Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์ชีววภาพ และสาระชีววิทยา

1.หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์ชีววภาพ และสาระชีววิทยา

Published by Rawat Yukerd, 2021-07-04 03:51:20

Description: หลักสูตรสาระวิทยาศาสตร์ชีววภาพ และสาระชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรรพยาวิทยา จัดทำโดย นายเรวัตร อยู่เกิด

Search

Read the Text Version



ก บทนำ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 น้ไี ดก้ ำหนดสาระการเรียนรู้ออกเปน็ ๘ สาระ ได้แก่ สำระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ สำระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สำระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ สาระที่ ๔ ชีววิทยา สาระที่ ๕ เคมี สาระที่ ๖ ฟิสิกส์ สาระที่ ๗ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ และสาระที่ ๘ เทคโนโลยี ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้ำนของเนื้อหา การจัดการเรียนการสอนและการวัดและ ประเมนิ ผล การเรียนร้นู ้ันมคี วามสำคัญอย่างย่ิงในการวางรากฐานการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชน้ั ให้มี ความตอ่ เนอื่ งเช่ือมโยงกนั ต้ังแต่ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถงึ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ สำหรับกลุ่ม สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ได้กำหนดตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนเปน็ พน้ื ฐาน เพอื่ ใหส้ ามารถ นำความรนู้ ไี้ ปใช้ในการดำรงชวี ิต หรอื ศึกษาต่อในวิชาชีพที่ตอ้ งใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดย จัดเรียงลำดับความยากงา่ ย ของเนอ้ื หำท้ัง ๘ สาระในแตล่ ะระดับช้นั ใหม้ กี ารเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ เรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด สร้างสรรค์ คดิ วเิ คราะหว์ ิจารณ์ มีทักษะที่ สำคัญทั้งทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษ ที่ ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่มุ่งหวังให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ขนึ้ เพ่อื ให้สถานศึกษา ครผู ้สู อน ตลอดจนหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ไดใ้ ช้เป็นแนวทางในการพฒั นา หนังสือเรียน คู่มือครู สื่อประกอบการเรยี นการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดยตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุงเพือ่ ใหม้ ีความสอดคล้องและเชือ่ มโยงกนั ภายในสาระการเรยี นรู้ เดยี วกันและระหวา่ งสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเช่อื มโยงเน้ือหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตรด์ ้วย นอกจากน้ี ยังไดป้ รบั ปรุงเพอื่ ให้มคี วามทนั สมยั ต่อการเปลีย่ นแปลง และ ความเจรญิ กา้ วหน้าของวทิ ยาการต่าง ๆ และทดั เทียมกบั นานาชาติ

ข สารบัญ หน้า บทนำ................................................................................................................................................................ ก สารบัญ.............................................................................................................................................................. ข สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น...............................................................................................................................1 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัด รายวชิ าวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ...............................................3 หนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตรช์ วี ภาพ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ..............16 คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาตรช์ ีวภาพ.........................................................................................................19 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ รายวิชาชวี วิทยา1 ................................................................................20 หน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา1...........................................................................................................26 คำอธบิ ายรายวิชาชวี วิทยา1 ......................................................................................................................27 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชีว้ ัด รายวชิ าชวี วิทยา2.............................................................28 หนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา2...........................................................................................................34 คำอธิบายรายวชิ าชีววทิ ยา2 ......................................................................................................................35 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัด รายวชิ าชวี วิทยา3.............................................................36 หน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ าชีววิทยา3...........................................................................................................42 คำอธิบายรายวิชาชวี วทิ ยา3 ......................................................................................................................43 ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัด รายวชิ าชีววทิ ยา4.............................................................44 หนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชาชีววทิ ยา4...........................................................................................................52 คำอธิบายรายวชิ าชวี วิทยา4 ......................................................................................................................53 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วดั รายวชิ าชวี วทิ ยา5.............................................................54 หนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วทิ ยา5...........................................................................................................60 คำอธิบายรายวิชาชวี วทิ ยา5 ......................................................................................................................61 ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชวี้ ดั รายวิชาชวี วทิ ยา6.............................................................62 หน่วยการเรียนรู้ รายวชิ าชีววทิ ยา6...........................................................................................................69 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .......................................................................................69 คำอธบิ ายรายวชิ าชีววิทยา6 ......................................................................................................................70

1 หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งใหผ้ ้เู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสอื่ สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รบั ข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้วธิ กี ารส่อื สาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นำไปส่กู ารสร้างองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศ เพอื่ การตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมกี ารตดั สินใจทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ีส่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ่นื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การ ทำงาน การแกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

2 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ม่งุ พัฒนาใหผ้ ู้เรยี นมีคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มี 8 ประการ ไดแ้ ก่ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซ่อื สัตยส์ จุ รติ 3. มีวินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ

3 ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั เพอ่ื จดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 มาตรฐานการเรยี นรู้และ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะ ตวั ช้วี ัด K (คำกริยา) อนั พึง สำคญั ของ สาระท่ี 1 - เขา้ ใจความหลากหลายของ P ประสงค์ ผเู้ รยี น วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ A C มาตรฐาน ว 1.1 ระหว่างส่ิงไม่มชี วี ิตกบั เข้าใจความหลากหลายของ สง่ิ มชี วี ติ และความสัมพันธ์ - นำไปใช้ - มีจติ - ความสามารถ ระบบนิเวศ ความสัมพนั ธ์ ระหว่างสิง่ มีชีวิตกับกับ ประโยชน์ สาธารณะ ในการคิด ระหว่างส่งิ ไมม่ ีชวี ติ กบั สง่ิ มีชวี ติ ต่างๆ ในระบบนิเวศ - ความสามารถ สงิ่ มีชวี ิต และความสัมพันธ์ การถา่ ยทอดพลังงาน การ ในการใชท้ ักษะ ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ิตกับส่ิงมชี ีวิต เปล่ียนแปลงแทนท่ใี นระบบ ชวี ิต ต่างๆ ในระบบนเิ วศ การ นเิ วศ ความหมายของ ถา่ ยทอดพลังงาน การ ประชากร ปญั หา และ - ความสามารถ เปลีย่ นแปลงแทนท่ใี นระบบ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ในการคิด นิเวศ ความหมายของ ทรัพยากรธรรมชาติ และการ - ความสามารถ ประชากร ปัญหา แก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม ในการสอื่ สาร และผลกระทบทีม่ ีต่อ - ความสามารถ ทรัพยากรธรรมชาติ และการ - บริเวณของโลกแต่ละบริเวณ - สืบค้น - ในการใช้ แกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดล้อม มสี ภาพทางภูมศิ าสตรท์ ี่ ข้อมูล เทคโนโลยี รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ ประโยชน์ แตกตา่ งกนั แบง่ ออกได้หลาย - อธบิ าย ม. 4/1 สืบคน้ ขอ้ มลู และ เขตตามสภาพภมู อิ ากาศ และ อธิบายความสมั พันธข์ อง ปริมาณน้ำฝน ทำใหม้ รี ะบบ สภาพทางภูมศิ าสตรบ์ นโลก กบั ความหลากหลายของไบ นเิ วศท่หี ลากหลายซ่งึ ส่งผลให้ โอม และยกตวั อยา่ งไบโอม เกิดความหลากหลายของไบ ชนดิ ต่างๆ โอม

4 มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะ สมรรถนะ ตัวชว้ี ัด K (คำกริยา) อันพึง สำคัญของ ประสงค์ P A ผูเ้ รียน - C ม. 4/2 สบื ค้นข้อมลู - การเปล่ียนแปลงแทนทข่ี อง - สืบคน้ - - ความสามารถ อภิปรายสาเหตุ และ ระบบนเิ วศเกิดข้ึนได้ ข้อมูล ในการคดิ - ความสามารถ ยกตัวอยา่ งการเปลยี่ นแปลง ตลอดเวลาท้งั การ - อภปิ ราย ในการส่ือสาร - ความสามารถ แทนทขี่ องระบบนิเวศ เปลย่ี นแปลงที่เกิดขน้ึ เองตาม - ยกตวั อย่าง ในการใช้ เทคโนโลยี ธรรมชาติ และเกดิ จากการ - ความสามารถ กระทำของมนุษย์ ในการคดิ - ความสามารถ - การเปลย่ี นแปลงแทนทเี่ ป็น ในการสอื่ สาร - ความสามารถ การเปลย่ี นแปลงของกลมุ่ ในการใช้ เทคโนโลยี สิ่งมชี ีวิตท่เี กดิ ขึ้นช้า ๆ เป็น เวลานานซ่งึ เป็นผลจาก ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง องค์ประกอบทางกายภาพ และทางชวี ภาพ สง่ ผลให้ ระบบนิเวศเปล่ยี นแปลงสู่ สมดลุ จนเกิดสังคมสมบรู ณไ์ ด้ ม. 4/3 สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบาย - การเปล่ยี นแปลงของ - สบื ค้น และยกตวั อย่างเกีย่ วกับการ องคป์ ระกอบในระบบนิเวศทงั้ ข้อมลู เปล่ยี นแปลงขององคป์ ระกอบ ทางกายภาพ และทางชีวภาพ - อธิบาย ทางกายภาพและชีวภาพท่มี ี มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลง - ยกตวั อยา่ ง ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาด ขนาดของประชาการ ของประชากรส่งิ มชี ีวิตใน ระบบนิเวศ

5 มาตรฐานการเรยี นรู้และ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลักษณะอนั พงึ สมรรถนะ ตัวชีว้ ัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคัญของ P A ผูเ้ รยี น C ม. 4/4 สืบค้นขอ้ มลู และ - มนุษย์ใช้ - สืบค้น - อนุรกั ษ์ - ความสามารถ อภิปรายเกีย่ วกบั ปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติโดย ข้อมูล ทรัพยากรธรรมชาติ ในการคดิ และผลกระทบที่มีตอ่ ปราศจากความระมดั ระวัง - อภิปราย - ความสามารถ ทรพั ยากรธรรมชาติ และ และมีการพฒั นาเทคโนโลยี - นำเสนอ ในการส่ือสาร สง่ิ แวดลอ้ ม พร้อมท้งั ใหมๆ่ เพ่ือชว่ ยอำนวยความ - ความสามารถ นำเสนอแนวทางในการ สะดวกตา่ งๆ แกม่ นษุ ย์ ในการใช้ อนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ สง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลง เทคโนโลยี และการแก้ไขปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาติ และ สิง่ แวดล้อม สง่ิ แวดล้อม - ปญั หาทีเ่ กิดกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และ ส่ิงแวดล้อมบางปัญหาสง่ ผลกระทบในระดบั ทอ้ งถิ่น บางปญั หาสง่ ผลกระทบใน ระดับประเทศ และบาง ปญั หายงั สง่ ผลกระทบใน ระดบั โลก - การลดปรมิ าณการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติ การ กำจัดของเสยี ที่เปน็ สาเหตุ ของปญั หาส่งิ แวดลอ้ ม และ การวางแผนจัดการ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ด่ี ี เปน็ ตัวอยา่ งของแนวทางใน การอนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และ การลดปญั หาส่งิ แวดล้อมท่ี เกดิ ข้ึน เพ่อื ใหเ้ กิดการใช้ ประโยชน์ท่ียง่ั ยนื

6 มาตรฐานการเรียนร้แู ละ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ สมรรถนะ ตวั ชีว้ ัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคญั ของ P A ผู้เรียน C สาระท่ี 1 - เขา้ ใจสมบตั ิของสิง่ มีชวี ิต - นำความรู้ - มจี ิตสาธารณะ - ความสามารถ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ หน่วยพ้นื ฐานของสิง่ มีชวี ิต ไปใช้ ในการคดิ มาตรฐาน ว 1.2 การลำเลยี งสารเขา้ และ ประโยชน์ - ความสามารถ เขา้ ใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต ออกจากเซลล์ ในการใชท้ กั ษะ หนว่ ยพนื้ ฐานของสง่ิ มชี วี ิต ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง ชวี ติ การลำเลยี งสารเขา้ และ และหน้าทข่ี องอวัยวะตา่ ง ออกจากเซลล์ ๆ ของพชื ทที่ ำงานสัมพันธ์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง กนั และหนา้ ท่ขี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พนั ธ์ กัน รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ ประโยชน์ ม. 4/1 อธบิ ายโครงสร้าง - เย่ือหุม้ เซลล์มีโครงสร้าง - อธิบาย - - ความสามารถ และสมบัติของเย่อื หุม้ เซลล์ เปน็ เยื่อหุ้มสองชนั้ ท่มี ีลิพดิ - ในการคดิ ทสี่ ัมพันธ์กบั การลำเลยี ง เปน็ องค์ประกอบ และมี เปรยี บเทยี บ - ความสามารถ สาร และเปรียบเทยี บการ โปรตนี แทรกอยู่ ในการส่ือสาร ลำเลียงสารผ่านเย่ือหุม้ - สารท่ีละลายไดใ้ นลพิ ดิ เซลลแ์ บบต่าง ๆ และสารท่มี ขี นาดเล็ก สามารถแพรผ่ า่ นเยอ่ื หุ้ม เซลลไ์ ดโ้ ดยตรง สว่ นสาร ขนาดเลก็ ทม่ี ีประจุตอ้ ง ลำเลยี งผ่านโปรตีนทแี่ ทรก อย่ทู ี่เยอ่ื หมุ้ เซลล์ ซ่งึ มี 2 แบบ คือ การแพรแ่ บบฟาซิ ลเิ ทต และแอกทฟี ทราน สปอรต์ ในกรณีสารขนาด ใหญ่ เช่น โปรตีน จะลำเลยี งเข้าโดย กระบวนการเอนโดไซโทซิส หรือลำเลยี งออกโดย กระบวนการเอกโซไซโทซสิ

7 มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวชีว้ ัด K (คำกริยา) ประสงค์ สำคญั ของ P A ผู้เรียน C ม. 4/2 อธบิ ายการควบคุม - การรักษาดลุ ยภาพของนำ้ - อธบิ าย - - ความสามารถ ดุลยภาพของนำ้ และสาร และสารในเลือดเกดิ จาก ในการสื่อสาร ในเลอื ดโดยการทำงานของ การทำงานของไต ซึง่ เป็น - ความสามารถ ไต อวัยวะในระบบขับถา่ ยทีม่ ี ในการคิด ความสำคญั ในการกำจดั ของเสียทม่ี ใี นโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ รวมทั้งนำ้ และสารท่ีมปี ริมาณเกนิ ความต้องการของรา่ งกาย ม. 4/3 อธิบายการควบคุม - การรักษาดุลยภาพของ - อธบิ าย - - ความสามารถ ดลุ ยภาพของกรด-เบส ของ กรด-เบส ในเลอื ดเกิดจาก ในการคิด เลอื ดโดยการทำงานของไต การทำงานของไตทที่ ำ - ความสามารถ และปอด หนา้ ท่ีขบั หรอื ดดู กลับ ในการสอ่ื สาร ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคารบ์ อเนต ไอออน และแอมโมเนยี ม ไอออน และการทำงานของ ปอด ท่ีทำหน้าที่กำจดั คารบ์ อนไดออกไซด์ ม. 4/4 อธิบายการควบคุม - การรักษาดลุ ยภาพของ - อธบิ าย - - ความสามารถ ดุลยภาพของอณุ หภมู ิ อณุ หภมู ิในรา่ งกายเกิดจาก ในการคิด ภายในรา่ งกายโดยระบบ การทำงานของระบบ - ความสามารถ หมนุ เวียนเลอื ด ผิวหนงั หมุนเวยี นเลือดท่ีควบคุม ในการสอื่ สาร และกล้ามเน้อื โครงร่าง ปริมาณเลือดไปที่ผวิ หนัง การทำงานของต่อมเหงือ่ และกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง ซ่งึ สง่ ผลถงึ ปริมาณความร้อน ท่ีถูกเก็บ หรือระบายออก จากร่างกาย

8 มาตรฐานการเรียนรู้และ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวชวี้ ัด K (คำกริยา) ประสงค์ สำคญั ของ P A ผ้เู รยี น C ม. 4/5 อธิบาย และเขยี น - เมอ่ื เช้ือโรค หรอื สิง่ แปลก - อธิบาย - - ความสามารถ แผนผังเกี่ยวกับการ ปลอมเขา้ ส่รู ่างกาย - เขยี น ในการคดิ ตอบสนองของรา่ งกายแบบ ร่างกายจะมีกลไกในการ แผนผัง - ความสามารถ ไม่จำเพาะ และแบบ ต่อตา้ น หรือทำลายสงิ่ ในการส่อื สาร จำเพาะต่อสิ่งแปลกปลอม แปลกปลอมท้งั แบบไม่ ของรา่ งกาย จำเพาะ และแบบจำเพาะ - เซลล์เมด็ เลือดขาวกลุ่ม ฟาโกไซตจ์ ะมกี ลไกในการ ตอ่ ตา้ น หรือทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะ - กลไกในการตอ่ ตา้ นหรอื ทำลายส่ิงแปลกปลอมแบบ จำเพาะของเม็ดเลอื ดขาว ลมิ โฟไซตช์ นิดบี และชนิดที ซ่ึงเซลล์เมด็ เลอื ดขาวท้งั สองชนิดจะมตี วั รบั แอนตเิ จน ทำใหเ้ ซลล์ทัง้ สองสามารถตอบสนองแบบ จำเพาะตอ่ แอนตเิ จนน้ัน ๆ ได้ - เซลล์บที ำหน้าที่สร้าง แอนตบิ อดี ซง่ึ ชว่ ยในการ จบั กับสิง่ แปลกปลอม ต่างๆ เพ่ือทำลายตอ่ ไป โดยระบบภูมคิ ้มุ กนั เซลล์ที ทำหน้าที่หลากหลาย เชน่ กระตุ้นการทำงานของเซลล์ บี และเซลล์ทชี นดิ อ่นื ทำลายเซลล์ที่ติดไวรสั และ เซลล์ปกตอิ น่ื ๆ

9 มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ สมรรถนะ ตวั ชีว้ ัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคัญของ P A ผู้เรียน C ม. 4/6 สบื คน้ ขอ้ มลู - บางกรณีรา่ งกายอาจเกิด - สืบค้น - - ความสามารถ อธิบาย และยกตวั อย่างโรค ความผดิ ปกติของระบบ ขอ้ มลู ในการคดิ หรืออาการท่เี กิดจากความ ภมู คิ ้มุ กัน เชน่ ภมู คิ ุ้มกัน - อธบิ าย - ความสามารถ ผดิ ปกติของระบบภูมคิ ุ้มกนั ตอบสนองตอ่ แอนตเิ จนบาง - ยกตวั อยา่ ง ในการส่อื สาร ชนิดอย่างรนุ แรงมากเกนิ ไป - ความสามารถ หรือร่างกายมปี ฏิกริ ยิ า ในการใช้ ตอบสนองตอ่ แอนตเิ จนของ เทคโนโลยี ตนเองอาจทำใหร้ ่างกาย เกดิ ความผิดปกติได้ ม. 4/7 อธบิ ายภาวะ - บุคคลที่ไดร้ บั เลือด หรือ - อธบิ าย - - ความสามารถ ภมู คิ ้มุ กันบกพร่องทม่ี ี สารคดั หลงั่ ทมี่ เี ชอ้ื HIV ซึ่ง ในการคิด สาเหตมุ าจากการติดเชอ่ื สามารถทำลายเซลล์ที ทำ - ความสามารถ HIV ใหภ้ ูมคิ มุ้ กนั บกพรอ่ ง และ ในการสื่อสาร ตดิ เชื้อต่างๆ ได้ง่ายขนึ้ ม. 4/8 ทดสอบ และบอก - กระบวนการสังเคราะห์ - ทดสอบ - - ความสามารถ ชนดิ ของสารอาหารท่ีพืช ด้วยแสงเปน็ จดุ เร่มิ ต้นของ - บอกชนดิ ในการคิด สังเคราะหไ์ ด้ การสรา้ งนำ้ ตาลในพืช พืช - ความสามารถ เปลยี่ นน้ำตาลไปเป็น ในการใชท้ กั ษะ สารอาหาร และสารอ่ืนๆ ชวี ติ เช่น คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ที่จำเป็นต่อการ ดำรงชีวติ ของพชื และสัตว์ ม 4/9 สืบคน้ ข้อมูล มนุษย์สามารถนำสารต่าง - สบื ค้น - - ความสามารถ อภปิ ราย และยกตวั อยา่ ง ๆ ทพี่ ืชบางชนิดสรา้ งขึน้ ป ข้อมลู ในการคดิ เก่ยี วกับการใชป้ ระโยชน์ ใช้ประโยชน์ เชน่ ใช้เปน็ ยา - อภิปราย - ความสามารถ จากสารต่าง ๆ ทพี่ ชื บาง สมนุ ไพรในการรกั ษาโรค - ยกตัวอย่าง ในการสือ่ สาร ชนิดสรา้ งขน้ึ บางชนดิ ใช้ในการไลแ่ มลง - ความสามารถ กำจัดศัตรูพืช และสัตว์ ในการใช้ ยับยั้งการเจรญิ เติบโตของ เทคโนโลยี แบคทีเรยี และใช้เป็น วตั ถุดิบในอตุ สาหกรรม

10 มาตรฐานการเรยี นรู้และ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวช้วี ัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคัญของ P A ผู้เรียน C ม 4/10 ออกแบบการ - ปัจจัยภายนอกทม่ี ีผลต่อ - ออกแบบ - - ความสามารถ ทดลอง ทดลอง และ การเจรญิ เตบิ โต เช่น แสง การทดลอง ในการคิด อธิบายเกยี่ วกบั ปจั จัย นำ้ ธาตุอาหาร - ทดลอง - ความสามารถ ภายนอกทมี่ ีผลต่อการ คารบ์ อนไดออกไซด์ และ - อธิบาย ในการส่ือสาร เจริญเติบโตของพชื ออกซเิ จน ปัจจยั ภายใน - ความสามารถ เชน่ ฮอร์โมนพืช ซง่ึ พืชมี ในการ การสงั เคราะห์ขน้ึ เพ่อื แกป้ ญั หา ควบคุมการเจริญเตบิ โต ในชว่ งชวี ิตตา่ ง ๆ ม 4/11 สบื คน้ ข้อมลู - มนษุ ยม์ กี ารสังเคราะห์ - สืบค้น - - ความสามารถ เกี่ยวกับสารควบคมุ การ สารควบคุมการเจรญิ เติบโต ข้อมลู ในการคดิ เจริญเตบิ โตของพชื ท่ีมนษุ ย์ ของพชื โดยเลยี นแบบ - ยกตวั อยา่ ง - ความสามารถ สังเคราะห์ขึ้น และ ฮอรโ์ มนพชื เพื่อนำมาใช้ ในการใช้ ยกตัวอย่างการนำมา ควบคมุ การเจริญเติบโต เทคโนโลยี ประยุกต์ใชท้ างดา้ น และเพิ่มผลผลิตของพืช การเกษตรของพืช ม 4/12 สงั เกต และ - การตอบสนองต่อสิ่งเร้า - สงั เกต - - ความสามารถ อธบิ ายการตอบสนองของ ของพชื แบ่งตาม - อธบิ าย ในการคดิ พืชต่อสงิ่ เรา้ ในรปู แบบตา่ ง ความสมั พันธก์ บั ทิศทาง - ความสามารถ ๆ ที่มผี ลต่อ การ ของส่งิ เรา้ ได้ ได้แก่ แบบที่ ในการส่อื สาร ดำรงชวี ิต มที ศิ ทางสมั พันธ์กบั ทศิ ทาง ของ สิ่งเร้า เชน่ ดอก ทานตะวนั หันเข้าหาแสง ปลายรากเจริญเขา้ แรงโน้ม ถ่วงของโลก และแบบทไ่ี ม่ มที ิศทางสมั พนั ธ์กับทิศทาง ของส่งิ เรา้ เช่น การหบุ และบานของดอก หรอื การ หุบ และกางของใบพชื บาง ชนดิ - การตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า ของพืชบางอย่างสง่ ผลตอ่ การเจริญเติบโต เช่น การ เจริญในทิศทางเข้าหา หรือ

11 มาตรฐานการเรยี นรู้และ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวชี้วัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคัญของ PA ผู้เรียน C ตรงขา้ มกบั แรงโนม้ ถว่ งของ โลก การเจรญิ ในทิศทางเข้า หาหรอื ตรงข้ามกับแสง และการตอบสนองตอ่ การ สมั ผัสสิง่ เรา้

12 มาตรฐานการเรียนรู้และ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวชี้วัด K (คำกรยิ า) ประสงค์ สำคัญของ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ - เขา้ ใจกระบวนการ และ ชวี ภาพ ความสำคัญของการ P A ผ้เู รียน มาตรฐาน ว 1.3 ถา่ ยทอดลักษณะทาง เขา้ ใจกระบวนการ และ พนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม C ความสำคญั ของการ การเปลีย่ นแปลงทาง ถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมที่มีผลตอ่ - นำความรู้ - มจี ิตสาธารณะ - ความสามารถ พันธกุ รรม สารพันธกุ รรม สงิ่ มชี ีวติ ความหลากหลาย การเปล่ยี นแปลงทาง ทางชีวภาพ และ ไปใช้ ในการคดิ พันธุกรรมทีม่ ผี ลต่อ ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี วี ติ สง่ิ มีชวี ติ ความหลากหลาย ประโยชน์ - ความสามารถ ทางชีวภาพ และ - ดีเอ็นเอ มีโครงสรา้ ง วิวฒั นาการของสง่ิ มีชีวิต ประกอบด้วยนวิ คลโี อไทด์ ในการใชท้ ักษะ รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ มาเรยี งตอ่ กนั โดยยนี เปน็ ประโยชน์ ชว่ งของสายดีเอ็นเอท่มี ี ชวี ิต ม 4/1 อธิบาย ลำดบั นิวคลีโอไทดท์ ่ี ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งยนี กำหนดลักษณะของโปรตนี - อธบิ าย - - ความสามารถ การสงั เคราะห์โปรตนี และ ทส่ี ังเคราะห์ขึน้ ซง่ึ สง่ ผลให้ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม เกิดลักษณะทางพนั ธุกรรม ในการคิด ต่างๆ - ความสามารถ ในการสื่อสาร

13 มาตรฐานการเรียนรแู้ ละ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ สมรรถนะ ตัวช้ีวัด K (คำกริยา) ประสงค์ สำคัญของ P A ผ้เู รยี น C ม 4/2 อธบิ ายหลักการ - ลกั ษณะบางลักษณะมี - อธิบาย - - ความสามารถ ถา่ ยทอดลักษณะท่ีถกู โอกาสพบในเพศชาย และ ในการคิด ควบคมุ ด้วยยีนทีอ่ ย่บู น เพศหญิงไมเ่ ทา่ กัน เช่น ตา - ความสามารถ โครโมโซมเพศ และมลั ติ บอดสี และฮโี มฟเี ลีย ซ่ึง ในการสื่อสาร เปิลแอลลีล ควบคุมโดยยีนบน โครโมโซมเพศ บางลกั ษณะ มีการควบคุมโดยยนี แบบมัลติเปลิ แอลลีล เช่น หมเู่ ลอื ดระบบ ABO ซ่งึ มี การถา่ ยทอดลกั ษณะทาง พนั ธกุ รรมดงั กลา่ วจดั เป็น สว่ นขยายของพันธศุ าสตร์ เมนเดล ม 4/3 อธิบายผลท่เี กดิ จาก - มวิ เทชนั ท่ีเปลีย่ นแปลง - อธิบาย - - ความสามารถ การเปล่ียนแปลงลำดับนิ ลำดับนวิ คลีโอไทด์ หรอื ในการคดิ วคลโี อไทดใ์ นดเี อน็ เอต่อ เปลีย่ นแปลงโครงสร้าง -ความสามารถ การแสดงลกั ษณะของ หรอื จำนวนโครโมโซม อาจ ในการส่อื สาร ส่ิงแวดลอ้ ม ส่งผลทำให้ลักษณะของ สง่ิ มีชวี ิตเปลย่ี นแปลงไป จากเดมิ ซ่งึ อาจมีผลดี หรือ ผลเสยี ม 4/4 สบื ค้นขอ้ มลู และ - มนษุ ย์ใชห้ ลักการของการ - สืบคน้ - - ความสามารถ ยกตวั อย่างการนำมวิ เทชัน เกดิ มวิ เทชนั ในการชกั นำ ขอ้ มลู ในการคดิ ไปใช้ประโยชน์ ใหไ้ ด้ส่งิ มชี ีวติ ทมี่ ีลกั ษณะ - ยกตัวอย่าง - ความสามารถ แตกตา่ งจากเดมิ โดยการใช้ ในการใช้ รังสี และสารเคมีต่างๆ เทคโนโลยี

14 มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ สมรรถนะ ตวั ชี้วัด K (คำกริยา) ประสงค์ สำคัญของ ม 4/5 สบื ค้นข้อมลู และ อภปิ รายผลของเทคโนโลยี P A ผูเ้ รยี น ทางดเี อ็นเอ ท่มี ีต่อมนุษย์ และสง่ิ แวดลอ้ ม C - มนุษยน์ ำความรู้ - สบื ค้น - - ความสามารถ เทคโนโลยที างดีเอ็นเอมา ข้อมลู ในการคิด ประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ - อภปิ ราย - ความสามารถ และเภสชั กรรม เชน่ การ ในการสอ่ื สาร สรา้ งสิง่ มีชวี ติ ดัดแปลง - ความสามารถ พนั ธกุ รรม เพอื่ ผลติ ยา และ ในการใช้ วคั ซีน ดา้ นการเกษตร เช่น เทคโนโลยี พืชดัดแปรพันธุกรรมที่ ต้านทานโรคหรอื แมลง สตั วด์ ดั แปรพันธกุ รรมทีม่ ี ลักษณะตามตอ้ งการ และ ดา้ นนิตวิ ิทยาศาสตร์ เชน่ การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอ เพอ่ื หาความสมั พนั ธท์ าง สายเลอื ด หรือเพ่อื หา ผู้กระทำผิด - การใช้เทคโนโลยีทางดี เอ็นเอในด้านตา่ งๆ ตอ้ ง คำนึงถึงความปลอดภัยทาง ชีวภาพ ชวี จริยธรรม และ ผลกระทบทางด้านสงั คม

15 มาตรฐานการเรยี นรู้และ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอนั พึง สมรรถนะ ตวั ชี้วัด K (คำกริยา) ประสงค์ สำคัญของ ม 4/6 สบื ค้นข้อมลู อธบิ าย และยกตัวอย่าง P A ผเู้ รยี น ความหลากหลายของ ส่ิงมีชีวติ ซึ่งเป็นผลมาจาก C วิวัฒนาการ - สิง่ มชี ีวิตท่มี ีอยู่ในปัจจุบนั - สบื ค้น - - ความสามารถ มลี กั ษณะท่ปี รากฏให้เห็น ขอ้ มูล ในการคิด แตกตา่ งกันซง่ึ เปน็ ผลมา - อธิบาย - ความสามารถ จากความหลากหลายของ - ยกตวั อย่าง ในการสอ่ื สาร ลักษณะทางพันธุกรรม ซึง่ - ความสามารถ เกดิ จากมิวเทชันรว่ มกับ ในการใช้ การคัดเลอื กโดยธรรมชาติ เทคโนโลยี - ผลจากกระบวนการ คดั เลือกโดยธรรมชาติ ทำ ใหส้ ิง่ มชี ีวิตท่มี ีลกั ษณะ เหมาะสมในการดำรงชีวิต สามารถปรบั ตัวให้อยู่รอด ได้ในสิ่งแวดล้อมน้นั ๆ - กระบวนการคัดเลอื กโดย ธรรมชาตเิ ปน็ หลกั การที่ สำคัญอย่างหนงึ่ ทท่ี ำให้เกดิ ววิ ัฒนาการของส่งิ มชี วี ติ

16 รหสั วชิ า ว 30107 หน่วยการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชา วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ภาคเรยี นที่ 1 รวม 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 1.5 หน่วยกติ ท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด เวลา คะแนน 16 15 1 การลำเลียงสาร และการ ว 1.2 10 10 รกั ษาดุลยภาพของ ม. 4/1 อธบิ ายโครงสรา้ งและสมบตั ขิ องเย่อื ร่างกายมนุษย์ หุม้ เซลลท์ ี่สมั พันธ์กบั การลำเลยี งสาร และ เปรียบเทียบการลำเลยี งสารผ่านเยอื่ หุ้ม เซลล์แบบตา่ งๆ ม. 4/2 อธิบายการควบคุมดุลยภาพของนำ้ และสารในเลือดโดยการทำงานของไต ม. 4/3 อธิบายการควบคมุ ดุลยภาพของ กรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและ ปอด ม. 4/4 อธบิ ายการควบคมุ ดุลยภาพของ อณุ หภมู ิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวยี น เลอื ด ผิวหนงั และกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ ง ม. 4/5 อธบิ าย และเขียนแผนผงั เกีย่ วกับ การตอบสนองของร่างกายแบบไมจ่ ำเพาะ และแบบจำเพาะตอ่ สิง่ แปลกปลอมของ รา่ งกาย ม. 4/6 สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และ ยกตัวอยา่ งโรคหรอื อาการที่เกิดจากความ ผดิ ปกติของระบบภูมคิ ุ้มกนั ม. 4/7 อธิบายภาวะภูมคิ ุ้มกนั บกพร่องท่มี ี สาเหตมุ าจากการติดเช้อื HIV 2 การดำรงชวี ิตของพชื ว 1.2 ม. 4/8 ทดสอบ และบอกชนดิ ของ สารอาหาร ทีพ่ ืชสงั เคราะห์ได้ ม. 4/9 สืบค้นขอ้ มลู อภปิ ราย และ ยกตวั อยา่ งเกี่ยวกบั การใชป้ ระโยชน์จากสาร ตา่ ง ๆ ท่พี ืชบางชนิดสรา้ งข้ึน ม. 4/10 ออกแบบการทดลอง ทดลอง และ อธบิ ายเก่ยี วกบั ปัจจัยภายนอกทมี่ ีผลตอ่ การ

ท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด เวลา 17 3 พนั ธุกรรมและ 16 เจรญิ เตบิ โตของพืช คะแนน วิวัฒนาการ ม. 4/11 สืบค้นข้อมลู เก่ียวกบั สารควบคุม 16 15 การ 4 ชวี ติ ในสง่ิ แวดลอ้ ม เจรญิ เตบิ โตของพืชท่ีมนุษย์สงั เคราะหข์ นึ้ 10 และยกตัวอย่างการนำมาประยุกตใ์ ช้ ทางดา้ นการเกษตรของพืช ม. 4/12 สังเกต และอธิบายการตอบสนอง ของพืชตอ่ สิง่ เร้าในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลต่อ การดำรงชีวิต ว 1.3 ม. 4/1 อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งยนี การสังเคราะหโ์ ปรตนี และลักษณะทาง พนั ธุกรรม ม.4/2 อธิบายหลกั การถ่ายทอดลักษณะที่ ถกู ควบคมุ ดว้ ยยนี ทอี่ ยู่บนโครโมโซมเพศ และ มัลตเิ ปิลแอลลีล ม. 4/3 อธบิ ายผลท่ีเกดิ จากการ เปลยี่ นแปลงลำดับนวิ คลีโอไทดใ์ นดเี อ็นเอ ตอ่ การแสดงลกั ษณะของสิง่ มีชวี ิต ม. 4/4 สบื คน้ ข้อมลู และยกตวั อย่างการนำ มิวเทชนั ไปใช้ประโยชน์ ม.4/5 สบื ค้นขอ้ มูล และอภปิ รายผลของ เทคโนโลยีทางดเี อ็นเอที่มีตอ่ มนษุ ย์และ ส่งิ แวดลอ้ ม ม. 4/6 สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และ ยกตัวอย่าง ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต ซึง่ เป็นผลมา จากวิวัฒนาการ ว 1.1 ม. 4/1 สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ าย ความสมั พันธข์ องสภาพทางภูมศิ าสตรบ์ น โลกกบั ความหลากหลายของไบโอม และ ยกตวั อย่างไบโอมชนิดต่าง ๆ ม. 4/2 สืบคน้ ข้อมลู อภิปรายสาเหตุ และ ยกตวั อยา่ งการเปล่ยี นแปลงแทนทข่ี อง ระบบนิเวศ ม. 4/3 สบื ค้นข้อมลู อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง

18 ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วัด เวลา คะแนน เกยี่ วกับการเปลยี่ นแปลงขององค์ประกอบ ทางกายภาพและทางชวี ภาพทีม่ ีผลต่อการ เปล่ยี นแปลงขนาดของประชากรส่งิ มีชวี ติ ใน ระบบนเิ วศ ม. 4/4 สืบค้นขอ้ มูลและอภปิ รายเก่ียวกบั ปญั หาและผลกระทบที่มตี ่อ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม พร้อม ท้งั นำเสนอแนวทางในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา ส่ิงแวดลอ้ ม หนว่ ยการเรยี นรู้ 58 60 กลางภาค 1 20 ปลายภาค 1 20 รวม 60 100

19 คำอธบิ ายรายวชิ าวิทยาศาตร์ชวี ภาพ รายวิชาวิทยาศาสตรช์ วี ภาพ รหัสวิชา ว30107 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความ หลากหลายของ ไบโอม และไบโอมชนิดตา่ งๆ การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงของ องค์ประกอบทางกายภาพและทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศ ปัญหา และผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ท่ีสัมพันธก์ ับการ ลำเลียงสาร การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุม้ เซลล์แบบตา่ งๆ การควบคุมดุลยภาพของน้ำและสารในเลือดโดยการ ทำงานของไต การควบคมุ ดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทำงานของไตและปอด การควบคุมดลุ ยภาพ ของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือด ผิวหนัง และกล้ามเนื้อโครงร่าง การตอบสนองของ รา่ งกายแบบไม่จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อสงิ่ แปลกปลอมของร่างกาย โรคหรอื อาการที่เกดิ จากความผิดปกติ ของระบบภูมิคุ้มกัน ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ HIV ชนิดของสารอาหารที่พืช สังเคราะห์ได้ การใช้ประโยชนจ์ ากสารตา่ งๆ ที่พืชบางชนิดสรา้ งขึ้น ปัจจัยภายนอกที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โต ของพชื สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชท่ีมนุษยส์ งั เคราะหข์ ้ึน การนำมาประยุกตใ์ ชท้ างดา้ นการเกษตรของ พืช การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้าในรูปแบบต่างๆ ที่มีผลต่อการดำรงชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การ สงั เคราะห์โปรตนี และลกั ษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทถ่ี กู ควบคมุ ดว้ ยยนี ทีอ่ ยู่บนโครโมโซมเพศ และมัลติเปิลแอลลีล ผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงลำดับนิวคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอต่อการแสดงลักษณะของ สิ่งมีชีวิต การนำมิวเทชันไปใช้ประโยชน์ ผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ความ หลากหลายของส่ิงมชี ีวติ ซึ่งเป็นผลมาจากววิ ฒั นาการ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกทักษะ สืบค้นข้อมูล อธิบาย อภิปรายถึงสาเหตุ ยกตัวอย่างประกอบ นำเสนอ เปรียบเทียบ เขียนแผนผัง ทดสอบ บอก ออกแบบการทดลอง ทดลอง และ สังเกตได้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม เกดิ ความสามารถในการ คิด ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ ความสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยี รวมตวั ช้ีวัด 22 ตวั ชวี้ ดั ว 1.1 ม. 4/1, ม. 4/2, ม. 4/3, ม. 4/4 ว 1.2 ม. 4/1, ม. 4/2, ม. 4/3, ม. 4/4, ม. 4/5, ม. 4/6, ม. 4/7, ม. 4/8, ม. 4/9, ม. 4/10, ม. 4/11, ม. 4/12 ว 1.3 ม. 4/1, ม. 4/2, ม. 4/3, ม. 4/4, ม. 4/5, ม. 4/6

20 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัด เพื่อจัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าชวี วิทยา1 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั สมรรถนะสำคัญ และตวั ชวี้ ัด K (คำกริยา) พึงประสงค์ ของผูเ้ รยี น PAC สาระชีววทิ ยา 1. เขา้ ใจ ธรรมชาตขิ อง ส่ิงมีชีวิต การศึกษา ชวี วิทยา และวิธกี าร ทางวิทยาศาสตร์ สารที่เป็น องคป์ ระกอบของ สิ่งมชี ีวิต ปฏกิ ิริยา เคมใี นเซลลข์ อง สง่ิ มชี ีวิต กลอ้ ง จลุ ทรรศน์ โครงสร้าง และหน้าท่ีของเซลล์ การลำเลยี งสารเข้า และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และ การหายใจระดบั เซลล์ ม.4/1 - การอธบิ าย และการ - อธิบาย - - ความสามารถ อธบิ าย และสรุป สรุปสมบัติทส่ี ำคัญของ - สรปุ ในการคิด สมบัตทิ ่ีสำคัญของ สิง่ มีชีวิต และ - ความสามารถ ส่งิ มีชวี ิต และ ความสัมพนั ธ์ของการ ในการสอ่ื สาร ความสัมพนั ธข์ องการ จดั ระบบในสิ่งมชี ีวิต จัดระบบในสงิ่ มีชีวิตที่ ทำให้ส่งิ มีชวี ติ สามารถ ดำรงอยไู่ ด้

21 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั สมรรถนะสำคญั พงึ ประสงค์ ของผู้เรยี น และตัวชีว้ ดั K (คำกริยา) AC P - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/2 - การอภิปราย และ - อภิปราย - ความสามารถ ในการสือ่ สาร อภิปราย และบอก การบอกความสำคัญ - บอก - ความสามารถ ความสำคญั ของการ ของการระบุปญั หา - ออกแบบ ในการ แกป้ ญั หา ระบปุ ญั หา ความสมั พนั ธ์ระหว่าง การทดลอง - ความสามารถ ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ปญั หา สมมติฐาน ในการคิด - ความสามารถ ปญั หา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบ ในการส่อื สาร - ความสามารถ และวิธีการตรวจสอบ สมมติฐาน และการ ในการใช้ เทคโนโลยี สมมติฐาน รวมทง้ั ออกแบบการทดลอง - ความสามารถ ออกแบบการทดลอง เพอ่ื ตรวจสอบ ในการคิด เพ่อื ตรวจสอบ สมมตฐิ าน สมมตฐิ าน ม.4/3 - การสืบคน้ ข้อมลู - สืบคน้ ขอ้ มูล สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และการอธบิ าย - อธิบาย เก่ยี วกับสมบัติของนำ้ เก่ียวกับสมบัติของนำ้ - บอก และบอกความสำคญั - การบอกความสำคัญ - ยกตัวอยา่ ง ของนำ้ ท่มี ีต่อสง่ิ มชี วี ิต ของน้ำทมี่ ีต่อสิง่ มีชวี ิต และยกตัวอยา่ งธาตุ - การยกตัวอย่างธาตุ ชนดิ ต่าง ๆ ท่ีมี ชนิด ต่าง ๆ ทีม่ ี ความสำคัญต่อ ความสำคญั ตอ่ รา่ งกายสิง่ มีชวี ติ รา่ งกายสิ่งมชี วี ิต ม.4/4 - การสืบคน้ ข้อมูล - สบื คน้ ข้อมลู สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย และการอธิบาย - ระบุ โครงสร้างของ โครงสรา้ งของ คาร์โบไฮเดรต ระบุ คาร์โบไฮเดรต กลมุ่ ของ - การระบุกลุ่ม และ คารโ์ บไฮเดรต รวมทัง้ ความสำคัญของ ความสำคญั ของ คาร์โบไฮเดรต คารโ์ บไฮเดรตทม่ี ตี ่อ สงิ่ มชี วี ิต

22 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคัญ และตวั ชี้วดั K (คำกริยา) พึงประสงค์ ของผูเ้ รียน ม.4/5 - การสบื คน้ ข้อมูล P AC สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และการอธบิ าย - สืบค้นขอ้ มูล - ความสามารถ โครงสร้างของโปรตีน โครงสร้าง และ ในการคดิ และความสำคญั ของ ความสำคญั ของ - อธิบาย - โปรตีนทม่ี ีต่อสิ่งมชี วี ติ โปรตนี ความสามารถ - สบื ค้นข้อมลู ในการสือ่ สาร ม.4/6 - การสบื ค้นข้อมลู - อธิบาย - ความสามารถ สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และอธิบายโครงสรา้ ง ในการคดิ โครงสร้างของลิพิด และความสำคญั ของ - อธิบาย - ความสามารถ และความสำคัญของ สพิ ิด - ระบุชนิด ในการสือ่ สาร ลิพิดที่มีตอ่ สิ่งมีชวี ติ - สบื ค้นขอ้ มลู - ความสามารถ ม.4/7 - การอธิบาย - อธบิ าย ในการคิด - ความสามารถ อธิบายโครงสร้าง โครงสร้าง และการ ในการสอ่ื สาร ของกรดนวิ คลอี ิก ระบชุ นิด และ - ความสามารถ ในการคดิ และระบชุ นดิ ของกรด ความสำคญั ของกรด - ความสามารถ ในการสอื่ สาร นวิ คลีอิก และ นิวคลอี กิ - ความสามารถ ในการใช้ ความสำคญั ของกรด เทคโนโลยี นวิ คลอี กิ ทมี่ ตี อ่ สิ่งมีชีวติ ม.4/8 - การสบื ค้นขอ้ มูล สบื ค้นข้อมูล และ และการอธิบาย อธิบายปฏิกิริยาเคมีท่ี ปฏิกิริยาเคมีท่เี กิดขึน้ เกดิ ข้นึ ในสงิ่ มีชวี ติ ในสิ่งมีชวี ติ

23 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคัญ พึงประสงค์ ของผู้เรียน และตัวชีว้ ดั K (คำกรยิ า) AC P - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/9 - การอธบิ ายการ - อธิบาย - ความสามารถ อธิบายการทำงาน ทำงานของเอนไซม์ใน - ระบุ ในการสื่อสาร ของเอนไซม์ในการเรง่ การเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี น - ความสามารถ ในการคิด ปฏิกิริยาเคมีใน ส่ิงมีชีวติ - ความสามารถ ในการส่อื สาร ส่งิ มชี ีวิต และระบุ - การระบปุ จั จัยทมี่ ีผล - ความสามารถ ในการใชท้ กั ษะ ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการ ตอ่ การทำงานของ ชีวติ ทำงานของเอนไซม์ เอนไซม์ - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/10 - การบอกวิธีการ และ - บอก - ความสามารถ ในการสื่อสาร บอกวธิ ีการ และ การเตรยี มตัวอย่าง - เตรยี ม เตรียมตวั อยา่ ง ส่งิ มีชีวติ เพ่อื ศึกษา - วดั สง่ิ มีชวี ิตเพอ่ื ศึกษา ภายใตก้ ลอ้ ง - วาดภาพ ภายใต้กลอ้ ง จลุ ทรรศนใ์ ช้แสง จุลทรรศนใ์ ช้แสง วัด - การวัดขนาด และ ขนาดโดยประมาณ การวาดภาพท่ปี รากฎ และวาดภาพทป่ี รากฎ ภายใต้กล้อง ภายใต้กล้อง บอก - การบอกวธิ กี ารใช้ วธิ ีการใช้ และการ และการดแู ลรักษา ดแู ลรกั ษากล้อง กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง จุลทรรศน์ใช้แสงที่ ท่ถี กู ตอ้ ง ถกู ต้อง ม.4/11 - การอธบิ าย - อธิบาย อธิบายโครงสรา้ ง โครงสรา้ ง และหน้าท่ี และหนา้ ท่ขี องส่วนที่ ของสว่ นทีห่ ่อหมุ้ เซลล์ ห่อหมุ้ เซลลพ์ ชื และ พชื และเซลล์สัตว์ เซลล์สัตว์

24 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคัญ และตัวชวี้ ัด K (คำกริยา) พงึ ประสงค์ ของผ้เู รียน ม.4/12 - การสืบคน้ การ P AC - ความสามารถ สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย อธิบาย และการระบุ - สบื ค้นข้อมูล ในการคดิ - อธบิ าย - ความสามารถ และระบุชนดิ และ ชนดิ และหนา้ ทีข่ อง ในการส่ือสาร - ระบุ - ความสามารถ ในการใช้ หนา้ ท่ขี องออร์ ออร์แกเนลล์ เทคโนโลยี - ความสามารถ แกเนลล์ ในการคดิ - ความสามารถ ม.4/13 - การอธบิ าย - อธิบาย ในการส่ือสาร - ความสามารถ อธิบายโครงสรา้ ง โครงสร้าง และหนา้ ที่ ในการคิด - ความสามารถ และหนา้ ที่ของ ของนวิ เคลยี ส ในการสอื่ สาร นิวเคลยี ส - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/14 - การอธิบาย และ - อธิบาย - ความสามารถ ในการส่อื สาร อธิบาย และ การเปรียบเทียบการ - เปรียบเทียบ เปรยี บเทยี บการแพร่ แพร่ ออสโมซิส การ ออสโมซิส การแพร่ แพร่แบบฟาซิลิเทต แบบฟาซิลิเทต และ และแอกทฟี ทราน แอกทีฟทรานสปอร์ต สปอร์ต ม.4/15 - การสืบคน้ ข้อมูล การ - สบื ค้นขอ้ มลู สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย อธิบาย และการเขียน - อธิบาย และเขียนแผนภาพ แผนภาพการลำเลียง - เขียนแผนภาพ ก า ร ล ำ เ ล ี ย ง ส า ร สารโมเลกุลใหญ่ออก โมเลกุลใหญ่ออกจาก จ า ก เ ซ ล ล ์ ด ้ ว ย เซลลด์ ว้ ยกระบวนการ กระบวนการเอกโซไซ เอกโซไซโทซิส และ โทซิส และการลำเลียง ก า ร ล ำ เ ล ี ย ง ส า ร สารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่ โมเลกุลใหญ่เข้าสู่ เซลล์ด้วยกระบวนการ เซลล์ด้วยกระบวนการ เอนโตไซโทซสิ เอนโตไซโทซิส

25 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอัน สมรรถนะสำคญั พึงประสงค์ ของผูเ้ รียน และตัวช้วี ัด K (คำกริยา) C A P - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/16 - การสังเกตการแบ่ง - สังเกต - ความสามารถ ในการส่ือสาร สงั เกตการแบ่ง นวิ เคลยี สแบบไมโทซิส - อธิบาย - ความสามารถ นวิ เคลยี สแบบไมโท และแบบไมโอซิสจาก - เปรียบเทียบ ในการคดิ - ความสามารถ ซิส และแบบไมโอซิส ตัวอย่างภายใต้กล้อง ในการส่อื สาร จากตวั อย่างภายใต้ จลุ ทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ - การอธบิ าย และการ พรอ้ มท้งั อธิบาย และ เปรียบเทียบการแบง่ เปรียบเทยี บการแบ่ง นิวเคลยี สแบบไมโทซสิ นวิ เคลียสแบบไมโท และไมโอซสิ ซสิ และไมโอซิส ม.4/17 - การอธิบาย การ - อธิบาย อธบิ าย เปรียบเทยี บ เปรียบเทยี บ และการ - เปรยี บเทียบ และสรปุ ขนั้ ตอนการ สรุปขน้ั ตอนการ - สรุป หายใจระดับเซลล์ใน หายใจระดับเซลลใ์ น ภาวะทม่ี ีออกซิเจน ภาวะที่มอี อกซิเจน เพยี งพอ และภาวะที่ เพียงพอ และภาวะท่ี ออกซิเจนไมเ่ พยี งพอ ออกซิเจนไมเ่ พียงพอ

26 หนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา1 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว 30251 วิชาชวี วิทยา1 ภาคเรยี นที่ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 หนว่ ยกิต เวลาเรยี น 2 ช่วั โมง/สัปดาห์ รวม 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน ท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ เวลา คะแนน 1 - ม.4/1 - 2 8 10 1 ธรรมชาติของส่งิ มีชวี ติ และ การศึกษาชวี วิทยา 2 เคมีท่เี ป็นพื้นฐานของสงิ่ มีชวี ติ 1 - ม.4/3 - 9 10 10 3 เซลล์ของสิง่ มีชีวิต 1 - ม.4/10 - 17 20 20 40 หนว่ ยการเรียนรู้ 38 30 กลางภาค หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1-2 1 สปั ดาห์ 30 ปลายภาค หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 1 สัปดาห์ 100 รวม 40

27 คำอธบิ ายรายวชิ าชีววิทยา1 รายวิชาชวี วทิ ยา1 รหสั วชิ า ว30251 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 40 ชวั่ โมง 1.0 หน่วยกติ ศึกษาชวี วทิ ยาเก่ียวกบั สมบัติทส่ี ำคัญของส่งิ มีชีวติ ความสมั พนั ธ์ของการจดั ระบบในสง่ิ มชี วี ติ การระบุ ปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน การทดลองเพื่อตรวจสอบ สมมติฐาน สมบัตขิ องน้ำ ความสำคญั ของนำ้ ทม่ี ีต่อสงิ่ มีชวี ติ ธาตชุ นิดตา่ ง ๆ ท่ีมีความสำคญั ตอ่ รา่ งกายสิง่ มีชวี ิต โครงสรา้ งของคาร์โบไฮเดรต กล่มุ ของคารโ์ บไฮเดรต ความสำคัญของคารโ์ บไฮเดรตท่ีมีต่อส่งิ มีชีวิต โครงสร้าง ของโปรตีน ความสำคัญของโปรตีนที่มีต่อสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของลิพิด ความสำคัญ ของลิพิดที่มีต่อ สิ่งมีชีวิต โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก ชนิดของกรดนิวคลีอิก ความสำคัญของกรดนิวคลีอิกที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ปฏกิ ริ ิยาเคมีทเ่ี กิดขน้ึ ในสิง่ มีชีวติ การทำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏกิ ิริยาเคมใี นสิ่งมีชวี ิต ปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการ ทำงานของเอนไซม์ วิธีการ และการเตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง การวัด ขนาด และการวาดภาพที่ปรากฏภายใต้กล้อง การบอกวิธีการใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสง โครงสร้าง และหน้าทขี่ องสว่ นท่ีห่อหุม้ เซลล์พชื และเซลล์สัตว์ ชนิดและหนา้ ที่ของออรแ์ กเนลล์ โครงสร้างและ หน้าที่ของนิวเคลียส การแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต การลำเลียงสาร โมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส และการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ด้วย กระบวนการเอนโดไซโทซิส การแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส ขั้นตอนการหายใจระดบั เซลล์ใน ภาวะทีม่ ีออกซเิ จนเพียงพอ และภาวะที่ออกซเิ จนไมเ่ พียงพอ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกทักษะอธิบาย สรุป อภิปราย บอก ออกแบบการ ทดลอง สบื ค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง ระบุ เตรียมตวั อยา่ งสง่ิ มีชีวิต วัดขนาด วาดภาพ เปรยี บเทยี บ เขยี นแผนภาพ และสงั เกต เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้อย่างถกู ต้อง เกิดความสามารถ ในการคดิ ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ และ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รวม 17 ผลการเรียนรู้ 1 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13 ม.4/14 ม.4/15 ม.4/16 ม.4/17

28 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้วี ัด เพือ่ จัดทำคำอธบิ ายรายวชิ า รายวิชาชีววทิ ยา2 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั สมรรถนะสำคญั และตัวชี้วัด K (คำกรยิ า) พึงประสงค์ ของผเู้ รียน PAC สาระชวี วทิ ยา 2. เข้าใจการ ถา่ ยทอดลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม การ ถา่ ยทอดยีนบน โครโมโซม สมบตั ิ และหนา้ ท่ีของสาร พันธกุ รรม การเกิด มิวเทชนั เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอ หลักฐาน ขอ้ มูล และแนวคดิ เกี่ยวกับวิวฒั นาการ ของส่ิงมชี ีวิต ภาวะ สมดลุ ของฮารด์ ี-ไวน์ เบิรก์ การเกดิ สปชี ีสใ์ หม่ ความ หลากหลายทาง ชีวภาพ กำเนิดของ ส่งิ มชี ีวิต ความ หลากหลายของ ส่ิงมีชวี ิต และ อนุกรมวิธาน รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใช้ ประโยชน์

29 ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคญั K (คำกรยิ า) พึงประสงค์ ของผู้เรยี น ม.4/1 สืบคน้ ขอ้ มลู อธบิ าย - การสบื คน้ ข้อมลู P AC และสรุปผลการ การอธิบาย และการ - ความสามารถ ทดลองของ สรปุ ผลการทดลอง - สืบค้นขอ้ มลู ในการคิด เมนเดล ของเมนเดล - อธิบาย - ความสามารถ - สรปุ ในการสอื่ สาร - ความสามารถ ม.4/2 - การอธบิ าย และการ - อธบิ าย ในการใช้ เทคโนโลยี อธิบาย และสรปุ กฎ สรุปกฎแห่งการแยก - สรปุ - ความสามารถ ในการคิด แห่งการแยก และกฎ และกฎแห่งการ - นำไปใช้ - ความสามารถ ในการสอ่ื สาร แหง่ การรวมกลุม่ กนั รวมกลมุ่ กนั อยา่ ง - ความสามารถ ในการใช้ อย่างอสิ ระ และนำกฎ อิสระ เทคโนโลยี ของเมนเดลนีไ้ ป - การนำกฎของเมน - ความสามารถ ในการคิด อธบิ ายการถ่ายทอด เดลไปใชอ้ ธิบายการ - ความสามารถ ในการส่ือสาร ลักษณะทางพันธุกรรม ถา่ ยทอดลักษณะทาง - ความสามารถ ในการใช้ และในใช้ในการ พันธุกรรม และ เทคโนโลยี คำนวณโอกาสในการ คำนวณโอกาสในการ เกิดฟีโนไทป์ และจีโน เกิดฟีโนไทป์ และจโี น ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของ ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของ ร่นุ F1 และ F2 รุ่น F1 และ F2 ม.4/3 - การสืบคน้ ข้อมูล - สืบคน้ ขอ้ มูล สบื ค้นขอ้ มูล การวเิ คราะห์ การ - วเิ คราะห์ วิเคราะห์ อธบิ าย และ อธบิ าย และการสรปุ - อธิบาย สรปุ เก่ยี วกบั การ เกย่ี วกับการถา่ ยทอด - สรปุ ถ่ายทอดลักษณะทาง ลักษณะทาง พันธกุ รรม ทเ่ี ป็นส่วน พันธุกรรม ท่ีเปน็ ส่วน ขยายของพนั ธุศาสตร์ ขยายของพนั ธศุ าสตร์ เมนเดล เมนเด

30 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั สมรรถนะสำคญั พึงประสงค์ ของผเู้ รียน และตวั ชี้วดั K (คำกริยา) AC P - ความสามารถ ในการคิด ม.4/4 - การสืบคน้ ข้อมูล - สบื คน้ ข้อมลู - ความสามารถ ในการใช้ สบื คน้ ขอ้ มูล การวิเคราะห์ และการ - วเิ คราะห์ เทคโนโลยี วิเคราะห์ และ เปรียบเทียบลกั ษณะ - เปรียบเทียบ - ความสามารถ ในการคิด เปรียบเทยี บลักษณะ ทางพันธุกรรม ท่ีมี - ความสามารถ ในการสอ่ื สาร ทางพนั ธุกรรม ท่มี ีการ การแปรผนั ไมต่ ่อเนื่อง - ความสามารถ แปรผนั ไม่ต่อเนอ่ื ง และลักษณะทาง ในการคดิ - ความสามารถ และลักษณะทาง พันธุกรรมทม่ี กี ารแปร ในการสอื่ สาร - ความสามารถ พันธุกรรมท่มี กี ารแปร ผันต่อเนื่อง ในการใช้ เทคโนโลยี ผันตอ่ เนอื่ ง ม.4/5 - การอธบิ ายการ - อธบิ าย อธิบายการถ่ายทอด ถ่ายทอดยนี บน - ยกตัวอยา่ ง ยีนบนโครโมโซม และ โครโมโซม และ ยกตัวอย่างลักษณะ การยกตัวอย่าง ทางพันธุกรรมที่ถูก ลักษณะทาง ควบคุมด้วยยีนบนออ พันธกุ รรมท่ถี กู โตโซม และยีนบน ควบคุมดว้ ยยนี บนออ โครโมโซมเพศ โตโซม และยีนบน โครโมโซมเพศ ม.4/6 - การสืบค้นขอ้ มลู - สืบคน้ ข้อมูล สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย การอธิบายสมบตั ิ - อธิบาย สมบัติ และหนา้ ท่ีของ และหน้าทีข่ อง - สรุป สารพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม โครงสรา้ ง และ โครงสร้าง และ องคป์ ระกอบทางเคมี องคป์ ระกอบทางเคมี ของ DNA และ ของ DNA และ สรปุ การจำลองDNA การสรุปการจำลอง DNA

31 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั สมรรถนะสำคัญ พงึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น และตัวช้ีวดั K (คำกริยา) AC P - ความสามารถ ในการคิด ม.4/7 - การอธิบาย และการ - อธิบาย - ความสามารถ ในการส่ือสาร อธบิ าย และระบุ ระบุขัน้ ตอนใน - ระบุ - ความสามารถ ขัน้ ตอนใน กระบวนการ ในการคดิ - ความสามารถ กระบวนการ สงั เคราะหโ์ ปรตนี ในการส่อื สาร สงั เคราะห์โปรตีน และหนา้ ท่ีของ DNA - ความสามารถ ในการคิด และหน้าท่ขี อง DNA และRNA แตล่ ะชนิด - ความสามารถ ในการส่อื สาร และRNA แตล่ ะชนิด ในกระบวนการ - ความสามารถ ในการใช้ ในกระบวนการ สงั เคราะห์โปรตีน เทคโนโลยี สงั เคราะห์โปรตนี ม.4/8 - การสรุป - สรุป สรุปความสมั พันธ์ ความสัมพันธร์ ะหว่าง ระหวา่ งสารพนั ธุกรรม สารพันธกุ รรม แอล แอลลีล โปรตนี ลีล โปรตนี ลกั ษณะ ลักษณะทางพันธกุ รรม ทางพันธกุ รรม และ และเชอ่ื มโยงกับ เช่อื มโยงกบั ความรู้ ความรู้ทางพันธุ ทางพนั ธุศาสตรเ์ มน ศาสตร์เมนเดล เดล ม.4/9 - การสืบค้นข้อมูล - สบื ค้นขอ้ มูล สืบคน้ ข้อมูล และ และการอธิบายการ - อธิบาย อธิบายการเกิดมวิ เท เกดิ มวิ เทชัน ระดบั ยีน - ยกตัวอยา่ ง ชนั ระดับยีน และ และระดับโครโมโซม ระดบั โครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเท สาเหตุการเกดิ มวิ เท ชนั ชนั รวมท้งั ยกตวั อย่าง - การยกยกตวั อย่าง โรค และกลุม่ อาการท่ี โรค และกลุ่มอาการท่ี เป็นผลของการเกดิ มิว เป็นผลของการเกิดมวิ เทชนั เทชนั

32 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั สมรรถนะสำคญั พงึ ประสงค์ ของผเู้ รียน และตัวชี้วดั K (คำกริยา) AC P - ความสามารถ ในการคิด ม.4/10 - การอธิบายหลักการ - อธิบาย - ความสามารถ ในการสอ่ื สาร อธบิ ายหลกั การ สรา้ งสิง่ มีชวี ิตดดั แปร - ความสามารถ สร้างสิ่งมีชวี ิตดดั แปร พนั ธุกรรมโดยใช้ดีเอน็ ในการคดิ - ความสามารถ พันธกุ รรมโดยใชด้ ีเอ็น เอรคี อมบแิ นนท์ ในการสือ่ สาร - ความสามารถ เอรคี อมบแิ นนท์ ในการใช้ เทคโนโลยี ม.4/11 - การสืบค้นข้อมูล - สืบค้นขอ้ มูล - ความสามารถ สืบคน้ ขอ้ มูล การยกตวั อยา่ ง และ - ยกตวั อยา่ ง ในการคิด - ความสามารถ ยกตวั อยา่ ง และ การอภปิ รายการนำ - อภปิ ราย ในการสื่อสาร - ความสามารถ อภิปรายการนำ เทคโนโลยีดีเอ็นเอไป ในการใช้ เทคโนโลยี เทคโนโลยดี ีเอน็ เอไป ประยุกต์ใชท้ งั้ ในด้าน ประยุกตใ์ ชท้ ัง้ ในดา้ น ส่ิงแวดลอ้ ม นิติ สิ่งแวดลอ้ ม นติ ิ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร การแพทย์ การเกษตร และอตุ สาหกรรม และอตุ สาหกรรม และ และข้อควรคำนึงถึง ข้อควรคำนึงถงึ ทางดา้ น ทางดา้ น ชวี จรยิ ธรรม ชีวจริยธรรม ม.4/12 - การสบื ค้นขอ้ มลู - สืบค้นข้อมลู สืบคน้ ข้อมูล และ และการอธิบาย - อธิบาย อธิบายเกีย่ วกับ เก่ยี วกบั หลักฐานที่ หลกั ฐานที่สนับสนนุ สนบั สนุน และข้อมูล และขอ้ มลู ที่ใชอ้ ธิบาย ท่ใี ช้อธบิ ายการเกิด การเกิดววิ ัฒนาการ วิวฒั นาการของ ของสง่ิ มีชีวิต สิ่งมชี วี ิต

33 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคัญ พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น และตวั ชว้ี ัด K (คำกรยิ า) AC P - ความสามารถ ในการคดิ ม.4/13 - การอธบิ าย และการ - อธบิ าย - ความสามารถ ในการสอื่ สาร อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ เปรยี บเทียบแนวคิด - เปรียบเทียบ - ความสามารถ เปรียบเทียบแนวคิด เก่ียวกบั ววิ ฒั นาการ ในการคดิ - ความสามารถ เกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของสงิ่ มีชวี ติ ของฌอง ในการสอ่ื สาร - ความสามารถ ของสิ่งมีชีวิตของฌอง ลามารก์ และทฤษฎี ในการแก้ปญั หา ลามาร์ก และทฤษฎี เกย่ี วกับววิ ัฒนาการ - ความสามารถ ในการคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการ ของสิ่งมีขีวิตของ - ความสามารถ ในการส่อื สาร ของสิ่งมขี ีวิตของชาลส์ ชาลส์ ดารว์ นิ - ความสามารถ ในการใช้ ดารว์ นิ เทคโนโลยี ม 4/14 - การระบุสาระสำคัญ - ระบุ ระบุสาระสำคญั แ ล ะ ก า ร อ ธ ิ บ า ย - อธบิ าย และอธิบายเงื่อนไข เง ื่อน ไขของภาวะ - คำนวณ ของภาวะสมดุลของ สมดุลของฮาร์ดี-ไวน์ ฮารด์ -ี ไวนเ์ บริ ก์ ปัจจัย เบิร์ก ปัจจัยที่ทำให้ ท่ที ำให้เกิดการ เกิดการเปลี่ยนแปลง เปล่ียนแปลงความถี่ ความถี่ของ แอลลีล ของ แอลลลี ใน ในประชากร ประชากร พรอ้ มทง้ั - ก า ร ค ำ น ว ณ ห า คำนวณหาความถ่ขี อง ความถี่ของแอลลีล แอลลีล และจีโนไทป์ แ ล ะ จ ี โ น ไ ท ป ์ ข อ ง ของประชากรโดยใช้ ประชากรโดยใช้หลัก หลกั ของฮารด์ ี-ไวน์ ของ เบิรก์ ฮาร์ดี-ไวนเ์ บิร์ก ม 4/15 - การสืบคน้ ข้อมูล - สบื ค้นข้อมลู ส ื บ ค ้ น ข ้ อ มู ล การอภปิ ราย และการ - อภปิ ราย อภิปราย และอธิบาย อธิบายกระบวนการ - อธิบาย กระบวนการเกดิ เกดิ สปีชสี ์ใหม่ของ สปีชีสใ์ หม่ของ สิ่งมชี ีวติ สิง่ มีชีวติ

34 หน่วยการเรยี นรู้ รายวิชาชวี วิทยา2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30252 วิชาชีววิทยา2 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ รวม 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น ท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ เวลา คะแนน 1 การถา่ ยทอดทางพันธุกรรม 2 - ม.4/1 - 5 9 10 2 ยนี และโครโมโซม 2 - ม.4/6 - 9 9 10 2 - ม.4/10 - 11 10 10 3 พันธุศาสตรโ์ มเลกุล และ 2 - ม.4/11 - 15 10 10 เทคโนโลยี DNA 4 ววิ ัฒนาการ หน่วยการเรยี นรู้ 38 40 กลางภาค หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1-2 1 สปั ดาห์ 30 ปลายภาค หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3-4 1 สปั ดาห์ 30 รวม 100 40

35 คำอธบิ ายรายวชิ าชวี วทิ ยา2 รายวิชาชีววทิ ยา2 รหสั วิชา ว30252 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษาชีววิทยาเกี่ยวกับการทดลองของเมนเดล กฎแห่งการแยก และกฎแห่งการรวมกลุ่มกันอย่าง อิสระ การนำกฎของเมนเดลไปใช้อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และคำนวณโอกาสในการเกิด ฟีโนไทป์ และจีโนไทป์ การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม ที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล ลักษณะ ทางพันธุกรรม ที่มีการแปรผนั ไม่ตอ่ เนื่อง และลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมีการแปรผันต่อเนื่อง การถ่ายทอดยีน บนโครโมโซม ลักษณะทางพันธกุ รรมทีถ่ ูกควบคมุ ด้วยยีนบนออโตโซม และยีนบนโครโมโซมเพศ สมบัติ และ หน้าที่ของสารพันธุกรรม โครงสร้าง และองค์ประกอบทางเคมีของ DNA และการจำลอง DNA ขั้นตอนใน กระบวนการสงั เคราะหโ์ ปรตีน และหนา้ ทขี่ อง DNA และRNA ในกระบวนการสงั เคราะหโ์ ปรตีน ความสัมพันธ์ ระหว่างสารพันธุกรรม แอลลีล โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน ระดับยีน และระดับ โครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน โรค และกลุ่มอาการที่เป็นผลของการเกิดมิวเทชัน หลักการสร้างสิง่ มีชวี ิต ดัดแปรพันธุกรรมโดยใช้ดเี อ็นเอรีคอมบิแนนท์ การนำเทคโนโลยีดีเอ็นเอไปประยุกตใ์ ช้ทั้งในด้านสิง่ แวดล้อม นิติวิทยาศาสตร์ การแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม หลักฐานและขอ้ มูลที่ใชอ้ ธิบายการเกดิ วิวัฒนาการ ของสิ่งมชี วี ิต แนวคิดเกีย่ วกับวิวัฒนาการของส่งิ มีชีวติ ของฌอง ลามาร์ก และทฤษฎเี กี่ยวกบั วิวฒั นาการของส่ิง มีขวี ติ ของชาลส์ ดาร์วิน เงอื่ นไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิรก์ ปจั จัยท่ที ำให้เกิดการเปลยี่ นแปลงความถ่ี ของแอลลีลในประชากร การคำนวณหาความถี่ของแอลลีล และจีโนไทป์ของประชากรโดยใชห้ ลักของฮารด์ ี- ไวน์เบิรก์ กระบวนการเกิดสปีชสี ์ใหม่ของสิง่ มชี วี ิต โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกทักษะสืบค้นข้อมูล อธิบาย สรุป วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ยกตวั อยา่ ง ระบุ อภปิ ราย และคำนวณ เพื่อให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ เกิดความสามารถในการคดิ ความสามรถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ รวม 15 ผลการเรยี นรู้ 2 ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ม.4/7 ม.4/8 ม.4/9 ม.4/10 ม.4/11 ม.4/12 ม.4/13 ม.4/14 ม.4/15

36 ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วัด เพื่อจดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าชีววทิ ยา3 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคญั และตัวช้ีวดั K (คำกริยา) พงึ ประสงค์ ของผ้เู รียน PA C สาระชวี วิทยา 3. เข้าใจ สว่ นประกอบของพืช การแลกเปล่ียนแก๊ส และคายนำ้ ของพืช การสืบพันธข์ุ องพชื ดอก และการ เจรญิ เติบโต และการ ตอบสนองของพืช รวมทั้งนำความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์ ม.5/1 - การอธิบายชนดิ - อธบิ าย - ความสามารถใน อธบิ ายเกี่ยวกบั ชนดิ และลกั ษณะของเย้อื - เขยี นแผนผงั การคิด และลักษณะของ เยอ่ื พืช - ความสามารถใน เนอ้ื เย่ือพชื และเขยี น - การเขียนแผนผัง การสือ่ สาร แผนผังเพ่อื สรุปชนดิ สรุปชนิดของเน้อื เยื่อ ของเน้อื เยอ่ื พืช พชื ม.5/2 - การสงั เกต การ - สังเกต - ความสามารถใน สงั เกต อธบิ าย และ อธิบาย และการ - อธบิ าย การคิด เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทียบ - เปรียบเทียบ - ความสามารถใน โครงสรา้ งภายในของ โครงสร้างภายในของ การสื่อสาร รากพชื ใบเล้ียงเดี่ยว รากพชื ใบเล้ียงเดี่ยว และรากพืชใบเล้ยี งคู่ และรากพชื ใบเลย้ี งคู่ จากการตัดตามขวาง จากการตดั ตามขวาง

37 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะสำคญั และตวั ชวี้ ดั K (คำกรยิ า) พงึ ประสงค์ ของผูเ้ รยี น C ม.5/3 - การสงั เกต การ P A สังเกต อธบิ าย และ อธบิ าย และ - สงั เกต - ความสามารถใน เปรยี บเทยี บ เปรียบเทยี บ - อธบิ าย การคิด โครงสรา้ งภายในของ โครงสรา้ งภายในของ ลำต้นพชื ใบเลีย้ งเดีย่ ว ลำต้นพชื ใบเล้ยี งเดีย่ ว - - ความสามารถ และลำต้นพืชใบเลย้ี ง และลำต้นพืชใบเลย้ี ง เปรียบเทยี บ ในการสอื่ สาร คูจ่ ากการตดั ตามขวาง คจู่ ากการตัดตาม ขวาง - สังเกต - ความสามารถใน ม.5/4 - การสังเกต และการ - อธิบาย การคดิ สงั เกต และอธิบาย อธิบายโครงสรา้ ง - ความสามารถใน โครงสร้างภายในของ ภายในของใบพืชจาก การสอ่ื สาร ใบพืชจากการตัดตาม การตดั ตามขวาง ขวาง ม.5/5 - การสืบคน้ ข้อมูล - สืบค้นขอ้ มลู - ความสามารถใน สบื คน้ ข้อมูล สังเกต การสงั เกต และการ - อธบิ าย การคิด และอธบิ ายการ อธิบายการ - ความสามารถใน แลกเปลีย่ นแก๊ส และ แลกเปลยี่ นแก๊ส และ การสื่อสาร การคายน้ำของพืช การคายนำ้ ของพืช - ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี ม.5/6 - การสบื ค้นขอ้ มูล - สบื ค้นข้อมลู สืบค้นข้อมูล และ และการอธิบายกลไก - อธบิ าย - ความสามารถใน อ ธ ิ บ า ย ก ล ไ ก ก า ร การลำเลยี งนำ้ และ การคดิ ลำเลียงน้ำ และธาตุ ธาตอุ าหารของพืช - ความสามารถใน อาหารของพชื การส่อื สาร - ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี

38 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลักษณะอัน สมรรถนะสำคัญ และตัวชีว้ ัด K (คำกริยา) พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น ม.5/7 - การสืบคน้ ขอ้ มลู P AC - สบื คน้ ข้อมูล - ความสามารถใน สืบค้นข้อมูล อธิบาย การอธิบาย - อธิบาย การคิด - ความสามารถใน ความสำคัญของธาตุ ความสำคญั ของธาตุ - การสื่อสาร ยกตัวอยา่ ง - ความสามารถ อาหาร และ อาหาร ในการใช้ - อธบิ าย เทคโนโลยี ยกตวั อย่างธาตอุ าหาร - การยกตัวอย่างธาตุ - ความสามารถใน ท่สี ำคัญท่ีมีผลตอ่ การ อาหารทส่ี ำคัญท่ีมีผล การคดิ - ความสามารถใน เจรญิ เติบโตของพชื ตอ่ การเจริญเตบิ โต การสื่อสาร - ความสามารถใน ของพืช การคดิ - ความสามารถใน ม.5/8 - การอธิบายกลไก การสือ่ สาร อธบิ ายกลไกการ การลำเลียงอาหารใน - ความสามารถใน การคิด ลำเลยี งอาหารในพชื พชื - ความสามารถใน การสอื่ สาร ม.5/9 - การสืบค้นข้อมลู - สบื คน้ ข้อมลู - สรุป สบื คน้ ข้อมูล และ และการสรุป - อธบิ าย สรุปการศกึ ษาที่ได้ การศกึ ษาที่ได้จาก จากการทดลองของ การทดลองของ นกั วิทยาศาสตร์ใน นักวทิ ยาศาสตร์ใน อดตี เก่ยี วกับ อดีตเก่ยี วกบั กระบวนการ กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง สงั เคราะห์ด้วยแสง ม.5/10 - การอธบิ ายขน้ั ตอน อธิบายขั้นตอนที่ ที่เกดิ ขน้ึ ใน เกิดขน้ึ ในกระบวนการ กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง สังเคราะห์ดว้ ยแสง ของพชื C3 ของพชื C3

39 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลักษณะอนั สมรรถนะสำคัญ พึงประสงค์ ของผ้เู รียน และตัวช้ีวัด K (คำกรยิ า) AC P - ความสามารถใน การคดิ ม.5/11 - การเปรยี บเทยี บ - เปรยี บเทยี บ - ความสามารถใน เปรยี บเทียบกลไก กลไกการตรึง การคิด - ความสามารถใน การตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ การสอ่ื สาร - ความสามารถใน คาร์บอนไดออกไซด์ ในพชื C3 พืช C4 และ การใชเ้ ทคโนโลยี ในพืช C3 พชื C4 และ พืชCAM - ความสามารถใน การคดิ พชื CAM - ความสามารถใน การสื่อสาร ม.5/12 - การสบื ค้นข้อมูล - สบื คน้ ขอ้ มูล - ความสามารถใน การคดิ สบื ค้นข้อมูล การอภิปราย และการ - อภปิ ราย - ความสามารถใน การสอ่ื สาร อภิปราย และสรปุ สรปุ ปจั จัยความ - สรปุ - ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี ปจั จยั ความเขม้ ข้น เขม้ ข้นของ ของ คารบ์ อนไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ และอณุ หภมู ิ ท่ีมีผล และอณุ หภมู ิ ทม่ี ีผล ตอ่ การสังเคราะหด์ ว้ ย ตอ่ การสังเคราะหด์ ว้ ย แสงของพชื แสงของพืช ม.5/13 - การอธิบายวัฏจกั ร - อธบิ าย อธิบายวัฏจกั รชวี ิต ชวี ิตแบบสลับของพชื แบบสลับของพืชดอก ดอก ม.5/14 - การอธบิ าย และการ - อธบิ าย อธิบาย และ เปรียบเทียบ - เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ กระบวนการสร้าง กระบวนการสร้าง เซลลส์ ืบพนั ธเ์ุ พศผู้ และเพศเมียของพืช เซลล์สืบพนั ธเ์ุ พศผู้ ดอก และอธบิ ายการ ปฏิสนธิของพชื ดอก และเพศเมียของพชื ดอก - การอธบิ ายการ ปฏสิ นธิของพืชดอก

40 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลักษณะอัน สมรรถนะสำคัญ พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น และตัวช้วี ดั K (คำกรยิ า) AC P - ความสามารถใน การคิด ม.5/15 - การอธบิ ายการเกดิ - อธิบาย - ความสามารถใน การสอ่ื สาร อธิบายการเกิดเมล็ด เมล็ด และการเกดิ ผล - ยกตัวอยา่ ง - ความสามารถใน และการเกดิ ผลของ ของพืชดอก การคิด - ความสามารถใน พชื ดอก โครงสร้าง โครงสรา้ งของเมลด็ การสอ่ื สาร - ความสามารถใน ของเมล็ด และผล และผล การแก้ปญั หา และยกตัวอยา่ งการใช้ - การยกตัวอย่างการ - ความสามารถใน การคิด ประโยชนต์ ่าง ๆ ของ ใช้ประโยชน์ต่าง ๆ - ความสามารถใน การสอ่ื สาร เมล็ด และผล ของเมลด็ และผล - ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยี ม.5/16 - การทดลอง และ - ทดลอง ทดลอง และอธบิ าย การอธิบายเกย่ี วกับ - อธิบาย เกี่ยวกบั ปจั จัยต่าง ๆ ปจั จัยต่าง ๆ ที่มผี ล - บอก ที่มผี ลตอ่ การงอกของ ต่อการงอกของเมลด็ เมล็ด สภาพพกั ตวั สภาพพักตัวของเมล็ด ของเมล็ด และบอก - การบอกแนวทางใน แนวทางในการแก้ การแกส้ ภาพพกั ตัว สภาพพกั ตัวของเมล็ด ของเมล็ด ม.5/17 - การสืบค้นข้อมูล - สืบค้นขอ้ มลู สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย การอธิบายบทบาท - อธิบาย บทบาท และหนา้ ท่ี และหน้าที่ของออก - อภิปราย ของออกซิน ไซไทไค ซิน ไซไทไคนิน จิบ นิน จบิ เบอเรลลิน เอ เบอเรลลิน เอทิลีน ทลิ นี และกรดแอบไซ และกรดแอบไซซกิ ซิก และอภปิ ราย - การอภปิ ราย เกี่ยวกับการนำไปใช้ เกย่ี วกบั การนำไปใช้ ประโยชน์ทาง ประโยชน์ทาง การเกษตร การเกษตร

41 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะสำคญั พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น และตัวชว้ี ดั K (คำกรยิ า) AC P - ความสามารถใน ม.5/18 การสืบคน้ ข้อมลู การ - สืบคน้ ขอ้ มลู การคิด - ความสามารถใน สืบค้นขอ้ มูล ทดลอง ทดลอง และการ - ทดลอง การสื่อสาร - ความสามารถใน และอภิปรายเกี่ยวกบั อภิปรายเกย่ี วกับสิ่ง - อภิปราย การแกป้ ัญหา ส่งิ เรา้ ภายนอกท่มี ีผล เรา้ ภายนอกที่มีผลตอ่ - ความสามารถ ในการใช้ ต่อการเจรญิ เติบโต การเจรญิ เตบิ โตของ เทคโนโลยี ของพืช พชื

42 หนว่ ยการเรยี นรู้ รายวชิ าชวี วิทยา3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30253 วิชาชีววทิ ยา3 ภาคเรียนที่ 1 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 จำนวน 1 หนว่ ยกิต เวลาเรียน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ รวม 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น คะแนน ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ เวลา 10 1 โครงสรา้ งและหน้าท่ขี องพืชดอก 3 - ม.5/1 - 8 9 2 การสงั เคราะหด์ ้วยแสง 3 - ม.5/9 - 12 10 10 10 3 การสืบพนั ธุ์ และการเจรญิ เตบิ โต 3 - ม.5/13 - 16 10 10 ของพชื ดอก 3 - ม.5/17 - 18 9 40 38 30 4 การควบคุมการเจริญเติบโต และ 30 ตอบสนองของพืช 100 หนว่ ยการเรียนรู้ กลางภาค หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1-2 1 สัปดาห์ ปลายภาค หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3-4 1 สปั ดาห์ รวม 40

43 คำอธบิ ายรายวิชาชวี วทิ ยา3 รายวิชาชวี วิทยา3 รหสั วชิ า ว30252 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ศกึ ษาชวี วิทยาเกยี่ วกบั ชนดิ และลกั ษณะของเน้ือเย่ือพืช โครงสร้างภายในของราก ลำต้น และใบ ของ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว และพืชใบเลี้ยงคู่ การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำของพืช กลไกการลำเลียงน้ำและธาตุ อาหารของพชื ความสำคัญของธาตุอาหารท่มี ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื กลไกการลำเลยี งอาหารในพชื การ ทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเก่ียวกบั กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ขั้นตอนที่เกิดข้ึนในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 กลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช C3 พืช C4 และพืชCAM ความเข้มข้น ของแสง ความเขม้ ขน้ คารบ์ อนไดออกไซด์ และอณุ หภูมิ ท่มี ีผลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช วัฏจักรชีวิต แบบสลบั ของพชื ดอก กระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์เุ พศผู้ และเพศเมยี ของพชื ดอก การปฏิสนธิของ พืช ดอก การเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพชื ดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล การใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ของเมล็ด และผล ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด สภาพพกั ตัวของเมลด็ การแก้สภาพพกั ตวั ของเมล็ด บทบาท หน้าที่ และการนำไปใช้ในการเกษตรของออกซิน ไซไทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก สิ่งเร้า ภายนอกท่ีมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อฝึกทักษะอธิบาย เขียนแผนผัง สังเกต เปรียบเทียบ สืบคน้ ขอ้ มลู ยกตัวอยา่ ง สรปุ อภปิ ราย บอก และทดลอง เพื่อให้เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจ เกดิ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถ ในการแก้ปญั หา และความสามารถในการใช้เทคโนโลยไี ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวม 18 ผลการเรยี นรู้ 3 ม.5/1 ม.5/2 ม.5/3 ม.5/4 ม.5/5 ม.5/6 ม.5/7 ม.5/8 ม.5/9 ม.5/10 ม.5/11 ม.5/12 ม.5/13 ม.5/14 ม.5/15 ม.5/16 ม.5/17 ม.5/18

44 ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วัด เพื่อจดั ทำคำอธิบายรายวชิ า รายวิชาชีววทิ ยา4 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั สมรรถนะสำคญั และตวั ชี้วัด K (คำกรยิ า) พึงประสงค์ ของผ้เู รยี น PA C สาระชวี วิทยา 4. เขา้ ใจการยอ่ ย อาหารของสตั ว์ และ มนษุ ย์ การหายใจ และการแลกเปลยี่ น แกส๊ การลำเลยี งสาร และการหมนุ เวียน เลือด ภมู คิ ุม้ กันของ ร่างกาย การขยั ถ่าย การรบั รู้ และการ ตอบสนอง การ เคลื่อนที่ การสบื พนั ธุ์ และการเจรญิ เติบโต ฮอร์โมน การรกั ษา ดลุ ยภาพ และ พฤตกิ รรมของสตั ว์ รวมทงั้ นำควมรูไ้ ปใช้ ประโยชน์

45 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอนั สมรรถนะสำคัญ พงึ ประสงค์ ของผู้เรยี น และตวั ชีว้ ัด K (คำกริยา) AC P - ความสามารถใน การคดิ ม.5/1 - การสบื ค้นขอ้ มลู - สบื ค้นขอ้ มลู - ความสามารถใน การส่อื สาร สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย การอธิบาย และ - อธบิ าย - ความสามารถ ในการใช้ และเปรยี บเทยี บ การเปรียบเทียบ - เปรียบเทยี บ เทคโนโลยี โครงสรา้ ง และ โครงสรา้ ง และ - ความสามารถใน การคดิ กระบวนการย่อย กระบวนการย่อย - ความสามารถใน การสอ่ื สาร อาหารของสตั วท์ ่ีไมม่ ี อาหารของสัตว์ทไ่ี ม่มี ทางเดินอาหาร สัตวท์ ่ี ทางเดนิ อาหาร สตั วท์ ี่ มที างเดนิ อาหารแบบ มที างเดินอาหารแบบ ไมส่ มบรู ณ์ และสัตว์ท่ี ไม่สมบรู ณ์ และสัตว์ที่ มีทางเดินอาหารแบบ มีทางเดินอาหารแบบ สมบรู ณ์ สมบรู ณ์ ม.5/2 - การสงั เกต การ - สงั เกต สังเกต อธบิ าย การ อธิบาย การกนิ - อธบิ าย กนิ อาหารจของไฮดรา อาหารจของไฮดรา และ พลานาเรีย และ พลานาเรีย ม.5/3 - การอธบิ าย - อธบิ าย - ความสามารถใน อธบิ ายเกย่ี วกับ โครงสร้าง หน้าท่ี การคดิ โครงสร้าง หนา้ ท่ี และ และกระบวนการยอ่ ย - ความสามารถใน กระบวนการยอ่ ย อาหาร และการดดู การสื่อสาร อาหาร และการดูดซมึ ซึมสารอาหารภายใน สารอาหารภายใน ระบบย่อยอาหารของ ระบบยอ่ ยอาหารของ มนุษย์ มนุษย์

46 มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคญั กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคญั พงึ ประสงค์ ของผู้เรยี น และตวั ชวี้ ดั K (คำกริยา) AC P - ความสามารถใน การคดิ ม.5/4 - การสืบค้นข้อมูล - สืบคน้ ขอ้ มลู - ความสามารถใน การสอ่ื สาร สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย การอธบิ าย และการ - อธบิ าย - ความสามารถ ในการใช้ และเปรียบเทียบ เปรยี บเทียบ - เปรียบเทยี บ เทคโนโลยี โครงสรา้ งทท่ี ำหน้าท่ี โครงสรา้ งท่ีทำหนา้ ที่ - ความสามารถใน การคดิ แลกเปล่ียนแก๊สของ แลกเปล่ียนแก๊สของ - ความสามารถ ฟองนำ้ ไฮดรา พลา ฟองนำ้ ไฮดรา พลา ในการส่ือสาร นาเรีย ไส้เดือนดิน นาเรีย ไสเ้ ดอื นดนิ - ความสามารถใน การคิด แมลง ปลา กบ และ แมลง ปลา กบ และ - ความสามารถใน การสอ่ื สาร นก นก - ความสามารถ ม.5/5 - การสงั เกต และการ - สังเกต ในการใช้ เทคโนโลยี สังเกต และอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งของ - อธบิ าย - ความสามารถใน การคิด โครงสรา้ งของปอดใน ปอดในสตั วเ์ ลี้ยงลูก - ความสามารถใน การส่อื สาร สตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ย ด้วยนำ้ นม - ความสามารถใน การแก้ปญั หา น้ำนม ม.5/6 - การสืบคน้ ขอ้ มลู - สืบค้นขอ้ มลู สืบค้นข้อมูล อธบิ าย การอธบิ ายโครงสร้าง - อธิบาย โครงสรา้ งที่ใช้ในการ ที่ใช้ในการ แลกเปลีย่ นแก๊ส และ แลกเปลย่ี นแก๊ส และ กระบวนการ กระบวนการ แลกเปลี่ยนแก๊สของ แลกเปลย่ี นแก๊สของ มนุษย์ มนุษย์ ม.5/7 - การอธิบายการการ - อธบิ าย อธิบายการทำงาน ทำงานของปอด - ทดลอง ของปอด และทดลอง - การทดลองวดั ว ั ด ป ร ิ ม า ต ร ข อ ง ปรมิ าตรของอากาศ อากาศในการหายใจ ในการหายใจออกของ ออกของมนุษย์ มนุษย์

47 มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสำคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะสำคัญ พึงประสงค์ ของผ้เู รียน และตัวช้วี ัด K (คำกริยา) AC P - ความสามารถใน การคิด ม.5/8 - การสบื ค้นข้อมูล - สบื คน้ ข้อมลู - ความสามารถใน การสื่อสาร สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย การอธบิ าย และการ - อธิบาย - ความสามารถ ในการใช้ และเปรยี บเทียบ เปรยี บเทียบ ระบบ - เปรียบเทียบ เทคโนโลยี - ความสามารถใน ระบบหมุนเวยี นเลอื ด หมนุ เวยี นเลอื ดแบบ การคิด - ความสามารถใน แบบเปิด และระบบ เปดิ และระบบ การสอ่ื สาร หมุนเวยี นเลอื ดแบบ หมุนเวยี นเลือดแบบ - ความสามารถใน การคดิ ปดิ ปดิ - ความสามารถ ม.5/9 - การสังเกต และการ - สงั เกต ในการสอื่ สาร สังเกต และอธบิ าย อธิบายทิศทางการ - อธิบาย ทศิ ทางการไหลของ ไหลของเลือด และ - สรุป เลอื ด และการ การเคลอื่ นทขี่ องเซลล์ เคลื่อนท่ขี องเซลลเ์ มด็ เม็ดเลือดในหางปลา เลอื ดในหางปลา และ - การสรปุ สรุปความสัมพนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง ระหวา่ งขนาดของ ขนาดของหลอดเลอื ด หลอดเลอื ดกับ กบั ความเรว็ ในการ ความเร็วในการไหล ไหลของเลอื ด ของเลอื ด ม.5/10 - การอธิบาย - อธิบาย อธิบายโครงสรา้ ง โครงสร้าง และการ และการทำงานของ ทำงานของหัวใจ และ หวั ใจ และหลอดเลอื ด หลอดเลอื ดของมนษุ ย์ ของมนุษย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook