คาํ นาํ คูม อื เลม น้ใี ชป ระกอบการฝกอบรมหลักสูตรการใชง าน PLC ระดับท่ี 1 ซ่ีงตามหลักสตู ร นั้นจะมงุ เนน ไปทที่ กั ษะการใชงาน PLC ขนั้ พนื้ ฐานเชน แนะนําโครงสรา งของ PLC, การกําหนด แอสเดรสอินพุต/เอาตพุต, การเขยี นโปรแกรมให PLC ดว ยคําส่ังพนื้ ฐานทใี่ ชงานบอ ย รวมทั้งการ ประยุกตใ ชงานควบคมุ เซอรโ วมอเตอรเ บ้ืองตน ดังนนั้ คมู ือเลม นี้จงึ เหมาะสาํ หรบั ผูเร่ิมตน ศกึ ษาการทํางานของ PLC ไดเ ปน อยา งดี ทางบรษิ ัทฯ ยนิ ดรี บั ฟงความคิดเห็นและขอ เสนอแนะ เพื่อจะไดน าํ มาปรับปรุงใหดยี ิ่งขึน้ บริษทั ออมรอน อเี ลคทรอนคิ ส จาํ กดั หมายเหตุ คมู อื เลมน้ีเปน ลขิ สิทธขิ์ องบริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากดั หามทาํ การ ลอกเลยี นแบบหรือเผยแพรส ว นหนึ่งสวนใด เวน แตจ ะไดร บั อนุญาตจากทาง บริษัทฯ เปนลายลกั ษณอักษร พิมพครง้ั ท่ี 1 ตลุ าคม 2550 จาํ นวนพิมพ 2,000 เลม บริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด โทรศพั ท 0-2942-6700 โทรสาร 0-2937-0501 เว็บไซด www.omron-ap.co.th
สารบัญ หนา บทที่ 1 แนะนําใหรูจ ัก PLC 1 1. 1 ชนดิ ของ PLC 2 1.1.1 PLC ชนิดบลอ็ ก (Block Type PLCs) 2 1.1.2 PLC ชนิดโมดลู (Modular Type PLCs) หรือแรค็ (Rack Type PLCs) 4 7 1.2 ภาษาทใ่ี ชใ นการเขียนโปรแกรมใหก ับ PLC 9 1.3 อปุ กรณส ําหรบั การโปรแกรม 9 10 1.3.1 ตวั ปอนโปรแกรมแบบมือถอื (Hand Held Programmer) 12 1.3.2 คอมพิวเตอร 13 1 4. ระบบสื่อสาร (Communications) 14 1.5 โครงสรางของ PLC 14 1.5.1 ซพี ียู (CPU; Central Process Unit) 15 1.5.2 หนว ยความจํา (Memory Unit) 22 1.5.3 ภาคอนิ พตุ (Input Unit) 32 1.5.4 ภาคเอาตพ ตุ (Output Unit) 1.5.5 ภาคแหลงจายพลงั งาน (Power Supply Unit) 34 บทที่ 2 การตดิ ต้งั และออกแบบระบบ 34 34 2.1 การติดตั้ง PLC 35 2.1.1 สภาพแวดลอ มในการติดตงั้ 36 2.1.2 การตดิ ต้ังในตคู วบคุม 39 2.1.3 การลดปญหาจาก Noise และกระแส Spike 40 2.1.4 การเดนิ สายสาํ หรบั แหลง จายไฟ 42 2.1.5 การเดนิ สายอยา งปลอดภยั และลดปญหาสญั ญาณรบกวน 42 2.1.6 การติดต้ังแบตเตอรร ่ี 43 2.1.7 อายกุ ารใชง านของแบตเตอรร ี่ 44 2.2 การออกแบบระบบ 2.3 ข้นั ตอนการทาํ งาน
บทที่ 3 ความรพู ้นื ฐานทางดา นดจิ ิตอล 48 3.1 ระบบเลขฐาน (Number System) 48 50 3.2 การแปลงเลขฐาน 50 3.2.1 การแปลงเลขฐานสองใหเ ปนเลขฐานสิบ 50 3.2.2 การแปลงเลขฐานสิบใหเ ปน เลขฐานสอง 3.2.3 การแปลงเลขฐานสองเปน เลขฐานสบิ หกและการแปลงเลขฐานสิบหกเปน 51 เลขฐานสอง 51 51 3.3 การบวกและลบเลขฐาน 51 3.3.1 การบวกเลขฐานสอง 52 3.3.2 การบวกเลขฐานสิบหก 52 3.3.3 การลบเลขฐานสอง 52 3.3.4 การลบเลขฐานสบิ หก 53 53 3.4 ประเภทของขอ มลู 53 54 3.5 หลกั การพน้ื ฐานทางลอจกิ 54 3.5.1 หลกั การของ AND 54 3.5.2 หลักการของ OR 54 3.5.3 หลกั การของ NAND 3.5.4 หลักการของ NOR 55 3.5.5 หลกั การของ Exclusive OR 3.5.6 หลักการของ NOT 55 56 บทที่ 4 การอา งแอสเดรสของ PLC 57 58 4.1 โครงสรา งของขอ มูล 58 4.2 การกาํ หนดเบอรของรีเลย (Relay) ใน PLC 60 4.3 ตารางแสดงขอกาํ หนดของพน้ื ทใ่ี ชง านของ PLC 4.4 การระบุตาํ แหนง อินพุต/เอาตพุตของ PLC 4.4.1 การระบุตาํ แหนง อนิ พตุ /เอาตพตุ ของ PLC ชนิดบล็อก (ยกตวั อยางรุน CP1L) 4.4.2 การระบุตําแหนง อนิ พุต/เอาตพุตของ PLC ชนดิ โมดลู
บทท่ี 5 หลักการเขยี นแลดเดอรไดอแกรมและคาํ สง่ั พน้ื ฐาน 61 5.1 กลุมคําสงั่ พื้นฐาน (Ladder Instruction & Output Control) 61 5.1.1 การใชค ําสง่ั Load (LD), Load Not (LD NOT) 61 5.1.2 การใชค าํ สัง่ AND, AND NOT 62 5.1.3 การใชค ําสัง่ OR, OR NOT 63 5.1.4 การใชคาํ สง่ั OUT, OUT NOT 63 5.1.5 การใชค าํ สัง่ END ( FUN 01 ) 64 5.1.6 การใชคาํ สัง่ AND LOAD (AND LD), OR LOAD (OR LD) 64 66 5.2 ขอ กาํ หนดในการเขยี น Ladder Diagram 71 5.3 กลมุ คาํ สง่ั Program Control Instruction 71 72 5.3.1 การใชคําสั่ง IL(02), ILC(03) 74 5.3.2 การใชคําสง่ั JMP (04) และ JME (05) 74 5.4 คําสงั่ ในกลมุ Bit Control Instruction 74 5.4.1 การใชคําสงั่ เซต (SET) และรเี ซต (RESET) 75 5.4.2 การใชค ําสง่ั KEEP - KEEP(11) 76 5.4.3 การใชคําสง่ั DIFFERENTIATE UP and DOWN–DIFU(13), DIFD(14) 76 5.5 กลุม คําสง่ั Timer/Counter 78 5.5.1 การใชค ําสั่ง TIMER: TIM 84 5.5.2 การใชค าํ สั่ง COUNTER – CNT 86 5.5.3 การใชคาํ ส่งั Reversible Counter CNTR (FUN 12) หรอื UP/DOWN Counter 86 5.6 กลุมคาํ ส่ัง Data Movement 88 5.6.1 การใชค าํ สั่ง MOVE – MOV(21) 88 5.7 กลุม คําส่ัง Data Shifting 5.7.1 การใชคําสง่ั SHIFT REGISTER – SFT(10)
บทท่ี 6 การใชซอฟตแวรปอนโปรแกรม 89 6.1 การตดิ ตั้งซอฟตแวร CX-Programmer 89 6.1.1 PLC ทส่ี ามารถใชงานกับซอฟตแ วร CX-Programmer 89 6.1.2 ขอ แนะนําสาํ หรับเคร่อื งคอมพิวเตอรทใี่ ชง าน (System Requirements) 90 6.1.3 การติดตงั้ ซอฟตแวร CX-Programmer 91 97 6.2 การสรางโปรแกรมแลดเดอร 98 6.2.1 การเปดใชซ อฟตแ วร CX-Programmer 99 6.2.2 คาํ อธบิ ายหนา ตางและการใชง าน 101 101 6.3 การปอนโปรแกรม 104 6.3.1 การสรา งโปรเจคใหม 107 6.3.2 การปอนคอนแทค 108 6.3.3 การปอ นคอลยเอาตพ ุต 110 6.3.4 การปอ น Timer 113 6.3.5 การปอ น Counter 115 6.3.6 การปอน Auxiliary Area 117 6.3.7 การปอ นคอนแทค Differentiated Up 118 6.3.8 การปอ นคําสงั่ END 118 119 6.4 การโหลดและจดั เก็บโปรแกรม (Loading/Saving) 120 6.4.1 การ Compile โปรแกรม 121 6.4.2 การ Save โปรแกรม 121 6.4.2 การ Load โปรแกรม 123 124 6.5 การแกไขโปรแกรม 125 6.5.1 การแกไ ข I/O comment 6.5.2 การปอ น Rung comment 6.5.3 การแกไข Rung 6.5.4 การลากเสน แนวนอนและแนวตงั้ เพอ่ื เชื่อมสญั ลกั ษณแ ตล ะตัว
6.6 การ Online 126 6.6.1 การ Online เพอื่ Transfer โปรแกรม 126 6.6.2 การทํา Auto-online 127 129 6.7 การเปลีย่ นโหมด PLC 131 6.8 การ Transfer โปรแกรม 133 6.9 การทาํ Force-set/Force Reset 135 6.10 การเปลยี่ นคา Timer 136 6.11 เทคนคิ การใชง านอ่ืนๆ 136 142 6.11.1 การแทรก/ลบ Rung 6.11.2 แทรก/ลบแถวแนวนอนและแนวต้งั (Row/Column ) 144 บทท่ี 7 ตวั อยา งการประยุกตใ ชงาน 144 147 7.1 ตวั อยา งการประยุกตใ ชงานโดยใชคาํ สงั่ Timer 149 7.2 ตัวอยา งการควบคุมการปด-เปด ประตู 151 7.3 ตัวอยางการควบคมุ ระบบ Lubrication ของเกียรแบบอตั โนมตั ิ 154 7.4 ตัวอยา งการลาํ เลียงแผนทองแดงบนสายพานลาํ เลียง 157 7.5 ตวั อยางการใช Line Control ในการ Packing 7.6 ตัวอยางการควบคุมจํานวนรถในลานจอดรถ 160 บทที่ 8 ประยุกตใ ชงานกบั เซอรโวมอเตอร 160 161 8.1 หลกั การควบคุมเบื้องตน 162 8.2 โครงสรางของเซอรโวมอเตอร 163 8.3 หลักการทาํ งานของเอน็ โคด เดอร 164 8.4 ชนิดของอนิ พตุ ควบคมุ สําหรับเซอรโวไดวเวอร 164 164 8.4.1 PULSE TRAIN CONTROL 8.4.2 PULSE WIDTH MODULATION (PWM) 8.4.3 LINEAR
8.5 การสรา งระบบควบคมุ ของเซอรโวมอเตอร 165 ตวั อยา งที่ 1 ระบบควบคุมการเคล่ือนที่แบบ Incremental 165 ตัวอยา งที่ 2 ระบบควบคุมการเคลือ่ นท่แี บบ Absolute 176 APPENDIX Appendix –A CP1L/CP1H Specifications Appendix –B CP1L I/O Specification and connection Appendix –C Programming Instructions Appendix –D Memory Areas Appendix –E Servo Driver Setup Appendix-F การใชงานออปชันแสดงผล LCD (CP1W-DAM01)
บทที่ 1 แนะนาํ ใหร จู กั PLC PLC (Programmable Logic Controller) หรือปจจบุ ันใชค ําวา PC (Programmable Controller) ในทน่ี จ้ี ะใชคาํ วา PLC แทน PC เพอื่ ปอ งกนั ความสบั สนกับคําวา PC (Personal Computer) PLC เปน อุปกรณท่ีคิดคน ขน้ึ มา เพอื่ ใชค วบคุมการทาํ งานของเครื่องจกั รหรอื ระบบตา งๆ แทนวงจรรีเลยแ บบเกา ซง่ึ วงจรรีเลยมขี อเสียคอื การเดนิ สายและการเปล่ยี นแปลงเง่อื นไขในการ ควบคมุ มคี วามยุง ยาก และเมือ่ ใชงานไปนานๆ หนา สัมผัสของรเี ลยจะเส่ือม ทําใหข าดเสถยี รภาพ ในการควบคุม ดงั นน้ั ปจ จบุ นั PLC จึงเขามาทดแทนวงจรรเี ลย เพราะ PLC ใชง านไดง า ยกวา สามารถตอเขากับอปุ กรณอ ินพตุ /เอาตพุตไดโดยตรง นอกจากนนั้ เพยี งแคเ ขยี นโปรแกรมควบคมุ ก็ สามารถใชงานไดท นั ที ถา ตองการจะเปลย่ี นเงื่อนไขใหมส ามารถทาํ ไดโ ดยการเปล่ียนแปลง โปรแกรมเทา นน้ั นอกจากน้ี PLC ยังสามารถใชงานรว มกับอปุ กรณอ นื่ ๆ เชน เครือ่ งอานบารโคด, เครอ่ื งพิมพ (Printer) และระบบ RFID เปน ตน ในปจจุบนั นอกจาก PLC จะใชง านแบบเดี่ยว (Stand alone) แลว ยงั สามารถตอ PLC หลายๆ ตัวเขา ดว ยกันเปน เครอื ขา ย (Network) เพ่อื ควบคุมการทาํ งานของระบบใหม ีประสทิ ธภิ าพ มากยง่ิ ขนึ้ อกี ดว ย จะเหน็ ไดว า การใชงาน PLC มคี วามยดื หยนุ มากกวา การใชง านวงจรรีเลยแบบเกา ดงั นนั้ ในปจ จบุ นั โรงงานอตุ สาหกรรมตา งๆ จงึ ใช PLC เปน หวั ใจหลักในการควบคุมการทาํ งาน ของเครือ่ งจักร เราสามารถจําแนกประเภทของ PLC ตามลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนดิ คือ -1-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรจู ัก PLC 1. 1 ชนิดของ PLC เราสามารถจาํ แนก PLC ตามโครงสรา งหรือลักษณะภายนอกไดเปน 2 ชนิด คือ 1.1.1 PLC ชนดิ บลอ็ ก (Block Type PLCs) PLC ประเภทน้ี จะรวมสว นประกอบทัง้ หมดของ PLC อยูในบล็อกเดยี วกัน ไมว า จะเปน ตวั ประมวลผล หนว ยความจํา ภาคอินพุต/เอาตพ ุต และแหลง จายไฟ สามารถแสดงตวั อยา ง PLC แบบ Block Type ใหเ หน็ ดงั รูปที่ 1.1 CP1L/H CPM2A รปู ท่ี 1.1 แสดงรูปราง PLC ชนิด Block Type • สวนประกอบของ PLC แบบ Block Type ในทนี่ จ้ี ะยกตัวอยาง PLC แบบ Block Type ของ OMRON รุน CP1L และ CP1H รปู ที่ 1.2 โครงสรางภายนอก ของ PLC -2-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC จากรปู ท่ี 1.2 สามารถอธิบายความหมายของแตละสวนไดด งั น้ี คือ แบตเตอรี่ (Battery) คือ ขัว้ ตอ แหลง ไฟและอนิ พตุ (Power Supply/Input Terminal) คอื ชอ งเสยี บหนว ยความจาํ (Memory Cassette) คอื ชอ งเสยี บเพ่อื เพมิ่ พอรต ติดตอ สื่อสาร (Option Board slots) คอื ข้ัวตอ เอาตพ ตุ (Output Terminal) คือ พอรต เช่ือมตอกับอปุ กรณปอ นโปรแกรม (USB Port) คอื ปมุ ปรบั อนาลอก (Analog Adjuster) คอื ขัว้ ตอ อนิ พตุ สาํ หรบั อนาลอก setting (External analog setting input) คือ พอรต ขยายอนิ พตุ /เอาตพ ุต (Expansion I/O Unit Connector) ในกรณที ่ีทานตอ งการเพม่ิ จํานวนอนิ พตุ /เอาตพตุ สามารถใชหนวยขยายอินพุต/ เอาตพตุ (Expansion I/O Units) เพื่อเพ่ิมจํานวนอนิ พุต/เอาตพ ุตไดโดยการตอ เขา ท่พี อรต ขยายอนิ พตุ เอาตพตุ (Expansion I/O Unit Connector) สามารถแสดงโครงสรางของหนว ยขยายอนิ พตุ /เอาตพ ุต ไดดังรปู ท่ี 1.3 รูปที่ 1.3 แสดงหนว ยขยายอนิ พตุ /เอาตพ ุต (Expansion I/O Units) • ขอดแี ละขอเสีย ของ PLC แบบ Block Type สามารถยกตัวอยางขอ ดขี อ เสยี ของ PLC แบบ Block Type ดังน้ี ขอ ดี ขอ เสยี 1. มีขนาดเลก็ สามารถติดตงั้ ไดง า ยจึง 1. การเพิม่ จาํ นวนอินพตุ /เอาตพ ตุ สามารถ เหมาะกับงานควบคมุ ขนาดเล็กๆ เพิม่ ไดน อยกวา PLC ชนดิ โมดลู 2. สามารถใชง านแทนวงจรรีเลยไ ด 2. เมอื่ อนิ พตุ /เอาตพตุ เสียจดุ ใดจุดหน่งึ 3. มีฟง กชันพเิ ศษ เชน ฟง กชันทาง ตองนาํ PLC ออกไปทัง้ ชุดทาํ ใหระบบ คณิตศาสตรแ ละฟง กช ันอน่ื ๆ ตอ งหยุดทํางานชว่ั ระยะเวลาหน่งึ 4. มรี าคาถูกกวา แบบแร็คหรือโมดลู 3. มฟี ง กช นั ใหเลอื กใชงานนอยกวา PLC ในจํานวนอนิ พุต/เอาตพตุ ที่เทา กนั ชนิดโมดลู -3-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร ูจัก PLC เนอ้ื หาในหวั ขอ ตอไปจะกลาวถึง PLC อีกชนิดหน่งึ ซ่งึ แยกสวนประกอบตางๆ ออกจากกนั เรียกวา PLC ชนิดโมดูล (Modular Type PLCs) 1.1.2 PLC ชนิดโมดลู (Modular Type PLCs) หรือแรค็ (Rack Type PLCs) PLC ชนดิ น้ีสว นประกอบแตละสว นสามารถแยกออกจากกนั เปน มดลู (Modules) เชน ภาคอนิ พตุ /เอาตพ ุต จะอยูในสว นของโมดลู อินพตุ /เอาตพตุ (Input/Output Units) ซึ่งสามารถ เลอื กใชง านไดว า จะใชโมดลู ขนาดก่ีอนิ พตุ /เอาตพ ุต ซง่ึ มีใหเลือกใชงานหลายรูปแบบอาจจะใชเปน อินพุตอยา งเดยี วขนาด 8 /16 จุด หรอื เปน เอาตพุตอยางเดียวขนาด 4/8/12/16 จดุ ขึน้ อยกู บั รุน ของ PLC ดว ย ในสวนของตวั ประมวลผลและหนว ยความจาํ จะรวมอยใู นซีพยี โู มดลู (CPU Unit) เราสามารถเปล่ยี นขนาดของ CPU Unit ใหเหมาะสมตามความตอ งการใชงาน เชน PLC รุน CS1 จะ มี CPU ใหเลอื กใชงานหลายรนุ เชน รนุ CS1G-CPU42H จะมคี วามแตกตา งกับ PLC รุน CS1H- CPU65H (ทั้งสองรนุ เปน PLC ตระกลู CS1 เหมอื นกนั ) ตรงขนาดความจขุ องโปรแกรมและการ รองรับจํานวนอนิ พุต/เอาตพ ตุ เปนตน สวนประกอบตา งๆ ของ PLC ชนดิ โมดลู ท่กี ลาวมาทัง้ หมดนั้น เมื่อตอ งการใชงาน จะถกู นาํ มาตอรวมกัน บางรนุ ใชเ ปน คอนเนคเตอรใ นการเชอ่ื มตอ กันระหวา งยนู ติ เชน รุน CQM1 / CQM1H หรอื CJ1M/H/G แตบางรุน ใช Backplaneในการรวมยูนติ ตางๆ เขา ดว ยกนั เพือ่ ใหส ามารถ ใชง านรวมกันไดส ามารถยกตัวอยา ง PLC ชนิดโมดูลไดด งั แสดงรปู ท่ี 1.4 CJ1 CS1 รปู ท่ี 1.4 แสดงรูปรางของ PLC ชนดิ โมดูล ยกตวั อยาง PLC รุน CJ1 จะใชคอนเนคเตอรในการเชื่อมตอแตล ะโมดลู เขา ดว ยกัน เพื่อใหสามารถทํางานรว มกนั ได ดงั แสดงในรูปที่ 1.5 -4-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร ูจ กั PLC รูปท่ี 1.5 แสดงชนิดของ PLC ชนดิ โมดูล ท่ใี ชคอนเนคเตอรใ นการเชอื่ มตอ สว น PLC รนุ CS1 จะใช Backplane ในการเช่อื มตอแตละโมดูลเขาดวยกนั เพอ่ื ให ทํางานรว มกนั ดังแสดงในรูปที่ 1.6 รูปท่ี 1.6 แสดงชนดิ ของ PLC ชนดิ โมดูล ท่ใี ช Backplane ในการเช่อื มตอ -5-
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรจู ัก PLC • ขอ ดีและขอ เสยี ของ PLC ชนิดโมดูล ขอเสีย 1. ราคาแพงเม่ือเทียบกับ PLC แบบ Block ขอดี 1. เพ่ิมขยายระบบไดง า ยเพยี งแคต ดิ ตง้ั โมดลู Type ทีม่ จี าํ นวนI/O เทา กนั ตา งๆ ทีต่ องการใชง านลงไปบน Back plane 2. สามารถขยายจาํ นวนอินพตุ /เอาตพ ุตได มากกวาแบบ Block Type 3. อปุ กรณอินพตุ /เอาตพ ุตเสยี จดุ ใดจดุ หนึง่ สามารถถอดเฉพาะโมดลู นน้ั ไปซอม ทําให ระบบสามารถทาํ การตอ ได 4. มยี นู ิต และรปู แบบการติดตอ สอ่ื สารให เลอื กใชงานมากกวาแบบ Block Type จะเหน็ วา PLC แตละชนิดจะมคี ุณสมบตั แิ ตกตา งกัน PLC รนุ ทีใ่ หญข ้นึ จะมีคณุ สมบตั แิ ละ ฟง กชนั พเิ ศษอน่ื ๆ มากกวา PLC รุนเลก็ ซึ่งสามารถเปรียบเทยี บใหเ หน็ ความแตกตางดังตาราง ตอไปนี้ ตารางท่ี 1.1 เปรียบเทยี บคณุ สมบตั ขิ อง PLC คณุ สมบัติ CPM1A รุน CS1 100 จุด CP1L CP1H 5,120 จุด จาํ นวนอนิ พุต/เอาตพุต 160 จุด 256 จดุ (Max.) ความจุโปรแกรม(Max.) 2 KWords 10 KSteps 20 KSteps 250 KSteps ความเร็วในการประมวลผล 0.72 μS 0.55 μS 0.1μS 0.04 μS ไทมเ มอร/เคานเ ตอร 128 4,096/4,096 4,096/4,096 4,096/4,096 หนวยความจําในสว นของ 1,024 Words 32K Words 32KWords 32KWords DM ระบบสือ่ สาร • CompoBus/S • CompoBus/S • Controller Link • Ethernet • Host Link • NT Link • Host Link • CompoBus/D • Sysmac Link • 1:1 Link • NT Link • Ethernet • Profibus-DP • 1:1 Link • Protocol Macro • Modbus • Modbus-RTU • รวมทัง้ ระบบ • รวมทงั้ ระบบ • Componet สอ่ื สารที่มใี น ส่อื สารท่ีมีใน PLC รนุ ตา่ํ กวา รนุ ตํา่ กวา -6-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร ูจัก PLC 1.2 ภาษาที่ใชใ นการเขียนโปรแกรมใหก บั PLC PLC แตละยี่หอ จะใชภ าษาในการเขยี นโปรแกรมเพอื่ สั่งให PLC ทาํ งานตามความตอ งการ แตกตางกนั ซง่ึ ตามมาตรฐาน IEC1131-3 ไดแบงมาตรฐานภาษาตางๆ ออกเปน 5 แบบตามรูปที่ แสดงขางลา งนี้ ภาษาทนี่ ยิ มใชมากทส่ี ดุ คือ Ladder Diagram เพราะเปนภาษาที่งายมีลกั ษณะคลาย วงจรควบคมุ แบบรเี ลย สวนภาษาทน่ี ยิ มเปน อนั ดบั สองคือ Function Block 1) Sequential Flow Chart Language 2) Structure Text Language 3) Function Block Diagram Language -7-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู กั PLC 4) Instruction List Language 5) Ladder Diagram หลังจากทีไ่ ดเ รยี นรภู าษาทใ่ี ชใ นการเขยี นโปรแกรมใหก บั PLC แลว ในหัวขอ ตอไปจะ กลา วถงึ อปุ กรณท่ใี ชในการปอ นโปรแกรมใหก บั PLC ซ่งึ จะกลา วถึงรายละเอียดดังน้ี -8-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร ูจัก PLC 1.3 อปุ กรณส ําหรบั การโปรแกรม การสง่ั ให PLC ทาํ งาน จะตอ งปอนโปรแกรมใหก บั PLC กอ น ซงึ่ อปุ กรณที่ใชใ นการปอ น โปรแกรมใหก บั PLC น้ัน สามารถแบง ไดเ ปน 2 ประเภท 1.3.1 ตัวปอ นโปรแกรมแบบมือถือ (Hand Held Programmer) แตละยห่ี อ จะมชี ่อื เรียกแตกตา งกัน เชน OMRON จะเรียกวา Programming Console เปน ตน สามารถยกตัวอยา งใหเ หน็ ดังรูปที่ 1.7 ในปจ จบุ ัน PLC รนุ ใหมๆ ของออมรอน ไมไ ดใ ช Programming Console ในการเขยี นโปรแกรมแลวเพราะใชง านยาก รปู ท่ี 1.7 แสดงตวั ปอ นโปรแกรมแบบมอื ถอื (Programming Console) การเขียนโปรแกรมใหก บั PLC โดยการใช Programming Console จะปอนเปน ภาษา Statement List หรือ Mnemonic เชน คําส่ัง LD, AND, OR ซ่งึ เปนคําสง่ั พน้ื ฐาน สามารถ เรียกใชง านโดยการกดปุม ทอี่ ยูบนตวั Programming Console นน้ั แตเมอื่ ตองการใชง านฟงกช นั อื่นๆ ทมี่ ีอยูใน PLC สามารถเรียกใชง านไดโ ดยการกดปมุ เรยี กใชคําสัง่ พิเศษ การใช Programming Console มขี อ ดตี รงทมี่ คี วามสะดวกในการเคลอ่ื นยาย และ สามารถพกพาไดสะดวกเนอ่ื งจากมีขนาดเลก็ แตกม็ ขี อ เสียคือในการใชงานผใู ชตองศึกษาวธิ กี ารใช งานของอปุ กรณเหลานวี้ ามวี ธิ ีการกดอยา งไร ถึงจะสั่งงาน PLC ได ในหวั ขอตอ ไปจะกลาวถงึ อุปกรณทีใ่ ชใ นการปอนโปรแกรมใหก บั PLC อีกชนดิ หนงึ่ คือ คอมพิวเตอรส ว นบคุ คล (Personal Computer) -9-
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจกั PLC 1.3.2 คอมพวิ เตอร สามารถใชใ นการเขียนโปรแกรมใหก ับ PLC ได โดยใชง านรว มกบั ซอฟตแวร (Software) เฉพาะของ PLC ยี่หอนน้ั เชน PLC ของ OMRON จะใชซ อฟตแวรท ี่มชี อ่ื เรยี กแตกตา ง กนั ไป สามารถยกตวั อยา งไดเชน • Syswin Support Software • CX-Programmer ใชไ ดก บั ระบบปฏิบัตกิ ารต้งั แต Window XP ขน้ึ ไป หรอื Window NT ซ่งึ ซอฟตแ วรตางๆ เหลา นไ้ี ดถ กู พัฒนาขน้ึ เพอ่ื ใชก ับ PLC รนุ ใหมที่ผลิตขนึ้ มาอยา งเชน CX-Programmer มีการพฒั นาเปนเวอรชนั ท่ีสูงขึ้นเรื่อยๆ เพอ่ื รองรบั กับ PLC รนุ ใหมๆ และฟง กช ัน ใหมๆ ของ PLC วิธกี ารตอคอมพวิ เตอรกับ PLC สามารถแสดงใหเหน็ ดังน้ี รูปท่ี 1.8 แสดงวิธีการตอ ใชง านคอมพิวเตอรก ับ PLC - 10 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู กั PLC รปู ที่ 1.9 ตวั อยางซอฟตแ วร (CX-Programmer) ขอ ดขี องการใชเครื่องคอมพิวเตอรในการปอ นโปรแกรมใหกับ PLC คอื ใชง าน งาย เชนในกรณีใช CX-Programmer รวมกบั ระบบปฏิบตั ิการ Window จากรปู ท่ี 1.9 ทา นจะเหน็ วา การเขยี นโปรแกรมเปน ภาษา Ladder Diagram จะเปน การนําสัญลักษณต า งๆ เขามาใชแทนการ เขยี นคาํ สัง่ ทําใหเ ขาใจงา ยเพยี งแคค ลกิ เลอื กสัญลกั ษณต า งๆ จากสว นของ Toolbar นอกจากนน้ั ยงั มี Toolbar อืน่ ๆ ใหเลือกใชง านซง่ึ งายกวา การใช Programming Console ดงั นั้นสามารถสรุปไดวาการปอ นโปรแกรมใหก บั PLC สามารถทําได 2 วิธคี ือ การใช Programming Console และการใชเ ครื่องคอมพิวเตอร ซึง่ ขน้ึ อยูกบั ความสะดวกของผใู ช ในหวั ขอ ตอไปจะกลาวถึงระบบการตดิ ตอ สอ่ื สารของ PLC - 11 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจกั PLC 1.4 ระบบส่อื สาร (Communications) ระบบสอื่ สารของ PLC คอื การนํา PLC ไปตอใชง านรว มกบั อปุ กรณอ ืน่ ๆ เพ่ือใหอ ปุ กรณ อืน่ ควบคุมการทาํ งานของ PLC หรือ ให PLC ไปควบคมุ การทํางานของอปุ กรณอ่ืน หรือ เปนระบบ ทีใ่ ชในการแลกเปลย่ี นขอ มลู ระหวาง PLC กบั PLC กไ็ ด ซง่ึ ปจจุบัน PLC สามารถนาํ ไปตอ รว มกับ อุปกรณของยห่ี อเดียวกนั หรืออปุ กรณภ ายนอกตา งยหี่ อ กัน เพ่ือควบคมุ การทํางานของระบบใหใ ช งานไดอยางกวางขวางมากข้นึ สาํ หรบั ระบบส่อื สารของแตละย่หี อ จะมชี อ่ื เรียกไมเ หมือนกัน นอกจากน้ี PLC แตละรนุ ยังมรี ะบบการตดิ ตอส่ือสารบางรูปแบบแตกตา งกันดว ย เชน PLC รุน เลก็ จะมีความสามารถในการติดตอสอ่ื สารไดนอยกวา PLC รุนใหญ เชน PLC รนุ CP1 สามารถ ใชร ะบบสือ่ สารไดเ ฉพาะ Compobus/S, Host link, 1:1 link, NT link สว นรนุ ทส่ี งู ขึ้นมาเชน CJ1 หรอื CS1 นอกจากจะใชระบบทเ่ี ปน ระบบการติดตอ ส่ือสารพ้ืนฐานที่มีใน PLC รนุ เลก็ แลว ยัง สามารถตดิ ตอ สอ่ื สารในลกั ษณะของ Ethernet ไดอ กี ดวย สามารถแสดงตัวอยา งรปู แบบการ ตดิ ตอ สอื่ สารของ PLC ไดดงั รปู ท่ี 1.10 รปู ที่ 1.10 ระบบการติดตอ สื่อสารของ PLC ในโรงงานอตุ สาหกรรม (PLC Network) - 12 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจ ัก PLC 1.5 โครงสรา งของ PLC โครงสรา งภายในของ PLC แตล ะสวนจะประกอบกันทํางานเปน ระบบควบคุมท่ีเราเรียกวา PLC ซ่งึ ประกอบไปดวยสว นสาํ คัญดังรูปที่ 1.11 รปู ท่ี 1.11 ไดอะแกรมภายใน PLC จากไดอะแกรมดงั รปู ท่ี 1.11 PLC จะมสี วนประกอบสําคัญดวยกันทัง้ หมด 5 สว นดงั นี้ 1. ซีพยี ู (CPU; Central Processing Unit) 2. หนว ยความจํา (Memory Unit) 3. ภาคอนิ พตุ (Input Unit) 4. ภาคเอาตพ ตุ (Output Unit) 5. ภาคแหลงจา ยพลังงาน (Power Supply Unit) ยูนิตท้งั 5 สว นเม่ือประกอบเขา ดวยกันแลวก็จะกลายเปน PLC ชดุ หนงึ่ ท่ีสามารถทํางานได แตละยนู ิตจะมีหนาท่แี ละคณุ สมบัตดิ ังน้ี - 13 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรจู กั PLC 1.5.1 ซีพียู (CPU; Central Process Unit) ซีพียหู รือหนว ยประมวลผลกลาง ทําหนาที่ประมวลผลการทาํ งานตามคําสั่งของ สว นตา งๆ ตามที่ไดรับมา ผลจากการประมวลผลกจ็ ะถูกสงออกไปสวนตา งๆ ตามทร่ี ะบุไวด ว ย คําส่ังน่ันเอง ซีพยี ูจะใชเวลาในการประมวลชาหรอื เรว็ ข้ึนอยูกับการเลือกขนาดของซีพียู และความ ยาวของโปรแกรมท่ีเขยี นดว ย ปกตแิ ลวซีพยี จู ะใชไ มโครโปรเซสเซอรขนาดต้ังแต 4 บติ , 8 บิต, 16 บิต, 32 บติ , 64 บติ หรอื 128 บติ มาทาํ งาน โดยท่ีซพี ยี แู ตละขนาดก็จะมีความสามารถจาํ กดั ไมเ ทากันจงึ ทําให PLC ในแตล ะรุนมคี วามสามารถตางกนั น่ันเอง หรอื แมก ระท่งั วา ภายใน PLC บางรุน จะใชไ มโคร- โปรเซสเซอรถึง 2 ตวั ชว ยกนั ทํางาน เวลาการประมวลผลก็จะเร็วกวา PLC ทีใ่ ชไ มโครโปรเซส- เซอรเ พยี งแคต วั เดยี ว โดยปกตแิ ลว การเลือกใชงาน PLC จะเลือกจากการประยุกตใชง านจงึ ทําใหผใู ช งาน (User) ไมรวู าผูผลติ ใชไมโครโปรเซสเซอรร นุ หรือเบอรอะไรในการสรา งเครื่อง PLC ดงั นั้น เวลาพจิ ารณาเลอื กใช PLC ซ่งึ ไมม กี ารระบเุ บอรหรือรนุ ของไมโครโปรเซสเซอรผูใชงานสามารถ เลือกจากคณุ สมบัติอน่ื เชน จาํ นวนอนิ พตุ /เอาตพ ุต, ความเรว็ ในการประมวลผลของคาํ ส่ัง, ขนาด ความจโุ ปรแกรม และขอมูล เปนตน 1.5.2 หนว ยความจํา (Memory Unit) หนว ยความจาํ เปนอุปกรณทใ่ี ชเก็บโปรแกรมและขอมูลตา งๆ ของ PLC กรณที ี่สง่ั ให PLC ทาํ งาน (RUN) มนั จะนาํ เอาโปรแกรมและขอ มลู ในหนว ยความจํามาประมวลผลการ ทํางาน สําหรับหนวยความจาํ ท่ีใชงานมีดว ยกัน 2 ชนดิ คอื • หนว ยความจําชั่วคราว (RAM: Random Access Memory) • หนว ยความจาํ ถาวร (ROM: Read Only Memory) • หนว ยความจาํ ชัว่ คราว (RAM: Random Access Memory) โปรแกรมและขอ มูลท่สี รางข้ึนโดยผใู ชจ ะถกู จัดเก็บในสว นน้ี คุณสมบตั ขิ อง RAM เมอื่ ไมม ไี ฟเลย้ี งจะทาํ ใหโปรแกรมและขอมลู หายไปทนั ที ดงั นน้ั ภายใน PLC จะพบวา จะมี แบตเตอรส่ี าํ รองขอ มลู (Backup Battery) เอาไวสาํ รองขอมลู (Backup Data) กรณที ไ่ี ฟหลกั (Main Power Supply) ไมจ า ยไฟใหก ับ PLC ขอ ควรระวังคือ ไมควรทจ่ี ะถอดแบตเตอรสี่ าํ รอง (Backup Battery) กรณที ไ่ี มม ไี ฟจายให PLC - 14 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรจู ัก PLC • หนว ยความจําถาวร (ROM: Read Only Memory) เปน หนว ยความจําอีกชนิดหน่ึง โดยที่ขอ มูลใน ROM ไมจ าํ เปนตองมแี บตเตอรี่ สํารองขอ มลู แตก็มปี ญ หาเรอื่ งเวลาในการเขา ถึงขอมลู (Time Access) ชา กวา RAM จงึ ปรากฏให ผูใ ชเหน็ วา PLC จะมหี นว ยความจําใชง านทง้ั RAM และ ROM รว มกนั อยู ROM แบงออกเปน 3 ชนดิ ดงั นี้ 1) PROM ( Programmable ROM) 2) EPROM (Erasable Programmable ROM) 3) EEPROM (Electrical Erasable Programmable ROM) PROM จดั เปน ROM รุนแรก เขียนขอมูลลงชิปไดเพียงคร้ังเดียว ถาเขียนขอมูลไม สมบูรณชิปก็จะเสียทันที ไมสามารถนํากลับมาเขียนใหมไดอีก จึงไดมีการพัฒนามาเปนรุน EPROM ซ่ึงสามารถเขียนขอมูลลงชิปไดหลายคร้ัง เพียงแคนําชิปไปฉายแสงอุลตราไวโอเลตก็จะ เปนการลบขอมูลในชิปดวยสัญญาณทางไฟฟาไดเลย จึงทําใหเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น แต เรื่องเวลาในการเขาถงึ ขอมลู กย็ งั ชา กวา RAM อยู การใชง านหนวยความจําใน PLC - RAM จะใชเ กบ็ โปรแกรมและขอมูลที่ทํางานจากการสง่ั RUN/STOP PLC - ROM จะใชจัดเก็บซอฟตแวรระบบ (System Software) และเปนชุดสํารอง โปรแกรมและขอมูล (Backup Program and Data) เพื่อปองกันกรณีที่โปรแกรมและขอมูลใน RAM หายไป ผูใชสามารถท่จี ะถา ยโปรแกรมและขอมูลเขา ไปที่ RAM ใหมได 1.5.3 ภาคอนิ พุต (Input Unit) ภาคอินพุตของ PLC ทาํ หนา ท่รี ับสญั ญาณอินพุตเขา มาแปลงสญั ญาณ สงเขาไป ภายใน PLC อุปกรณอินพุต (Input Device) ตางๆ ทน่ี ํามาตอกับภาคอนิ พุตไดน น้ั สามารถแสดง ตวั อยา งไดตามรปู ท่แี สดงดงั นี้ - 15 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหร จู ัก PLC รปู ที่ 1.12 แสดงอุปกรณอ ินพตุ ตา งๆ อุปกรณที่สามารถนํามาตอกับภาคอินพุต PLC ไดจัดออกเปนกลุมๆ ดังรูปท่ี 1.12 โดยกลุมอุปกรณแตละกลุมจะมีวิธีตอวงจรเขาภาคอินพุต PLC แตกตางกันออกไป เวลาใชงาน อุปกรณแตละกลุม จําเปนตองศึกษาขอมูลเพิ่มเติมของอุปกรณแตละชนิดกอน เพื่อความเขาใจ ขน้ั ตอนการทํางาน และสามารถตอวงจรไดถูกตอง อุปกรณท่ีนํามาตอกับภาคอินพุตของ PLC อุปกรณบางกลุมจะมีสัญญาณท้ัง อินพุต/เอาตพุต เชน Inverter, Digital Signal, Controller, ตัวควบคุมอุณหภูมิ, เซนเซอรรุนพิเศษ เปน ตน จําเปนตองตอใชง านใหถูกตอ ง ซึ่งสามารถแนะนําไดในขนั้ ตนคือ ตอวงจรภาคเอาตพุตของ อุปกรณน ้นั ๆ เขากับภาคอนิ พุต PLC ภาคเอาตพุตของอุปกรณจะมเี อาตพ ตุ ใหเ ลอื กใชง านหลายแบบ ซงึ่ ภาคอนิ พตุ PLC มวี งจรภาคอนิ พตุ อยูหลายแบบเชนกัน เพอ่ื รองรบั อปุ กรณอินพตุ ในแตละแบบใหเหมาะสม - 16 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจกั PLC • วงจรภาคอนิ พุต (Input Circuit PLC) วงจรภาคอนิ พตุ แบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื 1) ดิจติ อลอนิ พุต (Digital Input) 2) อนาลอกอินพตุ (Analog Input) 1) ดจิ ิตอลอินพุต (Digital Input Type) ดจิ ิตอลอนิ พตุ หมายถึง อนิ พุตทรี่ ับรสู ญั ญาณไดเพยี งแค “ON” หรอื “OFF” เทา นนั้ ตามโครงสรา งจะมีดจิ ิตอลอนิ พตุ 2 แบบคอื 1.1) วงจรอนิ พุตไฟตรง (DC Input) 1.2) วงจรอินพตุ ไฟสลับ (AC Input) 1.1)วงจรอินพุตไฟตรง (DC Input) จะใชอ ุปกรณท ่ีทาํ งานดว ย แรงดันไฟฟากระแสตรงตวั อยางวงจรอนิ พตุ ไฟตรงแสดงดังรปู ท่ี 1.13 รปู ท่ี 1.13 วงจรอนิ พุตแบบ DC หมายเหตุ : คา ความตานทาน R1 และ R2 ดูไดจ ากคูมอื ของ PLC รุนน้ันๆ จากรูปท่ี 1.13 ภาคอินพตุ จะใชว งจรลดทอนแรงดันแลว ขับออป โตทรานซิสเตอร จากออปโตทรานซิสเตอรกจ็ ะไปขบั ภาคอนิ พตุ ของ IC เพ่อื สง สัญญาณไปให CPU อีกทีหนึ่ง ซ่ึงการใชอ ปุ กรณป ระเภทออปโต (Opto) ทําใหร ะบบ PLC สามารถแยกสญั ญาณกราวด (Ground) ของภาค อินพุตออกจากวงจรภายในได สําหรับวงจรภาคอินพตุ ดังรปู ที่ 1.13 สามารถสรปุ คุณสมบัติไดดงั ตารางท่ี 1.2 - 17 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู กั PLC ตารางที่ 1.2 ตวั อยา งคณุ สมบตั ิภาคอนิ พุต (DC) คุณสมบตั ิ แรงดันอินพุต 24 VDC+10%/+15% (26.4V-18V) อินพุตอมิ ซแี ดนซ 2 kΩ กระแสอนิ พตุ 12 mA แรงดนั อนิ พุตขณะทํางาน “ON” 14.4 VDC min. “OFF” 5.0 VDC max. เวลาตอบสนองอินพตุ “ON Delay”: 8 mS max. “OFF Delay”: 8 mS max. สามารถปรับคา ไดตั้งแต 1,2,4,8,16,32,64,128 mS โดยใชโหมด PC Setup สําหรับวงจรภาคอินพตุ ดงั รปู ที่ 1.13 จะพบวา ภาคอนิ พุตของออปโต ทรานซิส- เตอรม ีไดโอด (Diode) ตอ สลับขั้วกนั อยู เพือ่ เวลาใชง าน สามารถเลือกตอวงจรได 2 แบบ ดังรปู ท่ี 1.14 ก . การตออนิ พตุ แบบ Source ข. การตออนิ พตุ แบบ Sink รูปท่ี 1.14 การตอ วงจรอินพตุ แบบ DC Source/Sink - 18 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรจู กั PLC 1.2) วงจรอินพุตไฟสลับ (AC Input) ใชไฟสลับผานแรงดันทําใหไมมี ปญหาเรื่องแรงดันตกครอมในสายมากเกินไปเหมือนวงจรอินพุต ไฟตรงโดยที่ผานแรงดันอินพุตต้ังแต 100-220 VAC สําหรับ PLC บางรุนก็จะแบงอินพุตแบบนี้ออกเปน 2 ยานคือ 100-120 และ 200- 240 VAC ลกั ษณะวงจรอินพุตแสดงดังรูปที่ 1.15 รปู ท่ี 1.15 วงจรอนิ พตุ แบบ AC คุณสมบัติของวงจรอินพุตไฟสลับท้ังแรงดันอินพุตระบบไฟ 110V หรือ 220V ดงั แสดงตารางที่ 1.3 ตารางท่ี 1.3 คุณสมบัตภิ าคอนิ พุต (AC) คุณสมบตั ิ แรงดันอนิ พุต 100-120 VAC+10%/+15% 50/60Hz 200-240 VAC+10%/+15% 50/60Hz อินพุตอมิ ซีแดนซ กระแสอนิ พุต 2 kΩ (50Hz), 17 kΩ (60 Hz) 38 kΩ (50Hz), 32 kΩ (60 Hz) แรงดนั อินพุตขณะทํางาน 5 mA (at 100 VAC) 6 mA (at 200 VAC) เวลาตอบสนองอนิ พุต “ON” 60 VAC min. “ON” 150 VAC min. “OFF” 20 VAC max. “OFF” 40 VAC max. “ON Delay”: 35 mS max. “OFF Delay”: 55 mS max. ลักษณะการตอ วงจรใชงานสําหรบั ภาคอินพุตแบบ AC จะมลี ักษณะการ ตอ ดังรูปท่ี 1.16 รปู ท่ี 1.16 การตอวงจรอินพตุ แบบ AC - 19 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู กั PLC 2) อนาลอกอนิ พตุ (Analog Input Type) อนาลอกอินพตุ จดั เปนอนิ พตุ ทส่ี ามารถรบั สัญญาณท่บี อกเปน ปริมาณที่ เปลยี่ นแปลงคา ไดเชน 0-10 VDC, ±10 VDC 1-5 V และ 4-20 mA ดงั รปู ที่ 1.17 ก. สัญญาณขนาด ±10 VDC ข. สัญญาณขนาด 0-10 VDC ค. สัญญาณขนาด 1-5 V (4-20 mA) รูปท่ี 1.17 สัญญาณแบบตา งๆ ทสี่ ง ใหอ นาลอกอนิ พตุ - 20 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรจู กั PLC สญั ญาณอนาลอกทงั้ 3 แบบ จดั เปนขนาดสัญญาณมาตรฐานท่ีกําหนดไวใ ช ในอตุ สาหกรรม ดังน้ันอุปกรณท ีม่ ภี าคเอาตพตุ เปน แบบอนาลอกเชน อนาลอก เซนเซอร, ภาคอนาลอกเอาตพุตของ Digital Signal Controller, Temperature Controller เปน ตน กจ็ ะมีขนาดของสญั ญาณตามมาตรฐานเชน กนั ซง่ึ ตวั อปุ กรณอ าจจะมเี อาตพ ุตแบบใดแบบหน่ึงหรือท้งั 3 แบบเลยก็ได ดงั นนั้ ภาค อนาลอกอินพตุ ของ PLC กต็ อ งสามารถเลอื กตรวจสอบไดทงั้ 3แบบเชน กัน หลักการทํางานของอนาลอกอนิ พุตของ PLC นําคาทว่ี ดั ไดแปลงเปน สญั ญาณ ดจิ ิตอล สามารถแสดงไดดังไดอะแกรมรปู ท่ี 1.18 รปู ท่ี 1.18 ไดอะแกรมการสงขอ มูลอนาลอกให PLC อปุ กรณท ่วี ดั คา ออกมาเปน ปรมิ าณอนาลอกสวนมากเปนการวัดระยะทาง, วัดความเรว็ , วดั อุณหภมู ิ, วัดปริมาณแสง, วดั ความดนั เปน ตน แลว แปลงคาเปน สญั ญาณทางไฟฟา ออกมา ดังนัน้ เวลาทอี่ ุปกรณเหลา นี้วดั คาออกมาเปน อนาลอก คา ใดๆ ผูใชจาํ เปนตอ งทําตารางเปรียบเทยี บคา ดว ย เพอ่ื ท่ีจะกําหนดขนาดขอมลู ใหก ับ PLC ใหค วบคุมตามท่ีตอ งการ วงจรภาคอนิ พุตแบบอนาลอกของ PLC จะมี ลกั ษณะวงจรตามรูปที่ 1.19 รูปที่ 1.19 วงจรอนาลอกอินพตุ ของ PLC - 21 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู กั PLC 1.5.4 ภาคเอาตพ ตุ (Output Unit) ภาคเอาตพ ตุ ของ PLC ทาํ หนา ทส่ี งสญั ญาณออกไปขบั โหลดชนดิ ตา งๆ ตามเงอื่ นไขทไี่ ดโปรแกรมเอาไว ชนดิ ของโหลดทีส่ ามารถนํามาตอ กบั ภาคเอาตพตุ สามารถแยก ออกเปน กลุมไดดังน้ี รปู ที่ 1.20 กลุม อปุ กรณทต่ี อกับภาคเอาตพ ตุ PLC จากรูปท่ี 1.20 กลุมอปุ กรณต า งๆ ท่ตี อกบั ภาคเอาตพุต PLC น้นั ในแตล ะกลมุ กจ็ ะ ควบคุมลักษณะของงานแตกตางกันไปตามคุณสมบัติของอปุ กรณนน้ั ๆ การตอ วงจรเขา ภาคเอาตพ ุต PLC จะมมี าตรฐานทางอุตสาหกรรมกํากบั อยูเ ชน กัน จงึ ทําใหผูใชไมต องใชอุปกรณเ สริมมาก เพียงแตดรู ายละเอียดการตอใหเขาใจกเ็ พยี งพอแลว - 22 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู ัก PLC ชนิดเอาตพ ุตของ PLC จะมใี หเลือกใชอ ยู 2 ลักษณะเชน เดยี วกบั ภาคอนิ พตุ คอื 1) ดิจติ อลเอาตพตุ (Digital Output) 2) อนาลอกเอาตพ ุต (Analog Output) 1) ดิจิตอลเอาตพ ตุ (Digital Output) อุปกรณทสี่ ามารถสั่งการทาํ งานไดเ พยี ง “ON” หรือ “OFF” จัดวา เปน การ ควบคุมแบบดจิ ิตอลเอาตพุตโดยมชี นดิ ของเอาตพ ุตใหเ ลือกใช 3 แบบคอื 1-1) เอาตพ ุตชนดิ “Relay Contact Output” 1-2) เอาตพ ุตชนิด “Transistor Output” 1-3) เอาตพ ตุ ชนิด “Solid State Relay: SSR Output” 1-1) เอาตพ ตุ ชนิดรเี ลย “Relay Contact Output” เอาตพุตชนดิ รเี ลยสามารถ นาํ เอาตพุตไปขบั โหลด ACหรือ DC ก็ได ลักษณะวงจรดงั รูปที่ 1.21 รูปท่ี 1.21 วงจรเอาตพ ตุ แบบรีเลย การเปด /ปด หนา สัมผัสของรีเลยจ ะอาศยั หลักการทาํ งานของสนามแมเหลก็ ดังน้ันเวลาท่ีนาํ หนาสัมผสั รีเลยไ ปใชงานจงึ เปรียบไดเ สมอื นสวติ ชค วบคมุ แบบ NO หรือ NC จงึ สามารถทีจ่ ะใชหนา สมั ผัสไปควบคมุ โหลดไดทงั้ ชนดิ AC หรอื DC ซง่ึ ขอพจิ ารณาในการเลือกใชต อ งพิจารณาความสามารถทนกระแสและ แรงดนั ไดส ูงสดุ เทาไร ปกตแิ ลวภาคเอาตพ ุตของ PLC ท่ี เลอื กเปน ชนิดรีเลย เอาตพตุ ทนกระแสใชงานตามปกติได 2A จึงไมเหมาะท่จี ะนาํ ไปขับโหลด AC หรือ DC ทีม่ กี ระแสสูงกวา 2A คุณสมบตั ติ างๆ ของภาคเอาตพตุ ชนดิ รเี ลย แสดง ไวใ นตารางท่ี 1.4 กรณีโหลดทใ่ี ชงานมกี ระแสกระชากสูงกวา 2A มากๆ ไมควรใชเอาตพ ตุ รเี ลย ตอ กบั โหลดนน้ั ๆ โดยตรง ควรตอผานรเี ลยบัพเฟอรท ี่สามารถทนกระแสไดดีกวา - 23 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหร จู ัก PLC ตารางที่ 1.4 คณุ สมบัติภาคเอาตพ ตุ ชนิดรีเลย คณุ สมบัติ รายละเอยี ด 2 A/250 VAC (COSφ = 1) อัตราทนการทาํ งานสงู สดุ (Max. switching capacity) 2 A/24 VDC 10 mA/5 VDC อัตราทนการทาํ งานตํา่ สุด (Min. switching capacity) 300,000 คร้งั 100,000 ครัง้ อายุการใชง าน ระบบไฟฟา Resistance Load 10 ลานครั้ง Inductive Load 30 ครง้ั ตอนาที 15 mS (max) (Relay Service Life) ระบบกลไก (Mechanical) 15 mS (max) Switching Rate เวลาตอบสนอง OFF Delay ON Delay อายุการใชง านจะข้ึนอยกู ับขนาดโหลดทใ่ี ชตอกบั เอาตพ ตุ ชนดิ รีเลยไ ป ควบคุม จากตารางโหลดทเี่ ปนขดลวด (Inductive Load) จะทําใหอายุการใชงาน รเี ลยส้นั กวา โหลดจาํ พวกหลอดไฟถงึ 3 เทา สว นในเร่ืองเวลาตอบสนองตาม คุณสมบัตภิ าคเอาตพตุ แบบรเี ลย จะตอบสนองคําสั่งชา ทส่ี ดุ เมอ่ื เปรยี บเทียบกับ ภาคเอาตพ ุตแบบอื่นๆ พิกดั การเปด /ปดวงจร(Switching Rate) นอกจากอายุการใชงานของเอาตพุตแบบรีเลยจะขนึ้ อยูกบั ขนาดของโหลดแลว ความถีใ่ นการเปด /ปด วงจรโหลดเปนพกิ ดั อกี ตวั หนง่ึ ทีส่ ง ผลตอ อายุการใชงาน โดยปกติแลว ไมค วร เปด /ปดวงจรโหลดเกินกวา 30 คร้งั ตอ นาที ถา จาํ เปน ตองเปด /ปด วงจรบอ ยคร้งั ควรใชเอาตพ ตุ ทรานซสิ เตอรจะเหมาะสมกวา วงจรปองกนั หนาคอนแทค ในการใชง านเอาตพุตรีเลยใ หมอี ายุการใชง านท่ียาวนานขน้ึ ควรตอ วงจรปองกนั หนา คอนแทคเขา กับรีเลย เพอื่ ลด Noise และปอ งกันการสรางกรด Nitric และ Carbide ซ่งึ จะเกดิ ข้ึน ขณะทห่ี นา คอนแทคเปด วงจร การใชว งจรปอ งกันจะชว ยลดผลกระทบดงั กลา วได ตารางขางลาง แสดงตัวอยา งการตอ วงจรปอ งกนั เวลาเราใชเอาตพุตรเี ลยต ดั /ตอโหลดประเภท Inductive เชน Solenoid valve จะทาํ ใหเกดิ การอารค (Are) ขึน้ ทีห่ นาคอนแทค ถา สภาพแวดลอมมคี วามชนื้ สงู จะ สง ผลทาํ ใหเกดิ กรด Nitric ซึ่งจะทาํ ใหรีเลยทาํ งานผิดปกตไิ ด ดังนน้ั ควรใชอ ุปกรณลด Surge เพ่อื ลดปญ หาดงั กลา ว - 24 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจกั PLC • ตัวอยา ง Surge Suppressors ตัวอยา งวงจร ไฟที่ใชไ ด คณุ ลกั ษณะ การเลือกอุปกรณ AC DC * OK อมิ พแี ดนซของโหลดตอ งนอ ย คา C และ R ทเี่ หมาะสมคอื C (OK) กวาวงจร RC เม่ือใชรเี ลยก ับ = 0.1-0.5 uF ตอกระแส แรงดนั ไฟ AC Switching 1A และ R=0.5-1 โอมห ตอแรงดัน Switching OK OK เวลาในการตัดวงจรจะชาลงถา 1V อยางไรก็ตามคา นอี้ าจไม CR type เปน คาคงทเี่ หมาะสมเสมอไป โหลดเปน Inductive เชน Solenoid Valve วงจรน้จี ะใช ทั้งนี้ขนึ้ อยกู ับโหลดและ งานไดผ ลดีถาตอครอ มโหลด คุณสมบัตขิ องรีเลย การเลอื ก เมื่อใชแรงดนั เปน 24-48 V C ควรใหมีคา dielectric และตอครอมหนา คอนแทค ถา strength 200-300 V ถา ใชก บั แรงดันไฟ AC และเปน แรงดันเปน 100-240 V Capacitor ชนิด AC NG OK พลังงานสะสมอยูที่ Coil ของ ควรใช Diode ท่มี ี Reverse Diode type โหลด Inductive จะสรา งเปน breakdown voltage เปน 10 กระแสไฟฟาไหลผา น Diode เทาของแรงดนั ใชงาน ที่ตอครอมอยกู บั Coil นัน้ วงจรน้จี ะมีผลทําใหเ วลาการ ตดั วงจรนานกวาแบบ RC Diode + NG OK วงจรนจ้ี ะทํางานดีกวาแบบ Breakdown voltage ของ Zener diode type Diode ในงานบางประเภทแต Zener diode ควรเทากบั เวลาตัดวงจรจะนานมาก แรงดนั ใชง าน Varistor type OK OK วงจรนจี้ ะปองกันแรงดันสูงท่ี Cutoff voltage (Vc) ตอ ง เกิดขึ้นท่ีหนาคอนแทคเนื่อง เปน ไปตามเง่อื นไขตอไปน้ี จาก Varistor มคี ณุ สมบัติรักษา Contact dielectric strength > แรงดนั ใหค งที่ วงจรนี้จะใช Vc > Supply voltage (กรณี งานไดผ ลดถี า ตอครอ มโหลด ไฟ AC ใหคณู 2 ของคาทไี่ ด) เม่อื ใชแรงดันเปน 24-48 V และตอ ครอ มหนาคอนแทคถา แรงดันเปน100-240 V - 25 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจ กั PLC โหลดความตา นทานและโหลดอนิ ดักทฟี ความสามารถในการเปด /ปด (Switching power) ของโหลด Inductive จะตํา่ กวา โหลดความตา นทาน เนือ่ งจากมพี ลังงานแมเ หลก็ ไฟฟาสะสมในคอลย ของโหลดอนิ ดกั ทฟี ตาราง ขางลา งแสดงกระแสกระชาก (Inrush) ท่เี กิดจากโหลดประเภทตา ง ๆ โหลด AC กบั Inrush Current อัตรากระแสกระชากตอ รูปคลนื่ กระแสไฟในภาวะปกติ ประเภทโหลด ประมาณ 10 ประมาณ 10 - 15 Solenoid Incandescent bulb Motor ประมาณ 5 - 10 Relay ประมาณ 2 - 3 Capacitor ประมาณ 20 - 50 Resistive load 1 1-2) เอาตพตุ ชนิดทรานซสิ เตอร (Transistor Output) เอาตพตุ แบบ ทรานซสิ เตอร มีใหเ ลอื กใชอ ยู 2 ประเภทคอื • เอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN • เอาตพตุ ทรานซิสเตอรแบบ PNP • เอาตพุตทรานซสิ เตอรแบบ NPN มลี กั ษณะวงจรดงั รูปท่ี 1.22 รปู ที่ 1.22 วงจรภายในเอาตพ ุตทรานซิสเตอรแ บบ NPN - 26 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรจู ัก PLC จากวงจรภายในจะใชอ อปโตทรานซิสเตอรผลิตสญั ญาณขบั ทรานซสิ เตอรQ1 โดย Q1 จะทําหนา ที่ขบั โหลดอีกที วงจรลกั ษณะนีท้ ําใหวงจรภายในแยกสญั ญาณกราวนดอ อกจากวงจร ภาคเอาตพุตไดส ว นลกั ษณะการตอ วงจรใชงานนน้ั สามารถตอใชง านขบั โหลดไดเฉพาะ DC เทา นนั้ ดังรูปท่ี 1.23 รูปที่ 1.23 การตอ ใชงานเอาตพ ุตทรานซสิ เตอรแ บบ NPN การตอ ขบั โหลดดงั รปู ท่ี 1.23 เปน การตอ แบบซิงค (Sink type) คอื ดงึ กระแสเขา สู ภาคเอาตพ ตุ ดงั นน้ั ทรานซิสเตอรตองทนกระแสซงิ คไ ด เพ่อื ปอ งกันไมใ หทรานซสิ เตอรพังที่ขา อมิ เิ ตอร Q1 เขียนวา COM (COMMON) เนอื่ งจากวาเวลานาํ ภาคเอาตพ ตุ แบบนี้ไปใชงานจรงิ จะมี วงจรลักษณะน้ีตออยหู ลายชดุ เชน 8, 16, 32 ชดุ เปนตน วงจรใชง านจริงกจ็ ะตอขาอมิ เิ ตอรรว มกัน แลว ดึงออกมาเปนขาท่ีเขยี นวา “COM” นน่ั เองและท่ขี ว้ั +V ก็ตอรวมเชนกัน คุณสมบัติสว นตางๆ ของภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN น้ี สามารถดรู าย ละเอียดไดดังตารางที่ 1.4 ตารางที่ 1.4 คณุ สมบัติภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN รายละเอียด คุณสมบัติ แหลง จายไฟ +V 5-24 VDC (40mA min) ±10% (2.5 mA X จํานวนบติ ที่ “ON”) อตั ราทนการทํางานสงู สุด 50 mA ท่แี รงดัน 4.5 V - 300 mA ที่แรงดัน 26.4 V (Max. switching capacity) กระแสร่วั ไหล (Leakage Current) 0.1 mA (สงู สดุ ) แรงดันไฟฟา (Residual Voltage) 0.8 VDC (สงู สุด) เวลาตอบสนอง OFF Delay 0.1 mS (สูงสุด) ON Delay 0.4 mS (สงู สุด) - 27 -
PNSPO บทที่ 1 แนะนําใหรูจัก PLC อตั ราทนการทํางานสูงสดุ (Max. Switching Capacity) จดั เปน ตวั แปรท่ตี องคํานึงถึงเวลานําไปใชง าน เพราะวา ภาคเอาตพ ุต PLC เวลาท่ี ผลติ ออกมาใชงาน จะมวี งจรทรานซสิ เตอรม ากกวา 1 ชดุ เสมอ เชน 8, 16 ชดุ ทําใหตอ งพิจารณา กระแสท่ีสามารถจะขับโหลดไดพ รอมกนั ทกุ ชุดของเอาตพตุ ดวย ดังรปู ที่ 1.24 ก. กระแสขับโหลดตอ เอาตพ ตุ 1 ชุด ข. กระแสขบั โหลดที่เอาตพ ุต 16 ชุด รปู ท่ี 1.24 กราฟกระแส (IC) ขับโหลด จากกราฟจะพบวาถาขบั โหลดทีละชุดไมพรอมกนั สามารถทีจ่ ะขบั โหลดไดถงึ 300 mA ทแี่ รงดัน 24 VDC ได แตเ มอื่ ขับโหลดพรอมกนั ท้ังหมด 16 ชุด กจ็ ะทําใหจ ายกระแส (IC) ไดเ พยี ง 4.8 mA ตอ 1 โหลด ดังนน้ั เวลาใชภ าคเอาตพ ตุ แบบทรานซสิ เตอร ถึงแมว า สามารถตอบ สนองโหลดไดเ รว็ กวา รเี ลยแ ตม ขี อ จาํ กัดในเร่ืองกระแส สวนใหญจ ะใชภ าคเอาตพ ตุ ทรานซสิ เตอร ขับโหลดวงจรอเิ ล็กทรอนิคสแ บบตางๆ เชน 7-Seg Display, Digital Controller, Servo Driver เปน ตน • ภาคเอาตพ ตุ ทรานซสิ เตอรแบบ PNP มลี ักษณะวงจรดงั รปู ท่ี 1.25 รูปท่ี 1.25 วงจรภายในเอาตพ ุตทรานซสิ เตอรแ บบ PNP - 28 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจกั PLC ลักษณะวงจรคลา ยวงจรของเอาตพุตทรานซสิ เตอรแ บบ NPN เพยี งแตเ ปลย่ี นวงจร สวน Q1 เทา น้นั ลักษณะการตอ วงจรสามารถตอไดด ังรูปท่ี 1.26 รปู ที่ 1.26 การตอใชง านเอาตพ ุตทรานซิสเตอรแบบ PNP ตอวงจรโดยขั้วทีเ่ ขยี นวา COM ของภาคเอาตพ ุต ใหตอไฟบวก (+V) ขา 0V ตอกบั ไฟ 0V และขา OUT ตอ กับโหลด การตอวงจรลักษณะแบบน้ีเปนการตอแบบซอรส (Source type) โดยที่ ทรานซิสเตอร Q1 ตองทนกระแสที่จะจายใหโหลดได เราอาจจะเรียกวา กระแสซอรส (I source) คุณสมบัตขิ องวงจรเอาตพ ตุ แบบนี้แสดงไวด ังตารางท่ี 1.6 ตารางท่ี 1.6 คุณสมบตั ภิ าคเอาตพ ุตทรานซิสเตอรแบบ PNP รายละเอียด คณุ สมบัติ แหลง จา ยไฟขา +V (COM) 5-24 VDC (60mA min) ±10% (3.5 mA X จํานวนบติ ท่ี “ON”) อัตราทนการทาํ งานสูงสดุ 50 mA ทแ่ี รงดัน 4.5 V - 300 mA (Max. switching capacity) ท่แี รงดนั 26.4 V กระแสรั่วไหล (Leakage Current) 0.1 mA (สงู สดุ ) แรงดนั ไฟฟา (Residual Voltage) 0.8 V (สงู สดุ ) เวลาตอบสนอง OFF Delay 0.1 mS (สูงสดุ ) ON Delay 0.4 mS (สงู สุด) ภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ PNP จะมีคุณสมบัติในเร่ืองอัตราทนการทํางาน สูงสุด (Max switching capacity) เหมือนกับภาคเอาตพุตทรานซิสเตอรแบบ NPN ซ่ึงดูไดจากรูปที่ 1.24 เชนกนั - 29 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจกั PLC 1-3) เอาตพตุ ชนิดโซลิตสเตรทรีเลย (Solid State Relay: SSR) เอาตพุตประเภทน้ี จะนํามาใชค วบคมุ โหลด AC ทีต่ องการควบคุมความเร็วในการตอบสนองทด่ี กี วา ใชเ อาตพุตแบบ รเี ลย อุปกรณภาคเอาตพ ตุ ทใี่ ชจ ะใชไตรแอดเปนสวิตชค วบคมุ โหลด ลักษณะวงจรเอาตพ ตุ แบบ SSR น้ี แสดงไวดงั รูปที่ 1.27 รปู ท่ี 1.27 วงจรภายในเอาตพ ตุ โซลติ สเตรทรเี ลย คุณสมบัติของไตรแอดจะทําใหสามารถควบคุมโหลด AC ไดทั้งซีกบวกและซีก ลบของรปู คลื่นไซน (Sine wave) สวนวงจรทริกเกอรทําหนาท่ีกระตุนไตรแอดใหทํางานสอดคลอง กับรูปคลื่นไซน อยางนอยก็เปนการปองกันไตรแอดไดระดับหน่ึง การตอวงจรเอาตพุตแบบ SSR สามารถตอใชง านไดดงั รปู ที่ 1.28 รปู ท่ี 1.28 การตอใชงานเอาตพ ุต SSR ลักษณะการตอวงจรโหลดกับภาคเอาตพุต SSR จะตอในลักษณะอนุกรมกันโดย ขาขางหนึ่งของโหลดตอกับขา OUT อีกขางตอเขากับแหลงจายไฟสลับ สวนขาอีกขางหน่ึงคือขา COM นาํ ไปตอ กับขวั้ แหลงจา ยไฟสลบั อีกขาง คณุ สมบัตขิ องเอาตพตุ SSR ดูไดจ ากตารางที่ 1.7 - 30 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรจู ัก PLC ตารางท่ี 1.7 คณุ สมบตั ภิ าคเอาตพ ุตแบบโซลิตสเตรทรเี ลย (SSR) รายละเอยี ด คุณสมบตั ิ อตั ราทนการทาํ งานสงู สดุ 100-240 VAC (0.4A) (Max. switching capacity) กระแสร่วั ไหล (Leakage Current) 1 mA (สงู สุด) ที่ 100 VAC 2 mA (สงู สุด) ที่ 200 VAC แรงดนั ไฟฟา (Residual Voltage) 1.5 V (สงู สดุ ) (0.4A) เวลาตอบสนอง OFF Delay 6 mS (สูงสดุ ) ON Delay ½ cycle + 5 mS (สงู สดุ ) • อนาลอกเอาตพุต (Analog Output) ภาคเอาตพุตของ PLC แบบอนาลอกเปน การเพ่มิ ความสามารถให PLC สง สัญญาณควบคุมเชงิ ปรมิ าณได คา ทจ่ี ะสงออกไปกจ็ ดั เปนคา สญั ญาณมาตรฐานเหมอื นภาคอนิ พตุ แบบอนาลอกคือ สัญญาณ 0-10 VDC, ±10 VDC และ 1-5 V (4-20mA) ลกั ษณะกราฟภาคเอาตพ ตุ ที่จะสง สัญญาณออกไปเหมอื นกับกราฟอนาลอกอนิ พตุ ดังรปู ที่ 1.17 การสง สญั ญาณของอนาลอก เอาตพ ุตจะสง สญั ญาณ 2 แบบคอื แรงดนั และกระแส การตอสายสัญญาณเพ่อื เลอื กสัญญาณเปน กระแสหรอื แรงดนั ของภาคเอาตพ ุตอนาลอกจะมีสัญญาณกํากับขว้ั ไว สามารถแยกการตอ ได 2 ลกั ษณะดังรูปท่ี 1.29 ก. สง สญั ญาณแบบแรงดัน (Voltage Output) ข. สง สัญญาณแบบกระแส (Current Output) รูปที่ 1.29 สง สัญญาณแบบกระแส/แรงดนั ของอนาลอกเอาตพ ุต - 31 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหรูจ ัก PLC วิธีการสังเกตขว้ั ตอสายของอนาลอกเอาตพ ตุ จะมีสัญลกั ษณแ ยกไวว าเปนของ อนาลอกเอาตพ ุตชนิดใด ดังรูปท่ี 1.30 หมายเหตุ : ตัง้ แตข ้ัว A4-A8/B4-B8 วาง รปู ที่ 1.30 ตําแหนง ขั้วอนาลอกเอาตพ ตุ 1.5.5 ภาคแหลง จายพลงั งาน (Power Supply Unit) ภาคแหลงจายพลังงาน จะทําหนาที่จายพลังงานใหกับอุปกรณภายใน PLC ไดแก อุปกรณไอซี, ไฟเลี้ยงวงจรกําหนดการทํางานแบบตางๆ เปนตน นอกจากนี้ยังจายพลังงานเล้ียง วงจรท่ีจะนํามาตอกับ PLC ท้ังภาคอินพุต/เอาตพุต ไดอะแกรมของแหลงจายพลังงานเขียน ไดอะแกรมไดด งั รูปท่ี 1.31 รปู ท่ี 1.31 ไดอะแกรมภาคแหลง จา ยไฟ PLC - 32 -
PNSPO บทท่ี 1 แนะนําใหร จู ัก PLC แหลง จา ยพลงั งานของ PLC จะแบง ออกเปน 2 ชดุ ชดุ หนงึ่ สาํ หรบั อุปกรณและวงจรภายใน แตละโมดูลตางๆ ของ PLC อีกชุดหน่ึงเปนตัวจายพลังงาน (Service Unit 24VDC) 24VDC สําหรับ การตอวงจรภาคอินพุตหรือเอาตพุตก็ได โดยปกติแลวชุดบริการ 24VDC ชุดนี้จะจายกระแสได คอนขางตา่ํ ไมเ หมาะสาํ หรับนาํ ไปจายโหลดท่ดี ึงกระแสสูง สวนมากจะนาํ ไปตอ ใชง านเฉพาะวงจร ภาคอินพุต PLC เทาน้ัน แตถาจะนําไปตอสําหรับทดสอบเครื่อง PLC หรือชุดฝกทดลอง ก็ไม จาํ เปนตอ งใชแ หลง จายภายนอกเพิม่ ยกตัวอยางเชน ชดุ ฝก ทดลอง PLC ของออมรอน เปน ตน สาํ หรบั การใชงานจริง แหลง จา ยจะถกู ออกแบบมา 2 ลกั ษณะ ตามโครงสรา งภายนอก PLC คือ แหลงจายชนิดที่รวมอยูในตัว PLC เลย เชน CP1L จะมีชุดจายพลังงานในตัวเพียงแคปอนไฟ ใหกบั CP1L มนั จะจัดสรรพลงั งานใหกับอปุ กรณตางๆ บนตัว PLC อีกชนิดหน่ึงจะแยกออกมาเปน โมดลู (Module) ลักษณะดังรปู ที่ 1.32 รูปท่ี 1.32 แหลง จายไฟชนดิ โมดูล โดยปกตแิ ลวแหลงจา ยพลังงานทผี่ ลติ ออกมาสําหรับขายท่วั โลก จะออกแบบใหใชระบบ ไฟไดห ลายแบบ เพ่อื ท่จี ะทาํ ให PLC ใชค วบคมุ ระบบไฟฟา ไดห ลายแบบนัน่ เอง คุณสมบัติของ แหลง จายไฟของ PLC จะมคี ณุ สมบตั ดิ ังน้ี แหลง จา ยไฟ: 100-240 VAC 50/60 Hz หรือ 24 VDC ชดุ บรกิ าร 24 VDC: 24 V (0.5A) สวนการเลือกขนาดวตั ตจ ะคาํ นวณจากโมดลู ตางๆ ของ PLC ทใ่ี ชง านซง่ึ ผูผลติ ไดออกแบบ เผื่อไวใหเรยี บรอยแลว - 33 -
บทที่ 2 การตดิ ต้ังและออกแบบระบบ กอนท่ีจะเร่ิมตน เขียนโปรแกรมกนั คงหนไี มพ น การตดิ ตงั้ ระบบ PLC ในบทน้ีจะแนะนาํ วธิ กี ารและขอ ควรระวังตางๆ ในการตดิ ตงั้ ระบบ PLC ทถ่ี ูกตองเพือ่ ใหร ะบบมีเสถียรภาพในการ ทํางานและยืดอายุการใชง าน นอกจากน้ันจะกลา วถงึ ขน้ั ตอนการออกแบบระบบควบคมุ อกี ดว ย 2.1 การติดต้ัง PLC ผตู ิดตั้งควรอานคูมือของ PLC แตละรนุ เพอื่ การติดตัง้ ทถี่ กู ตอ ง ในหนังสือเลมนี้จะกลา วถึง หลกั การท่ัวๆ ไปท่คี วรระวัง โดยยกตัวอยาง PLC รุน CP1 เปน อุปกรณอ างองิ 2.1.1 สภาพแวดลอ มในการตดิ ตง้ั ไมค วรตดิ ต้งั PLC ในสภาวะแวดลอมดงั ตอ ไปนี้ ไมควรติดตัง้ PLC ในสถานท่ที ม่ี อี ุณหภูมแิ ละความชน้ื เกนิ กวาคาพกิ ดั ที่ กําหนดไว หลีกเลีย่ งบริเวณทมี่ ฝี ุนมากและมีกรดเกลือ หรอื สารเคมี เชน คอลไลด ไมควรตดิ ตั้งใกลสายสงไฟกาํ ลงั และบริเวณทมี่ สี นามไฟฟา และคลื่นวทิ ยุทม่ี ี กาํ ลังแรง เชน อนิ เวอรเ ตอร เปน ตน ไมควรติดตั้ง PLC ในลักษณะตามรปู ที่ 2.1 -34-
PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ รูปท่ี 2.1 แสดงทศิ ทางในการตดิ ตัง้ ทไี่ มถ กู ตอง 2.1.2 การตดิ ตง้ั ในตคู วบคุม ควรจัดใหม ีการไหลเวยี นของอากาศท่เี พียงพอในการระบายความรอ น และอยา ติดตัง้ อปุ กรณท ก่ี าํ เนดิ ความรอ นใกล PLC (เชน Heater และ Transformer) ถา อุณหภูมิแวดลอมสงู กวา 55oC ควรตดิ ตัง้ พัดลมหรือเคร่อื งปรบั อากาศเพอ่ื ระบายความรอน ดงั แสดงตัวอยา งในรปู ขา งลา งนี้ -35-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ 2.1.3 การลดปญ หาจาก Noise และกระแส Spike 2.1.3.1 Noise จากอุปกรณแ รงดนั สงู ควรหลีกเลยี่ งการติดตงั้ PLC ในตูควบคมุ ท่มี อี ปุ กรณแรงดนั สูงตดิ ตั้งอยู และพยายามรกั ษาระยะหา งของ PLC จากสายสง กําลังอยา งนอ ย 200 มม. 2.1.3.2 กระแสสไปก (Spike) จากเครอ่ื งเชื่อมไฟฟา สไปก (Spike) คือ แรงดันหรอื กระแสไฟฟาที่สงู อยา งมหาศาลและเกดิ ขนึ้ อยางเฉยี บพลนั ซ่ึงอาจเกดิ จากฟา ผา แตมอี ปุ กรณช นดิ หนง่ึ ท่สี ามารถสรา งความเสียหายใหอุปกรณ ควบคุมอเี ล็กทรอนกิ ส เชน พีแอลซีและเซนเซอร อุปกรณน น้ั กค็ ือ เครอื่ งเชื่อมไฟฟา โดยปกติอุปกรณค วบคมุ อเิ ล็กทรอนิกสจะตอ กราวดเขากับโครงของ เครอื่ งจักรหรอื ตคู วบคมุ เมื่อเราใชเ คร่อื งเช่อื มไฟฟา กบั สวนท่ีเปน โลหะซง่ึ เปน ทางเดินของระบบ กราวดน ีอ้ าจทาํ ใหก ระแสสไปก (Spike current) ที่เกดิ จากเคร่ืองเช่ือมไหลผา นโลหะตา งๆ เหลาน้ี เขาสอู ุปกรณควบคมุ อเิ ลก็ ทรอนกิ สซึ่งสงผลใหอปุ กรณด งั กลา วเสยี หายได บอ ยครั้งทเ่ี ราพบวา PLC เกิดความเสยี หายจากกรณดี งั กลาว เพราะมีพนกั งานบางทานใชเ ชอื่ มไฟฟาทห่ี นางาน แตอาจ ไมเ กิดข้นึ ทกุ ครั้งเสมอไป เพราะอาจมีปจ จยั อนื่ มาเกย่ี วของดว ย เชนกระแสสไปกอ าจไหลสูก ราวด กอนมาถึงอุปกรณควบคุมอเี ล็กทรอนกิ ส -36-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ วิธีการลดปญหาดังกลาว อาจทําไดโ ดย - ถอดระบบกราวดข อง PLC หรืออปุ กรณควบคุมเปน การช่วั คราว หรอื ติดตงั้ ตูควบคมุ หลังจากตดิ ตง้ั อุปกรณท างกลและเครอ่ื งจักรแลว - ควรหลกี เลยี่ งการเชื่อมใกลอ ุปกรณควบคุมและพยายามวางสายกราวด ของเคร่อื งเชือ่ มใหใ กลจุดเชอ่ื มใหมากท่ีสดุ และยึดใหแนน เพอ่ื ใหกระแสสไปกก ลบั สกู ราวดไ ด สะดวก 2.1.3.3 Noise จาก AC Drive Noise จาก AC Drive จะกอใหเกดิ สัญญาณรบกวนความถ่วี ทิ ยุ Radio Frequency Interference (RFI) ในชว ง 0.5 MHz ถงึ 1.7 MHz และสราง Electromagnetic Interference Frequencies (EMI) ในชวง 1.7 MHz ถงึ 30 MHz ความถ่ีสงู เหลาน้ีเกดิ จากการทาํ งาน ของชุด PWM ซึง่ เกิดจากการลดั วงจรช่วั ขณะของ IGBT นอกจากนั้น EMI ยงั เกิดไดจาก Harmonics ซ่ึงเกิดข้ึนจาก “Reflected wave” ทมี่ ีเหตุมาจาก Capacitive ของสายมอเตอรท ย่ี าวและมี ผลตออมิ พีแดนซทไี่ มสอดคลองกนั ของสายมอเตอรก ับขดลวดมอเตอร รวมๆ แลว เราเรยี ก EMI/ RFI นวี้ า Electrical Noise Noise ทเี่ กิดขน้ึ อาจยอนกลบั จาก AC Drive สแู หลง จา ยไฟ (Power line) และสงผลกระทบกับอปุ กรณอืน่ ๆ เชน พแี อลซแี ละเซนเซอร เปน ตน EMI/RFI จะแพรกระจายไปตามตวั มอเตอรสสู ายมอเตอรแ ละอาจกระจาย สกู ราวด จากน้ัน EMI/RFI จะพยายามแผก ระจายกลับไปยงั แหลง จายไฟตนกาํ ลงั ทจี่ ายให AC Drive หรอื Inverter ซ่งึ เสน ทางการยอ นกลบั น้อี าจผา นทางระบบกราวดเขา ไปถงึ จดุ ตอ WYE ท่ี ขดลวดทตุ ิยภมู ขิ องหมอแปลง ดังแสดงไดใ นรูป -37-
PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ เสนทางการไหลกลบั เขาสแู หลง จายไฟกาํ ลงั ของ EMI/RFI ตามทอรอยสายและ อปุ กรณตางๆ ของระบบกราวด ทาํ ใหเ กดิ “Voltage Gradient” ซง่ึ สงผลกระทบกบั อปุ กรณควบคมุ ตางๆ โดยเราจะเห็นไดวาการกราวดของระบบอาจประกอบดวยมอเตอร โครงตูตางๆ ทอรอยสาย เหล็กโครงสรา ง เชน I-beam ทอนํ้า ดังน้นั EMI/RFI และ “Voltage Gradient” ทีเ่ กิดขน้ึ จะแพร กระจายไปตามอุปกรณตา งๆ เหลานน้ั ทาํ ใหเกดิ ปญ หากับอปุ กรณค วบคุมตา งๆ ที่อยตู ามเสน ทาง ของมนั การลดผลกระทบของ Noise จากท่ไี ดก ลา วมาขา งตน Noise จะแพรกระจายไปทว่ั กบั อปุ กรณท ี่เปน โลหะของ ระบบกราวด ซง่ึ การแกไขปญ หาทําไดค อ นขางยาก เราขอแนะนาํ วธิ กี ารลดปญหาของ Noise ท่เี กิด จาก Inverter ดังนี้ 1. การใช Noise Filter การใส Noise Filter ทีด่ านอนิ พตุ ของ Inverter จะชว ยลดผลกระทบของ Noise ท่จี ะถกู สง ยอนกลบั ไปทแ่ี หลงจายไฟ แตค วรเลือก Noise Filter ท่อี อกแบบหรือขนาดทเ่ี หมาะสม กบั Inverter นน้ั ๆ ดังแสดงไดใ นรปู นอกจากนัน้ เรายงั สามารถลด Noise ท่ีเกิดข้นึ จาก “Reflecter Waves” จากมอเตอร โดยการใส Noise Filter ท่ีดา นเอาตพตุ ของ Inverter ถา จําเปน ดงั แสดงไดใ นรปู แตใ นกรณีจะใช เม่ือสายมอเตอรม คี วามยาวมาก -38-
PNSPO!! ! บทท่ี 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ 2. การลดความถ่ี Carrier Frequency ใน Inverter จะมชี ุด PWM ทําหนาทคี่ วบคุม IGBT เพ่ือจายไฟใหมอเตอร ซ่งึ เราสามารถปรับเปล่ยี นความถขี่ องชุด PWM ไดแ ละเรยี กความถี่นวี้ า Carrier Frequency การลด ความถนี่ ลี้ งอาจชว ยลด Noise ท่เี กิดขึน้ ได 3. การแกปญหาของสายสัญญาณ การลด Noise ของสายสญั ญาณ (Signal Circuit) อาจทาํ ไดโ ดยใชส าย Shielded และ Ferrite core ท่ีปลายทง้ั สองดา น โดยปกติจะกราวด Shielded เขา กบั แหลง จายไฟ สญั ญาณเพยี งดา นเดยี ว นอกจากนนั้ เราควรแยกสายสญั ญาณออกจากสายสงกําลงั และกราวดที่เปน เสน ทางเดินของ Noise 2.1.4 การเดนิ สายสาํ หรับแหลงจายไฟ - AC Power Supply ในกรณที ่ีระบบ PLC ทใี่ ชงานตอ งการแหลง จา ยไฟ AC ควรตดิ ตง้ั Isolated Transformer หรอื Noise Filter เพมิ่ เตมิ ท่ดี านอินพุตของแหลง จายไฟ ดงั แสดงในรปู ท่ี 2.2 เน่อื งจาก Transformer มีหลกั การทํางานดวยการเหนย่ี วนําสนามแมเ หลก็ ไฟฟา ท่เี กิดจากขดลวด ดา น Primary และสรางใหเกดิ แรงดนั ไฟฟาขนึ้ ทีด่ า น Secondary โดยไมม กี ารตอถงึ กันทางไฟฟา ดวยหลกั การนเ้ี มือ่ เกดิ การกระชากของแรงดันหรือกระแสไฟฟาท่ีดา น Primary จะสง ผลกระทบไป ยังดา น Secondary นอ ยกวา การตอ ถงึ กนั โดยตรง เนอ่ื งจากแกนเหล็กของ Transformer เกิดการ อม่ิ ตัว รปู ท่ี 2.2 แสดงการติดตัง้ แหลง จา ยไฟ AC -39-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ - DC Power Supply ในกรณีทีร่ ะบบ PLC ทีใ่ ชงานตอ งการแหลง จายไฟ DC ซ่ึงสว นใหญแลวจะใช ไฟ 24VDC ดงั นนั้ จึงใช Switching Power Supply เพือ่ จายไฟใหกับ PLC เราไมขอแนะนาํ ใหใช หมอ แปลงแลว ตอกับไดโอดเพื่อทําเปนวงจรจา ยไฟ DC ใหกับ PLC เพราะไฟ DC ท่ไี ดจ ะไมเรยี บ พอ ซึง่ อาจสง ผลตอ การทํางานของ PLC ได แตมผี ใู ชง านบางทา นทใ่ี ชอยูเราขอแนะนําใหเปลยี่ น ดกี วา เพราะ PLC ราคาคอ นขา งแพงจะพังเพราะแหลง จา ยไฟท่ที าํ เองไดนะครบั 2.1.5 การเดินสายอยางปลอดภยั และลดปญ หาสัญญาณรบกวน - การเดินสายสญั ญาณอนิ พตุ /เอาตพุต ควรเดนิ สายสญั ญาณอนิ พุต/เอาตพุตแยกออกจากสายไฟกาํ ลังไมว าจะเปนภายใน หรอื ภายนอกตคู วบคุมโดยการแยกทอ หรอื รางท่ใี ชเ ดินสาย ทั้งนเ้ี พอื่ ปองกัน Noise ทเ่ี กดิ จาก สายไฟกําลงั ซง่ึ อาจจะสง ผลใหอปุ กรณอ นิ พตุ /เอาตพตุ และ PLC เกดิ ความเสียหายได รปู ที่ 2.3 แสดงการสายไฟทแ่ี ยกทอ และราง การเดินสายแบบแบงกลมุ จะเปนอีกวธิ ีหนึง่ ทีช่ วยลดปญ หา Noise ทเ่ี กิดขน้ึ ใน ระบบได ในรปู ขา งลางน้ีแสดงการแบงกลมุ หรือประเภทของสายตัวนํา โดยท่ัวไปสายตัวนาํ กลมุ 1 ไมค วรเดนิ รว มกบั สายตัวนาํ กลุมอืน่ ควรเดนิ สายแยกทอ หรือแยกรางออกจากกนั -40-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดตั้งและออกแบบระบบ - การเดินสายเอาตพ ุต Inductive เอาตพ ตุ Inductive ท่พี บบอ ยคือ Solenoid Valve โดยเฉพาะวาลว ไฮดรอรคิ ทใี่ ช กระแสไฟสงู เมอ่ื เร่ิมทาํ งานเพือ่ สงั่ ใหลิ้นวาลว เคลอ่ื นท่ี ย่ิงใชง านไปนานๆ ลิน้ วาลว จะเริ่มตดิ ขดั ทําใหเคลอื่ นทไี่ มส ะดวกเหมอื นของใหมจ ะยิ่งทาํ ใหเอาตพ ุตตองรับกระแสกระชากทส่ี ูงเปน เวลา นานกวาปกติ เม่อื ใชง านไปนานๆ จะทาํ ใหห นาสมั ผสั ของรีเลยเสยี หายเรว็ กวา ปกติ ควรติดต้ัง วงจร Suppressor หรอื Diode ตอครอ มที่โหลด เพือ่ ชว ยลดกระแสกระชากที่เกดิ ข้ึนจากโหลด Inductive ดังแสดงในรูปขา งลางน้ี รูปที่ 2.4 วงจรลดปญหา Surge คณุ สมบตั ขิ อง Suppressor ท่ใี ช คือ R = 50 Ω และ C = 0.47μF, 200 V คณุ สมบตั ิของ Diode ที่ใช คือ Breakdown voltage: 3 เทาของแรงดันโหลดตาํ่ สดุ Mean rectification current: 1 A -41-
PNSPO!! ! บทที่ 2 การติดต้ังและออกแบบระบบ 2.1.6 การติดตง้ั แบตเตอรร ี่ สวนใหญแ ลว PLC จะมแี บตเตอรรที่ ําหนา ที่สาํ รองขอมูล เชน DM, Timer และ HR เปนตน แตไมไดท ําหนาท่ีสํารองโปรแกรมแลดเดอร ดงั นน้ั เมือ่ ไฟดับ PLC จะเกบ็ คา ขอมลู ลาสดุ ของ DM ไว ทาํ นองเดียวกนั ถา แบตเตอรร ่หี มดโปรแกรมจะไมหายเพราะเกบ็ อยใู น Flash memory แตขอมลู ใน DM จะหาย 2.1.7 อายุการใชง านของแบตเตอรร ี่ แบตเตอรร่จี ะมอี ายุการใชงานประมาณ 5 ปเ ม่ือใชงานทอ่ี ุณหภูมิ 25oC แตถาใชใน สภาวะทม่ี อี ณุ หภูมสิ งู กวา ปกติคา อายุการใชงานจะอางองิ ตามกราฟขา งลา งนี้ ดังนน้ั ควรเปลีย่ น แบตเตอรร ท่ี กุ ๆ 5 ป เพ่ือปองกนั การเสอื่ มคณุ ภาพของแบตเตอรรี่ ซง่ึ อาจทําใหเกดิ กรดขน้ึ และ ทําลายแผนวงจรอเี ล็กทรอนิกสข อง PLC ได ถา ถงึ ขน้ั นีค้ งซอ มไมไวแนๆ ครบั ขน้ั ตอนการเปล่ยี นแบตเตอรร ี่ 1. ปดแหลง จายไฟของ PLC แตถ า PLC ไมม ไี ฟจา ยให เปด ไฟจายให PLC อยา งนอย 5 นาทีหลังจากนน้ั ให ปด ไฟ 2. เปดสวนท่เี ก็บแบตเตอรร ่ี (ดไู ดจ ากคมู อื ) จากน้นั ใหดงึ กอ นแบตเตอรร่อี อกดว ยความระมดั ระวัง 3. ถอดคอนเนก็ เตอรของแบตเตอรรอี่ อก 4. ตอแบตเตอรรี่ใหมเขาไปแลวดนั กอนแบตเตอรร่ีเขา ที่ แลว ปดฝาครอบ -42-
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265