Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบไหลเวียนโลหิต

ระบบไหลเวียนโลหิต

Published by piyaporn, 2018-07-05 03:35:41

Description: อาจารย์ปิยะพร พรหมแก้ว
วพบ.นครศรีธรรมราช

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี ๔ ระบบไหลเวยี นโลหติVascular or Circulatory system อาจารย์ปิยะพร พรหมแก้ว วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช



หัวขอ้ การเรยี นรู้4.1 โครงสร้างและหน้าท่ขี องเซลลแ์ ละอวัยวะต่างๆ ในระบบไหลเวียน โลหิต 1.เลือด 2.หลอดเลือด 3.หัวใจ4.2 การไหลเวยี นเลือดในรา่ งกาย4.3 การควบคมุ การทางานของระบบ4.4 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบน้าเหลือง

วตั ถุประสงค์การเรียนรู้• อธบิ ายเก่ยี วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบไหลเวยี นเลอื ดได้• อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบนา้ เหลอื งได้

ระบบไหลเวยี นโลหิต• ระบบการไหลเวียน ประกอบด้วยอวยั วะทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ หัวใจ หลอดเลือด เลอื ด หลอดน้าเหลือง นา้ เหลือง ต่อมน้าเหลือง และเนือ้ เยอ่ื น้าเหลือง

โครงสรา้ งและหน้าทข่ี องเซลล์และอวยั วะตา่ งๆ ในระบบไหลเวยี นโลหิต• หน้าทข่ี องระบบการไหลเวยี น1. นาอาหารและออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายและนาของเสีย (Waste product) รวมท้ังคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากสว่ นตา่ งๆของรา่ งกายไปสู่ปอด และไต สาไส้ ผิวหนงั เพื่อขับออก2. เป็นทางผา่ นของฮอรโ์ มน3. ทาลายหรือกรองเชื้อโรคออกจากนา้ เหลอื ง4. สร้างเมด็ เลือดขาวบางชนดิ เชน่ Lymphocytes และ Monocytes5. สรา้ งภมู ิตา้ นทานโรค

โครงสร้างและหน้าทข่ี องเซลล์และอวยั วะต่างๆ ในระบบไหลเวียนโลหิต (ตอ่ )• ระบบการไหลเวยี น แบง่ ออกเป็น 2 พวก คอื 1. ระบบการไหลเวยี นโลหติ (Blood vascular system) 2. ระบบการไหลเวียนนา้ เหลอื ง (Lymph vascular system)• ระบบการไหลเวยี นโลหติ ประกอบด้วยอวยั วะทีส่ าคัญคอื 1. หัวใจ (Heart หรือ Cardium) 2. หลอดเลอื ด (Blood vessel) ได้แก่ หลอดเลือดแดง (Artery) หลอดเลอื ดแดงเล็กๆ (Arteriole)

ระบบการไหลเวียนโลหติ (ตอ่ ) หลอดเลอื ดฝอย (Capillary) หลอดเลือดดาเล็ก (Venule) หลอดเลือดดา (Vein) 3. เลอื ด (Blood)

เลือด (Blood)• เลือดเปน็ Connective tissue มลี กั ษณะเปน็ ของเหลวทม่ี ีสว่ นประกอบซับซอ้ น มีอยทู่ ่วั ไป• ในรา่ งกาย พบได้ทุกอวัยวะ เช่น กระดกู กลา้ มเนอื้ สมอง ฯ เลอื ดมสี ีแดงเมือ่ อยู่ ในหลอดเลือดแดง จะมีสีแดงสด• มีสแี ดงคล้าเวลาอยใู่ นหลอดเลอื ดดา มีกล่นิ คาว รสกรอ่ ย มีฤทธ์ิเปน็ ดา่ งเลก็ น้อย อณุ หภมู ิประมาณ 38.7 °C หรอื 100 °F จานวนเลือดในรา่ งกายมีประมาณ 7 –8 % ของ• น้า-หนกั หรือโดยเฉลย่ี ในผูใ้ หญม่ เี ลือดประมาณ 5 -6 ลิตร

เลอื ด (Blood)• ส่วนประกอบของเลือด ประกอบดว้ ย 1. เม็ดเลือด (Cells หรือ Corpuscles) มีอยู่ประมาณ 45 % 2. พลาสมา (Plasma) เป็นสว่ นที่เป็นนา้ ของเลอื ด มีอยู่ประมาณ 55 %• เมด็ เลือด มีอยู่ 3 ชนิด คอื 1. เม็ดเลือดแดง (Red blood cell หรอื Erythrocytes) 2 เม็ดเลอื ดขาว (White blood cell หรือ Leukocytes) 3. เกลด็ เลอื ด (Blood platelets หรอื Thrombocytes)

รูป 1.1 เมด็ เลอื ดแดง เม็ดเลือดขาว และเกลด็ เลือดทม่ี า : Marshall ,Graaff and Fox . 1999 : 593

รปู 1.2 ลกั ษณะของเม็ดเลือดแดง ท่มี า : Marieb. 2004 : 648

เมด็ เลอื ดแดง• ลักษณะของเม็ดเลือดแดงที่เจริญเต็มท่ี ถ้านามาส่องด้วย กล้อง จลุ ทรรศน์ จะเห็นวา่ มีลักษณะกลมแบน ตรงกลางเว้าท้งั สองดา้ น (Biconcave disc) ไมม่ ีนิวเคลยี ส• มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 7.7 ไมครอน หรือ 0.0077 ม.ม. เวลาอยู่เด่ียวๆจะมีสีเหลืองแกมเขียว ถ้าอยู่รวมกันเป็นกลุ่มจะมีสีแดง ลกั ษณะออ่ นนมุ่ แตเ่ หนียวและเปลย่ี นแปลงรปู ไดจ้ ึงสามารถเคลื่อนผ่าน หลอดเลือดท่ีมขี นาดเลก็ กว่าเมด็ เลอื ดแดงได้

ส่วนประกอบของเมด็ เลอื ดแดง• เมด็ เลือดแดงประกอบดว้ ยเฮโมโกลบิน ( Hemoglobin) ซงึ่ ประกอบดว้ ย สว่ นประกอบท่ีสาคญั 2 สว่ น คอื สว่ นท่เี ปน็ โปรตนี ทเ่ี รียกวา่ Globin และสารท่ี ทาหน้าทจ่ี บั ธาตุเหลก็ เรยี กวา่ Hematin ซง่ึ เปน็ ส่วนท่ที าให้เกดิ สขี องเลือด และ มคี วามสามารถในการจับออกซิเจนภายในปอดได้ดีและปล่อยออกซิเจนเขา้ สู่ เนื้อเยอ่ื ได้• รา่ งกายคนเราสามารถใชอ้ อกซเิ จนได้โดย Hemoglobin จะรวมตวั ออกซิเจน กลายเป็น Oxyhemoglobin จะเคลอ่ื นที่ไปยังกระแสเลือด พร้อมท้งั นา ออกซิเจนไปเลี้ยงเซลล์ของร่างกายและรับเอาคารบ์ อนไดออกไซด์จากเซลล์ของ ร่างกายถ่ายเทออกทางปอด โดยปกตเิ ฮโมโกลบนิ 1 (บังอร ฉางทรพั ย์. 2550 :หน้า 501 )

ส่วนประกอบของเมด็ เลอื ดแดง• Hemoglobin ปกติมคี ่าเทา่ กับ 14 -16 กรมั ตอ่ เลอื ด 100 ลบ.ซม. เรยี กว่าเปน็ 100 %ปกติ น้อยคนนกั ที่จะมีครบ 100 %โดยมากมี Hemoglobin 85 % ข้นึ ไปถอื วา่ ปกติ ปกตจิ ะมเี ม็ดเลือดแดงประมาณ 4-5 ลา้ นเซลลต์ ่อ 1 ลบ.ม.ม. สว่ นใน ทารกเกดิ ใหม่อาจมมี ากถงึ 6 -7 ลา้ นเซลล์ ตอ่ 1 ลบ.ม.ม.

การสรา้ งเม็ดเลือดแดง (Erythropoiesis)• การสรา้ งเมด็ เลือดแดงเกิดข้ึนจากเซลล์ภายในไขกระดูกแดง พบไดท้ กี่ ระดกู สนั หลังกระดูกหนา้ อก กระดูกซโี่ ครง กระดกู กะโหลกศีรษะ โดยการกระตุ้นของ ฮอรโ์ มน Erythropoietin ทห่ี ลง่ั มาจากไตให้เซลลต์ ้นกาเนดิ ดง้ั เดมิ ของเซลลเ์ ม็ด เลอื ด (Hemocytoblast) เจรญิ เติบโตตามระยะต่างๆ ตามลาดับดังนี้ คือ Hemocytoblast, Erythroblast, Normoblast, Reticulocyte และเมด็ เลอื ด แดงท่เี จรญิ เตม็ ท่ี (Erythrocyte) อยูใ่ นกระแสเลือด เซลล์นี้มอี ายุประมาณ 120 วนั ปกตอิ ตั ราการสรา้ งเม็ดเลือดแดงประมาณ 400 -500 ลบ.ซม.ต่อเดือน (พร ทพิ ย์ อนิ สมพันธ.์ 2537 : หน้า 261)

การสร้างเม็ดเลอื ดแดง ( Erythropoiesis ) (ตอ่ )• อตั ราการสร้างจะเปลี่ยนแปลงไดข้ ึ้นอยูก่ บั ปริมาณออกซิเจนในเลอื ด ถา้ ออกซิเจนต่าหรอื เกดิ การเสียเลือดจะมีเรง่ ไขกระดูกใหส้ รา้ งเมด็ เลือดแดงเพม่ิ ข้นึ แล้วจึงถกู ทาลายโดย ก. ผนงั ของเมด็ เลือดแดงทีแ่ ก่เตม็ ที่จะเปราะและแตกออกเนือ่ งจากการเสียดสกี ับ หลอดเลือดและสารเคมีต่างๆในเลอื ด ข. ถกู ทาลายดว้ ยเซลล์ของมา้ มและตบั (Phagocytes) เมื่อเมด็ เลือดแดงถกู ทาลายแล้ว สว่ นของ Hemoglobin จะถกู แยกออกเปน็ 2 สว่ น ส่วนของ Hematin รา่ งกายจะเกบ็ ไว้ใช้สาหรับสร้างเมด็ เลอื ดแดงต่อไป ส่วน Globin จะ ถกู เปลี่ยนเปน็ บิลลริ บู นิ ( Bilirubin ) เข้าสู่ตบั แล้วถูกขบั ออกมากบั นา้ ดีเข้าสู่ ลาไสเ้ ล็กและขบั ถา่ ยออกมากับอจุ จาระ บางสว่ นถูกดดู ซึมเข้าสูก่ ระแสเลือดและ สว่ นทเี่ หลอื จะถูกขบั ออกมากับน้าปัสสาวะ

การสรา้ งเมด็ เลอื ดแดง ( Erythropoiesis ) (ต่อ)• ถา้ เม็ดเลือดแดงถกู ทาลายมากเกนิ ไป จะทาให้• ระดับบลิ ลริ ูบินสงู กว่าปกติ สารนจ้ี ะไปเกาะตามเนอ้ื เย่อื ตา่ งๆ เกิดภาวะ ตัวเหลอื ง(Jaundice)หนา้ ทขี่ องเมด็ เลอื ดแดง1. นาออกซเิ จนท่ีหายใจเข้าไปในปอดไปเลย้ี งเซลลต์ า่ งๆของรา่ งกายและ นาเอาคาร์บอนไดออกไซด์ ออกจากเซลลไ์ ปสู่ปอด2. ทาให้เลอื ดมีสีแดง

เมด็ เลือดขาว• เม็ดเลือดขาวเป็นเซลล์ท่ีประกอบด้วยโปรโตพลาสซึม และนิวเคลียส มีขนาด ต่างๆ กนั• ส่วนใหญ่เม็ดเลือดขาวของมนุษย์จะมีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดง มีสีเทา สามารถเคลื่อนไหวแบบคืบตัวเหมือนอะมีบา ดังนั้นจึงสามารถเคลื่อนท่ีผ่านรู เล็กๆ ของผนังหลอดเลือดฝอยออกมานอกหลอดเลือดได้

จานวนเมด็ เลือดขาว • ร่างกายคนที่ปกติแข็งแรงดีจะมีเม็ดเลือดขาวประมาณ 5000-7000 เซลล์ ต่อ 1 ลบ.มม. จานวนเม็ดเลือดขาวอาจมมี ากขึ้นได้ เช่นในระหว่างการย่อย และการ ดูดซึมอาหาร ภายหลังการออกกาลังกายหักโหม ภายหลังการ อาบน้าเย็น ระหว่างการตั้งครรภ์ และภาวะติดเช้ือ แต่ถ้าจานวนเม็ดเลือด ขาวมตี ้ังแต่ 10000 เซลล์ หรือมากกวา่ ใน 1 ลบ.มม. ถือวา่ ผดิ ปกติ ชนดิ ของเมด็ เลอื ดขาว แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คอื 1. พวกทม่ี ีแกรนูล (Granular leukocytes) เปน็ เมด็ เลือดขาวท่ีมีเม็ด เลก็ ในไซโตพลาสซมึ ส่วนนวิ เคลยี สจะเป็นรปู หลายกลีบ พวกทีม่ ีแกรนูล จาแนกออกเป็น 3 ชนิด คอื

ชนดิ ของเม็ดเลือดขาว• 1.1 นวิ โทรฟิล (Neutrophil) มีนวิ เคลียสหลายกลีบ ประมาณ 3 -5 กลีบ มี เส้นผา่ ศูนย์กลางประมาณ 12 –15ไมครอน ใหญ่เปน็ 2 เท่าของเมด็ เลอื ดแดง มี เม็ดเล็กๆ (Granules) ละเอยี ด เปน็ เม็ดเลือดขาวทีพ่ บมากทีส่ ุดมีอยู่ประมาณ 60- 70 %• 1.2 อีโอซโิ นฟลิ (Eosinophil) หรือ เอซโิ ดฟลิ (Acidophil) มเี ส้นผ่าศูนยก์ ลาง ประมาณ 10 -15 ไมครอนโตเป็น 2 เทา่ ของเมด็ เลือดแดงมอี ยู่ 1-6 % ของ จานวนเมด็ เลอื ดขาวในเลือด มีนิวเคลียสเปน็ รูปไขม่ ี 2 กลบี สว่ นใหญ่มีลักษณะ 2 กลีบตดิ กนั รูปร่างคลา้ ยโทรศพั ท์ มีเมด็ เลก็ ๆ (Gramules) หยาบ มหี นา้ ท่ี ทาลายตัวอ่อนของหนอนพยาธิทเ่ี ขา้ ส่รู า่ งกายโดยทางหลอดเลือดหรือผนงั ของ ท่อทางเดนิ อาหาร

ชนิดของเม็ดเลอื ดขาว (ต่อ)• 1.3 เบโซฟลิ (Basophil) มีเสน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 –12 ไมครอนขนาดใหญ่ กว่าเม็ดเลอื ดแดงเล็กนอ้ ย มีอยู่ประมาณ 0.5 -1 % ของจานวนเมด็ เลือดขาวใน เลือด มนี วิ เคลียสเป็นรปู โคง้ คล้ายตวั ยู มีเมด็ เล็กๆ (Granules) หยาบ ทาหนา้ ท่ี สร้างสาร Histamin ที่เก่ยี วข้องกบั การอักเสบทท่ี าให้เกิดการขยายผนังหลอด เลอื ดและชว่ ยใหเ้ มด็ เลือดขาวชนดิ อ่นื เขา้ มายังบริเวณอักเสบ

รูป 1.3 ชนิดของเม็ดเลือดขาวท่ีมา: Marieb. 2004 : 656

ชนิดของเม็ดเลือดขาว (ตอ่ )2. พวกทไ่ี ม่มแี กรนลู ( Non-granular leukocytes ) จาแนกได้ 2 ชนิด คือ 2.1 ลมิ โฟไซท์ (Lymphocytes ) เปน็ เซลล์ท่ีมีหลายขนาด ขนาดใหญ่กวา่ เม็ดเลือดแดงเล็กน้อย มีนิวเคลียสใหญ่กลมเกือบเต็มเซลล์ พบได้ 20 -40 % ของจานวนเม็ดเลือดขาวในเลือด ทาหนา้ ท่ีสร้างภมู ิคมุ้ กันโรค 2.2 โมโนไซท์ (Monocytes ) ขนาดใหญ่ 2 เท่าของเม็ดเลือดแดง พบได้ 2 -10 %ของจานวนเม็ดเลือดขาวในเลือด มีนิวเคลียสใหญ่และรอยเว้าคล้ายรูป ถ่ัว มีหน้าที่ ฆ่าเช้ือโรคและกินเนื้อเย่ือท่ีตายแล้วได้ดี โดยภายในเซลล์มีน้าย่อยที่ จะย่อยผนังเซลล์ของเชื้อโรคได้ และยังช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาวชนิด Lymphocyte

การสร้างเม็ดเลือดขาว ( Leukopoiesis ) • การสร้างเม็ดเลอื ดขาวชนดิ ทม่ี แี กรนลู เกดิ ขึน้ จากเซลล์ภายในไขกระดูกดว้ ยการ กระตุ้นของฮอรโ์ มนประเภท Glycoproteinไปกระตุ้นเซลลต์ ้นกาเนิดเม็ดเลอื ด (Hemocytoblast) ให้เจรญิ เปลย่ี นแปลงไปเป็น Myeloblast, Promyeloblast, Myelocyte, Metamyelocyte, Band cell และ • เป็นเม็ดเลือดขาวชนิดแกรนูลท่ีเจริญเต็มท่ี ได้แก่ Neutrophil, Eosinophil, Basophil

การสร้างเม็ดเลือดขาว ( Leukopoiesis )• ส่วนเม็ดเลือดขาวท่ีไม่มีแกรนูล Monocyte พฒั นามาจากเซลล์ต้นกาเนิดดั้งเดิม (Hemocytoblast) และเปล่ียนไปเป็น Monoblast, Promonoblast แล้ว Promonoblast ออกจากไขกระดกู เข้าไปในเนื้อเย่ือน้าเหลือง แล้วแบ่งตวั อย่าง รวดเร็วเปน็ Monocyte เขา้ สกู่ ระแสเลอื ด• อายุของเม็ดเลือดขาว เมด็ เลือดขาวชนดิ ไม่มีแกรนูลมอี ายปุ ระมาณเปน็ ชว่ั โมงถงึ ปี ส่วนชนดิ ทมี แี กรนลู มอี ายุเพยี ง 2-3 ชว่ั โมง ถงึ 12 วนั (Marieb. 2004 : 656) และถูกทาลายโดยตับ

หน้าทีข่ องเมด็ เลอื ดขาว• 1. ช่วยในการทาลายเชอ้ื โรค เมอื่ เชื้อโรคเข้าสู่รา่ งกาย เมด็ เลือดขาวจะไปสู่ บรเิ วณนั้นมากขึ้น ทาหน้าทีย่ อ่ ยหรอื ทาลายเชื้อโรคเหล่านนั้ (Phagocytosis)• 2. ช่วยซอ่ มแซมเน้ือเยอื่ ทถ่ี ูกทาลาย โดยการยอ่ ย หรือขับเคลื่อนเศษของเน้ือเยอื่ ทีเ่ ปน็ อนั ตรายในบรเิ วณน้นั

เกล็ดเลือด (Blood Platelet หรือ Thrombocytes) เป็นเซลล์ขนาดเล็ก ประมาณ 2 -4 ไมครอน เล็กกว่าเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว ไม่มีสี ไม่มี นิวเคลียส รูปร่างกลมแบน ตรงกลางนูนทั้งสองดา้ น ( Biconvex) มีแกรนูลมาก คนปกติจะมีเกล็ดเลือดประมาณ 2.5 -3 แสนเซลล์ ต่อ 1 ลบ.ม.ม. เกล็ดเลือด พัฒนาจากเซลล์ต้นกาเนิดดั้งเดิม (Hemocytoblast)ในไขกระดกู และเปล่ียนไป เป็น Megakaryoblast, Megakaryocyte และ Platelet ตามลาดับ เกล็ดเลือด มีอายปุ ระมาณ 5 -10 วัน ( Marieb, .2004 : 656 )หน้าที่ของเกลด็ เลอื ด• ช่วยทาให้เลือดแข็งตัว หยุดไหลขณะมีบาดแผล โดยมีเอนไซน์ ช่ือ Thromboplastin• มาเปลี่ยน Prothrombin ใหเ้ ป็น Thrombin

พลาสมา (Plasma)• เป็นส่วนทเี่ ป็นนา้ ของเลือด มีลกั ษณะใสสีเหลอื งออ่ น มีฤทธเ์ิ ป็นดา่ งเลก็ นอ้ ย ประกอบดว้ ยน้า 91-92 % และสารละลายต่างๆมากมาย ไดแ้ ก่ 1. โปรตนี 6 – 8 % ได้แก่ อลั บมู ิน (Albumin) ทาหนา้ ที่ควบคมุ ปรมิ าตร และความดนั เลือดโกลบลู นิ (Globulin) ทาหนา้ ท่ขี นส่งไขมนั วติ ามนิ และระบบ ภมู คิ ้มุ กนั และไฟบริโนเจน (Fibrinogen) ทาหนา้ ท่ใี นการแขง็ ตัวของเลือด 2. สารอาหารต่างๆ ได้แก่ กลโู คส กรดไขมนั กรดอะมโิ น วิตามิน เกลอื แร่ 3. สารอินทรีย์ ได้แก่ โซเดียมไบคาร์บอเนต โซเดียมคลอไรด์ และ โปตสั เซียมคารบ์ อเนต

พลาสมา (Plasma)4. ฮอร์โมน เอนไซม์ และภูมิคมุ้ กนั โรค5. ของเสียอันเกดิ จากการเผาผลาญในร่างกาย เช่น ยูเรีย ครีเอตนิ นิ (Creatinin)6. แกส๊ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ออกซิเจน คารบ์ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจน



• หวั ใจ (Heart หรอื Cardium ) หวั ใจประกอบดว้ ยกล้ามเนอื้ ภายในกลวง ตง้ั อยูใ่ นชอ่ งอกระหว่างปอดทงั้ สองขา้ ง เหนอื กะบงั ลมมีรปู ร่างคลา้ ย ดอกบัวตูม มีขนาดโตเทา่ กับกาปั้นของ คนๆนั้น ฐานของหวั ใจ (Base) อย่ขู ้างบนค่อนไปทางขวา สว่ นปลายของหวั ใจ (Apex) ช้ลี งขา้ งล่างค่อนไปข้างซา้ ย ผนังของหวั ใจมีลกั ษณะคล้ายหลอดเลือด ประกอบด้วยผนัง 3 ช้ัน ผนังช้ันนอก (Epicardium) เป็นผนังท่ีประกอบดว้ ยเซลล์บางใสและไขมัน ท่ีหุ้มอยู่รอบหลอดเลือดที่เล้ียงหัวใจ ทาหน้าท่ีสร้างของเหลวเพ่ือหล่อลื่นเยื่อหุ้ม หัวใจ

หวั ใจ (Heart หรอื Cardium )• ผนังชัน้ กลาง (Myocardium) ส่วนใหญ่ประกอบดว้ ยเสน้ ไยกลา้ มเนอื้ หวั ใจ ประสานจนหน้า ทาหนา้ ทส่ี ูบฉดี เลอื ด• ผนังชั้นใน ( Endocardium ) บภุ ายใน Myocardium ประกอบดว้ ยเซลลแ์ บน บางบุติดตอ่ ไปโดยตลอดกับเยอ่ื บุภายในหลอดเลือด ทาหน้าท่เี กยี่ วกบั การนา คลน่ื ไฟฟา้ ในหวั ใจ

• เยอ่ื หมุ้ หวั ใจ (Covering of the heart) หัวใจถกู หุ้มดว้ ยเย่ือหุ้มหัวใจ (Pericardium) มี 2 ชนั้ ชนั้ นอกเปน็ แผน่ พังผดื เหนยี วเรียกว่า Fibrous pericardium ชัน้ นจ้ี ะต่อเนื่องไปกบั ผนงั ชั้นนอก ของหลอดเลือดขนาดใหญท่ ่เี ข้า ออกจากหวั ใจ ส่วนลา่ งยึดติดกบั กะบังลม ชัน้ ใน เป็นแผน่ เยอ่ื เล่ือมเรยี กว่า Serous pericardium แยกเปน็ 2 ชัน้ ชนั้ นอก เรยี กวา่ Parietal layer ช้ันในเรยี กวา่ Visceral layer

ห้องหวั ใจ • ถา้ ผ่าหัวใจจะพบวา่ ภายในเปน็ โพรง ตรงกลางมผี นงั กน้ั เรยี กว่า Cardiac septum • แบง่ หัวใจออกเปน็ ซีกขวาและซ้าย หัวใจซกี ขวาจะรบั เลอื ดไม่บริสุทธิ์จากส่วน ตา่ งๆของรา่ งกายเพ่ือสง่ ไปฟอกที่ปอด • ซกี ซา้ ยรบั เลือดบริสุทธม์ิ าจากปอดแล้วสง่ ไปเลีย้ งทั่วร่างกาย • หัวใจแต่ละซกี ยงั มีลน้ิ หัวใจกนั้ แบง่ เป็นหอ้ งข้างบน และห้องขา้ งลา่ งอกี หวั ใจ หอ้ งบนเรียกวา่ Atrium

หอ้ งหวั ใจ• หัวใจห้องลา่ งเรยี กวา่ Ventricle หวั ใจหอ้ งบนขวาและซ้ายมผี นังก้นั เรียกวา่ Interatrial septum• ผนงั กัน้ ระหวา่ งหัวใจหอ้ งลา่ งขวาและซา้ ยเรียกวา่ Interventricular septum



การควบคุมทางานของหวั ใจ การทางานของหวั ใจเกิดขึ้นเป็นจังหวะติดต่อกันโดยอตั โนมัติมีการหดตวั (Systole) และคลายตวั (Diastole) สลบั กันไปเรื่อยๆ ทางานคล้ายกล้ามเนอ้ื ลาย มีการหดตวั จากจดุ หน่งึ ไปยังจุดอื่นๆ ของหวั ใจกล้ามเนอ้ื หวั ใจหดตัวเองโดยเรมิ่ ต้นการกระตุ้นทางไฟฟา้ จาก Sino-Atrial(S-A) node หรือ Pacemaker ที่อยบู่ รเิ วณรอยตอ่ ระหว่าง Superiorvena cava กับด้านหลงั ของหัวใจหอ้ งบนขวา (Right atrium) ส่งเสน้ ใยไปท่ี Atrioventricular (A-V) node ซง่ึ อยู่ทชี่ ัน้ Subendocardiumของผนงั

• หัวใจห้องบนท้ังสองข้าง แล้วแยกเป็น Atrioventricular bundle of his ขวา และซ้าย แทรกผนังกั้นระหว่างหัวใจห้องล่างท้ังสองข้างโดยอยู่ท่ีช้ัน Subendocardium แ ล ะ แ ย ก ต่ อ เ ป็ น Punkinjefiber เ ข้ า ไ ป ที่ ช้ั น Subendocardium ของหัวใจห้องล่างขวาและซ้าย ทาให้หัวใจห้องล่างหดตัว ตามหลังหอ้ งบน

เสียงหวั ใจ ( Heart sound )• ระหว่างท่ีหัวใจหดตัว จะเกิดเสียงซึ่งได้ยินที่ผิวกาย เสียงเหล่าน้ีเกิดจากการ เคล่ือนที่ของเลือด การหดตัวและการปิดของลิ้นหัวใจ อาจได้ยินโดยใช้หูแนบฟัง หรอื ใช้หฟู งั แตะท่บี ริเวณหน้าอก เสยี งหัวใจมี 4 เสยี งดังนี้ คือ1. เสยี งหัวใจเสียงทีห่ นงึ่ (ลบั –lub) เป็นเสยี งตา่ ไดย้ ินชดั เจนและระยะเวลายาวได้ยนิ ขณะลิ้นหวั ใจ Tricuspid และ Bicuspid ปิด2. เสียงหวั ใจเสยี งท่ีสอง (ดบุ -dub) เกดิ ขณะลน้ิ หัวใจ Aortic และPulmonaryปดิ3. เสียงหวั ใจเสยี งทส่ี าม เปน็ เสยี งท่เี กิดในระยะคลายตวั เมอ่ื หวั ใจหอ้ งล่างคลายตวัทาใหค้ วามดันในหวั ใจหอ้ งล่างต่ากวา่ หัวใจหอ้ งบน มกั ไมไ่ ดย้ ินในวัยผใู้ หญ่ จะได้ยินในเด็กวยั รนุ่

4. เสียงหัวใจเสียงที่สี่ พบในระยะหัวใจห้องบนบีบตัว ไล่เลือดผ่านลิ้นหัวใจ Tricuspid และ Bicuspid เกิดการสั่นสะเทือน รวมทั้งการสั่นของผนังหัวใจห้อง บน และผนังหัวใจข้างล่างเสียงน้ีมักฟังไมไ่ ด้ยินตาแหนง่ ทไ่ี ดย้ นิ เสยี งหวั ใจถ้าใชห้ ฟู งั แตะบนทรวงอกบริเวณต่างๆ จะทาให้ได้ยนิ เสียงหวั ใจชดั เจนดังน้ี - ลิ้นหวั ใจ Pulmonary ฟังบริเวณกระดูกซี่โครง ซี่ท่ี 2 และ 3 ดา้ นซา้ ย - ล้ินหวั ใจ Aortic ฟังบริเวณกระดูกซโ่ี ครง ซี่ที่ 2 ดา้ นขวาชดิ กับกระดูกหนา้ อก - ล้ินหัวใจ Tricuspid ฟังบรเิ วณกระดูกซี่โครงซ่ีท่ี 5 และ 6 ดา้ นซา้ ย ชดิ กบั กระดูกหน้าอก

ชีพจร ( Pulse )• ชีพจรเป็นคล่ืนที่เกิดจากการขยายและหดตัวสลับกันของหลอดเลือดแดง เป็นผล มาจากการบีบตัวของหัวใจ และทาให้เกิดความดันในหลอดเลือด ดันผนังของ หลอดเลือดแดงให้ขยายตัวซง่ึ สามารถจับชีพจรไดห้ ลายแห่ง ตาเหน่งที่จับได้ง่าย และสะดวก คือ ข้อมือดา้ นหัวแมม่ อื (Radial artery)ความดนั โลหติ ( Blood pressure ) ความดันโลหิต หมายถึง ความดันภายในหลอดเลือด เม่ือหัวใจห้องล่างซ้ายบีบ ตัว และมีเลือดไหลผ่านมากระทบผนังหลอดเลือด ความดันสูงสุดเม่ือหัวใจห้อง ล่างบีบตัวแล้วเลือดถูกดันออกมากระทบกับผนังของ Aorta เรียกว่า Systolic pressure และความดันเมื่อหัวใจคลายตัวซ่ึงเป็นความดันปกติท่ีมีอยู่ในหลอด เลอื ด เรยี กวา่ Diastolic pressure

หนา้ ทข่ี องหวั ใจ1. สูบฉดี เลอื ดแดงไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยการบบี ตัวของหวั ใจหอ้ งล่าง ซา้ ยออกทางหลอดเลือดแดงใหญ่ (Aorta)2. รับเลือดดาจากส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยผ่านหวั ใจห้องบนขวาและห้องล่างขวา

หลอดเลอื ดทเี่ ลย้ี งหวั ใจ• หลอดเลือดท่ีไปเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจมี 2 แขนง คือ Right และ Left Coronary artery ซึ่งแยกจาก Aorta ส่วนที่อยู่เหนือล้ินหัวใจ Aortic semilunar valve หลอดเลือด Coronary ซ้ายและขวาจะแตกออกเป็นหลอดเลือดฝอยไปเล้ียง หัวใจ เมื่อเลือดท่ีไปเลี้ยงหัวใจแล้วจะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาทาง Coronary sinus ซง่ึ เปน็ หลอดเลอื ดดาทอ่ี ยบู่ รเิ วณหัวใจห้องบนและล่างซ้าย

• หลอดเลือดแดง (Artery ) เปน็ หลอดเลือดท่นี าเลือดออกจากหัวใจ หลอดเลือดท่มี ขี นาดใหญ่ทีส่ ดุ คอื Aorta แลว้ แตกแขนงออกเป็นหลอดเลือดท่ีมขี นาดเลก็ ลง จนเป็นแขนงที่เล็ก ที่สุดท่เี รยี กว่า หลอดเลอื ดแดงฝอย ( Arterioles)• หลอดเลอื ดดา ( Vein ) หลอดเลือดดาเป็นหลอดเลือดท่ีนาเลือดจากหลอดเลือดฝอยกลับเข้าสู่หัวใจ โดยเร่ิมจากหลอดเลือดดาฝอย ( Venules) หลอดเลือดดาขนาดเล็ก และใหญ่ ตามลาดบั

หลอดเลือดฝอย ( Capillary ) หลอดเลือดฝอยเป็นหลอดเลือดท่ีมีขนาดเล็ก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 0.008 มม.เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแ ดงฝอย ( Arteriole ) กบั หลอดเลอื ดดาฝอย (Venule)การไหลเวยี นเลือด ( Blood circulation )• การไหลเวียนเลือดภายในรา่ งกาย เลือดทไ่ี หลไปตามหลอดเลอื ดตา่ งๆ เป็นวงจร แบง่ ออกเปน็ 3 วงจร คือ

1. การไหลเวยี นเลอื ดผา่ นปอด ( Pulmonary circulation ) เลือดจากส่วนตา่ งๆของร่างกายและจากผนงั หัวใจเข้าสู่หัวใจหอ้ งบนขวา ( Right atrium) - ผา่ นล้ินหัวใจ Right atrioventricular valve (Tricuspid valve) เข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle) - ผ่านลิ้นหัวใจ Pulmonary semilunar valve เขา้ สู่ Pulmonary trunk แตกออกเปน็• Pulmonary artery ขวาและซ้ายทอดไปสู่ขั้วปอดแล้วแยกเป็น 3 แขนงเข้ากลีบ ปอดข้างขวา และแยกเป็น 2 แขนงเข้ากลีบปอดข้างซ้าย ผ่านแขนงหลอดเลือด ฝอยภายในปอด แล้วรับออกซเิ จน พร้อมกบั ถ่ายคารบ์ อนไดออกไซด์ออก จากนั้น เลือดท่ีบริสุทธ์ิจะถูกส่งผ่านเข้าสู่หลอดเลือดแดงเล็กๆ รวมเป็น Pulmonary vein จะมีPulmonary vein ออกจากปอดข้างละ 2 เส้นไปเปิดเข้าสู่หัวใจห้อง บนซ้าย ( Left atrium)

2. การไหลเวยี นเลอื ดสรู่ า่ งกาย ( Systemic circulation ) เลอื ดจากหัวใจหอ้ งบนซ้าย ( Left atrium) ผา่ นลน้ิ หัวใจ Left atrioventricular valve (Bicuspid valveหรอื Mitral valve) เขา้ สู่หัวใจหอ้ ง ลา่ งซา้ ย (Left ventricle) แลว้ ถกู บบี ใหไ้ หลผ่านลิ้นหัวใจ Aortic semilunar valve เขา้ สู่ Ascending aorta จากน้ันเลอื ดจะผา่ นไปตามแขนงของ Aorta จนแตกเปน็ หลอดเลอื ดเลก็ ๆ มากมาย สุดท้ายกลายเป็นหลอดเลือดฝอยขนาด เลก็ สดุ ทา้ ยกลายเปน็ หลอดเลอื ดฝอยขนาดเล็กบริเวณนี้มีการปล่อยออกซเิ จนสู่ เนือ้ เยือ่ และรับเอาคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ขา้ สู่หลอดเลอื ดฝอยเลือดจะถูกสง่ ต่อไป ยังหลอดเลอื ดดา และรวมเป็นหลอดเลอื ดดาท่ีใหญข่ นึ้ จนกลายเปน็ Superior vena cava และ Inferior vena cava นาเลอื ดเข้าสู่หวั ใจห้องบนขวา (Right atrium)

3. การไหลเวยี นเลือดท่ีหัวใจ ( Coronary circulation )• กล้ามเน้ือหัวใจได้รับเลือดมาเลี้ยงจากหลอดเลือดท่ีแตกมาจาก Ascending aorta เป็น Right และ Left coronary arteries ท่ีแตกแขนงเป็นวงรอบหัวใจ อยู่ท่ีร่องหัวใจห้องบนและล่าง (Atrioventricular sulcus) จากนั้น Coronary artery ทั้งสองจะแตกแขนงออกเพ่ือนาเลือดไปเล้ียงหัวใจห้องบนและล่าง โดยมี การประสานกันที่บริเวณผิวด้านหลังของหัวใจ ดังน้ันถ้าหลอดเลือด เกิดอุดตัน เลือดสามารถจะส่งไปเลี้ยงหัวใจไดโ้ ดยลัดตามบริเวณท่ีมันประสานกัน เมื่อเลือด นาออกซิเจนและสารอาหารให้แก่กล้ามเน้ือหัวใจแล้ว จะนาเลือดดากลับเข้าสู่ หลอดเลอื ดดาและหลอดเลอื ดดาท่ีมีขนาดใหญ่ข้ึนเรียกวา่ Coronary sinus เพื่อ นาเลอื ดเขา้ สูห่ วั ใจห้องบนขวา(Right atrium)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook