Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการอนุรักษ์พลังงาน

คู่มือการอนุรักษ์พลังงาน

Published by Wilawan S, 2021-12-30 16:17:37

Description: คู่มือการอนุรักษ์พลังงาน V.2022
กลุ่มวิจัย EnConLab
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Keywords: e-book, enconlab,energy, saving

Search

Read the Text Version

@enconlab www.facebook.com/enconlabnews คู่ มื อ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ พ ลั ง ง า น หน่วยวิจัยเพ่ือการอนรุ ักษพ์ ลังงาน (EnConLab) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี www.enconlab.com

สารบญั บทท่ี 1 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู พลงั งาน หนา้ 1.1 การจัดทาบัญชพี ลังงาน 1.2 การวิเคราะหข์ ้อมลู และติดตามประสิทธิภาพการใชพ้ ลังงาน 1-2 1-2 บทที่ 2 เครอ่ื งมอื วดั ดา้ นพลงั งาน 2.1 เครือ่ งมือวดั พลังไฟฟ้า 2-2 2.2 เครื่องวดั อัตราการไหลในท่อ 2-4 2.3 เครอ่ื งวัดการสอ่ งสว่าง 2-5 2.4 อปุ กรณต์ รวจวัดอุณหภมู ชิ นดิ สัมผสั 2-6 2.5 อุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภมู ิ 2-7 2.6 อปุ กรณถ์ า่ ยภาพความร้อน 2-8 2.7 เครื่องมอื วดั ความช้ืนสัมพัทธ์ 2-11 2.8 เครอื่ งมือตรวจวดั ความเร็วลม 2-12 2.9 เครอ่ื งมอื วดั ความเรว็ ลมชนิดหวั วัดแบบใบพดั 2-13 2.10 เครอ่ื งตรวจวดั ประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้ 2-14 2.11 เครือ่ งมอื สาหรับใช้วัดคา่ สภาพการนาไฟฟา้ ของน้า 2-15 2.12 เครอื่ งมือตรวจวัดการทางานของกบั ดักไอนา้ 2-16 2.13 อุปกรณท์ ่ใี ช้วดั ปรมิ าณออกซิเจน 2-16 บทท่ี 3 เทคนคิ การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 3-2 3.1 ระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง 3-11 1-2 3.2 กรอบอาคาร 3-18 3.3 ระบบปรบั อากาศ 3-31 3.4 ระบบทาความเยน็ 3-45 3.5 ระบบไอนา้ 3-55 3.6 ระบบอัดอากาศ 3-76 กมหลาุ่มววทิ3ิจยัย.า7EลnัยCเทoมคnโอLนaโเลbตยีพอรระจ์ไอฟมเฟกล้าา้ ธนปบ๊มัุรี น้า และพัดลม

สารบญั บทท่ี 4 การประเมนิ การลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก หนา้ 4.1 แนวทางการประเมินการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก 4.2 การคานวณปรมิ าณการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากการ 4-2 ดาเนนิ มาตรการ/โครงการ 4-3 บทท่ี 5 การปฏบิ ตั ติ าม พระราชบญั ญตั กิ ารสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน สาหรบั โรงงานควบคมุ และอาคารควบคมุ 5.1 ขอบเขตการบงั คับใชพ้ ระราชบัญญัติ 5-3 5-4 5.2 การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของโรงงานควบคมุ และอาคารควบคมุ บทที่ 6 การพฒั นาระบบการจดั การพลงั งาน 6-1 6.1 การจัดการพลังงาน คอื อะไร? 6-2 6.2 สาคัญอย่างไร………….ทาไมต้องทา? 6-2 6.3 ทาแล้วได้อะไร? 6-3 6.4 จากการจดั การพลงั งานสู่…..มาตรฐานสากล 6-4 6.5 มาตรฐาน ISO 50001 มขี ้อกาหนดอย่างไร? 6.6 ประเทศไทยมีขอ้ กาหนดดา้ นการจดั การพลงั งานหรือไม่ และ 6-6 อย่างไร? 6.7 จะนาการจัดการพลังงานมาใชใ้ นองคก์ รอย่างไร? 6-8 บทท่ี 7 กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอื่ นกิจกรรมอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 7.1 การบริหารจดั การกิจกรรมการอนรุ กั ษ์พลงั งานดว้ ย PDCA 7-2 7.2 การสรา้ งทมี งานเพ่ือกจิ กรรมการอนุรักษ์พลังงาน 7-5 7.3 การจดั ทา จดั เกบ็ ขอ้ มลู อปุ กรณ์ และการใชพ้ ลงั งานขององคก์ ร 7-12 7.4 การบรหิ ารจัดการงบประมาณในกจิ กรรมหรือมาตรการด้าน 7-14 การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน 7.5 การสรา้ งแรงจงู ใจ และความยั่งยืน คมู่ ือการอนรุ กั ษ์พลังงาน 7-171-3 V.2022

สารบัญ (ต่อ) หนา้ บทท่ี 8 IoT กบั การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 8-2 8.1 Internet of Thing หรือ (IoT) คืออะไร มีอะไรบ้าง มีความสาคญั ยังไงในโลกปัจจุบนั 8-3 8.2 การคานวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการ 8-5 ดาเนินมาตรการ/โครงการ 8-9 8.3 เทคโนโลยี NB-IoT กับ Smart Energy Application 8-10 8.4 Smart Meter – Smart Grid เทคโนโลยี IoT เพื่อ ประสทิ ธภิ าพการใช้ไฟฟา้ ท่ีดีกวา่ เดิม 9-2 8.5 ความแตกต่างระหว่าง IoT ปกติกับ Smart Meter 9-3 9-4 บทที่ 9 แนวคดิ ในการตรวจวดั พสิ ูจนผ์ ล 9-6 9.1 ความเป็นมาของการวดั และพสิ ูจน์ผล 9-7 9.2 การตรวจวดั และพสิ ูจน์ผลคืออะไร 9-8 9.3 การตรวจวดั และพิสูจน์ผลสาคัญอย่างไร 9-8 9.4 มาตรฐานในการวัดและพสิ จู น์ผล 9-8 9.5 การประเมนิ ผลประหยดั 9-10 9.6 การเกบ็ ข้อมูลชว่ ง Baseline ยาวนานเทา่ ใด 9.7 การเกบ็ ขอ้ มูลในช่วงรายงานผลยาวนานเท่าใด 9.8 จดุ อ้างอิงในการปรับ Baseline 9.9 การปรับ Baseline 1-4 กล่มุ วิจยั EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

บทนา กลุม่ วจิ ัยเพอ่ื การอนุรกั ษ์พลงั งาน (EnConLab) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็น หน่วยงานภายใต้คณะพลงั งาน ส่ิงแวดล้อม และวัสดุ ที่ให้บริการด้านงานพลังงานกับหน่วยงานต่าง ๆ มา ต้ังแต่ปี พ.ศ.2539 ในปีน้ีกลุ่มวิจัยฯ ได้จัดทาคู่มือการอนุรักษ์พลังงาน ปี 2022 ข้ึน โดยได้รวบรวมประสบการณ์ที่ ผ่านมาของกลุ่มวิจัย EnConLab เน้ือหาคู่มือประกอบด้วยเทคนิคการอนุรักษ์พลังงานและการจัด การพลังงานในองค์กรให้มีประสทิ ธิภาพ ตลอดจนเทคโนโลยีใหมๆ่ ทีน่ ่าสนใจ กลุ่มวิจัยฯ หวังว่า คู่มือชุดน้ีจะเป็นประโยชน์กับ อาคาร และโรงงานท่ีต้องการจะดาเนินงานด้าน อนุรักษ์พลังงานให้บังเกิดผลสาเร็จ และต้องการข้อมูลสนับสนุน หรือหากมีข้อสงสัย อาจสอบถามมายัง กลุม่ วิจัยฯ โดยตรงก็ได้ ทางกลมุ่ วิจยั ยนิ ดีทจี่ ะให้คาแนะนาและสนับสนุนการดาเนนิ งานของท่าน รศ.ดร.อภิชิต เทอดโยธิน ผอู้ านวยการกล่มุ วจิ ัยเพือ่ การอนุรกั ษ์พลงั งาน คู่มือการอนรุ กั ษ์พลงั งาน 1-5 V.2022

1-2 กลมุ่ วิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

การวเิ คราะหข์ ้อมลู พลังบงทาทนี่ 1 ค่าใชจ้ า่ ยหลกั ในการดาเนินงานของสถานประกอบการที่นึกถึง 3 อันดับแรก ได้แก่ ค่าแรงงาน ค่า วัสดแุ ละคา่ พลงั งานซงึ่ การลดพลังงานและควบคุมให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมมักเป็นเป้าหมายแรกที่ทาได้ทันที เนื่องจากมีผลกระทบต่อผู้เกี่ยวข้องน้อย ก่อนจะเริ่มดาเนินการจัดการพลังงานและเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ พลังงานนั้น ขอกล่าวถึงเร่ืองที่สาคัญอันดับแรกของการอนุรักษ์พลังงาน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ พลังงานและข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการใช้พลังงานจากข้อมูลในอดีต เช่น ปริมาณการผลิตหรือการ ให้บริการ เวลาการทางาน พ้ืนท่ีปรับอากาศ และฤดูกาล เป็นต้น ข้อมูลเหล่าน้ีมีประโยชน์อย่างมากที่ทาให้ ทราบพฤติกรรมการใช้พลังงาน ยังช่วยตอบคาถามจากฝ่ายบริหารเหตุใดเดือนนี้ค่าไฟฟ้าจึงสูงถ้ามีข้อมูล การวิเคราะห์เพียงพอ เหตุผลเพียงเท่าน้ีก็เพียงพอท่ีจะทาให้ฝ่ายวิศวกรรมต้องทาการวิเคราะห์ข้อมูลของ ตนเองท้ังในระดบั องคก์ ร ระดบั หนว่ ยงานรวมไปถงึ ระดับเครอ่ื งจักรอปุ กรณ์ เมื่อสามารถติดตามและควบคุม การใช้พลังงานได้ดีแล้ว จากนั้นจึงก้าวไปสู่การเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน รวมถึงองค์กรอ่ืนที่มี ลักษณะการผลิตหรอื บรกิ ารคลา้ ยคลงึ กนั ซ่ึงจะมีความเข้มขน้ ในลาดบั ตอ่ ไป การวเิ คราะห์และติดตามการใชพ้ ลงั งานเปน็ เทคนิคการจัดการหลักที่ใช้ข้อมูลพลังงานเป็นพ้ืนฐาน ในการควบคุมระดับการใช้พลังงานในปัจจุบันและปรับปรุงข้ันตอนการปฏิบัติงานท่ีมีอยู่ Peter F. Drucker กล่าวว่า “You can’t manage what you don’t measure” หลักการบริหารจัดการท่ีจะกล่าวต่อไปนี้จะ เป็นการรวมหลักการใช้พลังงานและสถิติเข้าด้วยกัน การติดตามข้อมูลด้านสาธารณูปโภคของสถาน ประกอบการเพ่ือนาไปบริหารจัดการ ควบคุม ลักษณะเดียวกับท่ีเรามีการจัดการวัตถุดิบ การจัดการสินค้า วิธกี ารนจี้ ะช่วยควบคมุ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานได้อย่างมีทิศทาง ค่มู อื การอนรุ ักษพ์ ลังงาน 1-1 V.2022

1.1 การจดั ทาบัญชีพลังงาน การจัดทาบัญชีพลังงานมีวัตถุประสงค์ เพ่ือจะได้เห็นภาพรวมของการใช้พลังงานและต้นทุนการ ผลิตด้านพลังงานว่ามีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละความถี่การพิจารณาเป็นอย่างไร ทั่วไปจะใช้ข้อมูลรายเดือน เนื่องจากหาได้ง่าย ข้อมูลเหล่าน้ีจะถูกคานวณเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้องมากข้ึน นิยมแสดงค่าใน มุมมองของดัชนีการใช้พลังงานรวม ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้า ดัชนีการใช้พลังงานความร้อน ถ้าพบว่า ช่วงเวลาใดมีความผิดปกติของระดับการใช้พลังงานจะได้เร่งหาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข ในการจัดทา บัญชีด้านพลังงานจาเป็นต้องใช้โปรแกรมจัดทากราฟและวิเคราะห์ค่าเบี่ยงเบนของข้อมูลได้ ในปัจจุบัน สามารถทาไดง้ า่ ยในโปรแกรม Microsoft Excel หรือ Google Sheet อย่างไรก็ตาม องค์กร ย่อมประกอบจากส่วนย่อย ๆ ซ่ึงมีการใช้พลังงานเพื่อวัตถุประสงค์หลาย อย่าง เช่น การปรับอากาศให้กับพ้ืนที่ การทาความเย็นหรือความร้อนในกระบวนการผลิต การใช้อากาศอัด เป็นต้น จึงเป็นการยากท่ีจะจัดการและควบคุมการใช้พลังงานของระบบย่อยต่าง ๆ ในระดับภาพรวม ดังนั้น องค์กรควรจัดต้ังหน่วยบัญชีพลังงาน (Energy Account Centers ; EAC) ออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อการ ควบคุมการใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จานวนของหน่วยบัญชีพลังงานข้ึนอยู่กับขนาดและเง่ือนไข ของแต่ละองค์กร และแต่ละหน่วยควรกาหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ เป็นไปตามเป้าหมาย รวมถึงการจัดทาข้ันตอนการทางานและงบประมาณดาเนินงาน หน่วยบัญชีพลังงาน อาจแยกตามพน้ื ทกี่ ารใช้งาน แผนก เช่น โรงงาน 1 โรงงาน 2 แผนกบัญชี แผนกผลิต หรือแยกตามขั้นตอน การผลติ เคร่ืองจักร ระบบ เชน่ ระบบผลติ น้าเย็น ระบบอดั อากาศ หรืออาจผสมระหว่างพืน้ ท่แี ละเคร่ืองจักร 1.2 การวิเคราะห์ ข้อมลู และติดตาม ประสทิ ธภิ าพการ ใชพ้ ลงั งาน 1-2 กลมุ่ วิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี

ข้ันตอนท่ี 1 เก็บรวบรวมข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการใช้พลังงานจะมีความเหมาะสมและน่าเช่ือถือขึ้นอยู่กับข้อมูล ตัวแปรท่สี ง่ ผลกระทบต่อการใชพ้ ลังงานซึ่งแต่ละอตุ สาหกรรมหรือประเภทอาคารมคี วามแตกต่างกัน แม้เป็น อาคารประเภทเดียวกันก็อาจมีปัจจัยท่ีแตกต่างกันได้ องค์กรต้องค้นหาปัจจัยและพิจารณาตามความพร้อม ของตนเอง ข้อมูลได้จากการวัดและบันทึกการใช้พลังงานขององค์กรหรือแต่ละหน่วยบัญชีพลังงาน เพ่ือให้ มั่นใจว่ามีการรวบรวมข้อมูลพลังงานที่เช่ือถือได้เป็นประจา โดยท่ัวไปข้อมูลการใช้พลังงานสามารถเก็บได้ จากแหล่งข้อมูลดังน้ี ใบแจ้งหนี้ค่าพลังงาน ข้อมูลสาธารณูปโภค ข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต ข้อมูลเก่ียวกับ การปฏบิ ัติงาน ค่าจากมิเตอร์หลกั และมิเตอรย์ ่อย ขอ้ มูลทีใ่ ชป้ ระกอบดว้ ย 1) ขอ้ มลู การใชพ้ ลงั งาน ขอ้ มูลการใช้พลังงานส่วนใหญ่แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ข้อมลู การใช้ไฟฟ้า หาไดจ้ าก ใบแจง้ หนี้คา่ ไฟฟา้ รายเดือน ค่าจากมิเตอร์ รายการข้อมูลท่ีเก็บ รวบรวมได้แก่ พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้แต่ละช่วงเวลา (kWh) ความต้องการกาลังไฟฟ้าสูงสุดแต่ละ ช่วงเวลา (kW) กาลังไฟฟ้ารีแอคตีฟ (kVar) อัตราค่าไฟฟ้า เป็นต้น ทั้งน้ี พลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ของ องค์กรจะประกอบด้วยพลังงานไฟฟ้าท่ีซื้อและพลังงานไฟฟ้าท่ีผลิตเองจากเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า หรอื ระบบแสงอาทิตย์ซ่งึ ปจั จบุ นั ไดร้ บั ความนิยมสูงขึน้ อย่างตอ่ เน่ือง ข้อมูลการใช้พลังงานความร้อน หาได้จาก มิเตอร์เช้ือเพลิง หรือใบแจ้งหนี้ค่าไอน้าท่ีซ้ือ ส่วน ใบแจ้งหนี้ค่าเชื้อเพลิงหากเป็นการใช้จริงก็นาไปใช้ได้ เช่น การซื้อไอน้า แต่ส่วนใหญ่เป็นยอดการ ซ้ือเช้อื เพลงิ ไมใ่ ช่การใชจ้ ริง รายการขอ้ มลู ทีเ่ กบ็ รวบรวม ได้แก่ ปริมาณการใช้เช้ือเพลิง อัตราค่า เช้ือเพลงิ การใช้พลังงานขององค์กรท่ีได้จากพลงั งานไฟฟ้าและเช้ือเพลิงท่ีใชผ้ ลิตพลังงานความร้อน มี หนว่ ยตา่ งกนั การรวมขอ้ มลู การใช้เชื้อเพลิงแตล่ ะประเภทเขา้ ดว้ ยกนั โดยท่วั ไปนยิ มแปลงเป็นหน่วย เมกะจูล (MJ) หรือ กิกะจูล (GJ) ค่าการแปลงหน่วยหาได้จากการทดสอบค่าความร้อนเชื้อเพลิง หรือจากผู้จาหน่าย หากไม่มีอาจใช้ค่ากลางจากหน่วยงานกลาง เช่น กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน (พพ.) องคก์ ารบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรอื นกระจก (องคก์ ารมหาชน) (อบก.) รปู ท่ี 1-1 แนวคิดการแปลงหนว่ ยพลงั งานเพ่อื รวมข้อมูลการใชพ้ ลงั งาน คู่มอื การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 1-3 V.2022

2) ปจั จยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การใชพ้ ลงั งาน ปริมาณการใช้พลังงานข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง องค์กรต้องค้นหาและตัดสินใจเลือก ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการใช้พลังงานซ่ึงอาจจะมีมากกว่าหน่ึงปัจจัย ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ี เก่ียวข้องโดยมีระยะเวลาและความถ่ีช่วงเวลาเดียวกับการเก็บข้อมูลการใช้พลังงาน ปัจจัยท่ี เก่ียวเน่ืองกับการใช้พลังงาน เช่น ปริมาณผลผลิต น้าหนักของผลผลิต น้าหนักของวัตถุดิบ ระยะเวลาการผลติ ระยะเวลาการทางาน จานวนเตียงคนไข้ ห้องพกั ที่จาหนา่ ยได้ เป็นตน้ ข้นั ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู และระดบั การใช้พลงั งานฐาน (baseline) ข้อมูลที่รวบรวมสามารถนาไปคานวณดัชนีประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ต้นทุนพลังงาน และ นาไปใช้หาความสมั พนั ธ์ระหว่างปรมิ าณการใช้พลงั งานและปจั จยั ท่ีเกีย่ วข้อง ติดตามแนวโน้มการใช้พลังงาน โดยการใช้กราฟช่วยในการแปลความหมายข้อมูลซึ่งเป็นเครื่องมือท่ีง่ายและใช้ส่ือสารกับผู้บริหาร พนักงาน ไดเ้ ป็นอย่างดี ดชั นกี ารใช้พลงั งาน การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ได้หมายความว่า องค์กรจะต้องมีการใช้พลังงานลดลง หากการใช้พลังงานท่ีเพิ่มขึ้นนั้นเกิดจากความต้องการผลิตสินค้าเพ่ิมข้ึน ขายสินค้าได้มากขึ้นย่อมเป็นเร่ือง ที่ดี ดังนั้น การติดตามการใช้พลังงานเพียงอย่างเดียว ไม่เพียงพอที่จะทาให้ทราบว่าองค์กรมีระดับการใช้ พลังงานเป็นอย่างไร จาเป็นต้องนาข้อมูลอื่นมาร่วมในการพิจารณา ตัวชี้วัดท่ีนิยมนามาใช้ในการติดตาม ประสิทธิภาพพลังงาน คือ ค่าดัชนีการใช้พลังงานจาเพาะ (Specific Energy Consumption) เรียกกัน ส้ันๆ วา่ “ค่า SEC” เป็นดัชนีท่ีบ่งชี้ถึงปริมาณการใช้พลังงานต่อปริมาณผลผลิตหรือการบริการ บ่งบอกว่า ต้องใช้พลังงานเท่าไรในการผลิตสินค้า 1 หน่วย เป็นข้อมูลที่จะช่วยในการบริหารจัดการพลังงานและใช้ ควบคุมต้นทุนด้านพลังงานไม่ให้เกินเกณฑ์ที่กาหนดไว้ นอกจากติดตามในภาพรวมขององค์กรแล้วยังควร ใช้ติดตามในระดับหน่วยบัญชีพลังงานซึ่งจะทาให้การติดตามและควบคุมมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ค่าดัชนี การใช้พลังงานคานวณไดด้ ังน้ี SEC = พลงั งานที่ใช้ ปัจจยั ท่เี ก่ียวเนือ่ งกบั การใช้พลงั งาน การใช้พลังงานฐาน (Energy Baseline) หรอื ระดับการใช้พลงั งานอ้างองิ เปน็ คา่ ทสี่ ะทอ้ นถงึ การใชพ้ ลงั งานขององคก์ ร แสดงถงึ พฤตกิ รรมการใชพ้ ลงั งานในการดาเนนิ กจิ กรรม ทว่ั ไปใชข้ อ้ มลู ยอ้ นหลงั อยา่ งนอ้ ย 1 ปี เพอื่ เปน็ ตวั แทนหาความสมั พนั ธก์ ารใชพ้ ลงั งานและปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โดย อาจใชก้ ารวเิ คราะหก์ ารถดถอยในการสร้างสมการความสมั พนั ธ์ คา่ baseline ควรมกี ารทบทวนเปน็ ระยะเพื่อ ปรบั ปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะการผลติ หรอื การบรกิ ารในปจั จบุ นั และควรหา baseline ของแตล่ ะหนว่ ยบญั ชี พลงั งานเพอ่ื การตดิ ตามและควบคมุ ประสทิ ธภิ าพพลงั งานขององคก์ รไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ 1-4 กลุม่ วจิ ัย EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ตวั อยา่ งการหาระดับการใช้พลังงานฐาน โรงงานแห่งหนึ่ง มีการใช้พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว ปัจจัยท่ีมีผลต่อการใช้พลังงานอย่างมี นัยสาคญั คือ ปรมิ าณผลผลติ โรงงานเกบ็ ขอ้ มูลรายเดือนในปี 2562 ข้อมูลเหล่านี้จะนาไปสร้างกราฟและหา ความสัมพนั ธ์การใช้พลงั งานและการผลิตเพ่ือประเมินระดับการใช้พลังงานฐาน (Energy baseline) ตารางที่ 1-1 ตวั อย่างข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้า ปริมาณผลผลิต และค่า SEC ปี 2562 เดอื น ปรมิ าณผลผลติ ปรมิ าณพลงั งานไฟฟา้ ทใ่ี ช้ คา่ ดชั นีการใชพ้ ลงั งานจาเพาะ (SEC) (ตนั ) (kWh) (kWh/ตนั ) ม.ค. 62 32.6399 34,729.00 3,830.42 ก.พ. 62 35.5279 33,410.00 3,385.40 มี.ค. 62 39.9351 37,481.00 3,378.77 เม.ย. 62 32.9097 32,398.00 3,544.03 พ.ค. 62 39.7574 37,828.00 3,425.30 ม.ิ ย. 62 35.7879 37,531.00 3,775.34 ก.ค. 62 31.0433 32,056.00 3,717.44 ส.ค. 62 31.9865 33,150.00 3,730.95 ก.ย. 62 23.9830 25,471.00 3,823.36 ต.ค. 62 27.3807 29,347.00 3,858.53 พ.ย. 62 32.5377 33,084.00 3,660.45 ธ.ค. 62 21.7087 25,487.00 4,226.56 385.20 391,972.00 รวม 32.10 32,664.33 3,663.31 เฉลย่ี การใช้กราฟอนุกรมเวลา แผนผังแสดงค่า SEC รายเดือนในช่วงเวลา 1 ปี และค่าเฉล่ียรายปี จะแสดงใหเ้ ห็นว่าประสิทธิภาพ การใช้พลังงานแต่ละช่วงเวลาเป็นอย่างไร เดือนใดมีค่าสูงสุด ค่าต่าสุดเป็นเท่าไร แตกต่างกันเพียงใด ทาให้ เขา้ ใจธรรมชาตกิ ารใชพ้ ลงั งานในแตล่ ะฤดกู าล หากมขี อ้ มลู หลายปกี ส็ ามารถนามาเปรยี บเทยี บกนั แบบปตี อ่ ปี รปู ที่ 1-2 ค่า SEC รายเดอื น คู่มือการอนุรกั ษ์พลังงาน V.2022 1-5

การใชแ้ ผนผงั กระจาย (scatter diagram) แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งปรมิ าณผลผลติ กบั SEC วิธีการสร้างแผนผังกระจาย X,Y โดยค่าปริมาณผลผลิตเป็นตัวแปรต้นกาหนดให้พล็อตในแกน X และค่า SEC เป็นตัวแปรตามพล็อตในแกน Y สามารถทาได้ง่ายโดยใช้โปรแกรมสเปรดชีต เช่น Microsoft Excel โปรแกรมจะช่วยสร้างกราฟความสมั พันธด์ งั รูป รปู ที่ 1-3 กราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณผลผลติ กบั SEC จากรูปท่ี 1-3 ค่า SEC มีแนวโน้มลดลงเมื่อปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น นั่นคือ หากโรงงานเดิน เครื่องจักรเต็มความสามารถจะทาให้ต้นทุนพลังงานในการผลิตต่า ในทางกลับกันต้นทุนสูงเมื่อเดิน เครื่องจักรไม่เต็มที่ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากกราฟเป็นจุดเริ่มต้นของคาถาม ความสาคัญคือการหาข้อมูลท่ี เก่ียวขอ้ งมาชว่ ยสนับสนนุ การวิเคราะห์เพอื่ การตอบคาถามใหต้ รงจดุ มากท่ีสุด เช่น เวลาการเดินเคร่ือง เวลา ทางาน กาลังการผลติ จานวนเครอื่ งจักรทเ่ี ดิน เป็นต้น การใชแ้ ผนผงั กระจาย (scatter diagram) แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าณการผลิตกบั การ ใช้พลงั งาน เทคนคิ เดยี วกันกบั การใชแ้ ผนผงั กระจายแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งปรมิ าณผลผลิต กับ SEC แต่ ใหค้ วามสนใจกับการใชพ้ ลังงานไฟฟา้ โดยการพลอ็ ตค่าพลังงานไฟฟ้าในแกน Y ทดแทนค่า SEC โปรแกรม จะสร้างกราฟและแสดงค่าสมการความสมั พันธร์ วมถึงแสดงคา่ R2 ได้อยา่ งรวดเร็ว 1-6 กลุ่มวจิ ัย EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

รปู ท่ี 1-4 กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าณผลผลติ กับ การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า จากรูปที่ 1-4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณผลผลิตและการใช้พลังงานจากข้อมูลย้อนหลัง โดยวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย ค่าความเบ่ียงเบนของข้อมูล (R2) มีค่าเท่ากับ 0.9252 แสดงว่า ความแปรปรวนของการใช้พลังงานเกิดจากปริมาณผลผลิตไม่น้อยกว่า 92.5% และเกิดจากปัจจัยอ่ืนไม่ถึง 7.5% จุดข้อมูลมีลักษณะเข้าใกล้เส้นแนวโน้มมากแสดงถึงความเสถียรของการใช้พลังงานของโรงงาน สามารถใชเ้ ป็นสมการตัวแทนในการประเมินการใชพ้ ลงั งานฐาน (Energy Baseline) ได้ดังน้ี y = mx + c = 721.62x + 9005.4 โดยที่ y คือ การใชพ้ ลังงานคาดการณ์ หรือ ระดบั การใช้พลังงานอ้างอิง (kWh) x คอื ปรมิ าณผลผลติ (ตัน) c คือ จุดทตี่ ดั กบั แกน Y แสดงถึง ปริมาณพลังงานทตี่ ้องใชแ้ ม้ไม่มีการผลิต หรือ พลังงานขั้นต่าที่ ตอ้ งใช้ เรียกว่า พลงั งานคงท่ี (Fixed Energy) มีคา่ เท่ากบั 9005.4 kWh m คือ ค่าความชันหรือความลาดเอยี งของเส้นกราฟ บอกถึงปริมาณพลังงานท่ีใช้ไปต่อหน่วยการ ผลิตที่เพิ่มขึ้น 1 หน่วย เรียกว่า พลังงานผันแปร (Variable Energy) มีค่าเท่ากับ 721.62 kWh/ตนั อย่างไรก็ตาม องค์กรบางแห่งอาจจะมีค่า R2 ต่ามากอาจเนื่องจากความซับซ้อนของอุตสาหกรรม หรือการบริการ เช่น ผลิตภัณฑ์หลากหลาย ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพแตกต่างกัน หากไม่สามารถวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ได้ชัดเจนอาจต้องทาการวิเคราะห์ย่อยลงไปในระดับหน่วยบัญชีพลังงาน หรือ กระบวนการ ผลิต เทคนิคการวิเคราะห์ที่แสดงในบทนี้ค่อนข้างง่ายและสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ทั่วไปในอินเตอร์เน็ต นอกจากน้ียังมีเทคนิคทางสถิติและเทคนิคทางตัวเลขอ่ืนท่ีสามารถนามาใช้เพื่อทาความเข้าใจลักษณะการใช้ พลงั งานซึ่งอาจมีความซบั ซอ้ นเพ่มิ ขนึ้ จะขอนาเสนอในอนาคต คูม่ อื การอนรุ กั ษ์พลงั งาน 1-7 V.2022

ขนั้ ตอนที่ 3 การต้ังเปา้ หมายการใช้พลังงาน เม่ือทราบระดับการใช้พลังงานฐาน (Baseline) แล้ว เพื่อให้มีการควบคุมการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพจึงจาเป็นที่จะต้องกาหนดค่าเป้าหมายการใช้พลังงานข้ึน เป็นการระบุระดับการใช้พลังงานท่ีพึง ประสงคแ์ ละดาเนินการเพ่ือให้บรรลุตามระดับที่กาหนดไว้ เป็นค่าที่จะทาให้ผู้ใช้พลังงานในองค์กรมีเป้าหมาย ร่วมกนั เป้าหมายจะขึ้นอยู่กับข้อมูลในอดีตที่ได้รวบรวมระหว่างการตรวจติดตาม ตลอดจนการเปรียบเทียบ ประสิทธภิ าพดา้ นพลังงานขององค์กรท่ีคล้ายคลึงกัน ขอ้ แนะนาในการกาหนดค่าเป้าหมายพลังงาน ดังน้ี  กาหนดจาก คา่ เฉล่ีย จากขอ้ มูลและสถิติทไ่ี ด้จากกราฟในขัน้ ตอนที่ 2  กาหนดจาก ค่าต่าสดุ จากข้อมูลและสถิตทิ ไี่ ดจ้ ากกราฟในขั้นตอนที่ 2  กาหนดจากคา่ Benchmark ขององคก์ รอื่นในประเภทอตุ สาหกรรมเดยี วกนั หรอื ใกล้เคยี งกัน  กาหนดจาก ผู้บริหาร ระบุเป็นเป็นพลังงานร้อยละท่ีลดได้เทียบกับค่าเฉลี่ยของระดับการใช้ พลังงานฐาน การกาหนดค่าเป้าหมายด้วยวิธีการใดข้ึนอยู่กับความพร้อมในการปรับปรุงซ่ึงต้องพึ่งพาความ ร่วมมือของพนักงานในองค์กร และงบประมาณจากฝ่ายบริการ ยิ่งความคาดหวังสูงและจัดสรรทรัพยากร ย่อมสูงตามดว้ ย ตัวอยา่ งเสน้ แนวโนม้ ของคา่ เปา้ หมายพลงั งานแสดงในรปู รปู ท่ี 1-5 ค่าเปา้ หมายการใช้พลงั งานจากค่าเฉลีย่ และคา่ ต่าสดุ จากข้อมูลวิเคราะหก์ ารใช้พลังงานทผ่ี ่านมา 1-8 กลุม่ วจิ ัย EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

ข้ันตอนท่ี 4 การตรวจติดตามและรายงานผล ข้อมูลท่ีเก็บบันทึกเพิ่มเติมเป็นประจาตามระยะเวลาและความถ่ีท่ีกาหนดวิธีการเช่นเดียวกับ ข้ันตอนที่ 2 ข้อมูลจะถูกนามาใช้ในการติดตามประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเปรียบเทียบการใช้พลังงาน จริงกบั เป้าหมายท่กี าหนดไว้เป็นประจา รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ ประกอบด้วย ผลต่างจากเป้าหมายที่ต้ัง ไว้ และปัญหาด้านประสิทธิภาพที่เก่ียวข้องในอุปกรณ์และระบบ รวมถึงการจัดทารายงานแต่ละหน่วยบัญชี พลังงานเป็นประจา รายงานจะชว่ ยกระตนุ้ ใหม้ กี ารใชพ้ ลังงานอย่างมีประสทิ ธิภาพ โรงงานตัวอย่างได้ติดตามข้อมูลการใช้พลังงานและการผลิตในช่วงข้อมูลปี 2563 และนาข้อมูลท่ี ได้น้ีไปคานวณระดับค่าเป้าหมายพลังงานซ่ึงได้เลือกใช้ค่าเฉล่ียของระดับการใช้พลังงานอ้างอิงจากข้อมูลปี 2562 ยกตวั อยา่ งการติดตามในเดือนมกราคม 2563 มีการผลิต 30.58 ตัน ใช้พลังงานไฟฟ้า 28,122 kWh มีค่า SEC เท่ากับ 919.59 kWh/ตัน เม่ือนาข้อมูลการผลิตแทนค่าในสมการการใช้พลังงานอ้างอิงจะได้ว่า หากผลติ 30.58 ตัน จากพฤติกรรมการใช้พลังงานในปีอ้างอิงคาดการณ์ว่าจะใช้พลังงานไฟฟ้า 31,568.37 kWh มีค่า SEC เป้าหมายเท่ากับ 1,032.28 kWh/ตัน ดังน้ัน โรงงานมีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่ากว่าระดับ อา้ งองิ 3,446.37 kWh คิดเป็นรอ้ ยละ 10.92 ของระดบั การใชพ้ ลังงานอา้ งอิง คมู่ ือการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 1-9 V.2022

ตารางท่ี 1-2 ข้อมลู การตดิ ตามประสิทธภิ าพการใชพ้ ลังงานในการผลติ รวมรายเดือน เดือน-ปี ปรมิ าณ พลงั งาน ทใี่ ช้ ระดบั การใช้ ผลตา่ ง ดชั นีการใชพ้ ลงั งาน สรปุ ผล ผลผลติ จรงิ (kWh) พลงั งาน พลงั งาน (kWh/ตนั ) (ตนั ) อา้ งองิ (kWh) คา่ จริง ระดบั อ้างองิ ม.ค. 63 30.58 28,122.00 31,568.37 - 3,446.37 919.59 1,032.28 ต่ากว่าระดบั อา้ งอิง 10.92% ก.พ. 63 32.15 29,709.00 32,697.94 - 2,988.94 924.18 1,017.15 ตา่ กว่าระดบั อา้ งอิง 9.14% ม.ี ค. 63 42.81 40,105.00 40,389.44 - 284.44 936.92 943.57 ตา่ กวา่ ระดับอา้ งอิง 0.70% เม.ย. 63 44.31 40,328.00 41,473.48 - 1,145.48 910.19 936.04 ตา่ กวา่ ระดับอา้ งองิ 2.76% พ.ค. 63 30.22 32,632.00 31,310.24 1,321.76 1,079.69 1,035.96 สงู กวา่ ระดับอา้ งองิ 4.22% ม.ิ ย. 63 39.28 38,041.00 37,844.82 196.18 968.49 963.49 สงู กว่าระดบั อ้างองิ 0.52% ก.ค. 63 36.97 34,346.00 36,181.46 - 1,835.46 928.93 978.57 ตา่ กว่าระดับอา้ งอิง 5.07% ส.ค. 63 26.99 28,864.00 28,974.93 - 110.93 1,069.54 1,073.65 ตา่ กว่าระดบั อ้างอิง 0.38% ก.ย. 63 30.39 29,105.00 31,428.62 - 2,323.62 957.80 1,034.26 ต่ากว่าระดับอ้างองิ 7.39% ต.ค. 63 47.44 44,015.00 43,732.13 282.87 927.86 921.89 สงู กวา่ ระดบั อา้ งองิ 0.65% พ.ย. 63 37.13 35,917.00 36,291.72 - 374.72 967.42 977.51 ตา่ กวา่ ระดบั อา้ งอิง 1.03% ธ.ค. 63 25.13 27,954.00 27,631.10 322.90 1,112.60 1,099.75 สูงกวา่ ระดบั อ้างอิง 1.17% รวม 423.38 409,138.00 419,524.25 - 10,386.25 เฉลยี่ 35.28 34,094.83 34,960.35 - 865.52 975.27 1,001.18 ตา่ กว่าระดบั อา้ งองิ 2.48% หมายเหตุ : ผลตา่ งพลังงานเทยี บกบั ระดับอา้ งอิงมคี ่า (-) หมายถึง การใช้พลังงานจริงตา่ กว่าระดบั อา้ งอิง และ มคี ่า (+) หมายถงึ การใช้พลังงานในวนั ท่ีพิจารณาสูงกว่าระดับอา้ งอิง โรงงานได้ติดตามประสิทธิภาพการใช้พลังงานในการผลิตรวมทั้งโรงงานรายเดือน ต้ังแต่เดือน มกราคม 2563 ถึงเดือนธันวาคม 2563 โดยเปรียบเทียบการใช้พลังงานในการผลิตจริงกับระดับอ้างอิงซ่ึง คานวณจากโมเดลการใช้พลังงาน รายละเอียดแสดงในตารางท่ี 1-2 จากข้อมูลพบว่าโรงงานมีการผลิต เฉล่ยี เดอื นละ 35.28 ตนั ใช้พลงั งานไฟฟา้ เฉลย่ี เดือนละ 34,094.83 kWh ต้นทุนพลังงานในการผลิตสินค้า เฉล่ีย หรือค่า SEC เฉลี่ย เท่ากับ 975.27 kWh/ตัน และมีระดับการใช้พลังงานไฟฟ้าอ้างอิงเฉล่ียเดือนละ 34,960.35 kWh มีค่า SEC อ้างอิงเฉล่ียเท่ากับ 1,001.18 kWh/ตัน ซึ่งประเมินได้ว่า โรงงานมีการใช้ พลังงานไฟฟ้าต่ากว่าระดับอ้างอิง เฉล่ียเดือนละ 865.52 kWh หรือคิดเป็น 10,386.25 kWh/ปี คิดเป็น ร้อยละ 2.48 ของค่าการใช้พลังงานไฟฟ้าอ้างอิง และเม่ือนาข้อมูลปี 2563 มาพล็อตร่วมกับข้อมูลระดับการ ใช้พลงั งานอา้ งองิ ดงั รูปที่ 1-6 จุดสแี ดงทีอ่ ย่เู หนือเสน้ แนวโนม้ การใช้พลังงานอ้างอิงแสดงว่าในช่วงดังกล่าว มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานแย่กว่าค่าเฉลี่ยซ่ึงต้องหาแนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพการควบคุมการใช้ พลงั งานต่อไป 1-10 กลมุ่ วจิ ัย EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

รปู ที่ 1-6 เปรียบเทียบการใช้พลงั งานและการผลิตปี 2563 กบั เสน้ แนวโนม้ ระดบั การใชพ้ ลงั งานอา้ งองิ ท้ายน้ี หวังว่าผู้อ่านจะนาเทคนิคนี้ไปประยุกต์ใช้ในการติดตามประสิทธิภาพการใช้พลังงานเป็น ประจา และหมั่นตรวจสอบ ทบทวน ระดับการใช้พลังงานอ้างอิง ค่าเป้าหมายการใช้พลังงานเป็นระยะ จะทาให้ ควบคมุ ประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งานได้ดขี ้ึนอย่างแนน่ อน คูม่ ือการอนุรกั ษ์พลงั งาน 1-11 V.2022

เครื่องมอื วดั ดา้ นพลงั บงทาทน่ี 2 เครอ่ื งมือวัดเป็นอุปกรณ์สาคัญในงานตรวจวัดด้านพลังงาน ซึ่งจะมีผลต่อความถูกต้องของการ วิเคราะห์ เคร่ืองมือที่นามาใช้ในงานตรวจวัดจะต้องมีท้ังความถูกต้อง(Accuracy) และความเท่ียงตรง (Precision) โดยเมอ่ื นาไปใช้งานในการวดั ขนาดหรือค่าทีต่ ้องการ ค่าที่แสดงออกมาเป็นตัวเลขบนเครื่องมือ วัดเหล่านี้ต้องมีความเช่ือถือได้ ในบทที่จะกล่าวถึงการใช้งานของเครื่องวัดที่สาคัญในด้านพลังงาน ดังต่อไปนี้ 2-2 กล่มุ วจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

เครอ่ื งมอื วัดด้านพลงั บงทาทน่ี 2 เคร่ืองมือวัดเป็นอุปกรณ์สาคัญในงานตรวจวัดด้านพลังงาน ซึ่งจะมีผลต่อความถูกต้องของการ วิเคราะห์ เคร่ืองมือที่นามาใช้ในงานตรวจวัดจะต้องมีทั้งความถูกต้อง(Accuracy) และความเท่ียงตรง (Precision) โดยเมื่อนาไปใชง้ านในการวดั ขนาดหรอื ค่าท่ีตอ้ งการ ค่าท่ีแสดงออกมาเป็นตัวเลขบนเครื่องมือ วัดเหล่านี้ต้องมีความเชื่อถือได้ ในบทน้ีจะกล่าวถึงการใช้งานของเครื่องวัดท่ีสาคัญในด้านพลังงาน ดังต่อไปน้ี คู่มอื การอนุรักษพ์ ลังงาน 2-1 V.2022

2.1 เครื่องมือวัดพลังไฟฟ้า (Clamp-on Power Meter) เคร่ืองมือวัดพลังไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และตัวประกอบกาลังไฟฟ้า ใช้สาหรับ ตรวจวัดข้อมลู การใช้พลังงานไฟฟ้า และวิเคราะห์เพ่ือติดตามพฤติกรรมการใช้พลังงานของเครื่องจักร และ อุปกรณ์ตา่ งๆ โดยสามารถแบ่งยอ่ ยชนิดของ เครื่องมือวัดพลังไฟฟ้า (Clamp-on Power Meter) ได้เป็น ชนิดแบบพกพาซ่ึงใช้สาหรับตรวจวัดค่า ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ และแบบชนิดบันทึกค่า (Data Logger) ซ่ึงเป็น ชนิดที่มีการเก็บค่าไว้ในหน่วยความจา สามารถต้ังความถี่และช่วงเวลาที่ต้องการเก็บข้อมูลได้ ระยะเวลาใน การเก็บข้อมลู ขนึ้ อยู่กับความจุของเคร่ืองนั้นๆ รปู ที่ 2-1 เครื่องมอื วัดพลังไฟฟา้ ชนดิ แบบพกพา รปู ท่ี 2-2 เครือ่ งมือวดั พลงั ไฟฟา้ ชนดิ แบบบันทกึ ค่า (Data Logger) 2-2 กลมุ่ วจิ ยั EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ ี

การตรวจวัดพลังงานไฟฟ้า Line การตรวจวัดแบบ 1 เฟส (1 phase) Neutral line โดยท่ัวไปในบ้านเราใช้ไฟฟ้ากระแสสลับระบบ 1 เฟส ( 1- phase ) 2 สาย แรงดัน 220-230 โวลต์ รปู ท่ี 2-3 การวัดพลงั ไฟฟา้ แบบ 1 PHASE ความถ่ี 50 เฮิรตซ์ โดยสาย ไฟ 2 สายท่ีใช้กันตาม บ้านนส้ี ายหนึ่งจะมีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ ( current Line 1 line ) ส่วนอีก สายหนึ่งจะเป็นสายท่ีเดินไว้เฉยๆ Line 1 ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่หรือเรียกว่า สายนิวทรัล Line 1 ( neutral line ) ดังจะเห็นได้จากปล๊ักไฟตามบ้าน ที่เห็นมีช่องเสียบอยู่ 2 ช่องนั้น ถ้าเอาไขควง รูปที่ 2-4 การวดั พลงั ไฟฟ้า แบบ 3 phase ไม่สมดลุ สาหรับตรวจกระแสไฟฟ้าลองวัดดูจะเห็นได้ว่าช่อง หน่ึงจะมีไฟแดงปรากฎ แสดงว่าไม่มีกระแสไฟฟ้า Line 1 ไหลผ่าน แต่เม่ือเวลาใช้งานกับหลอดไฟหรือ Line 1 อุปกรณ์ไฟฟ้าจาเป็นต้องใช้ร่วมกันท้ัง 2 สาย Line 1 เพ่ือให้กระแสไฟฟ้าครบวงจรส่วนบางแห่งที่เห็น ปลั๊กไฟมี 3 ช่องนั้นยังเป็นระบบไฟฟ้า แบบ 1 เฟส เหมือนกันแต่ช่องท่ีเพ่ิมขึ้นมาน้ันเป็นช่องที่ต่อกับ สายดิน ( ground ) เพ่ือให้กระแส ไฟฟ้าไหลลง ดินเวลาเกิดไฟร่ัวเป็นการเพ่ิมความปลอดภัย และ ปล๊กั ของอุปกรณไ์ ฟฟ้าที่จะใช้กับ ระบบสายดินนี้จะ เป็นปลั๊กแบบ 3 ขาซ่ึงเป็นระบบมาตรฐานที่ใช้กัน ทั่วไป ใ น ร ะ บ บ ไ ฟ ฟ้ า 3 เ ฟ ส ( 3 - phase ) เป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 4 สาย แรงดัน 380 โวลต์ ความถ่ี 50 เฮิรตซ์ โดยที่ 3 สายจะเป็นสายที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน โดยทั่วไประบบไฟฟ้า 3 เฟสเป็นระบบที่ไฟฟ้าที่ใช้ กับเคร่ืองจักรต่างๆ ใน โรงงานอุตสาหกรรมเป็น ส่วนใหญ่ เพราะเครื่องจักรเหล่าน้ีมักมีขนาดใหญ่ จงึ ตอ้ งการแรงดนั ไฟฟา้ ท่ีสงู รูปท่ี 2-5 การวดั พลังไฟฟา้ แบบ 3 phase สมดลุ คมู่ ือการอนรุ กั ษ์พลังงาน 2-3 V.2022

2.2 เคร่อื งวัดอัตราการไหลในท่อ (Ultrasonic Flow Meter) Ultrasonic Flow Meter ใ ช้หลั กกา ร รปู ที่ 2-6 เครอื่ งวดั อัตราการไหลในทอ่ ของคล่ืน Ultrasonic ซง่ึ จะมอี ุปกรณร์ บั -ส่งคลน่ื อยู่ (Ultrasonic Flow Meter) 2 ตัวตามภาพ อุปกรณต์ ัวแรกจะกาเนิดคล่ืน Ultra- sonic เพ่ือส่งผ่านผิวท่อไปยังของเหลวท่ีอยู่ภายใน ท่อและกระทบกับผนังท่อฝ่ังตรงข้าม หลังจากน้ัน คล่ืนจะสะท้อนกลับมายังอุปกรณ์ตัวที่สอง และใน เวลาเดียวกัน อุปกรณ์ตัวท่ีสองจะกาเนิดคลื่นเพ่ือ ส่งกลับไปยังอุปกรณ์ตัวแรก ในเส้นทางเดียวกัน เพ่ือหา ΔT (ระยะเวลาที่คลื่นเดินทางไป - ระยะเวลา ที่คลื่นเดินทางกลับ) นาไปคานวณกับระยะห่าง ระหว่างอุปกรณ์ทั้งสองตัวและความเร็วของคล่ืน เสียงในตัวกลางชนิดต่างๆ เพ่ือที่จะได้ค่า ความเร็ว ของของเหลวในท่อออกมา (m/Sec) หลังจากน้ัน เครื่องจะนาค่าความเร็วของของเหลวในท่อมา คานวณอัตราการไหล (m3/Hr), GPM หรือ อน่ื ๆ รูปท่ี 2-7 การตดิ ต้งั เซนเซอร์วัดอตั ราการไหล เครื่องวัดอัตราการไหลในท่อแบบ Pitot Tube เคร่ืองมือสาหรับใช้ตรวจวัดความเร็ว ณ จุดใด ๆ ของของไหล โดย หลกั การทางานคือทาหน้าที่ตรวจวัด Static Pressure และ Total Pressure ของของไหล ซึ่งเครื่องมือจะแสดงค่าในรูปของผลต่างระหว่าง Static Pres- sure และ Total Pressure หรือเรียกว่า Dynamic Pressure ซึ่งสามารถ นาไปใช้ในสมการของ Bernoulli จะทาให้เราทราบได้ว่า ความเร็วของของไหล เป็นเท่าไร ซึ่งเครื่องมือตรวจวัดในปัจจุบัน สามารถแสดงผลได้ท้ังในค่าของ Dynamic Pressure และความเรว็ ของของไหลได้ 2-4 กลุม่ วจิ ัย EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

2.3 เครื่องวัดการส่องสว่าง (Lux Meter) อุปกรณ์ท่ีใช้วัดปริมาณแสงท่ีตกกระทบต่อหนึ่งหน่วยพื้นท่ี (lm/m2 หรือ lux) ลักซ์มิเตอร์ที่ใช้ ควรเปน็ ชนิดปรับแก้คา่ เชงิ ความยาวคลื่นคือ ความไวต่อความยาวคลื่นแสงเหมือนตามนุษย์ และปรับแก้ค่า เชิงมุมคือ ปรับแก้ค่าความสว่างท่ีวัดได้เม่ือแสงตกกระทบไม่ตั้งฉากกับผิวหน้าของหัววัด หลักการทางาน ลักซ์มิเตอร์ เม่ือแสงสว่างตกกระทบมายังพื้นผิวตัวเซนเซอร์ๆ จะแปลงค่าแสงสว่างให้เป็นไฟฟ้า เพื่อส่ง ต่อไปที่จอแสดงผลของมิเตอร์ โดยค่าที่แสดงบนหน้าจอมิเตอร์ คือ ค่าความสว่างของแสง มีหน่วยเป็น ลกั ซ์ รปู ท่ี 2-8 เคร่ืองวัดการสอ่ งสว่าง (Lux Meter) ค่มู ือการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 2-5 V.2022

2.4 อปุ กรณต์ รวจวัดอณุ หภมู ชิ นดิ สมั ผสั (Contact Thermometer) อปุ กรณต์ รวจวดั อุณหภูมิชนดิ สัมผัส ใชส้ าหรบั ตรวจวัดอณุ หภูมิพนื้ ผิวต่างๆ โดยทว่ั ไปในการใช้ งานเพ่ือตรวจวินิจฉัยภายในโรงงานอุตสาหกรรมน้ัน ใช้งานสาหรับตรวจวัดอุณหภูมิพื้นผิวของท่อร้อน ตา่ งๆ เช่น ทอ่ ส่งจ่ายไอน้า ฯลฯ โดยมีวธิ กี ารใช้งานในการตรวจวดั คอื นาหัววดั ไปแตะไวก้ ับพ้นื ผิวท่ตี อ้ งการ ตรวจวดั ปล่อยท้งิ ไวใ้ ห้ตวั เลขสถานะบนจอแสดงผลหยุดนงิ่ จึงบันทึกค่า รปู ท่ี 2-9 อปุ กรณต์ รวจวดั อณุ หภมู ิชนดิ สมั ผสั (Contact Thermometer) 2-6 กลุ่มวิจัย EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

ทางานเช่นเดยี วกบั Contact Thermometer คอื ใช้สาหรบั วัดอุณภูมพิ ้นื ผิวแต่เป็นพนื้ ผิวทผี่ ู้ ตรวจวัดไมส่ ามารถเข้าถงึ พื้นที่ดงั กล่าวได้ ซง่ึ วิธีการใชง้ านในการตรวจวดั นั้นคือ ยิงแสง Infrared ไปยัง พ้นื ผิวทต่ี ้องการตรวจวดั ปลอ่ ยทิ้งไว้ใหต้ ัวเลขสถานะบนจอแสดงผลหยดุ นิ่งจงึ บนั ทกึ คา่ โดยความแม่นยา ของการตรวจวดั นนั้ ยง่ิ วดั ในระยะท่ใี กล้ ย่ิงมีความแม่นยาของขอ้ มูล มากกวา่ โดยถา้ ระยะวัดยิ่งหา่ งออกไป ข้อมลู ท่ีไดจ้ ะยิ่งมีความแม่นยาน้อยลง รปู ท่ี 2-10 อุปกรณต์ รวจวดั อณุ หภูมชิ นดิ Radiation Thermometer ค่มู อื การอนรุ กั ษ์พลงั งาน 2-7 V.2022

2.6 อุปกรณถ์ า่ ยภาพความรอ้ น (Thermoscan) กล้องถ่ายภาพความร้อน จะจบั พลงั งานรังสีอินฟราเรด (IR) ที่ ถา่ ยทอดออกมาจากวัตถไุ ปสู่ส่งิ แวดลอ้ มและสรา้ งภาพแถบสที ี่วตั ถุท่ีร้อน กว่าจะแสดงสีสว่างและวัตถุท่เี ย็นกวา่ จะแสดงสีมดื กว่า พลังงาน IR สร้างมา จากการสั่นสะเทือนของอะตอมและโมเลกุล และมีพฤติกรรมคลา้ ยกบั แสง สวา่ งทีม่ องเหน็ ซ่ึงสามารถสะท้อน, หกั เห, ดดู ซบั และเปลง่ แสง ย่ิงโมเลกุล เหล่านีเ้ คล่ือนไหวมากก็จะทาให้อณุ หภูมิของวัตถุสูงขน้ึ รปู ท่ี 2-11 อปุ กรณถ์ า่ ยภาพความรอ้ น (Thermoscan) 2-8 กลุ่มวิจัย EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

Thermographic camera คู่มือการอนุรกั ษ์พลงั งาน 2-9 V.2022

Thermographic camera 2-10 กลุ่มวิจยั EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

รปู ท่ี 2-12 เคร่อื งวดั ความช้ืนสัมพัทธ์ เคร่ืองวัดความชื้นสัมพัทธ์ (Relative (Relative Humidity meter) Humidity meter) หรือท่ีเรียกว่า เครื่องมือวัดความชื้นสัมพัทธ์เป็นเครื่อง ตรวจจับความชื้นเป็นอุปกรณ์ท่ีมีเซนเซอร์ ความช้ืน ความชื้นสัมพัทธ์คืออัตราส่วน ของความช้ืนสัมพัทธ์ต่อความช้ืนสัมบูรณ์ หน่วยเป็น % การอา่ นค่าความช้ืนสมั พัทธ์ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์หมายความวา่ อากาศเต็มไป ดว้ ยไอนา้ และไมส่ ามารถกักเก็บนา้ ได้อกี ทา ให้เกิดฝนได้ แต่ไม่ได้หมายความว่า ความชนื้ สมั พทั ธจ์ ะตอ้ งเปน็ 100 เปอรเ์ ซนต์ เพือ่ ใหฝ้ นตก ตอ้ งเปน็ 100 เปอร์เซน็ ต์ เมื่อ เมฆก่อตัวข้ึน แต่ความช้ืนสัมพัทธ์ใกล้ พืน้ ดนิ อาจน้อยกว่า คู่มอื การอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 2-11 V.2022

2.8 เครือ่ งมอื ตรวจวดั ความเรว็ ลม (Hot-Wire Velocity Meter) เครื่องมือตรวจวัดความเร็วลมชนิดหัววัดแบบ Hotwire Probe โดยมีฟังก์ชันหลักคือการ ตรวจวัดความเร็วลม หรืออาจมีฟังก์ชันการวัดอุณหภูมิของลมร่วมด้วย โดยการใช้งานในการตรวจวินิจฉัย โรงงานนั้น ใช้สาหรับตรวจวัดความเร็วลมเพื่อนาไปหาปริมาณการไหล ซึ่งวิธีการตรวจวัดนั้น คือ การสอด Probe เข้าไปยังจุดท่ีต้องการตรวจวัด ท่ีตาแหน่งต่าง ๆ หลายๆ จุดแล้วนาข้อมูลแต่ละจุดมารวมกันแล้ว หารดว้ ยจานวนจดุ ทตี่ รวจวัดให้ไดเ้ ป็นคา่ เฉลี่ยของความเร็วลม รปู ที่ 2-13 เครื่องมอื ตรวจวดั ความเรว็ ลม (Hot-Wire Velocity Meter) 2-12 กลุ่มวจิ ัย EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี

เครอ่ื งมือวัดความเรว็ ลมชนดิ หวั วัดแบบใบพดั (Vane Probe) โดยวิธกี ารใช้งานและตาแหนง่ ในการตรวจวดั นน้ั ตอ้ งตงั้ ใบพดั ให้ตั้งฉากกับทิศทางของลม สว่ นตาแหน่งทีต่ อ้ งทาการตรวจวดั น้นั ทาเชน่ เดยี วกันกับการตรวจวดั แบบ Hot- wire Probe กล่าวคอื ตรวจวัดทจ่ี ดุ ตา่ ง ๆ ของทอ่ ลม แล้วนามาคานวณหาค่าเฉลยี่ ของความเรว็ ลม รปู ท่ี 2-14 เครอ่ื งมือวัดความเรว็ ลมชนดิ หวั วดั แบบใบพัด (Vane Probe Anemometer) รปู ที่ 2-15 การตรวจวดั ความเรว็ ลมเพอื่ หาคา่ เฉล่ีย คมู่ ือการอนุรกั ษ์พลังงาน 2-13 V.2022

2.10 เครื่องตรวจวัดประสิทธิภาพการเผาไหม้ (Exhaust Gas Analyzer) เคร่ืองตรวจวดั ประสิทธภิ าพการเผาไหมข้ องอุปกรณท์ ใี่ ช้เชอ้ื เพลงิ เชน่ หม้อไอนา้ เตาอบ เป็นตน้ โดย ประสทิ ธิภาพการเผาไหม้ในอดตี วัดไดจ้ ากส่วนประกอบของกา๊ ซไอเสยี น่ันคอื O2 CO2 CO และ Flue Gas Temp และใช้ สูตรคานวณประสิทธภิ าพการเผาไหม้ ในปัจจุบนั เครือ่ งจะแสดงคา่ ต่าง ๆ ของก๊าซไอเสีย รวมถึงค่าประสิทธภิ าพการเผา ไหม้ให้ทนั ที รปู ท่ี 2-16 เครอ่ื งตรวจวัดประสทิ ธิภาพการเผาไหม้ (Exhaust Gas Analyzer) ตาแหน่งหัววดั ตอ้ งอยกู่ ึ่งกลางหนา้ ตดั 2-14 กลุ่มวิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี

เครอ่ื งมือสาหรับใช้วดั คา่ สภาพการนาไฟฟ้าของน้า อปุ กรณว์ ดั สภาพการนาไฟฟา้ แบบมาตรฐาน จะวัดปรมิ าณ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านน้าในระยะหา่ ง 1 เซนตเิ มตร โดยคา่ ความนาไฟฟ้าจะมีหนว่ ยวัดเปน็ ไมโครซีเมนซ์ต่อเซนติเมตร (microSiemens per cm, µS/cm) หากสารละลายมคี วามสามารถในการนาไฟฟา้ มาก ก็จะมีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้ มาก ซงึ่ หมายถึงมปี รมิ าณสารละลายเจอื ปน (Total Dissolved Solids: TDS) อยู่ในน้ามาก รปู ที่ 2-17 เครื่องมือสาหรับใช้วัดค่าสภาพการนาไฟฟ้าของน้า (Conductivity Meter) ค่มู ือการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 2-15 V.2022

2.12 เคร่ืองมอื ตรวจวดั การท้างานของกบั ดกั ไอน้า (Steam Trap Tester) เคร่ืองมือตรวจวัดที่ใช้สาหรับตรวจสอบสภาพการทางานของกับดักไอนา้ ว่ายังทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรอื ไม่ โดยเป็นการทางานโดยใช้ Ultrasonic เพื่อทดสอบอุณหภมู ิของ Steam Trap โดยจะเปน็ การเปรียบเทยี บ อณุ หภูมทิ ต่ี รวจวดั ได้ เปรยี บเทยี บกับคา่ ปรบั ตั้งของ Steam Trap ท่คี วรจะเปน็ ซ่ึงโดยท่วั ไปมักใช้รว่ มกับ Software การ วเิ คราะห์ระบบ และขอ้ มูลต่างๆ รปู ท่ี 2-18 เครื่องมอื ตรวจวดั การทางานของกับดกั ไอน้า (Steam Trap Tester) 2.13 อุปกรณ์ทีใ่ ชว้ ดั ปริมาณออกซิเจน (DO Meter) อุปกรณ์ที่ใช้วัดปริมาณออกซิเจนท่ีอยู่ในน้า โดยโพรบ DO ( Dissolved Oxygen Meter ) จะตอบรับความดันย่อย ของ ออกซิเจนในของเหลว หรือใน ออกซิเจนในอากาศที่ถูก วั ด เ ป็ น ก า ร วั ด ใ น รู ป ข อ ง ค่ า ค ว า ม ดั น ม า ก ก ว่ า ค ว า ม เข้มข้น ออกซิเจนทั้งหมดที่แพร่ผ่านเมมเบรนน้ันจะถูกใช้ไปท่ี แคโธด ซึ่งเปน็ จุดท่ีเกิดปฏิกิริยาทางเคมีไฟฟ้า โดยจะถูกรีดิวซ์ให้ อยูใ่ นรูป hydroxyl ion ก่อให้เกดิ กระแสไฟฟา้ ภายในโพรบ แล้ว แปลงมาเป็นค่า DO ในหน่วย mg/l และ ppm รปู ท่ี 2-19 อปุ กรณท์ ใ่ี ช้วดั ปรมิ าณออกซิเจน(DO Meter) 2-16 กลุ่มวิจัย EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Product Specification Description Dissolved Oxygen Range Resolution & Accuracy 0 to 20.00 mg/l or ppm % Saturation of Oxygen Resolution & Accuracy 0.01 mg/l or 0.01 ppm & ±1.5% Full Scale Temperature Range Resolution & Accuracy 0.0 to 200/0 % Salinity Correction Barometric Pressure Correction 0.1% & ±1.5% Full Scale Method 0.0 to 100.0 °C 0.1 °C & ± 0.3 °C No. of Calibration Points 0.0 to 50.0 ppt Special Functions 555 to 1499 mm Hg or 66.6 to 199.9 kPA Power Requirements Automatic correction after manual input Up to 2 points; 100% in air and/or 0% in known solution Self-diagnostic; Electrode characteristics; Hold & Auto-Power Off after20 minutes 4 x 1.4V batteries; > 700 hrs คู่มือการอนุรักษพ์ ลงั งาน 2-17 V.2022

3-2 กลมุ่ วิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี

เทคนคิ การอนรุ กั ษ์พลงั งบทาทน่ี 3 ในบทนจ้ี ะกลา่ วถึงแนวทางการอนรุ ักษ์พลงั งานในระบบตา่ งๆ โดยแตล่ ะระบบจะนาเสนอใน 4 ประเด็น หลกั คอื  เทคโนโลยแี ละการประหยดั พลังงาน  แนวทางการประหยัดพลังงาน  การตรวจวัดประสิทธภิ าพพลงั งาน  ค่าเกณฑช์ ี้วดั การใช้พลังงานที่เหมาะสมในระบบน้ันๆ ระบบตา่ งๆ ที่นาเสนอได้แก่  ระบบไฟฟ้าแสงสวา่ ง  กรอบอาคาร  ระบบปรบั อากาศ  ระบบทาความเย็น  ระบบไอน้า  ระบบอดั อากาศ  มอเตอร์ไฟฟ้า ป๊ัมนา้ และพัดลม คู่มอื การอนรุ ักษพ์ ลงั งาน 3-1 V.2022

3.1 ระบบไฟฟา้ แสงสวา่ ง 3.1.1 ขอ้ มลู พื้นฐานของเทคโนโลยี หลอดไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ มหี ลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะให้ค่าความส่องสว่างและมีการใช้พลังงานที่แตกต่าง กัน (ค่าประสทิ ธิภาพทางแสงสว่างของหลอดไฟฟ้าที่แตกต่างกัน) โดยสามารถแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คอื หลอดอินแคนเดสเซนต์ หลอดประเภทกา๊ ซดิสชาร์จ และหลอดอิเล็กทรอนิกส์ หลอดแต่ละชนิด มรี ายละเอียดดังน้ี รปู ที่ 3-1 ไดอะแกรม หลอดไฟฟา้  หลอดอนิ แคนเดสเซนต์ เป็นหลอดมีใส้ที่มีประสิทธิผล (Efficacy) ต่า และมีอายุการใช้งานส้ันในเกณฑ์ประมาณ 1,000- 3,000 ชม. หลอดประเภทน้ีมีอุณหภูมิสีประมาณ 2,800 องศาเคลวิน แต่ให้แสงที่มีค่าความถูกต้องของสี 100% เป็นหลอดแสงสว่างราคาถูก สีของแสงดี ติดตั้งง่ายให้แสงสว่างทันที เมื่อเปิดสามารถติดอุปกรณ์ เพื่อปรับหรือหรี่แสงได้ง่าย แต่มีประสิทธิภาพแสงต่ามาก อายุการใช้งานสั้น ไฟฟ้าที่ป้อนให้หลอดจะถูก เปลี่ยนเป็นความร้อนกว่า90 % จึงไม่ประหยัดพลังงาน แต่เหมาะสมกับการใช้งานประเภทท่ีต้องการหรี่แสง เช่น ห้องจัดเลีย้ งตามโรงแรม สว่ นหลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ไม่สามารถหร่ีแสงได้ 3-2 กลมุ่ วิจยั EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี

(ก) (ข) รปู ท่ี 3-2 หลอดไส้ (ก) และหลอดฮาโลเจน (ข)  หลอดฮาโลเจน มีหลักการทางานคล้ายกับหลอดไส้คือ กาเนิดแสงจากความร้อน โดยให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้ หลอดท่ีทาจากทังสเตน แต่จะแตกต่างจากหลอดไส้ ตรงที่มีการบรรจุสารตระกูลฮาโลเจน ได้แก่ ไอโอดีน คลอลนี โบรมนี และฟลอู อรีน ลงในหลอดแกว้ ทที่ าด้วยควอทซ์ ซง่ึ จะชว่ ยให้หลอดฮาโลเจนมีอายุการใช้งาน ปริมาณแสงสว่าง อุณหภูมิสี สูงกว่าหลอดไส้ และให้แสงสีขาว และให้ค่าความถูกต้องของสีถึง 100% มี อายุการใชง้ านประมาณ 1,500-3,000 ชม. มีทง้ั ชนดิ ใช้กบั แรงดนั ตา่ เช่น 6, 12, 24 โวลต์ ต้องมีหม้อแปลง และใช้แรงดันไฟ 220 โวลต์ โดยตรงไม่ต้องมีหม้อแปลง จึงนิยมใช้ให้แสงพวกเคร่ืองประดับ หรือให้แสง สาหรับการแต่งหนา้ รปู ท่ี 3-3 หลอดฟลูออเรสเซนต์  หลอดฟลูออเรสเซนตป์ ระสิทธภิ าพสูง (T5) เปน็ หลอดฟลูออเรสเซนต์แบบใหม่ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร มีขนาดกาลังไฟฟ้าเท่ากับ 28 วัตตต์ ่อหลอด ซ่ึงประหยัดไฟมากข้ึนแต่ต้องใช้งานกับบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น ประสิทธิภาพทาง แสงสวา่ งสูงสุดที่ 104 ลเู มนตอ่ วัตต์ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ T5 คือหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่มีขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 5 หุน (5/8”) สาหรับ “T” หมายถึง หลอดท่ีมีลักษณะเป็นหลอดทรงคล้ายท่อ (Tubular) ตัวเลขต่อท้าย “T” แสดงความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางเป็นหุน หลอด T5 จึงมีขนาดเล็กกว่าหลอดผอม (T8) ประมาณร้อยละ 40 และเลก็ กว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ธรรมดา (T12) เกือบ 60% คู่มอื การอนรุ ักษ์พลงั งาน 3-3 V.2022

 หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดปลอ่ ยประจคุ วามดนั ไอต่า สีของหลอดมี 3 แบบคือ daylight cool white และ warm white เชน่ เดียวกันกบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบบทใ่ี ชง้ านกันมากคือหลอดเดี่ยว มีขนาดวัตต์ 5, 7, 9, 11 วัตต์และหลอดคู่ มีขนาดวัตต์ 10, 13 ,18 ,26 วัตต์ เป็นหลอดที่พัฒนาข้ึนมาแทนที่หลอดอินแคนเดส เซนต์ และมีประสิทธิผลสูงกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ คือประมาณ 50-80 ลูเมนต่อวัตต์ และอายุการใช้ งานประมาณ 5,000-8,000 ชม. 104 ลเู มนต่อวัตต์ และสามารถแบง่ ออกไดห้ ลายชนดิ ประเภทหลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ ลกั ษณะ หลอด SL แบบขว้ั เกลยี ว มีบลั ลาสต์ในตวั มขี นาด 9, 13, 18, 25 วตั ต์ ประหยดั ไฟร้อยละ 75 เมอื่ หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ 4 แทง่ เทียบกับหลอดไส้ เหมาะกับสถานท่ที ี่เปิดไฟนานๆ หรอื บรเิ วณท่เี ปลี่ยน ขว้ั เกลยี ว (หลอดPL*E/C) หลอดยาก เชน่ โคมไฟหัวเสา ทางเดนิ เปน็ ตน้ หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนตต์ วั ยู 3 ขด (หลอด PL*E/T) ขนาด 9,11,15 และ 20 วัตต์ มบี ลั ลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ในตวั เปดิ ตดิ ทนั ที หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนตข์ วั้ เสยี บ ไม่กระพริบ ประหยดั ไฟได้ร้อยละ 80 เมื่อเทียบกบั หลอดไส้ (หลอด PLS) หลอดคอมแพคฟลอู อเรสเซนต์ 4 แทง่ ขนาดกะทดั รัด 20 และ 23 วตั ต์ ขจดั ปัญหาหลอดยาวเกินโคมประหยัด ขว้ั เสยี บ (หลอด PLC) ไฟได้รอ้ ยละ 80 ของหลอดไส้ บลั ลาสตภ์ ายนอกขนาด 7, 9 และ 11 วตั ต์ ประหยัดไฟรอ้ ยละ 80 ของ หลอดไส้ บลั ลาสตภ์ ายนอก ขนาด 8, 10, 13, 18 และ 26 วตั ต์ ประหยดั ไฟร้อยละ 80 ของหลอดไส้  หลอดโซเดยี มความดันไอต่า หลอดประเภทน้ีมีสีเหลืองจัดและประสิทธิผลมากท่ีสุดในบรรดาหลอดท้ังหมด คือ มีประสิทธิผล ประมาณ 120-200 ลูเมนต่อวัตต์ แต่ความถูกต้องของสีน้อยท่ีสุด คือ มีความถูกต้องของสีเป็น 0% ข้อดี ของแสงสีเหลืองเป็นสีที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ดีที่สุด หลอดประเภทน้ีจึงเหมาะเป็นไฟถนนและอายุการ ใช้งานนานประมาณ 16,000 ชม. หลอดมีขนาดวตั ต์ 18, 35, 55, 90, 135 และ 180 วัตต์  หลอดโซเดยี มความดันไอสงู หลอดโซเดียมความดันไอสูงมีประสิทธิผลรองจากหลอดโซเดียมความดันไอต่า คือ มีประสิทธิผล ประมาณ 70-90 ลูเมนต่อวัตต์แต่ความถูกต้องของสีดีกว่าหลอดโซเดียมความดันไอต่า คือ 20% และมี อุณหภมู ิสปี ระมาณ 2,500 เคลวนิ เป็นอณุ หภมู ิสตี ่าเหมาะกับงานท่ีไม่ต้องการความส่องสว่างมาก เช่น ไฟ ถนน ไฟบริเวณ ซ่ึงต้องการความส่องสว่างประมาณ 5-30 ลักซ์ และอายุการใช้งานประมาณ 24,000 ชม มีขนาดวัตต์ 50 ,70, 100, 150, 250, 400 และ 1,000 วตั ต์  หลอดปรอทความดันไอสงู หรอื ทชี่ าวบา้ นเรยี กวา่ หลอดแสงจนั ทร์ และมปี ระสทิ ธผิ ลสงู พอกบั หลอดฟลอู อเรสเซนต์ คอื มปี ระสทิ ธผิ ล ประมาณ 50-80 ลเู มนตอ่ วตั ต์ แสงทอ่ี อกมามคี วามถกู ตอ้ งของสปี ระมาณ 60% สว่ นใหญใ่ ชแ้ ทนหลอดฟลอู อเรส เซนตเ์ มอ่ื ตอ้ งการวตั ตส์ งู ๆ ในพน้ื ทที่ ม่ี เี พดานสงู อณุ หภมู สิ ปี ระมาณ 4,000-6,000 เคลวนิ แลว้ แตช่ นดิ ของหลอด และอายกุ ารใชง้ านประมาณ 8,000-24,000 ชม. มขี นาดวตั ต์ 50, 80, 125, 250, 400, 700 และ 1,000 วตั ต์ 3-4 กลุ่มวิจยั EnConLab มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

 หลอดเมทลั ฮาไลด์ หลอดเมทัลฮาไลด์ก็เหมือนกับหลอดปล่อยประจุอ่ืนๆ แต่มีข้อดีท่ีว่ามีสเปกตรัมแสงทุกสี ทาให้สี ทุกชนิดเด่นภายใต้หลอดชนิดนี้ นอกจากความถูกต้องของสีสูงแล้ว แสงท่ีออกมาก็อาจมีตั้งแต่ 3,000- 4,500 เคลวิน (ขึ้นอยู่กับขนาดของวัตต์) ส่วนใหญ่นิยมใช้กับสนามกีฬาท่ีมีการถ่ายทอดโทรทัศน์ มีอายุ การใช้งานประมาณ 6,000-9,000 ชม. และมขี นาดวตั ต์ 100 ,125, 250, 300, 400, 700 และ 1,000 วตั ต์ ก.หลอดโซเดยี มความดนั สูง ข.หลอดปรอทความดันสูง ค.หลอดเมทัลฮาไลด์ รปู ท่ี 3-4 หลอดกา๊ ซดิสชารจ์ ชนดิ ต่างๆ  หลอด LED เป็นแหล่งกาเนิดแสงรุ่นใหม่ลา่ สดุ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพด้านพลังงาน ในขณะท่ีหลอด LED ปล่อยแสงท่ี มองเห็นได้ออกมาในช่วงแถบสแี คบๆ นน้ั มันสามารถสรา้ ง “แสงสขี าว”ได้ โดยการจดั เรยี งตวั กันของแสง สีแดง-นา้ เงนิ -เขียว หรอื เคลอื บด้วยสารเรอื งแสงสีน้าเงนิ ของหลอด LED ซึง่ หลอด LED นี้จะมอี ายกุ ารใช้ งานตง้ั แต่ 40,000 ถงึ 100,000 ชัว่ โมง ขน้ึ อยู่กบั สหี ลอด LED ไดถ้ ูกนาไปใช้งานหลายอย่าง เชน่ ไฟบอก ทางออก ไฟสญั ญาณจราจร ไฟในตูแ้ ละการใช้งานตกแต่งอน่ื ๆ ถึงแมว้ า่ จะเกิดข้นึ มาได้ไม่นาน เทคโนโลยขี องหลอด LED ก็ไดม้ ีความก้าวหนา้ อยา่ งรวดเรว็ และ แสดงให้เห็นถึงอนาคตทีส่ ดใส ในส่วนของไฟสญั ญาณจราจรนัน้ ก็เป็นตลาดทีเ่ ข้มแข็งของหลอด LED สญั ญาณไฟจราจรสแี ดง ซ่งึ มีหลอด LED อยู่ 196 หลอด จะใชก้ าลังไฟ 10 วัตต์ และเปรยี บเทียบกับ หลอดแบบมีไส้ซง่ึ เป็นคู่แขง่ และใช้กาลังไฟถึง 150 วัตต์ ได้มกี ารประมาณการศักยภาพของการประหยัด พลงั งานได้ในระหว่าง 82% ถงึ 93% ผลิตภณั ฑ์ท่มี ีการใชห้ ลอด LED มีอยหู่ ลายรปู แบบ รวมถึงแทง่ ส่อง แสงหน้าปัด และหลอดไฟ LED แบบเกลยี ว ซง่ึ โดยปกติแล้วจะใชก้ าลังไฟ 2-5 วตั ตต์ ่อป้าย สง่ ผลให้ ประหยดั พลังงานได้เป็นจานวนมากเมอื่ เทยี บกับหลอดไฟแบบมไี ส้ พรอ้ มกับมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า มาก ซ่ึงก็ทาให้ลดการบารงุ รกั ษาลงไดด้ ้วย รปู ท่ี 3-5 หลอด LED คู่มือการอนุรกั ษ์พลังงาน 3-5 V.2022

ขอ้ ดขี องหลอด LED มปี ระสทิ ธภิ าพการใหแ้ สงสวา่ งสงู และทศิ ทางแสงสวา่ งของ LED จะสอ่ งไปเฉพาะดา้ นหนา้ เทา่ นน้ั ลด การสญู เปลา่ ของแสงสวา่ ง ใชพ้ ลงั งานนอ้ ย ทนตอ่ การสน่ั สะเทอื นและแรงกระแทก สามารถเปดิ ปดิ ไดบ้ อ่ ยครง้ั และเมอื่ เปดิ จะใหแ้ สงสวา่ งโดยทนั ที อายกุ ารใชง้ านยาวนานถงึ 100,000 ชว่ั โมง ปลอ่ ยความรอ้ นออกมานอ้ ย มาก ทาใหล้ ดการสญู เสยี พลงั งานไฟฟา้ ในสว่ นเครอ่ื งปรบั อากาศ การดแู ลรกั ษาต่า น้าหนกั เบา ขนาดเลก็ ขอ้ จากดั ของหลอด LED ในการนาหลอด LED มาใช้งานตอ้ งมีการทดสอบสวี ่า แสงทีอ่ อกมาเป็นแสงสีทีถ่ ูกตอ้ งหรอื ไม่ อีก ทงั้ ราคาหลอด LED ยังแพงอยู่มาก บัลลาสต์ รปู ท่ี 3-6 บลั ลาสต์ ระบบแสงสวา่ งอปุ กรณท์ ก่ี นิ ไฟ คอื หลอดไฟฟา้ และบลั ลาสต์ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ฉะนน้ั ในการประหยดั พลงั งานนอกจากจะตอ้ งรจู้ กั เลอื กใชห้ ลอดไฟฟา้ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู แลว้ ยงั ตอ้ งรหู้ ลกั การเลอื กใช้ บลั ลาสต์ ดว้ ย ซงึ่ บลั ลาสตเ์ ปน็ อปุ กรณจ์ าเปน็ ทตี่ อ้ งมอี ยใู่ นระบบไฟฟา้ แสงสวา่ งทใ่ี ชห้ ลอดไฟประเภทฟลอู อเรสเซนตแ์ ละ ประเภทหลอดคายประจุความดันสูง มีหน้าท่ีควบคุมกระแสไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปที่หลอดไฟให้มีค่าเหมาะสม สม่าเสมอตามแตล่ ะประเภทหลอดแตล่ ะชนดิ แตล่ ะรนุ่ แตล่ ะขนาด บลั ลาสตแ์ บง่ ไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ หลกั ๆ ดงั นี้  บลั ลาสตข์ ดลวดแกนเหลก็ แบ่งออกได้ 2 ชนดิ 1 บัลลาสตข์ ดลวดแกนเหล็กแบบธรรมดา เปน็ บัลลาสต์ที่ใชก้ นั แพรห่ ลายรว่ มกับหลอดฟลูออเรสเซนต์ เม่อื กระแสไฟฟา้ ผ่านขดลวดที่พัน รอบแกนเหลก็ จะทาใหแ้ กนเหล็กรอ้ น ทาให้มีพลงั งานสูญเสยี ประมาณ 10-14 วตั ต์ 2 บลั ลาสตข์ ดลวดแกนเหล็กประสิทธิภาพสงู (low loss) เปน็ บลั ลาสตท์ ที่ าดว้ ยแกนเหลก็ และขดลวดทมี่ คี ณุ ภาพดี ซง่ึ การสญู เสยี พลงั งานจะลดลงเหลอื 5-6 วตั ต์  บลั ลาสตอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นบัลลาสตท์ ี่ทาด้วยชุดวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ มีการสูญเสียพลังงานน้อยประมาณ 1-2 วตั ต์ เปดิ ตดิ ทนั ทีไม่กระพริบไม่ต้อง ใช้สตารต์ เตอร์ ไม่มเี สียงรบกวน ทาให้อายุการใชง้ านของหลอดแสงสว่างนานขน้ึ 2 เท่า ของหลอดแสงสว่างท่ีใชร้ ว่ มกับบัลลาสตแ์ กนเหล็กธรรมดา ดังนั้นหากมีชั่วโมงการใช้งานตอ่ วันมาก ควรเลือกใช้บัลลาสต์อเิ ล็กทรอนิกส์ เพราะนอกจากจะช่วยประหยัดไฟแล้ว ยังมีประโยชนอ์ กี หลายอย่างดังท่ี กล่าวมาข้างตน้ 3-6 กล่มุ วิจัย EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

3.1.2 มาตรการทีน่ า่ สนใจ มาตรการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน ด้านไฟฟ้าแสงสว่างท่ีนา่ สนใจและมกี ารดาเนินการแพร่หลาย ดงั น้ี 1) มาตรการเปลยี่ นหลอด T-8 (36W) หรอื T-5 เปน็ หลอด LED พรอ้ มโคม เป็นการเปลี่ยนโคมไฟ T-8 เป็นโคมหลอด LED ขนาด 18 วตั ต์ ซ่งึ จะประหยดั ได้ 28 วตั ต์/ชดุ 2) มาตรการเปลย่ี นหลอด Down Light เดมิ เปน็ LED พจิ ารณาการเปลยี่ นหลอด Down light ทใ่ี ชห้ ลอดตะเกยี บขนาด 18 วตั ต์ เปน็ หลอด LED ขนาด 5 วตั ต์ 3) มาตรการเปลยี่ นหลอด HID เปน็ หลอด LED เปล่ยี นจากหลอดประเภท Hight Intensity Discharge (HID) เป็นหลอด LED วัตต์สงู ขนาดหลอด HID ขนาดหลอด LED เทียบเทา่ 250 วัตต์ 70 วตั ต์ 400 วัตต์ 120 วตั ต์ 4) มาตรการเปลย่ี นบัลลาสตแ์ กนเหลก็ เปน็ บลั ลาสตอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ บลั ลาสตแ์ กนเหลก็ เดิมท่ีมกี าลังสญู เสีย 10 วัตต์ ทดแทนดว้ ยบัลลาสต์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ กาลัง สูญเสยี เพียง 2 วัตต์ 5) มาตรการตดิ ตงั้ โคมประสิทธภิ าพสูง โคมไฟฟา้ ฟูลออเรสเซนต์ที่ใชท้ ่วั ไป มขี นาด 3×36 วัตต์ เมอื่ เปลยี่ นโคมไฟฟ้าเป็นแบบประสิทธิภาพ สงู สามารถลดจานวนหลอดลง 1 หลอด 6) มาตรการตดิ ตงั้ บัลลาสตห์ รแี่ สงอตั โนมตั ิ บลั ลาสต์หร่ีแสงสามารถลดความส่องสวา่ งของหลอดลงไดท้ ง้ั แบบตัง้ เวลาแนน่ อน และแบบจับการ เคลอื่ นไหว หรือความสอ่ งสวา่ งภายนอก (Daylight) 7) มาตรการปดิ สวติ ชเ์ มอ่ื ไมใ่ ชง้ าน การขอความร่วมมือจากพนักงาน สตกิ๊ เกอร์ ปา้ ยประกาศและกจิ กรรมอ่นื ๆ เพ่ือสรา้ งนสิ ยั การใช้ งานทดี่ ี สามารถลดการใชไ้ ฟฟ้าแสงสว่างได้ดที ี่สดุ 8) มาตรการเพมิ่ การสะทอ้ นแสงของผนงั , พน้ื , ฝา้ และเฟอรน์ เิ จอร์ การทาความสะอาดผนัง พ้นื ฝา้ ทเ่ี กา่ ออกทมึ ๆ การทาสีใหม่ สีเฟอร์นเิ จอรโ์ ทนขาว เหล่าน้ี ทาให้ สามารถใช้ประโยชน์จากแสงสะท้อนไม่น้อยทีเดียว การทาสีและทาความสะอาด เป็นทางเลอื กทีด่ ีกว่าการ เพิม่ โคม เพ่ิมวตั ตข์ องหลอด จึงเป็นมาตรการที่ควรได้รับการพจิ ารณาก่อน 9) มาตรการการจากดั พน้ื ทใ่ี ชง้ าน ควรจากดั ใหพ้ ้นื ที่ใช้งานอยู่ดว้ ยกนั เพื่อจะไดไ้ มต่ ้องส่องสว่างพน้ื ที่ท่ีไมใ่ ช้ เช่น ถ้ามีรถมาจอดน้อย ก็เปดิ ใช้งานท่จี อดรถเปน็ โซนๆ ไป ถ้าไม่ใชก้ ็ปิดไฟได้เลย สานกั งานที่มคี นทางานเบาบาง ควรจัดใหม้ าอยูช่ ้ัน เดยี วกนั แล้วปิดบริเวณทไี่ ม่ใชไ้ ปเลย คู่มือการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน 3-7 V.2022

10) มาตรการปรบั ระดบั ความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ าน แตล่ ะบรเิ วณตอ้ งการความสวา่ งไม่เท่ากนั บริเวณทม่ี คี วามสวา่ งมากเกนิ ไปควรถอดโคมและหลอด ท่ีไม่จาเปน็ ออกเชน่ ทางเดนิ ช่องบันไดห้องนา้ ฯลฯ หรือเปล่ียนหลอดให้มีวตั ตล์ ดลงความสวา่ งท่เี หมาะสม กับบริเวณต่างๆ แสดงในรปู ที่ 3.7 พื้นทใี่ ชง้ าน ย่านความสวา่ ง (ลกั ซ์ ) * พน้ื ทีอ่ าคารท่วั ไป ทางเดนิ 50 - 100 - 150 บนั ใด 100 - 150 - 200 หอ้ งเก็บของ 100 - 150 - 200 สานักงาน พื้นท่สี านักงานท่วั ไป 300 - 500 - 750 หอ้ งเขยี นแบบ 500 - 750 - 1000 หอ้ งประชมุ 300 - 500 - 750 รา้ นคา้ ในอาคารพาณชิ ย์ 500 - 750 500 - 750 ซุปเปอร์มาเก็ต โรงเรียน มหาวทิ ยาลยั ห้องบรรยาย 300 - 500 - 750 หน้ากระดาน 300 - 500 - 750 300 - 500 - 750 ห้องทดลอง 500 - 750 - 1000 ห้องเขยี นแบบ ห้องสมุด หิ้งหนงั สือ 150 - 200 - 300 โต๊ะอา่ นหนงั สือ 300 - 500 - 750 * ตวั เลขท่ีให้มี 3 ค่าทั้งนี้ขึ้นอยู่กบั ความละเอยี ดของงาน อายุของคน ตวั ขดี เสน้ ใต้เป็นค่ากลางๆ รปู ท่ี 3.7 ความสว่างสาหรับบรเิ วณต่างๆ (Publication CIE NO.29.2) 3-8 กลมุ่ วจิ ยั EnConLab มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

เราจาเป็นต้องวัดความสว่างของทุกบรเิ วณกอ่ นการปรับปรุง เพอ่ื ตรวจสอบว่าความสว่างเพยี งพอ หรอื ไม่ หากมากเกนิ ไป กล็ ดโคม ลดหลอดลง และข้อมูลนจี้ ะนาไปเปรยี บเทยี บกับหลงั การปรับปรงุ ด้วย ในห้องโถงกว้างๆ ไม่จาเปน็ ตอ้ งใหค้ วามสว่างแบบปพู รม ถ้าร้ตู าแหน่งทที่ างานชดั เจน เราสามารถ ลดจานวนหลอดในบริเวณช่องทางเดนิ ต้เู ก็บของ หอ้ งเขยี นแบบ ไม่จาเป็นต้องสว่าง 1000 ลกั ซ์ทัง้ ห้อง ควรมคี วามสว่างตามปกติ แล้วติดตั้งโคมไฟเฉพาะที่โต๊ะเขยี นแบบ 11) มาตรการใชอ้ ปุ กรณป์ ระสทิ ธภิ าพสงู มาตรการประหยดั พลังงานในระบบไฟฟ้าแสงสว่างที่ประหยัดพลงั งานลงมาก และคืนทุนเรว็ กค็ ือ การเปลี่ยนมาใช้อปุ กรณป์ ระสิทธภิ าพสงู มาตรการทแ่ี พรห่ ลายไดแ้ ก่ การเปลี่ยนหลอด T-8 (36W) หรอื T-5 เปน็ หลอด LED พรอ้ มโคม  เป็นการเปลย่ี นโคมไฟ T-8 เป็นโคมหลอด LED ขนาด 18 วตั ต์ ซ่ึงจะประหยดั ได้ 28 วตั ต/์ ชดุ  การเปลี่ยนหลอด Down Light เดมิ เป็น LED พิจารณาการเปลี่ยนหลอด Down light ทใ่ี ช้หลอดตะเกยี บขนาด 18 วัตต์ เป็นหลอด LED ขนาด 5 วัตต์  การเปล่ียนหลอด HID เปน็ หลอด LED เปลยี่ นจากหลอดประเภท Hight Intensity Discharge (HID) เป็นหลอด LED วตั ต์สูง ขนาดหลอด HID ขนาดหลอด LED เทยี บเท่า 250 วตั ต์ 70 วัตต์ 400 วตั ต์ 120 วัตต์  การเปล่ียนบัลลาสต์แกนเหลก็ เป็นบลั ลาสตอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ บัลลาสตแ์ กนเหลก็ เดิมทม่ี กี าลงั สูญเสีย 10 วตั ต์ ทดแทนดว้ ยบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ กาลัง สญู เสยี เพียง 2 วตั ต์  การตดิ ต้งั โคมประสทิ ธภิ าพสงู โคมไฟฟา้ ฟลู ออเรสเซนต์ทใี่ ชท้ วั่ ไป มขี นาด 3×36 วตั ต์ เม่ือเปลยี่ นโคมไฟฟ้าเป็นแบบ ประสทิ ธภิ าพสงู สามารถลดจานวนหลอดลง 1 หลอด  การตดิ ตงั้ บัลลาสต์หรี่แสงอัตโนมัติ บลั ลาสต์หรี่แสงสามารถลดความส่องสว่างของหลอดลงได้ทงั้ แบบตัง้ เวลาแนน่ อน และแบบจบั การเคลอื่ นไหว หรือความส่องสว่างภายนอก (Daylight) 12) มาตรการใชแ้ สงธรรมชาติ แสงจากดวงอาทิตย์นั้นฟรแี ละไมม่ ีผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม อาคารทกี่ อ่ สรา้ งใหมค่ วรผนวกเขา้ กับ แนวคดิ ในการออกแบบ อาคารเก่าสามารถใชป้ ระโยชน์จากแสงธรรมชาตจิ ากบรเิ วณใกล้หน้าต่าง ชอ่ งแสง โดยไม่เปิดไฟ ยกเว้นเม่ือท้องฟา้ มืด อาจเปน็ สตกิ๊ เกอร์ตดิ ไวท้ สี่ วติ ช์ท่ีสาคญั ต้องแยกสวิตชป์ ดิ เปิดโคมไฟ แถวที่อยูใ่ กลห้ น้าตา่ งออกมา (ดงั รูปที่ 3.8) การติดตั้งโฟโตเซนเซอรว์ ดั แสงจากภายนอกเพ่ือปิดเปดิ โคม ไฟโดยอตั โนมัติเป็นก้าวตอ่ ไปหากพื้นทกี่ ว้างๆและโคมมีจานวนมาก ค่มู ือการอนุรักษพ์ ลงั งาน 3-9 V.2022

ก.เพ่อื ใชแ้ สงธรรมชาติ ข.ตามการใช้งานร่วมกนั รปู ท่ี 3.8 การแยกสวติ ช์ 13) มาตรการจดั กลุ่มสวติ ชต์ ามการใชง้ าน จดั กลุ่มสวติ ชโ์ คมไฟสาหรบั พ้นื ทท่ี างานเดยี วกันเขา้ ด้วยกัน และแยกโคมไฟสาหรับพ้ืนทที่ ี่ทางาน ไม่พรอ้ มกนั ได้ออกจากกัน เพ่อื ท่จี ะไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเปิดไฟเกินความจาเป็น ดงั ตวั อย่างในรปู ท่ี 3.8 แยกสวิตช์ ปดิ เปดิ สาหรับโตะ๊ ทางาน A, B, C และจดั กลมุ่ โคมไฟโต๊ะประชมุ เข้าด้วยกัน 14) มาตรการควบคมุ แสงสว่างโดยอตั โนมตั ิ การใช้ไทมเ์ มอร์เซอร์วสิ ตง้ั เวลาปิดเปดิ เชน่ เลกิ งาน พักเทย่ี ง หรือโฟโตอ้ เิ ล็กทรกิ กับไฟแสงสว่าง ภายนอกอาคาร หรือตวั จับอินฟาเรด เพื่อตรวจวา่ มีคนทางานอยู่ ตลอดจนถงึ การใชร้ ะบบทูไวรร์ ีโมท หรอื ระบบ BAS ทาใหส้ ามารถควบคมุ การปดิ เปดิ ไฟฟ้าแสงสว่างอัตโนมัตติ ามเวลาเพ่ือปอ้ งกันคนลืมปดิ หรอื ตามแสงแดด ถ้าแสงนอ้ ยก็เปิดไฟขนึ้ มาชว่ ย หรอื ตามการอยู่อาศยั ถ้าไม่มีคนอยกู่ ็ปดิ ไฟ ส่ิงเหลา่ นชี้ ว่ ย เพม่ิ ความสะดวกและชดเชยพฤติกรรมของผใู้ ช้ เม่อื ราคาของระบบควบคุมและเซนเซอรถ์ ูกลงคงจะมกี ารใช้ งานอุปกรณ์เหล่าน้ีมากขน้ึ 15) มาตรการใชโ้ คมไฟทม่ี ชี อ่ งลมกลบั เม่ือเราเปล่ียนโคมไฟจาก 3 หลอดต่อโคม เป็น 2 หลอดตอ่ โคม จะเกิดชอ่ งว่างขึ้นบนแผ่นฝ้าควรใช้ เป็นช่องลมกลบั ของระบบปรบั อากาศ ซงึ่ จะไดผ้ ลดหี ลายประการ ได้แก่ ลดการสะสมฝ่นุ ทีต่ วั โคม อณุ หภูมิ โคมเยน็ ลง หลอดจะมีประสิทธภิ าพดีข้นึ และความรอ้ นในตัวโคมจะถกู นาออกไปไม่แผ่ลงมาในห้อง 3-10 กล่มุ วจิ ยั EnConLab มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี

3.2 กรอบอาคาร ภาระในการปรับอากาศของระบบปรับอากาศ จะประกอบไปด้วย ความร้อนท้ังจากภายในและ ภายนอกอาคาร ซึ่ง ความร้อนจากภายนอกอาคาร ส่วนใหญ่เกิดจากแสงอาทิตย์ในตอนกลางวัน และ การร่ัวไหลของอากาศจากภายนอกท่ีมีอุณหภูมิสูงเข้าไปในอาคาร เช่น การนาความร้อนผ่านจากผนัง หลังคา และกระจก ด้านนอก/การนาความร้อนผ่าน ผนังเบา เพดาน และพ้ืน ด้านใน รวมถึงการแผ่รังสี ความร้อนจากดวงอาทิตย์ผ่านกระจก และความร้อนท่ีเกิดข้ึนภายในอาคารเอง ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ภายในอาคาร และผู้คนท่ีใช้อาคารอยู่ เช่น ความร้อนจากแสงสว่าง คน และสัตว์ การรั่วของอากาศ รวมถงึ อปุ กรณ์ตา่ งๆ เชน่ อุปกรณ์ไฟฟา้ มอเตอร์ของเคร่อื งเป่าลม เป็นต้น เม่ือพิจารณาถึงแหล่งที่มาของความร้อนของระบบปรับอากาศ จะพบว่าประมาณ 60% เป็น ผลจากความรอ้ นท่ถี ่ายเทจากภายนอกอาคาร ผา่ นผนงั ทบึ และผนังโปร่งแสงเขา้ สู่ภายในตัวอาคาร ส่วนที่ เหลืออีก 40% เปน็ ภาระความร้อนที่เกิดขึ้นจากภายในตัวอาคารเอง ดังน้ันกรอบอาคารจึงมีความสาคัญ มาก เพราะช่วยปอ้ งกนั และหนว่ งความร้อนเข้าสูอ่ าคาร คมู่ อื การอนรุ ักษ์พลังงาน 3-11 V.2022

3.2.1 กรอบอาคาร และการใชพ้ ลงั งาน โดยทว่ั ไปแล้วความรอ้ นจากภายนอกสามารถถา่ ยเทเขา้ มาภายในอาคารได้ 3 แบบ คอื 1. การถา่ ยเทความร้อนโดยการนา (Heat transfer by conduction) คอื การถ่ายเทความร้อน ที่ผา่ นตวั กลางหรอื มวลวตั ถุ 2. การถา่ ยเทความรอ้ นโดยการพา (Heat transfer by convection) เปน็ การถา่ ยเทความร้อน โดยอาศยั การเคล่อื นตวั ของอากาศเป็นสอ่ื กลาง 3. การถ่ายเทความร้อนโดยการแผ่รังสี (Heat transfer by radiation) เป็นการถ่ายเทความ ร้อนโดยการแผร่ ังสผี ่านอากาศหรอื สญุ ญากาศในรปู คลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ การถ่ายเทความร้อนท้ัง 3 รูปแบบ ล้วนเป็นการถ่ายเทผ่านกรอบอาคาร (ผนังอาคารและหลังคา) ท้ังส้ิน โดยค่าการถ่ายเทความร้อนมักจะเทียบต่อพ้ืนที่กรอบอาคาร (เฉพาะของห้องท่ีมีการปรับอากาศ) ซ่ึงคา่ ท่ีไดส้ าหรบั ผนงั จะเรียกวา่ คา่ OTTV สว่ นของหลังคาจะเรยี กวา่ ค่า RTTV OTTV = Overall Thermal Transfer Value คือ ค่าความร้อนรวมถ่ายเทผ่านผนังอาคาร บรเิ วณห้องปรบั อากาศ มีหนว่ ยเปน็ W/m2 RTTV = Roof Thermal Transfer Value คือ คา่ ความรอ้ นรวมผ่านหลงั คาอาคารบริเวณห้อง ปรับอากาศชน้ั บนสุด มีหนว่ ยเปน็ W/m2 หากอาคารที่มกี ารปรบั อากาศ แตก่ ลบั มีการถา่ ยเทความร้อนจากภายนอกผา่ นกรอบอาคารเขา้ มา มากๆ ค่า OTTV และ RTTV ก็จะสูง น่ันหมายถึงเคร่ืองปรับอากาศก็จะต้องรับภาระหนัก ส่งผลให้การใช้ พลังงานของอาคารนั้นสูงขึ้นตามไปด้วย เพื่อเป็นการอนุรักษ์พลังงาน จึงได้มีการกาหนดมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ในการออกแบบอาคารเกี่ยวกับค่าการถ่ายเทความร้อนผ่านกรอบอาคารขึ้นมา อ้างอิง \"กฎกระทรวง กาหนดประเภท หรอื ขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลกั เกณฑ์ และวิธีการ ในการออกแบบ อาคารเพอื่ การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน พ.ศ.2552” ซง่ึ ไดม้ กี ารกาหนดคา่ ตา่ งๆ ตามประเภทอาคารไวด้ งั นี้ คา่ OTTV และ RTTV ตามประเภทอาคาร ดชั นี ประเภทอาคาร คา่ ทไ่ี มค่ วรเกนิ (W/m2) สานักงานและสถานศึกษา 50 OTTV หา้ งสรรพสินค้า ไฮเปอรม์ ารเ์ กต็ 40 โรงแรม โรงพยาบาล อาคารชุด 30 สานักงานและสถานศึกษา 15 RTTV ห้างสรรพสนิ คา้ ไฮเปอรม์ าร์เก็ต 12 โรงแรม โรงพยาบาล อาคารชุด 10 3-12 กลุ่มวิจัย EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี

จากตารางข้างต้น การกาหนดค่า OTTV และ RTTV แบ่งตามประเภทอาคารออกเป็น 3 กลุ่มนั้น ก็ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับชว่ งเวลาในการใชง้ านของอาคารแตล่ ะประเภท โดยท่ี  อาคารประเภทสานักงานและสถานศึกษา เป็นอาคารที่มี การใช้งานหลักในช่วงเวลากลางวัน ซ่ึงเป็นช่วงเวลาที่ ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากท่ีสุด ดังน้ัน ค่า OTTV และ RTTV จงึ ต้องสงู กว่าอาคารประเภทอนื่ ๆ  อาคารประเภทห้างสรรพสินค้า ไฮเปอร์มาร์เก็ต เป็น อาคารท่ีมีการใช้งานหลักในช่วงเวลากลางวันคาบเก่ียว ไปจนถึงช่วงกลางคืน (ต้ังแต่ 18.00-22.00 น.) ซึ่งมี่ท้ัง ช่วงเวลาท่ีได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์มากที่สุดใน ช่วงเวลากลางวัน แต่ช่วงกลางคืนก็จะไม่ได้รับผลจาก ดวงอาทิตย์ ดังนั้น ค่า OTTV และ RTTV จึงควรต่า อาคารประเภทสานกั งานและสถานศึกษา  อาคารประเภทโรงแรม โรงพยาบาล อาคารชุด เป็น อาคารท่ีมีการใช้งาน 24 ชั่วโมง ม่ีทั้งช่วงเวลาท่ีได้รับ ความร้อนจากดวงอาทิตย์มากท่ีสุดในช่วงเวลากลางวัน แต่ช่วงกลางคืนตลอดท้ังคืนที่ไม่มีภาระความร้อนจาก ดวงอาทิตย์ ดังนั้น คา่ OTTV และ RTTV จึงควรจะมีค่าท่ี ตา่ ทีส่ ุดเม่ือเทียบกบั อาคารประเภทอื่นๆ การลดปริมาณความร้อนที่ผ่านกรอบอาคารท่ีดีท่ีสุด คือ ทาให้ความร้อนผ่านได้ช้าลง เพราะ แทจ้ ริงแล้วเราไมส่ ามารถหยุดการถ่ายเทความร้อนได้ วิธีในการลดปริมาณความร้อนที่ผ่านกรอบอาคารมี ดังน้ี คือ 1. รูปร่างและเส้นรอบรูปของกรอบอาคารควรมีเส้นรอบรูปที่น้อยในพ้ืนที่ใช้สอยท่ีเท่าๆ กัน เช่น รูปสี่เหล่ียมจัตุรัส แต่เนื่องจากมีปัจจัยอื่นมาเก่ียวข้อง เช่น ทิศทางแดดและลม ดังนั้น อาคาร รูปส่ีเหลยี่ มผนื ผ้าทม่ี ีสัดสว่ นกวา้ งยาวเหมาะสมจะประหยัดพลังงานมากกว่า 2. วางอาคารให้ดา้ นแคบหนั ไปทางทิศที่รบั แดดชว่ งบ่าย คอื ทิศตะวนั ตกหรือตะวนั ตกเฉยี งใต้ 3. ทาใหก้ รอบอาคารได้รบั ร่มเงา ไมว่ ่าจะเปน็ แผงบงั แดด ส่วนอน่ื ของอาคาร หรอื จากตน้ ไม้ใหญ่ 4. วัสดุที่ไม่สะสมความร้อนและกันความร้อนได้ดีหรือมีฉนวนกันความร้อนกรุระหว่างผนังและ หลังคากบั ฝา้ เพดาน ใชว้ สั ดทุ มี่ ีผิวสะทอ้ นความร้อนหรอื ผิวทีม่ ีสอี อ่ น ค่มู ือการอนุรกั ษ์พลังงาน 3-13 V.2022

5. เพมิ่ มวลหรือความหนาของวัสดุ จะทาให้ความร้อนผ่านเข้าสู่ภายในได้ช้าลง และทาให้อุณหภูมิ ในท่ีเดียวกนั แตกตา่ งกนั ได้ 6. ลดปริมาณการใชก้ ระจกในด้านที่รบั แดด ใช้แสงธรรมชาตชิ ว่ ยส่องสว่าง จากัดส่วนโปร่งใสของ ผนังและหลงั คาใหแ้ สงอาทติ ยผ์ ่านเข้ามาได้เทา่ ที่จาเปน็ หรือเลือกใช้กระจกอนุรักษ์พลังงาน ซึ่ง มีคณุ สมบัติยอมใหแ้ สงสวา่ งผ่านเขา้ มาได้มาก แต่ยอมใหค้ วามร้อนผ่านเขา้ มาได้น้อย 7. ใชท้ วี่ า่ งสาหรับใหอ้ ากาศเป็นตัวป้องกันความร้อนออกไป โดยอาจทาหลังคาหรือผนังสองชั้น มี ช่องว่างตรงกลางให้อากาศช่วยดักความร้อน หรือให้อากาศระบายถ่ายเทออกได้ โดยมีช่อง เปิดทาให้ระบายอากาศรอบฝ้าชายคา ด้วยการตีระแนงไม้โปร่งหรือทาช่องระบายอากาศร้อน ออกทางหน้าจ่วั 8. หลกี เลยี่ งวสั ดปุ ูพื้นทเี่ ปน็ พนื้ แขง็ (Hard scape) บริเวณภายนอกอาคาร วิธีการลดปริมาณความรอ้ นผา่ นกรอบอาคารขา้ งต้น หลายวธิ ีเป็นสิ่งท่ีทาได้เฉพาะอาคารสร้างใหม่ คือตอ้ งทาตง้ั แตข่ น้ั ตอนการออกแบบอาคาร หรอื ก่อสร้างอาคาร แต่สาหรับอาคารเก่า อาคารท่ีได้ก่อสร้าง และใช้งานมานานแล้วนั้น การลดปริมาณความร้อนผ่านกรอบอาคาร ท่ีนิยมใช้ คือ การปรับปรุงกรอบ อาคารตามวิธีการ ข้อ 5 และ 6 โดยในส่วนของหลังคาและผนังทึบน้ันก็มักจะทาการติดตั้งฉนวนกันความ ร้อนเพิ่มเข้าไปหรือทาให้ผนังอาคารมีความหนามากข้ึน ส่วนผนังโปร่งแสงหรือประตูหน้าต่างที่เป็นกระจก นั้น มักจะใช้วิธีติดฟิล์มกรองแสง ติดต้ังอุปกรณ์บังเงา หรือเปล่ียนชนิดกระจก จากกระจกธรรมดา เป็น กระจกอนุรักษ์พลงั งาน 3-14 กล่มุ วิจยั EnConLab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook