลการวิเคราะห์และปรียบเทยี บของเพือ่ นกลมุ่ ท่ีนาเสนอมาปรยี บเทยี บกับกลุ่มตนเอง แลว้ ชว่ ยกันวิจารณ์พิ่มเติมในสว่ นท่แี ตกตา่ ง

แผนการจัด หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง ด แผนการสอนที่ 2 เรอื่ ง ดนต รายวชิ า ศลิ ปะพื้นฐาน (ดน ครูผสู้ อน นายวชริ วทิ ย์ หันจางสิทธิ์ ตาแห ตัวช้วี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน ร ผลการเรียนรู้ ใบงานที่ 1.1 เ ดนตรีในวัฒนธรรมต่างประเทศศ 2.2 ม.2/1 -บทบาทของดนตรีในวัฒนธรรมบรรยายบทบาท -อิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมและอิทธพิ ลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศ

ดการเรยี นรู้ดนตรกี บั สังคมและวัฒนธรรมตรีในวัฒนธรรมต่างประเทศนตรี) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2หนง่ พนกั งานราชการ เวลาทใี่ ช้ 2 ช่วั โมง การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ประเมินผล 1. ครูนาภาพการแสดงดนตรีใน 1. หนงั สอื เรียนรอ้ ยละ 60 ผ่าน วฒั นธรรมตา่ งประเทศ มาให้นกั เรียนดู ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.เกณฑ์ แล้วถามนกั เรยี น ดังน้ี 2 - นกั เรียนเคยชมการแสดงดนตรใี น 2. บตั รภาพ วัฒนธรรมตา่ งประเทศบ้างหรือไม่ 3. ใบงานท่ี 1.1 - การแสดงดนตรเี หลา่ น้มี ีความ เร่ือง อิทธิพลของ คลา้ ยคลงึ กับการแสดง ดนตรีไทย ดนตรีในวฒั นธรรม หรือไม่ อยา่ งไร ตา่ งประเทศ 2. นักเรียนกลมุ่ เดมิ (จากแผนการ 5. หอ้ งสมุด จัดการเรียนรู้ที่ 1) รว่ มกันศึกษา 6.http://home.k ความรเู้ รือ่ ง ดนตรีในวัฒนธรรม ku.ac.th/chapik/ ต่างประเทศ จากหนังสือเรยี น 003/korea.htm ห้องสมดุ และแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ http://www.drea โดยแบง่ หน้าท่ีกนั ศกึ ษาความรู้ คนละ musica.com/mu 1 หวั ขอ้ ดังน้ี sicology_india_ 1) ดนตรีในวัฒนธรรมอินเดยี music_kinds.htm 2) ดนตรีในวฒั นธรรมจีน l 3) ดนตรีในวัฒนธรรมกมั พชู า 4) ดนตรใี นวัฒนธรรมเวยี ดนาม



5) ดนตรใี นวฒั นธรรมพม่า6) ดนตรใี นวฒั นธรรมอินโดนเี ซียแล้วบันทกึ ความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาลงในแบบบนั ทึกการอา่ น3. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด4. สมาชกิ แต่ละคนผลดั กนั อธิบายความร้เู ก่ยี วกับบทบาทและอิทธพิ ลของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศตา่ งๆตามหวั ขอ้ ท่ไี ด้ศึกษามา5. สมาชกิ แต่ละคนผลัดกันซักถามข้อสงสยั จนเกิดความเข้าใจทต่ี รงกนั6. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ ดนตรใี นวัฒนธรรมของประเทศตา่ งๆ มีอิทธิพลต่อดนตรีในวฒั นธรรมไทยอย่างไร7. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด8. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันทาใบงานท่ี 1.1 เร่ือง อทิ ธพิ ลของดนตรใี นวฒั นธรรมต่างประเทศ9. ครูส่มุ นกั เรยี น 5-6 กลุม่ นาเสนอใบงานท่ี 1.1 หนา้ ช้นั เรยี น แล้วให้เพอ่ื นกลุ่มอน่ื ช่วยแสดงความคดิ เหน็เพิ่มเติมในสว่ นทแี่ ตกตา่ ง ครูตรวจสอบความถูกต้อง10. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้เกย่ี วกับบทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศต่างๆ





แผนการจดั การเ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง ดนตรกี แผนการสอนที่ 3 เรือ่ ง เหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์กับก รายวิชา ศลิ ปะพนื้ ฐาน (ดนตร)ี ครูผสู้ อน นายวชริ วิทย์ หันจางสทิ ธิ์ ตาแหน่ง ตัวชีว้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ชิน้ งานผลการเรียนรู้ศ 2.2 ม.2/2 เหตุการณ์ประวตั ิศาสตรก์ ับการ ใบงานที่ 1.2 ร เบรรยายอทิ ธิพล เปลย่ี นแปลงทางดนตรีในประเทศ 1.2ของวัฒนธรรม ไทยและเหตุการณ์ใน - การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองประวตั ิศาสตร์ท่ีมี กบั งานดนตรีต่อรปู แบบของ - การเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยีดนตรี กับงานดนตรี

เรยี นรู้กับสงั คมและวฒั นธรรมการเปลี่ยนแปลงทางดนตรใี นประเทศไทยช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2พนักงานราชการ เวลาทใี่ ช้ 2 ชว่ั โมง การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรียนรู้ ประเมินผล 1. ครูเปดิ วีซดี ีการแสดงดนตรีไทยเดิม 1. หนังสอื เรียนรอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ และดนตรใี นปจั จบุ นั ใหน้ ักเรยี นดู ดนตรี-นาฏศิลป์ ม. แล้วถามนกั เรียนวา่ เพราะเหตใุ ด 2 ดนตรจี ึงมี การเปลยี่ นแปลงรปู แบบ 2. วซี ดี ีการแสดง ไปจากอดตี ดนตรไี ทยเดิมและ 2. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ดนตรใี นปัจจุบนั 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนฟังวา่ 3. ใบงานที่ 1.2 ปจั จัยสาคญั ทีม่ ีอิทธิพลต่อการ เร่อื ง การ เปลยี่ นแปลงทางงานดนตรีในประเทศ เปล่ยี นแปลง ไทย คือ การเปลี่ยนแปลงทาง รูปแบบงานดนตรี การเมือง และการเปลยี่ นแปลงทาง ในประเทศไทย เทคโนโลยี 4. ครูให้นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ (จาก แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1) แบ่ง ออกเปน็ 2 กลุ่มย่อย ให้แต่ละกล่มุ ยอ่ ยรว่ มกนั วางแผนในการศึกษา ความรูเ้ รอื่ ง เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ กับการเปลย่ี นแปลงทางดนตรีใน



ประเทศไทย จากหนงั สอื เรียน ตามประเดน็ ท่ีกาหนด ดังน้ี- กลุ่มย่อยที่ 1 ศึกษาความรเู้ รอ่ื ง การเปล่ียนแปลงทางการเมืองกับงานดนตรี- กลุ่มยอ่ ยท่ี 2 ศึกษาความรู้เรือ่ ง การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีกบั งานดนตรี5. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มลงมือศึกษาความรู้เรื่อง เหตุการณป์ ระวัติศาสตร์กับการเปล่ียนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย จากหนงั สอื เรยี นตามขัน้ ตอนทวี่ างแผนไว้ในข้ันท่ี 26. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ นาความรูท้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษามาเปน็ พนื้ ฐานในการทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเปล่ยี นแปลงรปู แบบงานดนตรใี นประเทศไทย7. ครสู มุ่ นักเรียนทีละ 1 กลุ่ม นาเสนอใบงานที่ 1.2 หนา้ ชั้นเรียน กลมุ่ ละ 1ขอ้ ครูและเพื่อนกลุ่มอื่นชว่ ยกนัตรวจสอบความ ถกู ต้อง8. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้เกย่ี วกับอิทธพิ ลของวฒั นธรรมและเหตกุ ารณใ์ นประวัติศาสตร์ที่มตี อ่รปู แบบของดนตรี ในประเทศไทย

แผนการจดั การเ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เร่อื ง ความรทู้ แผนการสอนท่ี 4 เร่ือง เครอื่ งหมายแล รายวชิ า ศลิ ปะพนื้ ฐาน (ดนตรี) ครผู สู้ อน นายวชิรวิทย์ หนั จางสทิ ธ์ิ ตาแหนง่ ตัวช้วี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชิน้ งาน ผลการเรียนรู้ เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ทาง ทาแบบทดสอบ หนว่ ย ปศ 2.1 ม.2/2 ดนตรีอา่ น เขียน ร้อง - โน้ตจากเพลงไทยอัตราจงั หวะ การเรียนรทู้ ่ี 2 จโน้ตไทยและโนต้ สองชนั้สากลทมี่ ีเครอ่ื งหมายแปลงเสียง

เรียนรู้ท่ัวไปเกีย่ วกับดนตรไี ทยละสัญลกั ษณ์ทางดนตรไี ทยชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2พนักงานราชการ เวลาทใี่ ช้ 1 ชวั่ โมง การวดั และ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ประเมนิ ผล 1. ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกนั บอกโน้ตเพลง 1. หนังสอื เรยี นประเมินตามสภาพ ไทยท่ีรู้จักและตวั อกั ษร ท่ใี ชแ้ ทน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.จริง เสียงตัวโน้ตนน้ั 2 2. ครูนาภาพตวั อกั ษรทีใ่ ช้แทนเสียงตัว 2. เอกสาร โนต้ ของไทย มาให้ นักเรียนดู เพื่อ ประกอบการสอน ตรวจสอบกบั คาตอบของนักเรียน 3. บตั รภาพ 3. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด 4. ฉง่ิ 4. ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาความรู้เรื่อง เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี ไทย จากหนงั สือเรียน มาล่วงหน้า 5. ครสู ่มุ นักเรียน 5-6 คน ตอบคาถาม โดยนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาเปน็ แนวทางในการหาคาตอบ เชน่ - โน้ตเพลงไทยมลี ักษณะอย่างไร - เราสามารถบนั ทกึ โนต้ เพลงใน 1 ห้อง เพลง เกินกว่า 4 ตวั ทก่ี าหนดไวไ้ ด้ หรอื ไม่ เพราะเหตุใด - อัตราจังหวะเพลงไทย สามารถแบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท อะไรบา้ ง



6. ครแู จ้งให้นักเรยี นทราบว่า ครูจะให้นกั เรียนฝึกเขียน อ่าน และร้องโน้ตเพลงไทยในอตั ราจังหวะสองชั้น7. ครูตฉี ่งิ ในอตั ราจังหวะสองชัน้ ให้นักเรียนดู แลว้ ให้นักเรยี นปรบมอื ตามจังหวะ เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจในจงั หวะมาก ย่ิงขน้ึ

แผนการจัดการเ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง ความรู้ท แผนการสอนที่ 5 เรอื่ ง ปัจจยั สาคัญท่ีมอี ทิ รายวิชา ศิลปะพื้นฐาน (ดนตร)ี ครผู สู้ อน นายวชริ วิทย์ หันจางสิทธิ์ ตาแหน่ง ตัวชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ชิน้ งาน ร ผลการเรียนรู้ เ เทคนิคและการแสดงออกในการ ใบงานที่ 2.1ศ 2.1 ม.2/3 - จนิ ตนาการในการสร้างสรรคบ์ ทระบปุ ัจจยั สาคัญ เพลงทม่ี ีอิทธิพลตอ่ - การถ่ายทอดเรื่องราวความคิดการสร้างสรรค์ ในบทเพลงงานดนตรี

เรียนรู้ ท่ัวไปเกย่ี วกับดนตรีไทยทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 พนกั งานราชการ เวลาท่ใี ช้ 2 ชั่วโมง การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ ประเมินผล 1. ครเู ปดิ ซีดเี พลงไทย เช่น เพลงโหม 1. หนังสอื เรียนร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ โรงคลื่นกระทบฝ่งั สามชั้น เพลงลาว ดนตรี-นาฏศิลป์ ม. กระทบไม้ เพลงค้างคาวกินกล้วย เพลง 2 ตระนิมิต เปน็ ต้น ใหน้ ักเรียนฟัง (ครู 2. ซดี ีเพลงไทย สามารถเลอื กเปิดเพลงไดต้ ามความ 3. ใบงานที่ 2.1 เหมาะสม โดยในแต่ละเพลงท่ีครูเปดิ เรอื่ ง ปัจจยั สาคัญท่ี นนั้ จะตอ้ งเกิดจากปัจจยั สาคัญทมี่ ี มีอทิ ธิพลต่อการ อทิ ธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์งานดนตรีท่ี สร้างสรรค์งาน ต่างกัน) ดนตรี 2. ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกันวเิ คราะห์วา่ เพลงแตล่ ะเพลงน้ันมคี วามแตกต่างกัน อย่างไร และเพราะเหตุใดจึงเปน็ เชน่ นั้น 3. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด 4. ครอู ธิบายให้นักเรยี นฟังว่า ปจั จัยที่ มอี ิทธิพลต่อการสร้างสรรคง์ านดนตรี ไดแ้ ก่ ธรรมชาติ วิถชี วี ติ ศาสนา ความ เชอื่ อารมณ์และความร้สู ึก



5. ครใู ห้นักเรียนกลุ่มเดมิ (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) รว่ มกันศึกษาความรจู้ ากหนังสอื เรียน มาล่วงหน้า ตามประเด็นที่กาหนด ดงั น้ี1) ปจั จยั สาคญั ทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์งานดนตรี2) เทคนคิ และการแสดงออกในจนิ ตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลง3) เทคนคิ และการแสดงในการถา่ ยทอดเรอ่ื งราวความคดิ ในบทเพลง6. สมาชิกแต่ละกลุม่ นาความรูท้ ไ่ี ด้จากการศึกษามาอภิปรายร่วมกนั ภายในกลมุ่ แลว้ บันทึกลงในแบบบันทึกการอา่ น7. ครตู งั้ ประเด็นคาถามเก่ยี วกบั ปัจจัยสาคญั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการสรา้ งสรรคง์ านดนตรี เช่น- ธรรมชาตเิ ขา้ มามีสว่ นเก่ยี วข้องในการสร้างสรรคง์ านดนตรีอยา่ งไร- เพลงท่ีเก่ยี วข้องกับวิถชี ีวิต มักเปน็เพลงประเภทใด- บทเพลงทเ่ี กยี่ วข้องกบั ศาสนาและความเชื่อสว่ นมาก จะเป็นเพลงประเภทใด



- เพราะเหตใุ ด ผู้ประพนั ธเ์ พลงจงึ ตอ้ งใชจ้ ินตนาการเข้าไปผสมผสานอย่ใู นเนอ้ื หาของเพลง- เทคนิคและการแสดงออกท่ีผู้ประพันธใ์ ช้ในการถ่ายทอดเร่ืองราวความคิดในบทเพลง คอื อะไร8. ครูสุ่มนกั เรียน 5 กลุ่ม ตอบคาถามตามประเด็นทีค่ รูกาหนด กลุ่มละ 1 ขอ้ครแู ละเพอื่ นกลมุ่ อนื่ ช่วยกันตรวสอบความถูกต้องและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในสว่ นท่ีแตกต่าง9. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมให้นกั เรียนฟังว่านกั ประพนั ธ์เพลง แต่ละท่านตา่ งมีเทคนิคและการแสดงออกทางจนิ ตนาการในการสร้างสรรค์บทเพลงและการถา่ ยทอดเร่ืองราวความคิดในบทเพลงที่อาจเหมือนกนั หรอื แตกต่างกันไป10. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เร่ือง ปัจจยั ทมี่ ีอิทธพิ ลต่อการสร้างสรรค์11. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ12. นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เร่ือง ปจั จัยสาคญั ท่ีมีอทิ ธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรี

แผนการจัดการเ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่ือง ความรู้ท แผนการสอนที่ 6 เรอื่ ง อารมณ์เพลง รายวิชา ศลิ ปะพืน้ ฐาน (ดนตรี) ครผู ู้สอน นายวชริ วิทย์ หนั จางสิทธ์ิ ตาแหนง่ ตวั ช้ีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ชิน้ งาน ร ผลการเรียนรู้ ใบงานท่ี 2.2 เ การบรรยายอารมณแ์ ละศ 2.1 ม.2/5 ความรู้สึกในบทเพลงบรรยายอารมณ์ของเพลงและความรู้สึกทม่ี ีตอ่บทเพลงท่ีฟงั

เรียนรู้ทั่วไปเกย่ี วกับดนตรีไทยงและความรสู้ กึ ในบทเพลงชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 2พนักงานราชการ เวลาทใี่ ช้ 1 ชว่ั โมง การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ ประเมนิ ผล 1. ครใู ห้นักเรียนชว่ ยกนั ยกตัวอยา่ ง 1. หนังสือเรียนร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เพลงท่นี ักเรียนรู้จกั และอธบิ ายว่า เมือ่ ดนตรี-นาฏศิลป์ ม. นักเรยี นได้ฟงั เพลงนน้ั นกั เรียน 2 เกิดความรสู้ ึกอยา่ งไร 2. ซดี ีเพลงไทย 3. ครูอธิบายเพ่มิ เติมจากคาตอบของ 3. สลาก นกั เรยี น โดยเชอื่ มโยงให้นักเรียนเขา้ ใจ 4. ใบงานท่ี 2.2 เก่ยี วกบั อารมณ์เพลงและความรู้สึกใน เร่ือง อารมณ์เพลง บทเพลง และความรสู้ กึ ใน 4. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ บทเพลง 5. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง อารมณ์เพลงและความรู้สึกในบท เพลง จากหนงั สือเรยี น และห้องสมดุ ตามประเด็นทก่ี าหนด ดังนี้ 1) บทเพลงไทยท่ีทาใหเ้ กิดความรูส้ กึ โศกเศรา้ ทุกข์ใจ ไมส่ บายใจ 2) บทเพลงไทยท่ีกอ่ ให้เกิดความร้สู กึ รื่นเรงิ สนกุ สนาน ฮึกเหมิ องอาจ เรา้ ใจ



3) บทเพลงไทยที่ก่อใหเ้ กิดความรสู้ ึกชืน่ ชม ยินดี เกิดกาลงั ใจ4) บทเพลงไทยท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความรสู้ ึกขลัง ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ นา่ เคารพ5) บทเพลงไทยท่ีกอ่ ให้เกิดความรูส้ ึกเบิกบานใจ สุขใจ สบายอารมณ์ รกัอ่อนหวาน6. ครเู ปดิ ซีดีเพลงไทย 1 เพลง ให้นกั เรียนฟงั แล้วใหน้ ักเรยี น แตล่ ะคนนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาเขยี นบรรยายวา่ เพลงทไ่ี ด้ฟงั น้นั ให้อารมณ์และความรูส้ ึกอยา่ งไร แลว้ บันทึกลงในใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง อารมณ์เพลงและความรูส้ ึกใน บทเพลง7. นกั เรยี นแต่ละคนกลบั เขา้ กลมุ่ เดมิ(จากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1) แล้วใหส้ มาชิกแต่ละคนผลดั กนั อธิบายความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาและคาตอบในใบงานท่ี 2.2 ของตนเอง ให้สมาชิกคนอ่นื ๆ ในกลมุ่ ฟงั ทลี ะคน แบบเลา่เรื่องรอบวง8. ครูจบั สลากเลอื กนกั เรียน 3-4 กลุม่นาเสนอใบงานที่ 2.2 หน้าชน้ั เรยี นแล้วให้เพื่อนกลุม่ อืน่ ท่ีไมไ่ ดน้ าเสนอช่วยกนั แสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติมในสว่ นทแ่ี ตกตา่ ง

แผนการจัดการเ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เรื่อง แผนการสอนที่ 7 เรอ่ื ง การ รายวิชา ศิลปะพื้นฐาน (ดนตร)ี ครูผู้สอน นายวชริ วทิ ย์ หันจางสิทธิ์ ตาแหนง่ ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน ร ผลการเรยี นรู้ ใบงานที่ 3.1 เ เทคนคิ การร้องเพลงศ 2.1 ม.2/4 - การร้องเดี่ยวร้องเพลง และ - การร้องเป็นวงเล่นดนตรเี ด่ยี วและรวมวง

เรยี นรู้ทกั ษะดนตรีไทยรขับรอ้ งเพลงไทยชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 2พนกั งานราชการ เวลาท่ใี ช้ 2 ชว่ั โมง การวดั และ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ ประเมนิ ผล 1. ครเู ปดิ วซี ีดกี ารขบั ร้องเพลงไทย ให้ 1. หนงั สือเรยี นร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ นักเรยี นดู แล้วถามนักเรียนว่า นกั เรียน ดนตรี-นาฏศิลป์ ม. เคยขบั ร้องเพลงไทยบา้ งหรือไม่ ถ้าเคย 2 นักเรียนเคยขับร้องเพลงใด 2. วีซดี กี ารขบั รอ้ ง 2. ครใู ห้นกั เรียนท่มี ปี ระสบการณ์ใน เพลงไทย การขับร้องเพลงไทย อธิบายเกี่ยวกับ 3. ใบงานที่ 3.1 หลกั การขับร้องและเทคนิคการขบั รอ้ ง เรอื่ ง การขับรอ้ ง เพลงไทย ตามความเขา้ ใจของนักเรยี น เพลงไทย 3. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ 4. ห้องสมุด 4. ครูอธบิ ายเก่ยี วกบั ความหมายของ 5.http://www.m คาว่า การขับ และการร้องให้นักเรยี น athayom.brr.ac.t ฟงั h 5. ครูแบ่งนักเรียนเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 6.www.youtube. คน คละกันตามความ สามารถ คือ เกง่ com (การขบั ร้อง ปานกลาง เพลงไทย) คอ่ นข้างเก่ง ปานกลางคอ่ นข้าง อ่อน และอ่อน 6. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ จับคู่กนั เปน็ 2 คู่ ใหแ้ ต่ละครู่ ่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่อง



การขับร้องเพลงไทย จากหนังสอื เรียนหอ้ งสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสนเทศดังนี้1) ประเภทของการขับรอ้ งเพลงไทย2) หลกั การขับร้องเพลงไทย3) เทคนคิ ในการขับร้องเพลงไทย แลว้ บนั ทกึ ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาลงในแบบบันทกึ การอ่าน7. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ8. สมาชกิ แตล่ ะคนู่ าความร้ทู ่ีได้จากการศึกษามาเป็นพื้นฐานในการทาใบงานท่ี 3.1 เรอ่ื ง การขับร้องเพลงไทยโดยปฏิบตั ิ ดังน้ี- สมาชกิ คนท่ี 1 อ่านคาถาม และเขียนคาตอบลงในใบงาน- สมาชกิ คนที่ 2 เปน็ ฝ่ายสงั เกต และตรวจสอบความถกู ต้องของคาตอบ ถ้าไมถ่ ูกต้องให้เขียนเพม่ิ เติมจนเกิดความสมบรู ณ์ในขอ้ ต่อไปก็ใหส้ มาชิกคนท่ี 2 ทาหนา้ ท่ีแบบเดียวกับสมาชกิ คนที่ 1 และสมาชิกคนที่ 1 ก็ทาหนา้ ทแ่ี บบเดยี วกบัสมาชิก คนท่ี 2 ทาเชน่ น้ีไปเร่อื ยๆจนจบคาถามในใบงานท่ี 3.1



(สมาชิกอีกค่หู นงึ่ ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกันก็ปฏิบตั เิ ชน่ เดียวกนั )9. สมาชิกแต่ละคู่กลบั เขา้ กลุ่มเดิมแลว้ แลกเปลยี่ นใบงานท่ี 3.1 กับสมาชกิ อกี คทู่ ่ีอยู่ในกลมุ่ เดยี วกัน เพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง เสรจ็แลว้ เกบ็ รวบรวมใบงาน10. ครูใหน้ กั เรยี นทั้งห้องชว่ ยกนั เลือกเพลงไทย 1 เพลง แล้วใหน้ กั เรียนแต่ละคนฝึกขับร้องเพลงไทยทเี่ ลือกให้ถกู ต้อง ตามคาร้อง ทานอง และจงั หวะ11. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรู้เกย่ี วกบั หลักการขบั ร้องเพลงไทย และเทคนิคในการขบั ร้องเพลงไทย

แผนการจดั การเ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เรื่อง แผนการสอนท่ี 8 เรอื่ ง การบรร รายวิชา ศิลปะพ้นื ฐาน (ดนตรี) ครผู สู้ อน นายวชิรวิทย์ หันจางสทิ ธิ์ ตาแหนง่ ตัวช้ีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ชิน้ งาน ร ผลการเรยี นรู้ ใบงานที่ 3.2 เ เทคนคิ การบรรเลงดนตรีศ 2.1 ม.2/4 - การบรรเลงเดย่ี วรอ้ งเพลง และ - การบรรเลงเป็นวงเล่นดนตรเี ดีย่ วและรวมวง

เรยี นรู้ทกั ษะดนตรไี ทยรเลงเครื่องดนตรไี ทยชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2พนกั งานราชการ เวลาท่ใี ช้ 2 ชัว่ โมง การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ประเมนิ ผล 1. ครูนาภาพการบรรเลงดนตรไี ทย ใน 1. หนงั สอื เรยี นรอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รปู แบบต่างๆ มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ให้ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ม. นกั เรยี นชว่ ยกนั บอกวา่ การบรรเลง 2 ดนตรีในแตล่ ะภาพ เปน็ การบรรเลง 2. บัตรภาพ ของวงดนตรีประเภทใด 3. ใบงานที่ 3.2 2. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมเพื่อใหน้ ักเรียน เรือ่ ง การบรรเลง เข้าใจเกี่ยวกับรปู แบบของการบรรเลง เครื่องดนตรี ดนตรีไทย 3. ครูใหน้ กั เรียนกลุ่มเดิม (จาก แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1) รว่ มกัน ศกึ ษาความร้เู รื่อง การบรรเลงเครอื่ ง ดนตรไี ทย จากหนังสือเรียน ตาม ประเด็นท่ีกาหนด ดังน้ี 1) ประเภทของการบรรเลงดนตรไี ทย 2) หลกั การบรรเลงดนตรีไทย 3) เทคนิคในการบรรเลงดนตรไี ทย 4. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มนาความรูท้ ่ไี ด้จาก การศกึ ษามาอภิปรายร่วมกันภายใน



กลุ่ม แลว้ ผลดั กันซกั ถามข้อสงสัยจนเกิด ความเข้าใจที่ตรงกนั5. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิข้อ 1-26. สมาชกิ แต่ละกล่มุ จับคกู่ ันเป็น 2 คู่ให้แตล่ ะคชู่ ่วยกนั ทา ใบงานที่ 3.2เร่ือง การบรรเลงเคร่อื งดนตรีไทย7. สมาชิกแต่ละค่ชู ่วยกันตรวจสอบคาตอบตามแนวเฉลยที่ครูแจกให้ และช่วยกันอธิบายส่ิงที่สงสยั ให้แก่สมาชกิซ่งึ เป็นคขู่ องตนเองฟงั (ในกรณีที่นกั เรียนคใู่ ดทาใบงานเสรจ็ กอ่ นคูอ่ นื่ครูอาจให้ทาใบงานสารองหรือให้ทากจิ กรรมอ่นื เพ่ือรอเพื่อน คอู่ ื่นๆ)8. ถา้ สมาชิกคู่ใดทาใบงานท่ี 3.2 ไม่ถูกต้องตามเกณฑท์ ี่ครกู าหนด กใ็ ห้สมาชิกคนู่ น้ั ทาใบงานชุดคู่ขนานกับชุดแรกจนกว่าจะทาใบงานถูกต้องตามเกณฑ์ทกี่ าหนด9. สมาชกิ แต่ละค่กู ลบั กลมุ่ เดิม (4 คน)แลว้ นาคะแนนของแตล่ ะคู่ มารวมกนัภายในกล่มุ แลว้ หาค่าเฉลี่ย ครูประกาศผลกลุ่มที่ไดค้ ะแนนสูงสุด และให้กาลังใจกลุ่มท่ีไดค้ ะแนนลาดบัรองลงมา



10. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้เกย่ี วกบั การบรรเลง เคร่ืองดนตรีไทยตามประเดน็ ดงั น้ี1) ประเภทของการบรรเลงดนตรีไทย2) หลกั การบรรเลงดนตรีไทย3) เทคนิคในการบรรเลงดนตรไี ทย

แผนการจดั การเ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 เร่อื ง ความรูท้ แผนการสอนท่ี 9 เร่ือง เครอ่ื งหมาย รายวิชา ศิลปะพนื้ ฐาน (ดนตร)ี ครผู ูส้ อน นายวชริ วิทย์ หันจางสิทธ์ิ ตาแหน่ง ตวั ช้ีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน ร ผลการเรียนรู้ ใบงานท่ี 4.1 เ เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ทางศ 2.1 ม.2/2 ดนตรีอ่าน เขียน รอ้ ง - โน้ตสากล (เครอื่ งหมายแปลงโนต้ ไทยและโนต้ เสียง)สากลทมี่ ีเครื่องหมายแปลงเสียง

เรยี นรู้ท่ัวไปเก่ยี วกับดนตรีสากลยและสัญลกั ษณท์ างดนตรีชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2พนกั งานราชการ เวลาทใี่ ช้ 1 ชวั่ โมง การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ประเมินผล 1. ครสู นทนากบั นักเรียนเกย่ี วกบั 1. หนงั สือเรียนรอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เคร่อื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ม. แล้วให้นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ 2 ความคิด 2. เอกสาร 2. ครนู าภาพ มาให้นกั เรียนดู จากนัน้ ประกอบการสอน ครูถามนักเรียนว่า นกั เรียนร้จู ัก 3.บตั รภาพ เครื่องหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรีที่ 4. ซดี ีเพลงชะตา อยู่ในภาพหรือไม่ มชี ือ่ เรยี กวา่ อะไร ชวี ติ 3. ครแู บ่งนักเรียนเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 5. ใบงานท่ี 4.1 คน คละกันตามความสามารถ คอื เกง่ เรื่อง โน้ตสากลท่มี ี ปานกลางค่อนขา้ งเก่ง ปานกลาง เครื่องหมายแปลง คอ่ นข้างอ่อน และอ่อน เสยี ง 4. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั วางแผนใน 6. หอ้ งสมดุ การศกึ ษาความรเู้ กยี่ วกบั เคร่ืองหมาย และสัญลักษณท์ างดนตรี จากแหลง่ การเรียนร้ตู ่างๆ 5. สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษา ความรเู้ รอ่ื ง เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ ทางดนตรี จากหนังสือเรยี น หอ้ งสมุด



และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ตามขัน้ ตอนที่ไดว้ างแผนไว้ ดังน้ี1) เครอ่ื งหมายแปลงเสียง2) การฝึกอ่าน เขียน และร้องโนต้สากลทม่ี เี คร่ืองหมายแปลงเสียง6. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายความรู้ที่ได้จากการศึกษา แล้วบนั ทกึลงในแบบบนั ทึกการอา่ น7. นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิข้อ 1-28. ครสู นทนากบั นักเรยี นวา่ การฝกึอา่ น เขยี น และร้องโน้ตเพลงทมี่ ีเครื่องหมายแปลงเสียงท่ีนักเรียนควรศกึ ษาไวเ้ ปน็ พน้ื ฐาน คือ เสียงปกติเคร่ืองหมายแปลงเสียงชาร์ป และเครือ่ งหมายแปลงเสยี งแฟลต9. ครแู จกโนต้ เพลงชะตาชีวิต ให้นกั เรียนแตล่ ะคน จากนนั้ ครูสาธิตวิธีการอา่ นโนต้ เพลงชะตาชวี ิตให้นกั เรียนฟงั แลว้ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นตาม10. ครูเปดิ เพลงชะตาชีวิต ให้นักเรียนฟงั แลว้ ใหน้ กั เรียนฝึกร้องโนต้ เพลงชะตาชวี ติ ประกอบทานองเพลง จนเกดิความชานาญ11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซกั ถามข้อสงสัยและแสดงความคิดเห็น



เก่ียวกับการอ่าน และรอ้ งโนต้ สากลท่ีมีเครื่องหมายแปลงเสยี งเพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งข้ึน12. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละคนฝึกเขียนโนต้ เพลงชะตาชีวติ ลงใน ใบงานที่4.1 เร่ือง โน้ตสากลที่มเี ครอ่ื งหมายแปลงเสยี ง เป็นการบ้าน เสร็จแลว้นาส่งครูตรวจ13. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้เกีย่ วกับการฝึกอ่าน เขยี น และร้องโน้ตสากลทม่ี ีเครื่องหมายแปลงเสียง

แผนการจัดการเ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เรื่อง ความรทู้ แผนการสอนท่ี 10 เรอ่ื ง ปัจจยั สาคัญที่มีอิท รายวิชา ศลิ ปะพ้นื ฐาน (ดนตร)ี ครผู ู้สอน นายวชิรวทิ ย์ หันจางสิทธิ์ ตาแหน่ง ตัวชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ช้ินงาน ร ผลการเรยี นรู้ เ เทคนคิ และการแสดงออกในการ ใบงานที่ 4.2ศ 2.1 ม.2/3 - จินตนาการในการสรา้ งสรรคบ์ ทระบปุ จั จยั สาคญั เพลงท่มี ีอิทธพิ ลต่อ - การถ่ายทอดเร่ืองราวความคดิการสรา้ งสรรค์ ในบทเพลงงานดนตรี

เรียนรู้ท่ัวไปเก่ยี วกับดนตรสี ากลทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรคง์ านดนตรีชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 2พนักงานราชการ เวลาท่ีใช้ 1 ช่ัวโมง การวดั และ กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ ประเมนิ ผล 1. ครูเปิดเพลงในสมัยอดตี และเพลงใน 1) หนงั สือรอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ปัจจุบนั แลว้ ถามนักเรยี นวา่ บทเพลงท่ี เรียน ดนตรี- เกดิ ขึ้นในอดตี และในปัจจบุ ันมคี วาม นาฏศิลป์ ม.2 แตกต่างกนั อย่างไร 2 2. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด ) ซดี ีเพลง 3. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟังว่า ปัจจยั 3 สาคญั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อการสร้างสรรคง์ าน ) ใบงานท่ี ดนตรี อาจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ คือ 4.2 เรื่อง ปจั จยั ปัจจยั ภายนอกและปจั จยั ภายใน แลว้ สาคญั ที่มีอทิ ธิพล ให้นกั เรียนศึกษาความรู้เพ่ิมเติมจาก ตอ่ การสร้างสรรค์ หนงั สอื เรยี น งานดนตรี 4. ครใู หน้ ักเรยี นกลุม่ เดมิ (จาก แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1) ร่วมกัน ศึกษาความรู้เรอื่ ง ปจั จัยสาคัญที่มี อิทธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์งานดนตรี จากหนงั สอื เรียน ตามประเด็นที่ กาหนด ดงั นี้ 1) จนิ ตนาการในการสรา้ งสรรค์บท เพลง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook