Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เต็มรูปแบบ สังคม ม. ครูศรีมูล

แผนการจัดการเรียนรู้เต็มรูปแบบ สังคม ม. ครูศรีมูล

Published by srimoun0871859891, 2019-09-01 05:52:09

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เต็มรูปแบบ สังคม ม. ครูศรีมูล

Search

Read the Text Version

แผนการเรียนรู้เต็มรูปแบบ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวชิ า สงั คมพืน้ ฐาน รหัสวิชา ส 21101 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 จัดทาโดย นายศรีมลู สมบตุ ร ตาแหนง่ ครชู านาญการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเค่งิ อาเภอแมแ่ จม่ จังหวัดเชยี งใหม่ สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คาอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียน รสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวิชา ส 21101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น จานวน 1.0 หนว่ ยกติ ปีการศกึ ษา 2562 ศกึ ษา วเิ คราะห์ การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาสู่ประเทศเพอื่ นบา้ น ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาทีช่ ว่ ยเสริมสร้างความเขา้ ใจอันดี กบั ประเทศเพื่อนบ้านเปน็ รากฐานของวฒั นธรรมเอกลกั ษณข์ องชาติและมรดกของชาติ การพัฒนาชุมชนและการจดั ระเบียบสงั คม พุทธ ประวตั ิตอนผจญมารการตรสั รูก้ ารสงั่ สอนประวัติพระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลานะ นางขชุ ชตุ ตรา พระเจ้าพิมพสิ าร มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก พระมหาธรรม-ราชาลิไทย สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสโครงสร้างและสาระสงั เขปของพระวินัยปฎิ ก พระสตุ ตนั ตปิฎก และพระอภิธรรมปฎิ ก อธิบายและปฏบิ ตั ิตนตามธรรมคณุ และปฏิบัตติ นตามข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ 4 ในเร่ือง ธรรมคณุ 6 อรยิ สจั 4 ทกุ ข์ (ธรรมที่ควรรู้) ในเร่อื ง ขันธ์ 5 (อายตนะ) สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) ในเรือ่ งหลกั กรรม (สมบตั ิ 4 วบิ ตั ิ 4) อกศุ ลกรรมบถ 10 อบายมุข 6 นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ ในเรอื่ ง สุข 2 (สามิส นริ ามสิ ) มรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) ในเรื่อง บุพพนมิ ิตของ มชั ฌมิ าปฏิปทา ดรุณธรรรม 6 กุลจิรัฏฐิตธิ รรม 4 กุศลกรรมบถ 10 สติปฏั ฐาน 4 มงคล 38 ในเรอื่ ง ประพฤติธรรม เวน้ จากความชว่ั เวน้ จากการด่มื นาเมา พุทธศาสนสุภาษิต กมฺมนุ า วตฺตติ โลโก กลยฺ าณการี กลยฺ าณ ปาปการี จ ปาปก สุโข ปุญฺญสฺส อุจจฺ โย ปชู โก ลภเต ปชู วนทฺ โก ปฏิวนฺทน การพฒั นาจติ เพื่อการเรียนร้แู ละดาเนนิ ชวี ิตด้วยวิธคี ดิ แบบอบุ ายปลกุ เร้าคุณธรรม และวธิ คี ดิ แบบอรรถธรรมสัมพันธ์ สวดมนต์แปล แผ่เมตตา บริหารจติ และเจรญิ ปัญญาดว้ ยอานาปานสติ มมี รรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนที่ดี ปฏิบตั ิตนในศาสนพิธี พิธกี รรม และหลักคาสอนทเี่ ก่ยี วเนือ่ งกับวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา โดยใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มลู กระบวนการทาง สงั คม กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปัญหา เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนาไปปฏิบตั ใิ นการดาเนิน ชวี ติ นาไปพฒั นาและแก้ปัญหาของชมุ ชนและสงั คม มีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สุจรติ มวี นิ ัย ใฝ่ เรียนรู้อยอู่ ย่างพอเพียง มุง่ มนั่ ในการทางาน รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดาเนินชีวติ อยู่รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ติสุข ศกึ ษาวิเคราะห์บทบาท ความสาคัญและความสัมพันธข์ องสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลงึ และความแตกตา่ งของวัฒนธรรม ไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย เพ่ือนาไปส่คู วามเขา้ ใจอันดรี ะหว่างกนั ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองท่ีมี ผลกระทบตอ่ สังคมไทยสมยั ปจั จบุ ัน กระบวนการในการตรากฎหมาย การปกปอ้ งคุม้ ครองผู้อื่นตามหลักสทิ ธิมนุษยชน การปฏิบตั ติ นตาม สถานภาพ บทบาท สิทธเิ สรภี าพ และหนา้ ที่ในฐานะพลเมืองดีโดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปญั หา กระบวนการปฏิบตั ิ และกระบวนการกลมุ่ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจ และปฏิบตั ิตนตาม หนา้ ทขี่ องการเปน็ พลเมืองดี ดารงชวี ิตรว่ มกันในสังคมไทย และสังคมโลกอยา่ งสนั ตสิ ขุ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สัตย์สุจริต มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน มีจติ สาธารณะ รกั ความเป็นไทย ศกึ ษา วิเคราะห์ ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ การพง่ึ พาอาศัยกนั และการแขง่ ขันกันทางเศรษฐกจิ ในภูมิภาคเอเชยี การกระจาย ของทรัพยากรในโลกท่สี ่งผลตอ่ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพสนิ ค้าปรมิ าณการผลิตและราคาสินค้าปจั จัยที่มผี ลต่อ การลงทนุ และการออม ปจั จยั การผลิตสินคา้ และบรกิ ารและปัจจัยทม่ี ี อิทธิพลตอ่ การผลติ สินคา้ และบริการเสนอแนวทางการพัฒนาการผลติ ในท้องถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงการคุ้มครองสทิ ธิของ ตนเอง ในฐานะผบู้ ริโภค โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้นข้อมลู กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละ แก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกล่มุ เพอ่ื ให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ สามารถใช้ทรัพยากรที่มอี ยจู่ ากัดได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและคมุ้ ค่า เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การดารงชีวติ สามารถสอื่ สารสง่ิ ทีเ่ รียนรู้ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และ มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นด้านมีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มน่ั ในการทางาน มจี ติ สาธารณะ อยอู่ ย่างพอเพียง

ศกึ ษาการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอขอ้ มลู เกย่ี วกับลกั ษณ ทางกายภาพ และสังคมของ ทวีปยโุ รปและแอฟริกา วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพ และสังคมของทวปี ยโุ รปและแอฟริกา การก่อเกิด ส่ิงแวดล้อมใหมท่ างสงั คมอนั เปน็ ผลจากการเปลย่ี นแปลงทางธรรมชาติ และทางสังคมของทวีปแอฟริกา แนวทางการอนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ในทวีปยุโรปและแอฟริกา ปญั หาเก่ยี วกับส่ิงแวดลอ้ มท่เี กิดขึนในทวปี ยโุ รปและแอฟรกิ า สาเหตุและ ผลกระทบทปี่ ระเทศไทยได้รบั จากการเปลยี่ นแปลงของสงิ่ แวดลอ้ มในทวีปยุโรปและแอฟริกา โดยใชก้ ระบวนการคดิ กระบวนการสบื ค้น ขอ้ มูล กระบวนการทางสงั คม กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพ่อื ให้เกิดความรคู้ วาม เขา้ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงทเ่ี รยี นรู้ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นขอ้ มูล มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ในดา้ นใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน มวี นิ ัย มจี ติ สาธารณะ เหน็ คณุ ค่าและมจี ติ สานึกในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม รหัสตัวชี้วดั สังคมศึกษา ม.1 ส 1.1 ม.1/1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ส 1.1 ม.1/2วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ส 1.1 ม.1/3วเิ คราะหค์ วามสาคัญของพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือในฐานะทเ่ี ป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติและมรดกของชาติ ส 1.1 ม.1/4 อภปิ รายความสาคญั ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนบั ถือกับการพัฒนาชมุ ชนและการจดั ระเบียบ สังคม ส 1.1 ม.1/5 วิเคราะหพ์ ุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาท่ตี นนบั ถือตามที่กาหนด ส 1.1 ม.1/6 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิตและขอ้ คดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามที่กาหนด ส 1.1 ม.1/7 อธิบายโครงสร้างและสาระโดยสงั เขปของพระไตรปิฎก หรอื คมั ภรี ข์ องศาสนาทตี่ นนับถอื ส 1.1 ม.1/8 อธิบายธรรมคุณและขอ้ ธรรมสาคญั ในกรอบอริยสจั 4หรอื หลักธรรมของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามท่กี าหนด เห็นคุณค่าและนาไปพฒั นาแกป้ ัญหาของชมุ ชนและสงั คม ส 1.1 ม.1/9 เห็นคุณค่าของการพฒั นาจิตเพ่อื การเรยี นรู้และดาเนินชวี ติ ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสกิ ารคือ วธิ ีคิดแบบ อบุ ายปลุกเรา้ คุณธรรม และวิธคี ิดแบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ หรอื การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ี ตนนบั ถือ ส 1.1 ม./10 สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนับถอื ส 1.1 ม.1/11 วเิ คราะหก์ ารปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื เพอื่ การดารงตนอย่างเหมาะสมในกระแส

ความเปลีย่ นแปลงของโลก และการอย่รู ่วมกันอย่างสันตสิ ุข ส 1.2 ม.1/1 ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคลตา่ งๆตามหลักศาสนาทีต่ นนับถอื ตามท่กี าหนด ส 1.2 ม.1/2 มมี ารยาทของความเปน็ ศาสนิกชนที่ดีตามที่กาหนด ส 1.2 ม.1/3 วิเคราะหค์ ุณคา่ ของศาสนพธิ แี ละปฏบิ ตั ิตนไดถ้ ูกตอ้ ง ส 1.2 ม.1/4 อธิบายคาสอนที่เกีย่ วเนื่องกันวันสาคญั ทางศาสนาและปฏิบัตติ นได้ถูกตอ้ ง ส 1.2 ม.1/5 อธิบายความแตกตา่ งของศาสนพธิ ี พิธีกรรมตามแนวปฏบิ ัตขิ องศาสนาอนื่ ๆ เพอ่ื นาไปสกู่ ารยอมรบั และ ความเข้าใจซึ่งกนั และกัน ส 2.1 ม.1/1 อธิบายและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกบั ตนเอง ครอบครวั ชุมชน และประเทศ ส 2.1 ม.1/2 เหน็ คุณคา่ ในการปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หน้าท่ีในฐานะพลเมอื งดี ตามวิถปี ระชาธิปไตย ส 2.1 ม.1/3 วเิ คราะหบ์ ทบาท ความสาคญั และความสัมพนั ธ์ของสถานบนั ทางสงั คม ส 2.1 ม.1/4 อธบิ ายความคล้ายคลึงและความแตกตา่ งของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศไทย ภมู ิภาคเอเชยี เพ่อื นาไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดีระหว่างกัน ส 2.2 ม.1/1 อธบิ ายกระบวนการในการตรากฎหมาย ส 2.2 ม.1/2 วิเคราะห์ข้อมลู ข่าวสาร ทางการเมืองการปกครองทมี่ ผี ลกระทบต่อสงั คมไทยสมยั ปัจจบุ นั ส 3.1 ม.1/1 วเิ คราะหป์ จั จยั ทีม่ ผี ลต่อการลงทนุ และการออม ส3.1ม.1/2 อธิบายปัจจยั และการผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารและปัจจัยที่มอี ิทธพิ ลต่อการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ส 3.1 ม.1/3 เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ส 3.1 ม.1/4 อภิปรายแนวทางการค้มุ ครองสทิ ธิของตนเองในฐานะผบู้ รโิ ภค ส 3.2 ม.1/1 อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ ส 3.2 ม.1/2 ยกตวั อย่างท่สี ะทอ้ นใหเ้ ห็นการพ่งึ พาอาศัยกันและการแขง่ ขันทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชีย ส 3.2 ม.1/3 วเิ คราะห์การกระจายของทรัพยากรในโลกท่ีส่งผลต่อความสมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส 3.2 ม.1/4 วเิ คราะห์การแขง่ ขนั ทางการค้าในประเทศและต่างประเทศที่สง่ ผลต่อคุณภาพสินค้า ปรมิ าณการผลิตและราคาสนิ คา้

ส 5.1 ม.1/1 ใช้เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะทางกายภาพ และสังคมของทวปี ยุโรปและแอฟรกิ า ส 5.1 ม.1/2 วิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยโุ รปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/1 วิเคราะหก์ ารกอ่ เกิดส่งิ แวดล้อมใหม่ทางสงั คม อันเป็นผลจากการเปล่ียนแปลงทางธรรมชาตแิ ละทาง สงั คมของทวีปยโุ รป และแอฟริกา ส 5.2 ม.1/2 ระบุแนวทางการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในทวปี ยโุ ปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/3 สารวจ อภิปรายประเดน็ ปญั หาเกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอ้ มที่เกดิ ขนึ ในทวปี ยโุ ปและแอฟรกิ า ส 5.2 ม.1/4 วเิ คราะห์เหตเุ หตุและผลกระทบท่ีประเทศไทยได้รับจากการเปลีย่ นแปลงของสง่ิ แวดส้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา รวมท้งั หมด 36 ตวั ชี้วดั

รายวิชา สงั คมพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ส 21101 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ชอ่ื หนว่ ย ประวตั ิความสาคญั ของ ช่ือหนว่ ย พลเมือง วฒั นธรรม และ ศาสนา การดาเนนิ ชีวิตในสงั คม จานวน 10 ช่วั โมง : 25 คะแนน จานวน 10 ชวั่ โมง : 25 คะแนน รายวชิ า สงั คมพนื้ ฐาน ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 40 ชวั่ โมง ชอ่ื หนว่ ย ภูมศิ าสตร์ ช่อื หน่วย ระบบเศรษฐศาสตร์ จานวน 10 ชวั่ โมง : 25 คะแนน จานวน 10 ช่ัวโมง : 25 คะแนน

ผงั มโนทศั น์ รายวิชา สังคมพ้นื ฐาน รหัสวชิ า ส 21101 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ประวตั ิความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนา จานวน 10 ชัว่ โมง : 25 คะแนน ผังมโนทัศน์ รายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส 21101 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 สาระท่ี 1 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม จานวน 40 ช่ัวโมง 40 คะแนน ช่อื หนว่ ยที่ 1 ประวตั ิและความสาคัญ ชอ่ื หน่วยที่ 5 หนา้ ท่ีชาวพุทธและ ของพระพุทธศาสนา มารยาทชาวพุทธ จานวน 5 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ชอ่ื หน่วยท่ี 2 พุทธประวัติ พระสาวก ชื่อหน่วยท่ี 6 วันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา ศาสนิกชนตัวอย่างและชาดก และศาสนพิธี จานวน 5 ชว่ั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน ช่ือหนว่ ยท่ี 3 หลกั ธรรมทาง พระพทุ ธศาสนา ชอ่ื หนว่ ยที่ 7 การบริหารจิตและ การเจรญิ ปัญญา จานวน 10 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน ชอ่ื หนว่ ยท่ี 4 พระไตรปฎิ กและ พุทธศาสนสุภาษิต ช่ือหน่วยที่ 8 การปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรม ทางพระพทุ ธศาสนา จานวน 4 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 4 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

ผังมโนทศั น์ รายวิชา สงั คมพน้ื ฐาน รหสั วชิ า ส 21101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรื่อง ประวตั ิและความสาคญั ของพระพุทธศาสนา จานวน 5 ชัว่ โมง : 5 คะแนน ช่ือเรือ่ ง ประวัตคิ วามสาคญั ของศาสนา ตอ่ สงั คมไทย จานวน 3 ช่ัวโมง : 8 คะแนน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่ือง ประวัตคิ วามสาคัญของ พระพทุ ธศาสนา จานวน……………ชัว่ โมง 3 จานวน 5 ชั่วโมง : 5 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง ประวตั ิความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสงั คมไทย รายวชิ า สงั คมพน้ื ฐาน รหสั วิชา ส 21101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 5 ช่ัวโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทค่ี งทน) พระพุทธศาสนามีความสาคัญตอ่ สังคมไทย ในฐานะเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย เปน็ สถาบนั หลกั ของสงั คมไทย มี ผลต่อสภาพแวดลอ้ มท่กี ว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้วี ัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 1.1 ม.1/2 ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ วิเคราะห์ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ทม่ี ีตอ่ สภาพแวดล้อมในสงั คมไทย รวมทงั การพฒั นาตนและครอบครัว 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทยในฐานะเป็น - ศาสนาประจาชาติ - สถาบันหลกั ของสงั คมไทย - สภาพแวดล้อมทก่ี วา้ งขวางและครอบคลมุ สงั คมไทย 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ทากิจกรรมรายบคุ คล รายกลุ่ม ในการศกึ ษาเรียนรู้ตามเนอ้ื หา 3.3 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ : Attitude ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชวี ิตท่ดี ีในสังคมอยา่ งมี ความสุข 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม่ 6. คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน

7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : 7.1 เรอ่ื ง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทยในฐานะเป็น - ศาสนาประจาชาติ - สถาบนั หลกั ของสงั คมไทย - สภาพแวดล้อมทกี่ ว้างขวางและครอบคลมุ สงั คมไทย - ใบงานที่ 1.1 ให้ศึกษาเรอ่ื ง วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทย (ทาหนังสอื เล่มเล็ก) - แบบฝึกทักษะท่ี 1 นาเสนอ เรื่อง เรื่อง ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทยในฐานะเปน็ - ศาสนาประจาชาติ - สถาบนั หลกั ของสงั คมไทย - สภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสงั คมไทย 8. กิจกรรมการเรียนรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. วิเคราะหพ์ ระพทุ ธศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทยได้ 2. วิเคราะห์พระพทุ ธศาสนาว่าเปน็ สถาบนั หลักของสังคมไทยได 3. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาว่าเปน็ สภาพแวดลอ้ มทก่ี ว้างขวาง และครอบคลุมสงั คมไทยได้ ขนั นาเข้าสู่บทเรยี น/ขันตงั คาถาม ชว่ั โมงท่ี 1 - 5 1.ให้นงั่ สมาธิ 3 นาที ครใู หน้ กั เรยี นดูภาพพุทธศาสนิกชนทากิจกรรมตา่ งๆ ทางพระพุทธศาสนารว่ มกัน แล้วให้นกั เรียนตอบ คาถามต่อไปนี - ภาพดังกลา่ ว มคี วามสาคัญอยา่ งไร - ภาพดงั กล่าว เกีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนาอยา่ งไร 2. ครูอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจวา่ พระพุทธศาสนามคี วามสาคัญตอ่ สังคมไทย 3. นักเรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคิด 4.นกั เรยี นแตก่ ลมุ่ รว่ มกันศึกษาความรใู้ นศูนยก์ ารเรียน เรอ่ื ง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย โดยหมุนเวียนเขา้ ศึกษาตาม ศนู ยก์ ารเรียน 3 ศูนย์ ดงั นี - ศูนย์ฯ ที่ 1 : พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย - ศนู ยฯ์ ที่ 2 : พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย - ศนู ยฯ์ ท่ี 3 : พระพุทธศาสนาเปน็ สภาพแวดลอ้ มท่ีกว้างขวาง และครอบคลุมสงั คมไทย 5.สมาชกิ แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั สรุปประเด็นสาคญั ทีไ่ ด้จากการ ศกึ ษาความรู้เร่ือง ความสาคัญของพระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย 6.ครูสุ่มตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอประเด็นสาคญั จากการศกึ ษาความรูจ้ ากกลุ่มการเรยี นหน้าชนั เรยี น กลุม่ ละ 1 หัวข้อ โดยให้เพอ่ื นกลุ่มอ่นื รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เพิ่มเตมิ ในสว่ นท่แี ตกตา่ งกนั ออกไป 7.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความสาคญั ของพระพุทธศาสนา ที่มผี ลต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทย 8.ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 10 ขอ้

ขนั สารวจและคน้ พบ/ขนั เตรยี มการค้นหาคาตอบ 1. แบ่งกลุ่มใหศ้ ึกษาใบความรู้ รายบุคคล และ รายกลมุ่ 2. ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอเนอื หาหน้าชันเรียน โดยสลบั กนั จนครบทกุ กลุ่ม 3. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปบทเรยี นในหนว่ ยการเรยี น 4. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วยการเรียน และทาแบบทดสอบหลังเรียน 10 ข้อ นาผลการเรยี นมา เปรียบเทยี บกับแบบทดสอบกอ่ นเรียน 9. ส่ือการเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1 ชุด ขันตรวจสอบความรเู้ ดมิ รายการส่อื 1 ชุด ขนั สารวจและค้นพบ 1 ชุด ขันขยายความรู้ 1.คลิบวีดีโอ เร่อื งความสาคญั ของพระพุทธศาสนาตอ่ สงั คมไทย 2.ใบงาน 1.1 เร่ืองความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อ สงั คมไทย (ทาหนังสอื เล่มเล็ก) 3. แบบฝึกทกั ษะ 1 เร่ือง ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาต่อสงั คมไทย (บัตรคาสงั่ ) 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วธิ ีวดั เคร่ืองมอื วดั ฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน การตรวจผลงาน เกณฑก์ ารให้ เกณฑ์การประเมินผลงาน 1.สามารถอธบิ าย ใบงาน นกั เรียน คะแนน ความสาคัญของ ผา่ นระดับดีขนึ ไป พระพุทธศาสนาต่อ สงั คมไทย ใบงาน การตรวจผลงาน เกณฑ์การประเมินผลงาน ผา่ นระดบั ดขี นึ ไป นกั เรียน 2.สามารถนาเสนอ ความสาคญั ของ

พระพุทธศาสนาต่อ แบบบนั ทึก การสังเกต แบบบันทึกการสังเกต ผ่านระดับดขี นึ ไป สังคมไทย พฤติกรรม รายบุคคล และรายกลมุ่ 3.มคี วามสนใจ ใฝร่ ู้ อยากเรียน อยาก เหน็ ภาพของ ความสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาตอ่ สังคมไทย 11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น (ตัวอย่าง) หลักปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรียน พอเพียง พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ 1. ความพอประมาณ รู้จกั ใช้เทคโนโลยีมาผลติ ส่อื ท่เี หมาะสม มจี ิตสานึกท่ีดี เอืออาทร ประนีประนอม 2. ความมเี หตผุ ล และสอดคลอ้ งเนอื หาเปน็ ประโยชน์ต่อ นึกถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กล่มุ 3. มภี มู คิ มุ กันในตวั ทีด่ ี ผู้เรียนและพัฒนาจากภมู ิปัญญาของผูเ้ รยี น 4. เงอื่ นไขความรู้ - ยดึ ถอื การประกอบอาชีพด้วยความถกู ต้อง ไมห่ ยดุ น่งิ ทีห่ าหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม สจุ ริต แมจ้ ะตกอยใู่ นภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การคน้ หาคาตอบเพ่ือให้ การดารงชีวติ หลดุ พ้นจากความไม่ร)ู้ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เรอื่ ง งานและกาลัง ท่ี ความรอบรู้ เรื่อง งานและกาลัง กรณที ่ี เก่ยี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบทจี่ ะนา เกดิ งาน ปริมาณทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง การคานวณสูตร ความรเู้ หล่านันมาพจิ ารณาให้เชอื่ มโยงกัน ทต่ี อ้ งใช้ สามารถนาความรู้เหลา่ นันมา เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนินการจดั พจิ ารณาให้เชื่อมโยงกนั สามารถประยุกต์ กิจกรรมการเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรียน ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ซอื่ สัตยส์ จุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ซือ่ สัตย์สุจรติ และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ติ ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผูเ้ รียน

งานและกาลัง งานและกาลัง งานและกาลงั - การเกดิ งานแต่ละกรณี - ปัจจัยท่มี ผี ลตอ่ การเกิดงาน - ระบปุ จั จัยท่ีมีผลต่อการเกดิ งาน - การเกิดกาลงั การไดเ้ ปรยี บ - ปริมาณทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการเกดิ งานและ - ทดลองเปรยี บเทียบการเกดิ งานและ เชงิ กล กาลัง กาลงั พรอ้ มคานวณปรมิ าณทีเ่ กีย่ วข้อง สิ่งแวดลอ้ ม ครู ผู้เรยี น งานและพลงั งาน - การเลอื กใชอ้ ย่างถูกวธิ ี งานและพลังงาน งานและพลงั งาน - การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม - การเลือกใช้อย่างถกู วธิ ี/ เทคนิควธิ ีการ - ยกตวั อยา่ งการใชอ้ ุปกรณ/์ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ - กระบวนการการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งถูกวิธี - แสนอแนะแนวทางอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ลงช่อื ..................................................ผ้สู อน (นายศรีมูล สมบุตร)

แบบทดสอบก่อนเรยี น คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ุด เพียงคาตอบเดียว 1. คารณ เปน็ ตัวแทนเพ่ือน ๆ ในหอ้ งเรยี น กลา่ วขอบคณุ ครทู ่ีชว่ ยสอนพเิ ศษใหแ้ ก่นักเรยี น การกระทาดงั กลา่ ว สอดคลอ้ งกบั เรอื่ งใด ก. การคบบัณฑติ ข. การบูชา ผคู้ วรบชู า ค. การให้แก่ผูส้ มควรให้ ง. การสานกึ ในความดี ความชว่ั (วเิ คราะห)์ 2. เพราะเหตุใดจึงกลา่ วว่า พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันคู่พระมหากษตั ริย์ไทย ก. คนไทยส่วนใหญน่ ับถอื พระพทุ ธศาสนา ข. รฐั บาลไทยสนบั สนุนส่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนา ค. พระมหากษัตริยไ์ ทย ทรงอปุ ถมั ภ์การศกึ ษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษตั ริย์ไทยทุกพระองคท์ รงเป็นพทุ ธมาม กะ (ความเข้าใจ) 3. ขอ้ ใดแสดงถงึ ประเพณที ่มี าจากพระพุทธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณแี ตง่ งาน ข. ประเพณที อดกฐนิ ค. ประเพณงี านศพ ง. ประเพณสี ืบชะตาต่ออายุ (ความจา) 4. อะไรคอื เหตุผลที่แสดงวา่ พระพุทธศาสนาคือ สภาพแวดลอ้ มท่ีดีของสงั คมไทย ก. ประเทศเพือ่ นบา้ นไทยกน็ บั ถอื พระพุทธศาสนา ข. เพอ่ื ความมั่นคงและแพร่หลายของพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้ามาเผยแผใ่ นประเทศไทยเป็นเวลานาน ง. พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกดิ วฒั นธรรม และประเพณที ี่ดีงามของไทย (การนาไปใช)้ 5. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ ง ก. พระพุทธศาสนาใหค้ นไทยไมเ่ ปลีย่ นแปลงศาสนา ข. วถิ ีชีวิตของคนไทยสว่ นใหญ่มพี ืนฐานมาจากพทุ ธศาสนา ค.พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักของสังคมไทย มาตังแตส่ มัยทวารวดี ง. ไทยไม่เคยรูจ้ กั ศาสนาอ่ืนมากอ่ นจึงต้องนับถอื พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ (การสงั เคราะห)์ 6. ข้อใดแสดงถงึ อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาที่มตี อ่ ภาษาไทย ก. ชื่อและนามสกุลของบุคคล ข. ช่ือถนนและชือ่ สะพาน ค. ชื่อห้างร้านและสถานทที่ างราชการ ง. ภาษไทยส่วนใหญม่ ีพนื ฐานมาจากภาษาบาลีสันสกฤต(วเิ คราะห์)

7. ขอ้ ใดแสดงให้เห็นว่าพระพทุ ธศาสนาสอดคล้องกบั ลักษณะนสิ ัยของคนไทย ก. ประเทศเพ่อื นบ้าน นับถอื ศาสนาอื่น ๆ ข. แนวคดิ เรอื่ งนรกสวรรค์ในพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เปน็ ศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ ง. พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนากลมุ่ แรกท่ีคนไทยร้จู กั (การ นาไปใช้) 8. “ขาวคือบรสิ ทุ ธิ์ ศรสี วัสดิ์ หมายถงึ พระรตั นตรยั และ ธรรมะค้มุ ครองจิตใจไทย” ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ตัวหนา้ หมายถึงขอ้ ใด ก. ธงชาติไทย ข. พระพุทธศาสนา ค. วรรณคดี ง. ชือ่ พระสงฆใ์ นพระพุทธศาสนา (การประเมนิ คา่ ) 9. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกับคุณของอริยสจั ก. การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ข. การแก้ปญั หาด้วยปญั ญาและเหตุผล ค. การแกป้ ัญหารว่ มกนั เป็นหมู่คณะ ง. การแกป้ ัญหาเพ่ือเอาหน้ารอด 10. ตะวนั ชอบชวนเดือนฉายไปอ่านหนงั สือทีห่ อ้ งสมุดทกุ เช้ากอ่ นเข้าเรยี นทาให้เดอื นฉายมคี วามรอบรู้หลายอย่าง เหตกุ ารณน์ สี อดคลอ้ งกบั ขอ้ ใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบณั ฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสรา้ งสรรค์)

กจิ กรรมการเรียน เร่อื ง ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อสังคมไทย บตั รคาสง่ั คาช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมในศูนย์การเรียน ดงั นี 1. ครูแบง่ นักเรยี นเปน็ กลมุ่ ให้แต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรู้จากศนู ย์การเรยี น เรื่อง ความสาคญั ของ พระพทุ ธศาสนาตอ่ สงั คมไทย 3 ศูนย์ ดงั นี - ศนู ย์ฯ ที่ 1 : พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติ - ศูนย์ฯ ท่ี 2 : พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั หลักของสังคมไทย - ศูนยฯ์ ท่ี 3 : พระพุทธศาสนาเปน็ สภาพแวดลอ้ มทกี่ ว้างขวางและครอบคลุมสงั คมไทย 2. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มปฏิบัติตนตามขนั ตอนต่อไปนี 1) ศึกษาบัตรเนอื หา 2) ทาบตั รคาถาม 3) ตรวจคาตอบจากบัตรเฉลย ถา้ ไม่ถกู ต้องให้กลบั ไปศึกษาหาความร้ใู นบตั รเนอื หาใหม่ แล้วแกไ้ ขให้ถกู ต้อง 4) ประชมุ สรุปความรู้

ใบความรู้การเรียนรู้ที่ 1 พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติไทย บัตรเน้ือหา พระพทุ ธศาสนาอยเู่ คยี งคู่กบั สัมคมไทยมาหลายศตวรรษ ประวตั ศิ าสตร์ไทยจงึ มเี รอ่ื งราวเก่ียวพันกับ พระพุทธศาสนาอย่เู สมอ นบั ตังแตค่ นไทยสามารถรวมตวั กันกอ่ ตังอาณาจกั รของตนเองขึนมา พระพุทธศาสนาไดเ้ ขา้ มามี บทบาทตังแตน่ ันจนถงึ ปจั จบุ นั คนไทยสว่ นใหญย่ อมรับนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติโดยไม่เปลี่ยนแปลงไป ยดึ ถอื ศาสนาอืน่ ใดเปน็ ศาสนาประจาชาติ ทังนเี หตุผลของการนบั ถอื ยอมรบั พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติไทย มี ดังนี 1. คนไทยส่วนใหญย่ อมรบั นับถอื การยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาของคนไทยมีมาแต่อดีต สืบเนอ่ื งจนถึงปจั จบุ นั ทังนพี ระพทุ ธศาสนาเป็น ศาสนาอันดบั แรกๆ ท่ีสังคมร้จู กั และคุน้ เคย แมภ้ ายหลังจะมศี าสนาอ่นื เผยแผเ่ ขา้ มาบ้าง หรือแมส้ งั คมไทยจะเปิดกวา้ งใหม้ ี การเผยแผ่ศาสนาตา่ งๆ ไดต้ ามใจชอบ แตผ่ คู้ นสว่ นใหญ่ในสงั คมไทยประมาณรอ้ ยละ 95 ก็เลือกนับถือพระพทุ ธศาสนา 2. มสี ัญลักษณ์แทนพระพุทธศาสนาในสถานทร่ี าชการ นอกเหนือจากพระบรมฉายาลักษณ์ และธงชาติไทยแล้ว สถานทรี่ าชการซ่งึ เปน็ ของรฐั ส่วนใหญ่มักจะมี พระพุทธรูปอันเป็นสัญลักษณอ์ ย่างหนงึ่ ของพระพทุ ธศาสนาประดิษฐานไว้ 3. พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นพุทธมามกะและอคั รศาสนูปถมั ภก พระมหากษัตรยิ ์ไทยในอดตี จนถงึ ปจั จุบันทุกพระองค์ทรงเป็นพทุ ธมามกะตามขัตติยราชประเพณี แม้มกี าร เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยม์ าเปน็ ระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบบั ปจั จุบัน พทุ ธศักราช 2550 ไดบ้ ญั ญัติไวใ้ นหมวด 2 มาตรา 9 วา่ พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะและทรงเป็น อัคร ศาสนูปถมั ภกเท่ากบั เปน็ การกาหนดให้สถาบันพระมหากษตั ริยม์ ีพระพทุ ธศาสนาอยู่เคียงคู่รวมทังเป็นหลักประกันว่า พระ ประมุขของชาติเป็นชาวพทุ ธ นบั ถือศาสนาร่วมกับประชาชนสว่ นใหญ่ในประเทศ 4. กาหนดให้วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาเป็นวนั หยดุ ราชการ วันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนาต่างๆ นัน ทางราชการได้กาหนดให้เป็นวนั หยุดท่วั ประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ พทุ ธศาสนิกชนไดม้ เี วลาไปปฏบิ ตั ิศาสนกจิ อนั ยาให้เห็นความสาคญั ของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย แมน้ านาชาติ ทวั่ โลกกร็ ับทราบวา่ วนั ดงั กลา่ วนี ทางราชการและรฐั วิสาหกจิ ตลอดจนบรษิ ทั เอกชนสว่ นใหญ่จะหยดุ ทาการ ทงั นีวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนาทร่ี าชการกาหนดใหเ้ ป็นวนั หยุด ได้แก่ วันมาฆบชู า วันวสิ าขบชู า วันอาสาฬหบชู า วนั เข้าพรรษา โดยในวันดังกลา่ ว นอกจากทางราชการจะเป็นแกนนาในการจัดศาสนพธิ ีในสถานทีบ่ างแหง่ แล้ว ยงั รณรงคใ์ ห้พทุ ธศาสนิกชน ไปปฏบิ ัติศาสนกจิ ท่ีวดั และลด ละ เลิก ความประพฤติเสียหายทังปวง ที่มา : วทิ ย์ วิศทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2552. หนงั สือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน พระพุทธศาสนา ม.1. พมิ พค์ รังท่ี 10. กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจรญิ ทศั น์. ใบงานการเรียนรู้ที่ 1 พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาติไทย

บตั รคาถาม 1. บอกเหตผุ ลทคี่ นส่วนใหญใ่ นสงั คมไทยนับถอื พระพทุ ธศาสนาประมาณร้อยละ 95 มาอย่างน้อย 2 ขอ้ 2. ระบุรายละเอียดในธงพระพทุ ธศาสนาทีป่ ระดับค่ธู งชาตไิ ทยในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา 3. สถาบนั พระมหากษตั ริย์มสี ่วนช่วยธารงให้พระพุทธศาสนาอยคู่ ูช่ าติไทยไดอ้ ย่างไร 4. ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรอ่ื ง กาหนดวนั หา้ มขายเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2551 โดยห้ามมิใหผ้ ู้ใดขายเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนาวันใด เฉลยใบงานการเรียนรทู้ ่ี 1 พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาตไิ ทย บตั รเฉลย

1. บอกเหตุผลทค่ี นสว่ นใหญใ่ นสงั คมไทยนับถือพระพทุ ธศาสนาประมาณรอ้ ยละ 95 มาอยา่ งน้อย 2 ข้อ 1) พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาประจาชาตไิ ทย และอยู่เคยี งคกู่ ับสังคมไทยมาหลายศตวรรษ 2) พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยในประวัตศิ าสตรห์ ลายศตวรรษทรงมีพระราชกรณยี กิจในการทานบุ ารงุ พระพทุ ธศาสนา ทาใหป้ ระชาชนเลือ่ มใสในพระพุทธศาสนาดว้ ย 2. ระบุรายละเอยี ดในธงพระพทุ ธศาสนาทป่ี ระดับคูธ่ งชาติไทยในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ธงพระพทุ ธศาสนา เป็น ธงสเี หลอื ง อันหมายถึง พระพทุ ธศาสนา และมีรูปธรรมจักร เปน็ กงล้ออยกู่ ลางผนื ธง 3. สถาบนั พระมหากษตั ริย์มีส่วนชว่ ยธารงให้พระพุทธศาสนาอยคู่ ูช่ าติไทยได้อยา่ งไร รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทกุ ฉบบั ได้บญั ญัตวิ ่า พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะ และทรงเป็น อคั รศาสนูปถัมภก จงึ เป็นการกาหนดให้สถาบนั กษตั รยิ ์ดารงอย่คู ู่กบั สถาบันศาสนา ซ่งึ รอ้ ยละ 95 ของคนไทย นบั ถือพระพทุ ธศาสนา 4. ประกาศสานักนายกรฐั มนตรี เรอื่ ง กาหนดวันหา้ มขายเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วนั ที่ 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2551 โดยห้ามมิให้ผู้ใดขายเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอลใ์ นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาวันใด 1) วันมาฆบชู า 2) วันวสิ าขบชู า 3) วันอาสาฬหบูชา 4) วันเข้าพรรษา ใบความรู้บตั รเน้อื หา สถาบนั หลักของไทยมี 3 สถาบัน ได้แก่ สถาบันชาติ สถาบนั ศาสนา และสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ทงั 3 สถาบันนี

ต่างเกือหนุนคาจุนกันเสมือนหน่งึ เป็นโครงสรา้ งอันแขง็ แกร่งให้สงั คมไทยและชาตไิ ทยดารงอยู่ไดต้ ังแตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จุบัน โดยเฉพาะพระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันทม่ี บี ทบาทอยา่ งสงู ในการควบคุมพฤติกรรมของผูค้ นในสังคมไทย ทังนีเหตผุ ล ทที่ า ใหส้ ถาบันพระพทุ ธศาสนาเป็นหน่งึ ในสถาบันหลักของสังคมไทย เนอื่ งมาจาก 1. พระพุทธศาสนาเปน็ สถาบันค่ชู าตไิ ทย พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เขา้ มาในดนิ แดนสวุ รรณภูมิอันเป็นท่ีตงั ของประเทศไทยในปจั จุบนั นบั ตังแต่ พทุ ธ ศตวรรษที่ 3 อาณาจกั รชาติไทยตา่ งๆ ลว้ นสืบทอดพระพุทธศาสนาไวต้ ังแตส่ มยั สุโขทยั สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบุรี จนมาถงึ สมัย รตั นโกสินทรไ์ วอ้ ย่างมั่นคง จึงกลา่ วได้ว่า พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันคู่ชาติไทย 2. พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทรงเป็นพุทธมามกะ ในประวตั ศิ าสตรข์ องชาตอิ น่ื กษัตรยิ ์ทปี่ กครองประเทศในแตล่ ะสมยั มกั จะนับถือศาสนาตา่ งกัน แตพ่ ระมหา-กษัตรยิ ์ ไทยทกุ สมัยล้วนเป็นพทุ ธมามกะ โดยราชประเพณี ก่อนทพ่ี ระมหากษตั ริยไ์ ทยทกุ พระองคจ์ ะขึนครองราชย์ จะมพี ระราช ประเพณีใหอ้ อกผนวชชวั่ คราวเพ่อื ศกึ ษาหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและนาหลกั ธรรมมาประยกุ ต์ใชใ้ นการปกครองประเทศ แมใ้ นกรณีทไี่ ม่สามารถออกผนวชก่อนขึนเสวยราชสมบตั ิกต็ ้องออกผนวชหลงั จากขนึ ครองราชย์แล้ว ดงั กรณีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอย่หู ัวรัชกาลปจั จบุ นั เป็นต้น 3. พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นอคั รศาสนูปถัมภก พระมหากษตั ริยไ์ ทยทุกพระองคท์ รงใหค้ วามสาคญั ในการอุปถมั ภพ์ ระพทุ ธศาสนา โดยทรงถือเปน็ พระราช-ภารกิจ สาคัญ พระราชภารกิจทีพ่ ระมหากษตั รยิ ์ไทยทรงทานุบารุงพระพุทธศาสนา อาทิ ทรงสรา้ งวัด ปฏิสังขรณว์ ดั และปูชนียสถาน ต่างๆ ทรงอปุ ถมั ภก์ ารศึกษาพระพุทธศาสนา ทรงส่งเสรมิ การปฏบิ ัติธรรมทรงยกย่องพระสงฆผ์ เู้ ชย่ี วชาญ ในพระปริยัตแิ ละ เชี่ยวชาญในการปฏบิ ัติใหด้ ารงสมณศักดต์ิ ามความสามารถและความเหมาะสม ทรงสนบั สนุน การสังคายนา ดังที่ พระมหากษัตริยบ์ างพระองค์ไดท้ รงสนบั สนนุ อุปถัมภก์ ารสังคายนา (ดงั ในสมัยรัชกาลท่ี 1 และรชั กาลท่ี 9 เป็นต้น) และทรงวาง พระองคเ์ ป็นแบบอยา่ งของชาวพทุ ธที่ดี 4. รฐั บาลไทยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ พระพทุ ธศาสนา เมอื่ ประเทศไทยได้เปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองมาเปน็ ระบอบประชาธิปไตย พระราชอานาจและพระราช-ภารกิจ ในการอุปถมั ภบ์ ารงุ พระศาสนาของพระมหากษตั ริยแ์ ต่เดมิ ก็ถกู มอบหมายใหร้ ัฐบาลทาหน้าทสี่ บื แทนต่อไป เพราะฉะนนั รัฐบาลจึงมี หนา้ ทีโ่ ดยตรงทจ่ี ะอุปถมั ภ์พระพุทธศาสนา ทังด้านการศึกษาและด้านการปฏิบตั พิ ระศาสนา โดยกาหนดเป็นนโยบายทีแ่ น่นอน และปฏิบตั ใิ หบ้ รรลผุ ลตามนโยบายท่กี าหนดไว้ ทงั นโี ดยการดาเนินงานผา่ นทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงมหาดไทยและสานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ เปน็ ต้น ท่ีมา : วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน พระพุทธศาสนา ม.1. พิมพ์ครงั ที่ 10. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์. ใบงานการเรยี นรทู้ ี่ 2 พระพุทธศาสนาเป็นสถาบนั หลกั ของสงั คมไทย บตั รคาถาม 1. สถาบนั หลักตามโครงสรา้ งของสงั คมไทยทม่ี ีส่วนช่วยคาจนุ ใหส้ ังคมไทยและชาติไทยดารงอยูม่ าจนถึงปจั จุบนั ประกอบดว้ ยสถาบนั ใดบ้าง

2. เหตผุ ลสาคัญที่ทาให้สถาบันพระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันหน่งึ ของสงั คมไทยคืออะไร 3. “พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ อัครศาสนูปถมั ภก” หมายความวา่ อยา่ งไร 4. หน่วยงานของรฐั บาลไทยทม่ี ีแนวนโยบายและการดาเนินงานท่ีเกี่ยวกับการสนับสนุนส่งเสริมพระพุทธศาสนา ได้แกห่ น่วยงานใดบา้ ง แบบเฉลยการเรยี นรทู้ ่ี 2 พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั หลักของสงั คมไทย บตั รเฉลย 1. สถาบันหลกั ตามโครงสร้างของสงั คมไทยทมี่ ีส่วนชว่ ยคาจนุ ใหส้ ังคมไทยและชาติไทยดารงอยูม่ าจนถึงปัจจบุ ัน ประกอบด้วยสถาบนั ใดบา้ ง 1) สถาบนั ชาติ

2) สถาบนั ศาสนา 3) สถาบันพระมหากษตั ริย์ 2. เหตุผลสาคญั ที่ทาให้สถาบนั พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบันหน่ึงของสงั คมไทยคอื อะไร เพราะสถาบนั พระพทุ ธศาสนามีบทบาทในการควบคุมพฤตกิ รรม และกาหนดแนวทางการดาเนินชวี ิต ตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาของคนในสังคมไทย 3. “พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ อคั รศาสนปู ถมั ภก” หมายความวา่ อย่างไร หมายถึง พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริย์ทท่ี รงใหค้ วามสาคัญในการอปุ ถัมภพ์ ระพุทธศาสนา เพื่อให้พระพุทธศาสนาธารงอยูค่ สู่ งั คมไทย เช่น ทางสรา้ งวัด ปฏิสังขรณ์วัด และปชู นยี สถานตา่ งๆ ทรงอปุ ถมั ภ์ การศึกษาพระพทุ ธศาสนา ทรงสนบั สนุนการสงั คายนาพระพทุ ธศาสนา เปน็ ต้น 4. หนว่ ยงานของรฐั บาลไทยที่มแี นวนโยบายและการดาเนินงานท่ีเกยี่ วกบั การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนา ได้แกห่ น่วยงานใดบ้าง 1) กระทรวงศึกษาธกิ าร 2) กระทรวงวัฒนธรรม 3) กระทรวงมหาดไทย 4) กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ 5) สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ

ใบความรู้การเรียนร้ทู ่ี 3 พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มทกี่ ว้างขวาง และครอบคลมุ สังคมไทย บตั รเน้ือหา คนไทยสว่ นใหญ่ภายในสังคมไทยเป็นชาวพทุ ธโดยกาเนิด ไมต่ อ้ งมีการประกาศเพราะวิถชี วี ติ ของคนไทยไดร้ ับการ ผสมผสานกลมกลืนเป็นอนั หนึ่งอันเดยี วกบั พระพุทธศาสนามาทุกยุคทุกสมัย สภาพแวดล้อมรอบตวั ทังทางกายภาพและ สภาพแวดล้อมทางสงั คม ส่วนใหญ่มักไดร้ บั อิทธพิ ลจากพระพุทธศาสนา หรือกลา่ วอกี นัยหน่ึงคอื ตังแต่เกิดจนตายคนไทยสว่ น ใหญ่มักต้องสัมผสั กับพระพทุ ธศาสนามากหรือนอ้ ยบ้างตามโอกาส ดงั นันพระพุทธศาสนาจงึ เป็นสภาพแวดลอ้ มที่กวา้ งขวางและ ครอบคลุมสังคมไทยอยา่ งแท้จรงิ ด้วยเหตุผลดังนี 1. มวี ดั และสานกั สงฆ์มากมายทว่ั ประเทศ จากสถิติ พ.ศ. 2552 ในประเทศไทยมีวดั ประมาณ 35,271 วัด และสานกั สงฆ์อีกจานวนมาก มีพระภกิ ษแุ ละสามเณร ประมาณ 322,000 รูป ไม่นบั พระภิกษุสามเณรผูบ้ วชชั่วคราว ทกุ หมูบ่ า้ นมีวดั ประจาหมู่บ้าน แมเ้ ม่ือจะก่อตังหมูบ่ า้ นขนึ ใหม่ก็ นยิ มสรา้ งวดั ไว้เป็นสถานท่บี าเพญ็ บุญทางพระศาสนาด้วย วัดจงึ นบั เปน็ “ศูนยก์ ลาง” ของสงั คมไทยส่วนใหญ่มาแต่อดตี ถึง ปัจจบุ นั 2. มปี ูชยนี สถาน ปชู นียวัตถุมากมาย เหตุท่ีวดั เปน็ สภาพแวดล้อมทีค่ รอบคลุมสงั คมไทยทวั่ ไป จึงมีปชู นียสถานและปูชนยี วัตถุสาคญั ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับ พระพทุ ธศาสนาประดิษฐานเก็บรักษาอยู่มากมาย เชน่ พระบรมธาตไุ ชยา พระปฐมเจดีย์ พระธาตุดอยสุเทพ พระพุทธรูป ตู้ พระไตรปิฎก วิหาร เป็นตน้ 3. ประเพณพี ิธกี รรมต่างๆ ของคนไทย มาจากพระพุทธศาสนาโดยตรง เช่น ประเพณกี ารอปุ สมบท ประเพณีวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา ประเพณี ทอดผา้ ปา่ ประเพณีทอดกฐิน และคติบางอย่างกน็ าเอาแนวคดิ ทางพระพุทธศาสนาไปปรบั ใชใ้ หผ้ สมผสานกลมกลนื เชน่ การตงั ชอ่ื โกนผมไฟ ขนึ บ้านใหม่ ทาบุญอายุ งานศพ ถ้าไม่มีพระพุทธศาสนา ประเพณพี ธิ ีกรรมเหลา่ นีอาจเป็นไปในรูปแบบอนื่ นอกจากนีจติ ใจของคนไทยส่วนใหญก่ ็อาจขาดการขดั เกลาหรอื มไิ ด้ถูกหลอ่ หลอมให้มลี ักษณะเป็นคนไทยอยา่ งที่เหน็ เป็นอยู่ใน ปัจจุบันนีก็ได้ 4. ลกั ษณะนสิ ัยและมารยาทของคนไทยสว่ นใหญ่มีรากฐานจากพระพทุ ธศาสนา คนไทยไดร้ บั การยกยอ่ งจากชาวตา่ งชาติวา่ เปน็ คนทม่ี ลี กั ษณะนิสัยดงี าม เช่น มคี วามเออื เฟ้ือเผือ่ แผ่ มนี าใจ เมตตา กรุณา เกรงใจ พรอ้ มใหอ้ ภยั คนอืน่ เสมอ ยิมแย้มแจ่มใส เป็นต้น คนไทยมีคาพดู ติดปาก คอื “ไม่เปน็ ไร” อัน หมายถึง ไมถ่ ือโทษ ไมอ่ าฆาตมาดรา้ ย ให้อภัยอยู่เสมอ ลกั ษณะนิสัยเหลา่ นีล้วนหล่อหลอมมาจากพระพุทธศาสนา อันเป็น สภาพแวดลอ้ มท่ีครอบคลุมสงั คมไทยอย่างกว้างขวาง ด้วยกิริยามารยาทนัน คนไทยมกี ริ ยิ ามารยาทเรยี บร้อย นุ่มนวล การไหว้ การกราบ มารยาทในการต้อนรับ การแตง่ กาย ตลอดจนอิรยิ าบถของคนไทย ลว้ นไดร้ บั การชน่ื ชม จากทวั่ โลก ทงั นีมารยาท เหลา่ นลี ว้ นมพี นื ฐานมาจากหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น หลกั คารวธรรม หลกั การปฏสิ ันถาร เป็นต้น

5. ภาษาและวรรณคดไี ทยมีอทิ ธพิ ลมาจากพระพทุ ธศาสนา ภาษาไทยที่ใช้อยใู่ นปจั จบุ ันสว่ นมากมพี นื ฐานมาจากภาษาบาลีสนั สกฤต ซง่ึ เปน็ ภาษาในทางพระพุทธศาสนาสังเกตได้ จากช่อื นามสกลุ ชื่อบรษิ ทั ห้างรา้ น สถานท่ี แมก้ ระทัง่ ช่ือหนว่ ยงานราชการต่างๆ ตลอดจนวรรณคดีไทยต่างๆ มักมีแนวคดิ ทาง พระพุทธศาสนาเปน็ แนวคดิ หลัก โดยสะท้อนความเชอ่ื เรอื่ ง นรก สวรรค์ บุญ บาป กรรม สังสารวัฏ เปน็ ต้น 6. การนับศกั ราช การนับศกั ราชอย่างเปน็ ทางการของประเทศไทยจะนับเปน็ “พทุ ธศักราช” โดยพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมีพระราชดาริใหเ้ ปลย่ี นแปลงจากการนบั ศักราชแบบรตั นโกสนิ ทรศ์ ก มาเป็นพุทธศักราช อันแสดงใหเ้ หน็ วา่ ประเทศไทยให้ ความสาคัญอยา่ งยิ่งยวดแกพ่ ระพุทธศาสนา และประเทศไทยเป็นประเทศเดยี วในโลกทใ่ี ชว้ ิธีการนบั ศักราชเชน่ นี ท่มี า : วทิ ย์ วิศทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน พระพุทธศาสนา ม.1. พมิ พ์ครงั ท่ี 10. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์.

ใบงานการเรยี นรทู้ ี่ 3 พระพทุ ธศาสนาเป็นสภาพแวดลอ้ มทก่ี ว้างขวาง และครอบคลมุ สงั คมไทย บัตรคาถาม 1. ปชู นียสถาน ปชู นยี วัตถสุ าคญั ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง ยกตัวอยา่ งอย่างน้อย 4 ตัวอยา่ ง 2. ประเพณีพธิ ีกรรมของคนไทยท่ีมาจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 3. ลกั ษณะนสิ ัยและมารยาทของคนไทยที่มีรากฐานมาจากพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง 4. วรรณคดขี องไทยไดร้ ับแนวคิดทางพระพุทธศาสนาอยา่ งไร

แบบเฉลยการเรยี นรู้ท่ี 3 พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดล้อมทีก่ ว้างขวาง และครอบคลุมสังคมไทย บัตรเฉลย 1. ปูชนยี สถาน ปชู นยี วัตถสุ าคญั ๆ ท่ีเก่ียวข้องกบั พระพทุ ธศาสนาไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ยกตัวอย่างอย่างนอ้ ย 4 ตัวอยา่ ง - พระปฐมเจดยี ์ - วิหาร - พระธาตุดอยสุเทพ - ตูพ้ ระไตรปฎิ ก - พระพุทธรปู 2. ประเพณีพิธีกรรมของคนไทยทีม่ าจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง - ประเพณกี ารบวช - ประเพณวี นั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา - ประเพณีทอดผ้าป่า - ประเพณที อดกฐิน - ประเพณขี ้ึนบ้านใหม่ 3. ลักษณะนิสัยและมารยาทของคนไทยทม่ี รี ากฐานมาจากพระพทุ ธศาสนา ได้แก่อะไรบา้ ง - ลกั ษณะนสิ ยั มคี วามเอื้อเฟ้ือเผอ่ื แผ่ มีนา้ ใจ เมตตากรณุ า เกรงใจ พร้อมใหอ้ ภยั คนอน่ื เสมอ ยมิ้ แย้มแจ่มใส - มารยาท เรียบรอ้ ย นุม่ นวล การไหว้ การกราบ การตอ้ นรบั 4. วรรณคดขี องไทยได้รบั แนวคดิ ทางพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร มีแนวคิดทางพระพุทธศาสนา โดยสะทอ้ นความเชอื่ เรอื่ ง นรก สวรรค์ บุญ บาป กรรม สงั สารวัฏ เป็นต้น

ส่อื การเรยี น ช่วยกนั ทายภาพ 3. บตั รคาถาม คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนบรรยายใตภ้ าพท่ีกาหนดใหถ้ ูกต้อง 1. 2. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. แบบเฉลยสอื่ การเรยี น ชว่ ยกันทายภาพ บัตรคาถาม

คาช้ีแจง ให้นักเรยี นเขียนบรรยายใต้ภาพทีก่ าหนดให้ถูกตอ้ ง 3. 1. 2. พระบรมธาตุไชยา วัดพระศรีสรรเพชญ์ วดั เบญจมบพิตร 4. 5. 6. วดั ราชบรู ณะ พระธาตุดอยสเุ ทพ พระปฐมเจดีย์ 7. 8. 9. พิธอี ปุ สมบท พิธที อดผา้ ป่า การทาบญุ ตักบาตร 10. 11. 12. การเทศน์มหาชาติ การกราบพระสงฆ์ ประเพณแี ห่เทยี นพรรษา

บตั รภาพ  ภาพการทาบญุ ใส่บาตรในวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ภาพการถวายสังฆทานในวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา ที่มา : วทิ ย์ วศิ ทเวทย์ และเสฐยี รพงษ์ วรรณปก. 2552. หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน พระพทุ ธศาสนา ม.1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 10. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์. แบบทดสอบหลงั เรยี น คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเลอื กคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว 1.คารณ เปน็ ตัวแทนเพอ่ื น ๆ ในห้องเรยี น กลา่ วขอบคุณครูท่ีชว่ ยสอนพเิ ศษใหแ้ ก่นกั เรยี น การกระทาดังกลา่ ว สอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งใด

ก. การคบบณั ฑิต ข. การบชู า ผู้ควรบูชา ค. การให้แก่ผูส้ มควรให้ ง. การสานกึ ในความดี ความช่วั (วิเคราะห์) 2. เพราะเหตใุ ดจึงกล่าวว่า พระพุทธศาสนาเปน็ สถาบันคู่พระมหากษัตรยิ ์ไทย ก. คนไทยสว่ นใหญ่นบั ถือพระพุทธศาสนา ข. รัฐบาลไทยสนบั สนนุ สง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนา ค. พระมหากษตั ริยไ์ ทย ทรงอปุ ถัมภก์ ารศึกษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษตั ริยไ์ ทยทุกพระองคท์ รงเป็นพทุ ธมาม กะ (ความเข้าใจ) 3. ข้อใดแสดงถึงประเพณที มี่ าจากพระพทุ ธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณีแตง่ งาน ข. ประเพณีทอดกฐิน ค. ประเพณีงานศพ ง. ประเพณีสืบชะตาต่ออายุ (ความจา) 4. อะไรคือเหตผุ ลที่แสดงวา่ พระพุทธศาสนาคือ สภาพแวดล้อมท่ดี ีของสงั คมไทย ก. ประเทศเพื่อนบ้านไทยก็นบั ถอื พระพุทธศาสนา ข. เพื่อความมัน่ คงและแพร่หลายของพระพุทธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ข้ามาเผยแผ่ในประเทศไทยเปน็ เวลานาน ง. พระพุทธศาสนาเป็นบ่อเกิดวฒั นธรรม และประเพณที ดี่ งี ามของไทย (การนาไปใช้) 5.ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง ข. พระพุทธศาสนาใหค้ นไทยไม่เปล่ียนแปลงศาสนา ข. วถิ ีชีวิตของคนไทยส่วนใหญ่มีพืนฐานมาจากพทุ ธ ศาสนา ค.พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลกั ของสังคมไทย มาตงั แต่สมัยทวารวดี ง. ไทยไมเ่ คยรูจ้ กั ศาสนาอื่นมาก่อนจึงตอ้ งนบั ถือพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ (การสงั เคราะห์) 6. ขอ้ ใดแสดงถงึ อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาท่ีมีต่อภาษาไทย ก. ชอ่ื และนามสกลุ ของบุคคล ข. ชอ่ื ถนนและชอื่ สะพาน ค. ชอื่ ห้างร้านและสถานทท่ี างราชการ ง. ภาษไทยส่วนใหญ่มพี ืนฐานมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต(วิเคราะห)์ 7. ข้อใดแสดงให้เห็นวา่ พระพุทธศาสนาสอดคลอ้ งกับลักษณะนิสยั ของคนไทย

ก. ประเทศเพ่อื นบา้ น นับถอื ศาสนาอน่ื ๆ ข. แนวคดิ เร่อื งนรกสวรรคใ์ นพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เป็นศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ ง. พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนากลุม่ แรกทคี่ นไทยรู้จกั (การ นาไปใช้) 8. “ขาวคือบริสทุ ธ์ิ ศรีสวัสดิ์ หมายถงึ พระรัตนตรัย และ ธรรมะคมุ้ ครองจิตใจไทย” ข้อความทเี่ ป็นตัวหนา้ หมายถึงขอ้ ใด ก. ธงชาตไิ ทย ข. พระพทุ ธศาสนา ค. วรรณคดี พระพทุ ธศาสนา ง. ชื่อพระสงฆ์ใน พระพทุ ธศาสนา (การประเมินคา่ ) 9. ขอ้ ใดสอดคลอ้ งกับคณุ ของอริยสัจ ก. การแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ข. การแก้ปัญหาด้วยปัญญาและเหตุผล ค. การแกป้ ญั หาร่วมกันเป็นหมู่คณะ ง. การแกป้ ญั หาเพอ่ื เอาหน้ารอด 10. ตะวันชอบชวนเดือนฉายไปอ่านหนังสือที่ห้องสมดุ ทุกเช้ากอ่ นเข้าเรียนทาให้เดอื นฉายมีความรอบร้หู ลายอยา่ ง เหตุการณ์นสี อดคลอ้ งกบั ข้อใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบัณฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสรา้ งสรรค์)

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่สี ุด เพยี งคาตอบเดียว 1.คารณ เปน็ ตวั แทนเพ่อื น ๆ ในห้องเรยี น กลา่ วขอบคุณครทู ่ีช่วยสอนพิเศษใหแ้ ก่นกั เรียน การกระทาดงั กล่าว สอดคลอ้ งกบั เร่ืองใด ก. การคบบณั ฑิต ข. การบูชา ผูค้ วรบูชา ค. การให้แก่ผู้สมควรให้ ง. การสานึกในความดี ความชว่ั (วเิ คราะห์) 2. เพราะเหตุใดจงึ กล่าววา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นสถาบันคู่พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ก. คนไทยสว่ นใหญ่นบั ถือพระพุทธศาสนา ข. รัฐบาลไทยสนับสนนุ สง่ เสริมพระพุทธศาสนา ค. พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ทรงอุปถัมภ์การศกึ ษาคณะสงฆ์ ง. พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมาม กะ (ความเข้าใจ) 3. ขอ้ ใดแสดงถงึ ประเพณีทมี่ าจากพระพุทธศาสนาโดยตรง ก. ประเพณแี ต่งงาน ข. ประเพณที อดกฐิน ค. ประเพณีงานศพ ง. ประเพณีสืบชะตาตอ่ อายุ (ความจา) 4. อะไรคอื เหตุผลที่แสดงว่า พระพุทธศาสนาคอื สภาพแวดล้อมที่ดีของสงั คมไทย ก. ประเทศเพ่ือนบา้ นไทยกน็ ับถอื พระพทุ ธศาสนา ข. เพอ่ื ความมนั่ คงและแพร่หลายของพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนาได้เขา้ มาเผยแผใ่ นประเทศไทยเปน็ เวลานาน ง. พระพุทธศาสนาเปน็ บ่อเกดิ วัฒนธรรม และประเพณีที่ดีงามของไทย (การนาไปใช้) 5.ข้อใดกลา่ วถกู ต้อง ก. พระพุทธศาสนาใหค้ นไทยไมเ่ ปลี่ยนแปลงศาสนา ข. วถิ ชี ีวติ ของคนไทยสว่ นใหญม่ พี นื ฐานมาจากพุทธศาสนา ค.พระพทุ ธศาสนาเปน็ สถาบนั หลักของสงั คมไทย มาตงั แต่สมยั ทวารวดี ง. ไทยไม่เคยรจู้ ักศาสนาอื่นมาก่อนจึงตอ้ งนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติ (การสังเคราะห์) 6. ข้อใดแสดงถงึ อิทธพิ ลของพระพุทธศาสนาที่มตี ่อภาษาไทย ก. ชือ่ และนามสกุลของบุคคล ข. ช่ือถนนและช่ือ สะพาน ค. ชอ่ื หา้ งร้านและสถานท่ที างราชการ ง. ภาษไทยสว่ นใหญ่มพี ืนฐานมาจากภาษาบาลสี ันสกฤต(วิเคราะห)์

7. ขอ้ ใดแสดงให้เห็นว่าพระพทุ ธศาสนาสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะนสิ ยั ของคนไทย ก. ประเทศเพือ่ นบา้ น นบั ถือศาสนาอนื่ ๆ ข. แนวคดิ เร่ืองนรกสวรรคใ์ นพระพทุ ธศาสนา ค. พระพทุ ธศาสนา เป็นศาสนาแห่งอสิ ระเสรภี าพ ง. พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนากลุ่มแรกที่คนไทยรูจ้ กั (การ นาไปใช)้ 8. “ขาวคอื บรสิ ทุ ธิ์ ศรีสวัสด์ิ หมายถึงพระรัตนตรัย และ ธรรมะค้มุ ครองจิตใจไทย” ขอ้ ความทเ่ี ป็นตวั หน้า หมายถงึ ขอ้ ใด ก. ธงชาติไทย ข. พระพุทธศาสนา ค. วรรณคดี ง. ชือ่ พระสงฆ์ในพระพทุ ธศาสนา (การประเมิน คา่ ) 9. ข้อใดสอดคล้องกับคณุ ของอรยิ สัจ ก. การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า ข. การแกป้ ญั หาด้วยปญั ญาและเหตุผล ค. การแกป้ ัญหาร่วมกนั เป็นหมู่คณะ ง. การแกป้ ญั หาเพือ่ เอาหนา้ รอด 10. ตะวันชอบชวนเดอื นฉายไปอา่ นหนงั สอื ท่หี ้องสมุดทุกเชา้ กอ่ นเขา้ เรยี นทาให้เดือนฉายมคี วามรอบรู้หลายอยา่ ง เหตุการณ์นีสอดคลอ้ งกับข้อใด ก. กายกรรม ข. ความพยายาม ค. การคบบณั ฑติ ง. ความเอาใจใส่ (การสร้างสรรค)์

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนักเรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วขดี  ลงในช่อง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 ความถูกตอ้ งของเนอื หา 2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 3 วิธีการนาเสนอผลงาน 4 การนาไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื .................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีขอ้ บกพรอ่ งบางส่วน ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องมาก 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ชือ่ กลุ่ม ชัน คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกับระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การแบ่งหน้าท่กี นั อยา่ งเหมาะสม 2 ความรว่ มมือกันทางาน 3 การแสดงความคิดเหน็ 4 การรบั ฟงั ความคดิ เห็น 5 ความมีนาใจช่วยเหลอื กนั รวม ลงช่อื .................................................... ผูป้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ดา้ น 4321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเม่ือได้ยินเพลงชาติ รอ้ งเพลงชาติได้ และอธิบายความหมายของ กษตั รยิ ์ เพลงชาติ 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 1.2 ปฏบิ ัตติ นตามสิทธิและหน้าท่ีของนกั เรียน 3. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ 1.3 ให้ความร่วมมอื รว่ มใจ ในการทางานกับสมาชิกในชนั เรียน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมทส่ี ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ต่อ โรงเรียนและชุมชน 1.5 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 1.6 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทเี่ ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามทโ่ี รงเรยี น และ ชมุ ชนจัดขนึ 2.1 ให้ข้อมูลทีถ่ ูกตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ัติในสง่ิ ท่ีถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะทาความผิด ทาตามสญั ญาที่ ตนใหไ้ ว้กับเพ่ือน พ่อแม่หรือผ้ปู กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ตั ติ ่อผอู้ ืน่ ด้วยความซ่อื ตรง 3.1 ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครัว และ โรงเรยี น มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวัน 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรปุ ความรู้ไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล 5.1 ใช้ทรัพยส์ ินของตนเอง เชน่ สงิ่ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บรักษาดูแลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม 5.2 ใช้ทรัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คมุ้ ค่า และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัตติ นและตัดสนิ ใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล 5.4 ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ นื่ และไม่ทาใหผ้ อู้ ่ืนเดือดรอ้ น พรอ้ มใหอ้ ภยั เม่อื ผู้อนื่ กระทา ผิดพลาด

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 4321 5.5 วางแผนการเรียน การทางานและการใช้ชวี ติ ประจาวันบนพืนฐานของ 6. มุง่ ม่นั ในการ ความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร ทางาน 5.6 รู้เทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรบั ตวั 7. รักความเป็นไทย อยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ได้อยา่ งมีความสุข 8. มจี ติ สาธารณะ 6.1 มคี วามตังใจและพยายามในการทางานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพือ่ ใหง้ านสาเรจ็ 7.1 มจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ชว่ ยทา และแบง่ ปันสงิ่ ของใหผ้ ูอ้ ่นื 8.3 รจู้ ักดแู ล รกั ษาทรัพย์สมบตั แิ ละสง่ิ แวดล้อมของห้องเรียน โรงเรยี น ชมุ ชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น ลงชอื่ .................................................... ผปู้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง 191 - 108 ดมี าก 73 - 90 ดี 54 - 72 พอใช้ ต่ากวา่ 54 ปรบั ปรงุ

แบบบนั ทึกหลงั แผนการสอน  ดา้ นความรู้  ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน  ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์  ดา้ นอน่ื ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทมี่ ีปัญหาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข ความเหน็ ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชอื่ ) ( ตาแหน่ง

แบบประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง ประวตั แิ ละความสาคญั ของพระพุทธศาสนา รายวชิ า สงั คมพนื้ ฐาน รหสั ส 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชอ่ื -สกลุ ครผู สู้ อน นายศรีมลู สมบตุ ร ********************* คาชี้แจง แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ ฉบับนี มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ ใหท้ ่านซง่ึ เป็นผนู้ ิเทศไดก้ รณุ าพจิ ารณาความ เหมาะสม และความสอดคลอ้ งระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินแบ่งเป็น 2 ตอน คอื ตอนท่ี 1 แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้เป็นการพจิ ารณาองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของ แผนการจดั การเรียนรู้ว่ามคี วามเหมาะสมเพยี งใด ตอนที่ 2 แบบประเมนิ ความสอดคลอ้ งของแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการพจิ ารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ของ แผนการจัดการเรียนรวู้ ่ามคี วามสอดคล้องกนั เพียงใด ตอนท่ี 1 แบบประเมนิ ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้ คาชี้แจง โปรดทาเคร่อื งหมาย √ ในชอ่ งระดบั ความเหมาะสมท่ตี รงกบั ความคดิ เหน็ ของท่าน และขอความกรุณา เขยี นขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ เพือ่ เปน็ แนวทางในการปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นร้ตู ่อไป ข้อ รายการประเมนิ ระดับความคิดเห็น ใช่ ไม่ใช่ 1 แผนการจัดการเรียนรมู้ ีองคป์ ระกอบสาคัญครบถ้วนตามแบบฟอร์มท่โี รงเรยี นกาหนด √ 2 การเขยี นสาระสาคัญในแผนการจัดการเรยี นรมู้ ีความถกู ตอ้ ง √ 3 จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้รู ะบพุ ฤติกรรมชัดเจน สามารถวดั ได้ √ 4 สาระการเรียนรคู้ รบถว้ น สมั พันธ์กบั ตัวชีวดั /ผลการเรียนร้/ู จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ √ 5 ระบวุ ธิ กี ารวัดผลประเมนิ ผลอย่างชัดเจน √

6 ระบเุ คร่ืองมือสาหรับการวัดผลประเมนิ ผลอย่างชัดเจน √ 7 ระบุเกณฑ์การวัดผลประเมนิ ผลอย่างชัดเจน √ 8 กจิ กรรมการเรียนรูม้ คี วามเหมาะสม ครบถ้วนทกุ ขันตอนตามวธิ สี อน หรอื กระบวนการ √ หรอื เทคนิคการสอนที่ระบุไว้ในแผนการจดั การเรียนรู้ √ 9 ระบกุ ารใช้สื่อ นวตั กรรม/แหล่งเรยี นรู้สมั พันธ์สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ √ 10 มีหลกั ฐานประกอบ เช่น สือ่ ใบกจิ กรรม ใบความรู้ เคร่ืองมอื วัด ฯ ทป่ี รากฏใน แผนการจดั การเรยี นรูค้ รบถ้วน ตอนที่ 2 แบบประเมินความสอดคล้ององค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ คาชีแ้ จง โปรดทาเครอื่ งหมาย / ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ความคดิ เห็นของท่าน ข้อที่ รายการประเมิน สอดคล้อง ไมแ่ น่ใจ ไม่สอดคลอ้ ง (1) (0) (-1) 1 การเขียนสาระสาคญั มคี วามสัมพนั ธ์สอดคล้องกับตัวชีวดั /ผลการ √ เรยี นร้/ู จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2 จุดประสงค์การเรียนรมู้ คี วามสอดคล้องสมั พนั ธก์ ับ √ สาระการเรียนรู้ 3 หลักฐานการเรยี นรูม้ ีความสมั พันธ์ สอดคลอ้ งกับสาระ การเรยี นรู้ √ ตวั ชวี ัด/ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้/กิจกรรมการเรยี นรู้ 4 วิธีการวัดผลประเมนิ ผลมีความสัมพนั ธ์กับสาระการเรียนรู้ ตัวชีวัด/ √ ผลการเรยี นรู้ 5 เครอ่ื งมอื วัดผลประเมนิ ผล มคี วามสมั พันธ์กบั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ √ ประสงคข์ องผ้เู รยี น 6 เครอ่ื งมือวัดผลประเมินผล มคี วามสมั พันธก์ ับสมรรถนะทีส่ าคญั ของ √ ผูเ้ รยี น 7 กจิ กรรมการเรียนร้มู ีความสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ √

ตัวชวี ดั /ผลการเรียนรู้ √ √ √ 8 กิจกรรมการเรยี นรู้มคี วามสัมพนั ธ์สอดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะอนั พงึ √ ประสงคข์ องผูเ้ รียน √ 9 กิจกรรมการเรียนรู้มีความสมั พันธส์ อดคลอ้ งสมรรถนะทีส่ าคัญของ √ ผูเ้ รยี น 10 สื่อ-นวตั กรรม/อปุ กรณ/์ แหล่งเรยี นรู้ มคี วามสมั พนั ธส์ อดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นรู้ 11 แผนการจัดการเรียนรูม้ กี ิจกรรมบรู ณาการกบั งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน 12 แผนการจดั การเรยี นรู้มีกจิ กรรมบรู ณาการกับหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 13 แผนการจดั การเรยี นรมู้ ีกิจกรรมบรู ณาการกบั งานส่ิงแวดล้อม เกณฑก์ ารประเมิน ความสอดคล้องของแผนการจดั การเรยี นรู้ ค่าความสอดคลอ้ งต้องมคี า่ ตังแต่ 0.50 ขนึ ไป ความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ คะแนนระหว่าง 1 - 4 ระดบั คุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ คะแนนระหว่าง 5 - 8 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนนระหวา่ ง 9 - 13 ระดบั คณุ ภาพ ดี

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ า สังคมพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ส 21101 ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 เรื่อง พุทธประวัติ สาวก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก จานวน 5 ชว่ั โมง : 5 คะแนน ช่ือเร่ือง พุทธประวัติ สาวก ศาสนิกชนตวั อย่าง และชาดก จานวน 3 ช่วั โมง : 8 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง พุทธประวตั ิ สาวก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง และชาดก จานวน……………ช่วั โมง 3 จานวน 5 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง แผนจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง พุทธสาวก ศาสนกิ ชนตัวอย่าง และชาดก รายวชิ า สงั คมพนื้ ฐาน รหสั วิชา ส 21101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 5 ชัว่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทีค่ งทน) การศกึ ษาพุทธประวตั ิ พุทธสาวก พุทธสาวิกา โดยใช้การวเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็ เหตุเปน็ ผลนนั ยอ่ มทาให้ไดข้ ้อคิด สาคัญ และคุณธรรมอันเปน็ แบบอย่างของท่าน ซ่ึงเราสามารถนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัตติ นอย่างเหมาะสม 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปี/ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรียนรู้ ส 1.1 ม.1/4 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ิต และขอ้ คดิ จากประวัติ สาวก ชาดก เรือ่ งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อย่างตามที่กาหนด 3. สาระการเรยี นรู้ ประวัติพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ทีค่ วรศึกษา มีดังนี 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอบุ าลี 3. อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี 4. นางวิสาขา 3.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge พุทธสาวก ศาสนกิ ชนตวั อย่าง และชาดก ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ทีค่ วรศกึ ษา มีดังนี 1. พระมหากสั สปะ 2. พระอบุ าลี 3. อนาถบิณฑกิ เศรษฐี 4. นางวิสาขา 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process ทากิจกรรมรายบุคคล รายกลุ่ม ในการศึกษาเรยี นรู้ตามเนอื้ หา 3.3 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude ประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิตทดี่ ีในสังคมอย่างมี ความสุข 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. คณุ ลกั ษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม 6. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต 3. มวี ินยั

4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มุง่ ม่นั ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : 7.1 เร่ือง พุทธสาวก ศาสนิกชนตวั อย่าง และชาดก ประวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ที่ควรศึกษา มดี ังนี 1. พระมหากัสสปะ 2. พระอบุ าลี 3. อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี 4. นางวสิ าขา - ใบงานท่ี 1.1 ใหศ้ ึกษาวเิ คราะหเ์ ร่อื ง ประวัตพิ ุทธสาวก พทุ ธสาวิกา ท่คี วรศึกษา (ทาหนังสอื เล่มเลก็ ) - แบบฝกึ ทักษะท่ี 1 นาเสนอ ประวตั ิพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ทคี่ วรศึกษา 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความจาเปน็ ที่เราควรเรยี นรูป้ ระวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ได้ 2. อธบิ ายวธิ กี ารปฏิบัตติ นตอ่ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ได้ 3. ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมคาสอนและจริยาวตั รของพุทธสาวก พทุ ธสาวิกา ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม เข้าสบู่ ทเรยี น/ขนั้ ตั้งคาถาม (วธิ สี อนโดยใชเ้ ทคนคิ แบบหมวกหกใบ) ชั่วโมงท่ี 1 - 5 นักเรยี นสวดมนต์บชู าพระรตั นตรัยและทาสมาธกิ ่อนเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนเล่าประสบการณ์ด้านความร้เู ดิมเกย่ี วกับพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ทเ่ี คยเรยี นมาแล้วในหัวข้อตอ่ ไปนี 1) พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกาท่นี ักเรียนเคยเรยี นมีใครบ้าง 2) แตล่ ะทา่ นมคี ุณธรรมทคี่ วรถอื เปน็ แบบอย่างอะไรบ้าง 3) นกั เรียนเคยปฏิบตั ติ ามคณุ ธรรมของท่านอย่างไรบ้าง และผลการปฏิบัติเปน็ อย่างไร 2. ครอู ธิบายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจวา่ การศึกษาประวัติพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ าจะทาให้เราเข้าใจวถิ ีการดาเนินชีวิตของ ท่าน และสามารถนาคุณธรรมอนั เปน็ แบบอย่างของทา่ นมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั ซึ่งจะเป็นผลดีต่อตนเอง ซ่ึงใน ชัว่ โมงเรียนนนี ักเรยี นจะได้ศกึ ษาประวตั ิของพระมหากสั สปะ พระอบุ าลี และอนาถบิณฑิกเศรษฐี และนางวสิ าขา 3. ให้นกั เรยี นแบ่งออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และใหแ้ ต่ละกล่มุ จบั สลากประวัติของพุทธสาวก พทุ ธสาวิกา ดงั นี 1) ประวัติพระมหากัสสปะ 2) ประวตั พิ ระอุบาลี 3) ประวตั อิ นาถบณิ ฑกิ เศรษฐี 4) ประวัตินางวิสาขา 4. ครอู ธบิ ายวธิ ีการเรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคนิคการคดิ แบบหมวกหกใบ พร้อมแจกใบความรเู้ รอื่ งเทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ซึ่งประกอบด้วย

1) หมวกสีขาว 2) หมวกสีแดง 3) หมวกสดี า 4) หมวกสเี หลือง 5) หมวกสเี ขียว 6) หมวกสีฟา้ 5. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ อ่านประวัติของพทุ ธสาวก พุทธสาวิกา ทจี่ ับสลากได้ 6. สมาชิกในกลมุ่ แต่ละกลุ่มเลือกหมวกคนละสี จากนนั ใหอ้ ่านบัตรคาส่ังและปฏิบัติตามขันตอน ดงั นี - สมาชกิ ที่สวมหมวกสขี าว บอกเรอ่ื งราวเกยี่ วกับประวตั ขิ องพุทธสาวก หรือพทุ ธสาวกิ า - สมาชกิ ที่สวมหมวกสฟี า้ สรุปถึงคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของพุทธสาวก หรือพุทธสาวิกา - สมาชิกที่สวมหมวกสเี ขยี ว บอกประโยชน์ของการนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของพุทธสาวก หรอื พทุ ธสาวิกา ไปใช้ใน การดาเนินชวี ิต - สมาชิกที่สวมหมวกสีเหลอื ง สดี า สแี ดง เล่าถงึ ประสบการณท์ งั ด้านบวก และด้านลบเก่ียวกับการนาหรอื ไม่นา คุณธรรม จริยธรรมนนั ๆ ไปใช้ในการดาเนินชวี ติ จากนันให้สมาชกิ ทุกคนสวมหมวกสีฟา้ เพ่ือสรปุ แนวทางในการนาคุณธรรม จรยิ ธรรมนันๆ มาใช้ในการดาเนนิ ชีวิต 7. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ช่วยกันสรปุ ประเด็นสาคัญเกีย่ วกับประวตั ิพุทธสาวก พุทธสาวิกา ตามท่ีกลุ่มจับสลากได้ และทา กิจกรรมหมวกหกใบรว่ มกนั เพื่อเตรยี มนาเสนอผลงานตอ่ ชันเรียน ดงั นี - ประวตั ิโดยยอ่ - คุณธรรมทีค่ วรถอื เป็นแบบอยา่ ง - แนวทางการนาคุณธรรมของทา่ นไปประยกุ ตใ์ ช้ 8. ตวั แทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน และใหก้ ลุ่มอ่นื แสดงความคดิ เหน็ เพ่มิ เติม โดยครูเปน็ ผชู้ ีแนะและตรวจสอบความ ถูกตอ้ ง ในกรณที บ่ี างกล่มุ ได้ศกึ ษาในเรือ่ งเดียวกันนัน ใหเ้ สนอเพมิ่ เติมในสว่ นทีแ่ ตกต่างกันไป 9. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรุปสาระสาคญั และข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาประวัติของพระมหากัสสปะ พระอบุ าลี อนาถ บณิ ฑิกเศรษฐี นางวิสาขา และแนวทางการนาคณุ ธรรมอนั เปน็ แบบอย่างของท่านไปปฏิบตั ิ 10. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นทกุ คนไปศึกษาความรเู้ กี่ยวกับศาสนกิ ชนตวั อย่าง คอื พระเจ้าอโศกมหาราช พระโสณะ และพระอุตตระ จากหนงั สือเรียนมาล่วงหน้า เพือ่ เตรยี มการเรยี นใน เรอ่ื ง ศาสนกิ ชนตัวอยา่ งในชั่วโมงเรยี นตอ่ ไป 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ รายการสือ่ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1.หนังสอื เรยี น พระพทุ ธศาสนา ม.1 1 ชดุ ขันตรวจสอบความรู้เดมิ 2.บัตรคาสง่ั กิจกรรมหมวกหกใบ 1 ชุด ขนั สารวจและคน้ พบ 1 ชุด ขนั ขยายความรู้ 3. แบบฝกึ ทักษะ 1 เรอื่ ง ประวัติพทุ ธสาวก พทุ ธ สาวกิ า

10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ วี ดั เคร่อื งมือวัดฯ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน การตรวจผลงาน เกณฑ์การให้ การตรวจผลงาน เกณฑ์การประเมินผลงาน 1.สามารถอธบิ าย ใบงาน นักเรยี น คะแนน การสงั เกต ผ่านระดับดีขนึ ไป พทุ ธสาวก พุทธ สาวิกาท่ีนกั เรยี นเคย ใบงาน เกณฑก์ ารประเมินผลงาน ผ่านระดบั ดขี ึนไป เรยี นมีใครบ้าง นักเรยี น 2.สามารถนาเสนอ ความสาคญั แต่ละทา่ น มคี ุณธรรมท่คี วรถอื แบบบันทกึ แบบบันทกึ การสังเกต ผา่ นระดบั ดขี นึ ไป เปน็ แบบอย่าง พฤติกรรม รายบคุ คล อะไรบ้าง และรายกลุม่ 3.นักเรียนเคยปฏิบัติ ตามคุณธรรมของ ท่านอยา่ งไร บ้าง และผลการ ปฏิบัติเป็นอย่างไร 11. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน (ตัวอยา่ ง) หลักปรัชญาเศรษฐกิจ ครู ผเู้ รียน พอเพียง พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ 6. ความพอประมาณ ร้จู ักใช้เทคโนโลยมี าผลิตสอ่ื ที่เหมาะสม มจี ิตสานกึ ท่ดี ี เออื อาทร ประนปี ระนอม และสอดคลอ้ งเนอื หาเปน็ ประโยชนต์ อ่ นกึ ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กล่มุ ผูเ้ รยี นและพฒั นาจากภมู ปิ ัญญาของผเู้ รยี น

7. ความมเี หตผุ ล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถกู ตอ้ ง ไม่หยุดน่ิงท่หี าหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก สุจริต แม้จะตกอยูใ่ นภาวะขาดแคลน ใน ความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบเพ่อื ให้ 8. มีภูมิคุมกันในตัวท่ดี ี การดารงชีวิต หลุดพน้ จากความไมร่ ้)ู 9. เงือ่ นไขความรู้ ภูมิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ 10. เงื่อนไขคุณธรรม ความรอบรู้ เร่อื ง งานและกาลัง ที่ ความรอบรู้ เร่ือง งานและกาลัง กรณีที่ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เกย่ี วขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนา เกดิ งาน ปรมิ าณทเ่ี กยี่ วข้อง การคานวณสูตร ความรู้เหล่านนั มาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน ท่ีตอ้ งใช้ สามารถนาความรเู้ หล่านันมา งานและกาลัง เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด พจิ ารณาให้เชือ่ มโยงกนั สามารถประยกุ ต์ - การเกิดงานแต่ละกรณี กิจกรรมการเรยี นรู้ใหก้ บั ผ้เู รียน ใช้ในชีวติ ประจาวนั - การเกดิ กาลงั การได้เปรยี บ เชิงกล มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม สิ่งแวดลอ้ ม ซื่อสัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ซื่อสตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพียร งานและพลงั งาน ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ิต ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชีวิต - การเลือกใชอ้ ยา่ งถูกวธิ ี - การอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ครู ผเู้ รยี น งานและกาลัง งานและกาลงั - ปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ การเกดิ งาน - ระบปุ จั จัยทมี่ ผี ลตอ่ การเกิดงาน - ปริมาณท่ีเกย่ี วข้องกับการเกิดงานและ - ทดลองเปรียบเทียบการเกิดงานและ กาลัง กาลัง พร้อมคานวณปริมาณที่เกย่ี วขอ้ ง ครู ผ้เู รียน งานและพลังงาน งานและพลงั งาน - การเลอื กใชอ้ ยา่ งถูกวธิ ี/ เทคนิควธิ กี าร - ยกตวั อย่างการใช้อุปกรณ/์ เคร่อื งใช้ไฟฟ้า - กระบวนการการอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม อยา่ งถกู วิธี - แสนอแนะแนวทางอนรุ ักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ลงชอื่ ..................................................ผสู้ อน (นายศรมี ลู สมบุตร)

แบบประเมิน การนาเสนอผลงาน คาชีแ้ จง : ให้ ผ้สู อน ประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วขดี  ลงในช่อง ท่ีตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 4321 1 ความถกู ตอ้ งของเนือหา 2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 3 วิธีการนาเสนอผลงาน 4 การนาไปใชป้ ระโยชน์ 5 การตรงตอ่ เวลา รวม ลงชือ่ .................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีขอ้ บกพร่องบางส่วน ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ชือ่ กลุ่ม ชนั คาช้แี จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกับระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การแบ่งหน้าท่กี นั อยา่ งเหมาะสม 2 ความรว่ มมือกันทางาน 3 การแสดงความคิดเหน็ 4 การรบั ฟงั ความคดิ เห็น 5 ความมีนาใจช่วยเหลอื กนั รวม ลงช่อื .................................................... ผูป้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คาชี้แจง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงค์ด้าน 4321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเม่ือไดย้ ินเพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธบิ ายความหมายของ กษตั ริย์ เพลงชาติ 2. ซือ่ สัตย์ สจุ ริต 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธแิ ละหนา้ ท่ีของนกั เรยี น 3. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ 1.3 ใหค้ วามร่วมมอื รว่ มใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในชนั เรยี น 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมท่สี ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นและชมุ ชน 1.5 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนบั ถอื ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา 1.6 เข้าร่วมกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ต์ ามท่โี รงเรยี น และ ชุมชนจดั ขนึ 2.1 ให้ขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ใิ นสิ่งทถี่ กู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวท่ีจะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ี ตนให้ไว้กบั เพ่ือน พ่อแม่หรอื ผูป้ กครอง และครู 2.3 ปฏบิ ัติตอ่ ผู้อื่นดว้ ยความซอ่ื ตรง 3.1 ปฏิบตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครวั และ โรงเรยี น มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจาวัน 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรยี นรตู้ า่ งๆ 4.2 มกี ารจดบันทกึ ความรอู้ ย่างเป็นระบบ 4.3 สรปุ ความร้ไู ด้อยา่ งมีเหตผุ ล 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ ของตนเอง เช่น สง่ิ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อยา่ งประหยดั คมุ้ คา่ และเกบ็ รกั ษาดูแลอย่างดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม 5.2 ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอย่างประหยัด ค้มุ คา่ และเกบ็ รักษาดูแลอยา่ งดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรยี บผู้อ่ืน และไม่ทาใหผ้ ูอ้ ืน่ เดือดร้อน พรอ้ มให้อภยั เมอื่ ผู้อ่นื กระทา ผดิ พลาด คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ดา้ น 4321 5.5 วางแผนการเรียน การทางานและการใช้ชวี ติ ประจาวันบนพืนฐานของ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook