Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส

หลักสูตรปฐมวัย โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส

Published by Rawat Yukerd, 2021-06-23 16:32:49

Description: หลักสูตรปฐมวัย-2564

Search

Read the Text Version

๑ ความนำ สภาพการเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบ กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รวมทั้งกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการศึกษา แห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๖๑) แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) นำไปสู่การกำหนด ทักษะสำคัญสำหรับเด็กในศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีความสำคัญในการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มี ความสอดคลอ้ งและทันต่อการเปลย่ี นแปลงทุกด้าน กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้มีการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยอย่างจริงจังและต่อเนื่องโดยได้ แต่งตั้งคณะทำงานพิจารณาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าว หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เป็นหลักสูตรสถานศึกษา สถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย และหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ และได้มาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กำหนดเป้าหมายในการพัฒนา เด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาตใิ นอนาคต โรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส

๒ ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาตแิ ละพฒั นาการตามวัยของเดก็ แตล่ ะคนใหเ้ ต็มตามศักยภาพภายใตบ้ ริบทสงั คมและวฒั นธรรมท่ีเดก็ อาศยั อยู่ ด้วยความรัก ความเอือ้ อาทร และ ความเข้าใจของทุกคน เพือ่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพฒั นาไปสู่ความเป็นมนษุ ย์ ท่ีสมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อ ตนเอง ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ ปรชั ญาการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนวดั พรหมเทพาวาส โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส จัดการพัฒนาเด็ก อายุ ๔ – ๖ ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท้องถิน่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้าง รากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเองครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ หลกั การ เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้อย่างเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธท์ ี่ดรี ะหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับ ผู้สอน เด็กกับผู้เล้ียงดูหรอื ผู้ทีเ่ กี่ยวข้องในการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาและให้การศึกษาแกเ่ ด็กปฐมวัย เพื่อให้ เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพ และเต็มตาม ศักยภาพโดยมีหลกั การดงั นี้ ๑. ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรูแ้ ละพฒั นาการท่ีครอบคลมุ เด็กปฐมวัยทกุ คน ๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคลและวิถชี ีวติ ของเด็กตามบรบิ ทของชุมชน สงั คม และวัฒนธรรมไทย ๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและ มีกิจกรรมท่ี หลากหลาย ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกบั วัย และมกี ารพักผ่อนท่เี พียงพอ ๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นคนดี มวี นิ ยั และมีความสุข ๕. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจและประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาเด็กระหวา่ งสถานศึกษากับพอ่ แม่ ครอบครัว ชุมชนและทุกฝ่ายที่เกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

๓ วสิ ยั ทศั น์หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มงุ่ พฒั นาเดก็ ทกุ คนใหไ้ ด้รับการพฒั นาดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุขและเหมาะสม ตามวัย มีทกั ษะชวี ติ และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ คนดี มวี ินัย และสำนึกความเป็น ไทย โดยความร่วมมอื ระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝา่ ยทีเ่ ก่ียวข้องกับการพฒั นาเดก็ วสิ ยั ทัศน์การศึกษาระดบั ปฐมวยั โรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส โรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส ม่งุ พัฒนาเดก็ ปฐมวยั อายุ ๔-๖ ปที ุกคนใหม้ พี ฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมกับวัย เน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือปฏิบัติ ดำรงชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมกบั วัยและบรบิ ทของตน โดยการมสี ว่ นรว่ มของผ้ปู กครอง ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการรอบด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ สนใจใฝ่รู้ เรียนรู้ อย่างมคี วามสุข มเี จตคติทดี่ ตี อ่ ทอ้ งถ่ินและสง่ เสรมิ ให้เด็กมีความพรอ้ มในการเรียนตอ่ ในช้ันทส่ี งู ขน้ึ ไป พันธกิจ ๑. มุ่งจดั ประสบการณ์พัฒนาการเดก็ ปฐมวัยชว่ งอายุ ๔-๖ ปีให้มีพฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน อยา่ งสมดลุ และ เต็มศักยภาพ มเี จตคติทีด่ ตี อ่ ท้องถ่ิน สนใจใฝร่ ู้ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทักษะชีวติ และเรียนรูอ้ ย่างมีความสขุ ๒. พัฒนาครแู ละบุคลากรให้สามารถจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรผู้ า่ นการเล่นทม่ี ีจุดหมายอย่างตอ่ เนือ่ ง ๓. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สภาพแวดล้อม สื่อเทคโนโลยี ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการ ของเด็ก โดยนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและแหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ มาใช้เสรมิ สรา้ งพฒั นาการ และการเรยี นรู้ของเด็ก ๔. ผ้ปู กครอง ชุมชน และทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เป้าหมาย ๑. เดก็ ปฐมวัยทกุ คนมพี ฒั นาการด้านร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและสตปิ ญั ญาอย่างสมดุลตามมาตรฐาน คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของหลกั สูตร ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็ก ปฐมวยั อย่างรอบดา้ นและเตม็ ศักยภาพ ๓. ทุกห้องเรียนจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหอ้ งเรยี นไดอ้ ยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกับการจัด ประสบการณ์การเรียนรแู้ ละเพียงพอ ๔. ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ให้ความร่วมมือและสนับสนุน การจัดการศึกษาปฐมวัย

๔ จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งใหเ้ ด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศกั ยภาพ และเพ่ือใหม้ คี วามพรอ้ มใน การเรียนรู้ต่อไป จึงกำหนดจุดหมายเพื่อให้เกดิ กบั เดก็ เม่ือเดก็ จบการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ดงั นี้ ๑. มีรา่ งกายเจริญเติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสุขนิสยั ทด่ี ี ๒. มีสุขภาพจิตดี มีสนุ ทรียภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจิตใจท่ดี ีงาม ๓. มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อยา่ งมคี วามสุข ๔. มที ักษะการคิด การใชภ้ าษาสอ่ื สาร และการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสมกับวยั พัฒนาการเด็กปฐมวยั พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการ เปล่ยี นแปลง ทเ่ี กิดขน้ึ ตามวฒุ ภิ าวะและสภาพแวดลอ้ มท่ีเด็กได้รับ พัฒนาการเด็กในแต่ละชว่ งวยั อาจเร็วหรือช้า แตกตา่ งกันไปในเดก็ แต่ละคน มรี ายละเอียด ดงั นี้ ๑. พฒั นาการด้านร่างกาย เปน็ พัฒนาการทเ่ี ปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงในทางท่ดี ีขนึ้ ของรา่ งกายใน ดา้ นโครงสรา้ งของร่างกาย ด้านความสามารถในการเคลอ่ื นไหว และดา้ นการมีสขุ ภาพอนามัยท่ีดี รวมถึงการใช้ สัมผัสรับรู้ การใช้ตาและมือประสานกันในการทำกิจกรรมต่างๆ เด็กอายุ ๔-๖ ปี มีการเจริญเติบโตรวดเร็ว โดยเฉพาะในเร่อื งน้ำหนักและส่วนสูง กลา้ มเนือ้ ใหญจ่ ะมีความก้าวหน้ามากกว่ากลา้ มเน้อื เลก็ สามารถบงั คับการ เคล่อื นไหวของรา่ งกายไดด้ ี มคี วามคลอ่ งแคล่ววอ่ งไวในการเดิน สามารถว่งิ กระโดด ควบคมุ และบงั คบั การทรง ตัวไดด้ ี จงึ ชอบเคล่ือนไหว ไมห่ ยุดน่งิ พร้อมทีจ่ ะออกกำลังและเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆสว่ นกล้ามเนอ้ื เล็กและ ความสัมพันธร์ ะหว่างตาและมือยังไมส่ มบูรณ์ การสัมผัสหรือการใช้มือมีความละเอียดข้ึน ใช้มือหยิบจับสิ่งของ ตา่ งๆไดม้ ากข้ึน ถ้าเดก็ ไมเ่ ครยี ดหรอื กังวลจะสามารถทำกจิ กรรมท่ีพฒั นากล้ามเนื้อเลก็ ได้ดแี ละนานขนึ้ ๒. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ เป็นความสามารถในการรู้สกึ และแสดงความรู้สึกของเด็ก เช่นพอใจ ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกลียด ฯลฯ โดยที่เด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวยั และสถานการณ์ เผชิญกบั เหตกุ ารณ์ต่างๆตลอดจนการสรา้ งความรูส้ ึกท่ีดแี ละการนับถอื ตนเองเด็กอายุ ๔-๖ ปีจะแสดงความรู้สึก อย่างเต็มที่ ไม่ปิดบัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกิดเพียงชั่วครู่แล้วหายไป การที่เด็กเปลี่ยนแปลง อารมณง์ ่ายเพราะมชี ่วงความสนใจระยะสน้ั เม่ือมสี ง่ิ ใดน่าสนใจก็จะเปล่ียนความสนใจไปตามสงิ่ นัน้ เด็กวันนี้มัก หวาดกลัวสิ่งต่างๆ เช่น ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซึ่งเด็กว่าเป็นเรื่องจรงิ สำหรับตน เพราะยังสับสนระหว่างเรื่องปรุงแต่งและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับ สถานการณ์อย่างเหมาะสมกบั วยั รวมถงึ ช่ืนชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อน่ื เพราะยึดตัวเองเปน็ ศูนย์กลางนอ้ ยลงและต้องการความสนใจจากผ้อู ืน่ มากขน้ึ ๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสรา้ งความสัมพันธ์ทางสังคมครั้งแรก ในครอบครัว โดยมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับพอ่ แม่และพี่นอ้ ง เมือ่ โตขน้ึ ต้องไปสถานศกึ ษา เดก็ เรมิ่ เรยี นรูก้ ารตดิ ต่อและการมีสัมพันธ์กับ บุคคลนอกครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กในวัยเดียวกัน เด็กได้เรียนรู้การปรับตัวให้เข้าสังคมกับเด็กอื่น พร้อมๆกบั รจู้ กั ร่วมมือในการเล่นกบั กลุม่ เพื่อน เจตคติและพฤตกิ รรมทางสังคมของเดก็ จะกอ่ ข้นึ ในวยั นแ้ี ละจะฝัง

๕ แน่นยากที่จะเปลี่ยนแปลงในวัยต่อมา ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤตกิ รรมทางสังคมของเดก็ วัยนี้ มี ๒ ลักษณะ คอื ลักษณะแรกนั้น เปน็ ความสัมพนั ธก์ ับผ้ใู หญ่และลักษณะทส่ี องเป็นความสมั พันธ์กบั เด็กในวัยใกล้เคยี งกัน ๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยนี้มีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจ ความรู้สึกของคนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองสิ่งต่างๆรอบตัว และรู้สึกต่อสิ่งต่างๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเองเป็นใหญ่ที่สุด เมื่ออายุ ๔-๖ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของที่อยู่ รอบตวั ได้ สามารถจำสิ่งตา่ งๆ ท่ีไดก้ ระทำซำ้ กันบ่อยๆ ไดด้ ี เรยี นรสู้ ิง่ ต่างๆ ไดด้ ีข้นึ แตย่ ังอาศยั การรับรู้เป็นส่วน ใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถูกจากการรับรู้มากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่อยู่ รอบตัวพัฒนาอย่างรวดเร็วตามอายุท่ีเพิ่มขึ้น ในส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยนี้เปน็ ระยะเวลาของการ พฒั นาภาษาอย่างรวดเรว็ โดยมกี ารฝกึ ฝนการใช้ภาษาจากการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การตอบ คำถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทำกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในสถานศึกษา เด็ก ปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตนและใช้ภาษาในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอ่ืนได้คำพูดของเด็กวยั นี้ อาจจะทำใหผ้ ใู้ หญบ่ างคนเข้าใจวา่ เด็กรมู้ ากแลว้ แต่ที่จรงิ เด็กยังไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคำและเรอ่ื งราวลกึ ซึ้งนัก มาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วยมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ ตวั บง่ ชี้ และสภาพท่พี งึ ประสงค์ ดังน้ี ๑.พัฒนาการด้านรา่ งกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี ตัวบง่ ชที้ ่ี ๑.๑ น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ตวั บ่งชี้ท่ี ๑.๒ มีสุขภาพอนามัย สขุ นิสยั ท่ดี ี ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑.๓ รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผอู้ ืน่ มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเนือ้ เล็กแขง็ แรงใช้ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่วและประสาน สมั พนั ธ์กนั ตวั บ่งช้ที ่ี ๒.๑ เคล่ือนไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคลว่ ประสานสมั พันธ์และทรงตวั ได้ ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๒.๒ ใชม้ อื -ตาประสานสมั พนั ธ์กัน ๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๓ มสี ุขภาพจิตดีและมีความสขุ ตวั บง่ ช้ที ่ี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๒ มีความร้สู กึ ท่ดี ตี อ่ ตนเองและผอู้ ่ืน มาตรฐานที่ ๔ ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว ตวั บ่งชท้ี ี่ ๔.๑ สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่านงานศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว มาตรฐานที่ ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจท่ีดงี าม ตวั บง่ ชที้ ี่ ๕.๑ ซ่อื สัตยส์ จุ ริต ตวั บ่งช้ที ่ี ๕.๒ มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบง่ ปัน

๖ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๕.๓ มีความเห็นอกเหน็ ใจผู้อนื่ ตวั บ่งชี้ที่ ๕.๕ มีความรับผดิ ชอบ ๓.พัฒนาการดา้ นสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั บ่งชี้ท่ี ๖.๑ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจำวัน ตวั บง่ ชี้ที่ ๖.๒ มวี นิ ัยในตนเอง ตวั บ่งชี้ที่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพียง มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย ตวั บ่งชี้ท่ี ๗.๑ ดแู ลรักษาธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ตวั บ่งช้ีท่ี ๗.๒ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย และรักความเปน็ ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นได้อย่างมคี วามสุขและปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสงั คมใน ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข ตัวบง่ ชี้ท่ี ๘.๑ ยอมรบั ความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ตวั บ่งช้ที ี่ ๘.๒ มปี ฏิสัมพันธท์ ่ดี ีกับผอู้ นื่ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๘.๓ ปฏิบตั ติ นเบอื้ งต้นในการเปน็ สมาชิกทด่ี ขี องสังคม ๔.พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตัวบ่งชีท้ ่ี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่าเรือ่ งใหผ้ ูอ้ น่ื เข้าใจ ตัวบ่งชท้ี ่ี ๙.๒ อ่าน เขยี นภาพและสัญลกั ษณไ์ ด้ มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ป็นพื้นฐานการเรยี นรู้ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑๐.๑ มคี วามสามารถในการคดิ รวบยอด ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล ตัวบ่งชท้ี ี่ ๑๐.๓ มคี วามสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสนิ ใจ มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๑.๑ ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ตัวบง่ ช้ีที่ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทางเคลอ่ื นไหวตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ดเ้ หมาะสม กบั วัย ตวั บ่งชีท้ ่ี ๑๒.๑ มีเจตคติทด่ี ีต่อการเรยี นรู้ ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้

๗ ตัวบ่งช้ี ตวั บ่งช้ี เป็นเป้าหมายในการพฒั นาเดก็ ที่มีความสัมพันธส์ อดคลอ้ งกับมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ เปน็ พฤติกรรมหรอื ความสามารถตามวยั ที่คาดหวงั ให้เดก็ เกิด บนพน้ื ฐานพัฒนาการ ตามวัยหรือความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดับอายุเพื่อน ำไปใช้ในการกำหนดสาระเรียนรู้ในการจัด ประสบการณ์ กิจกรรมและประเมนิ พฒั นาการเดก็ ระยะเวลาเรยี น โรงเรียนวัดพรหมเทพาวาส กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจดั ประสบการณใ์ หก้ ับเด็ก ๒ ปี การศกึ ษา โดยมเี วลาเรียนไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วนั ตอ่ ปกี ารศึกษา แต่ละวนั ตอ้ งใชเ้ วลาไม่นอ้ ยกว่า ๕ ชว่ั โมง หลกั สตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษาในระดับปฐมวยั (Anti-Corruption Education) กรอบการจดั ทำหลกั สูตรหรือชุดการเรยี นรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจริต โดยที่ ประชมุ ไดเ้ ห็นชอบร่วมกนั ในการจัดทำหลกั สูตรหรือชดุ การเรียนรูแ้ ละสื่อประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกัน การทุจริต หัวขอ้ วิชา ๔ วิชา ประกอบดว้ ย ๑) การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒) ความอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๓) STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ รติ ๔) พลเมืองและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เนอื้ หาหลักสูตรหรอื ชดุ การเรียนรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจรติ หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (ระดบั ปฐมวัย และป.๑-ม.๖) มีชื่อหลกั สตู รว่า “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทจุ ริต หลักสตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน ดำเนินการจัดทำเป็นแผนการจดั การเรียนรโู้ ดยแยกเป็น ๑๓ ระดบั ชั้นปี ไดแ้ ก่ ระดับปฐมวยั ระดับ ประถมศกึ ษาชั้นปที ่ี ๑ - ๖ และระดบั มัธยมศกึ ษาชัน้ ปีท่ี ๑ - ๖ ในแต่ละระดบั ชน้ั ปี จะใช้เวลาเรียนท้ังปี จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ตอ้ งจัดทำเน้ือหาและกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแ้ ตกต่างกัน ตามความเหมาะสมและการเรยี นรู้ใน แตล่ ะชว่ งวยั หลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา ระดับหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๑. ชื่อหลกั สตู ร “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ” ตามทส่ี ำนักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ร่วมกบั สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง ดำเนินการจัดทำหลักสูตรหรอื ชดุ การเรียนรูแ้ ละ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการป้องกนั การทุจริต สำหรบั ใช้เป็นเนือ้ หามาตรฐานกลางให้สถาบนั การศึกษาหรอื หน่วยงานท่เี กย่ี วข้องนำไปใชใ้ นการเรยี นการสอนให้กบั กลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดบั ชนั้ เรยี น เพ่อื ปลกู ฝัง จติ สำนึกในการแยกประโยชนส์ ่วนบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวม จติ พอเพยี ง การไม่ยอมรับและไมท่ นต่อการ ทจุ รติ โดยใช้ช่ือวา่ หลกั สตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) หลกั สูตรท่ี ๑ หลักสูตรการศกึ ษา ขน้ั พ้นื ฐาน โดยมีแนวทางการนำไปใชต้ ามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน ดงั นี้ ๑.นำไปจัดเป็นรายวชิ าเพิม่ เตมิ ของโรงเรยี น ๒.นำไปจัดในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้

๘ ๓.นำไปบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนในกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (สาระหนา้ ท่พี ลเมอื ง) หรอื นำไปบรู ณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ น่ื ๆ ๒. จดุ มุ่งหมายของรายวิชา เพ่อื ใหน้ ักเรียน ๒.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒.๒ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒.๓ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ ๒.๔ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั พลเมืองและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒.๖ ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ ๒.๗ ปฏิบัติตนเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ๒.๘ ปฏบิ ัตติ นตามหน้าที่พลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๓. คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม ความละอายและความ ไมท่ นต่อการทุจรติ STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทจุ ริต รูห้ นา้ ท่ีของพลเมอื งและรบั ผิดชอบต่อสงั คมในการ ต่อต้านการทจุ รติ โดยใชก้ ระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏบิ ตั ิจริง การทำโครงงานกระบวนการ เรยี นรู้ ๕ ข้นั ตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสืบสอบ การแกป้ ัญหา ทกั ษะการอ่านและการเขยี น เพอ่ื ใหม้ ี ความตระหนักและเห็นความสำคัญของการตอ่ ตา้ นและการป้องกันการทจุ รติ ๔.ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏิบตั ิตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นตอ่ การทุจรติ ทุกรปู แบบ ๗. ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจริต ๘. ปฏิบตั ติ นตามหน้าทพ่ี ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจริต รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้

๙ โครงสร้างของหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั เพ่อื ให้การจัดการศึกษาเปน็ ไปตามหลกั การ จุดหมายทก่ี ำหนดไวใ้ ห้สถานศกึ ษา และผู้เกยี่ วขอ้ งกับ การเลย้ี งดูเดก็ ปฏบิ ัติ ในการจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาจงึ กำหนดโครงสรา้ งของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยของ โรงเรยี นวดั พรหมเทพาวาส ดงั นี้ โครงสรา้ งหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ช่วงอายุ อายุ ๓ - ๖ ปี ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ - ด้านร่างกาย - เรือ่ งราวเกย่ี วกับตวั เดก็ สาระการเรยี นรู้ - ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ - เรื่องราวเกี่ยวกับบคุ คลและสถานที่ - ด้านสังคม แวดล้อมเด็ก - ด้านสติปัญญา - ธรรมชาติรอบตัว - ส่งิ ต่างๆรอบตัวเดก็ จดั การศึกษา ๒ ภาคเรยี น : ๑ ปีการศกึ ษา ช้นั อนบุ าลปีที่ ๑ อายรุ ะหว่าง ๓-๔ ปี ระยะเวลาเรียน ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๒ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี ช้นั อนุบาลปที ่ี ๓ อายุระหว่าง ๕-๖ ปี ไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วนั : ๑ ปี ใช้เวลา ๕-๖ ชวั่ โมง : ๑ วัน ๒๕-๓๐ ชว่ั โมง/สัปดาห์ หมายเหตุ ๓-๔ ปี มีความสนใจ ๘ - ๑๒ นาที ๔-๕ ปี มีความสนใจ ๑๒ - ๑๕ นาที ๕-๖ ปี มีความสนใจ ๑๕ - ๒๐ นาที * กจิ กรรมทีต่ ้องใช้ความคดิ ในกลมุ่ เลก็ และกลุ่มใหญ่ ไมค่ วรใช้เวลาต่อเนือ่ งนานเกินกวา่ ๒๐ นาที * กิจกรรมทีเ่ ดก็ มีอสิ ระเลอื กเลน่ เสรี เช่น การเลน่ ตามมมุ การเลน่ กลางแจ้ง ใช้เวลา ๔๐ – ๖๐ นาที

๑๐ การวเิ คราะห์สภาพที่พึงประสงคต์ ามมาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๑.พัฒนาการดา้ นร่างกาย มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวัยเด็กมีสุขนิสยั ทีด่ ี ตวั บง่ ชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๑.๑ มีน้ำหนักและส่วนสูง -น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของ -น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรม ตามเกณฑ์ กรมอนามยั อนามยั ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และ -รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ได้หลาย สุขนสิ ัยทีด่ ี ดืม่ นำ้ สะอาดด้วยตนเอง ชนิดและด่มื น้ำสะอาดได้ด้วยตนเอง -ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและ -ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจาก หลังจากใชห้ ้องนำ้ หอ้ งส้วมด้วยตนเอง ใช้ห้องน้ำหอ้ งสว้ มด้วยตนเอง -นอนพกั ผอ่ นเป็นเวลา -นอนพักผอ่ นเป็นเวลา -ออกกำลังกายเปน็ เวลา -ออกกำลังกายเป็นเวลา ๑.๓ รกั ษาความปลอดภยั -เล่นและทำกิจกรรมอย่างปลอดภัย -เลน่ และทำกิจกรรมและปฏิบัติต่อผู้อ่ืนอย่าง ของตนเองและผู้อ่ืน ด้วยตนเอง ปลอดภัย มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนือ้ ใหญแ่ ละกล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรงใช้ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว และประสานสมั พนั ธก์ นั ตัวบง่ ชี้ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๒.๑ เคลอ่ื นไหวร่างกาย -เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงได้ -เดินต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรงได้โดยไม่ อย่างคล่องแคล่วประสาน โดยไมต่ อ้ งกางแขน ต้องกางเกง สัมพนั ธ์และทรงตวั ได้ -กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้โดยไม่เสีย -กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้อย่าง การทรงตัว ต่อเน่อื งโดยไม่เสยี การทรงตัว -ว่ิงหลบหลีกสง่ิ กีดขวางได้ -วงิ่ หลบหลีกสง่ิ กดี ขวางไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ -รบั ลูกบอลไดด้ ้วยมือทั้งสองข้าง -รับลูกบอลทีก่ ระดอนขนึ้ จากพ้ืนได้ ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสาน -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว -ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ โค้งได้ สมั พันธก์ ัน เสน้ ตรงได้ -เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้อย่างมี -เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้อย่างมีมุม มมุ ชดั เจน ชัดเจน -ร้อยวัสดุที่มรี ูจนาดเส้นผ่านศูนย์ ๐.๕ -รอ้ ยวสั ดุท่มี รี ขู นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้ ซม.ได้

๑๑ ๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดแี ละมคี วามสขุ ตัวบ่งช้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๓.๑ แสดงออกทาง -แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้ตามสถานการณ์ -แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้สอดคล้องกับ อารมณ์อยา่ ง สถานการณ์อย่างเหมาะสม เหมาะสม ๓.๒ มีความรู้สึกทดี่ ี -กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมบาง -กล้าพูดกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตาม ตอ่ ตนเองและผู้อน่ื สถานการณ์ สถานการณ์ -แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ - แ ส ด ง ค ว า ม พ อ ใ จ ใ น ผ ล ง า น แ ล ะ ของตนเอง ความสามารถของตนเองและผอู้ น่ื มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว ตวั บ่งช้ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๔.๑ สนใจและมี -สนใจและมีความสุขและแสดงออกผ่านงาน -สนใจและมีความสขุ และแสดงออกผ่านงาน ความสุขและ ศิลปะ ศิลปะ แสดงออกผ่านงาน -สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน -สนใจ มีความสุขและแสดงออกผ่าน ศลิ ปะ ดนตรีและการ เสียงเพลง ดนตรี เคล่อื นไหว เสียงเพลง ดนตรี -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ -สนใจ มีความสุขและแสดงท่าทาง/ เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและ ดนตรี เคลอื่ นไหวประกอบเพลง จังหวะและ ดนตรี มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมจี ติ ใจท่ีดีงาม ตัวบง่ ชี้ สภาพท่พี งึ ประสงค์ ๕.๑ ซ่ือสตั ย์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี สจุ รติ - ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อต้องการสิ่งของ - ขออนญุ าตหรอื รอคอยเม่อื ต้องการสงิ่ ของของ ของผูอ้ น่ื เมื่อมผี ชู้ ีแ้ นะ ผอู้ นื่ ดว้ ยตนเอง ๕.๒ มีความ -แสดงความรกั เพอ่ื นและมีเมตตาสัตวเ์ ลีย้ ง -แสดงความรักเพือ่ นและมีเมตตาสตั วเ์ ลยี้ ง -ช่วยเหลือและแบ่งปนั ผู้อ่ืนไดด้ ว้ ยตนเอง เมตตา กรณุ า มี -ชว่ ยเหลือและแบ่งปนั ผ้อู ่นื ได้เม่ือมีผชู้ ี้แนะ นำ้ ใจและ ช่วยเหลือ แบง่ ปัน

๑๒ ๕.๓ มคี วามเห็น -แสดงสหี นา้ หรือท่าทางรับรู้ความร้สู ึกผูอ้ ่ืน -แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ความรู้สึกผู้อ่ืน อกเหน็ ใจผู้อื่น อย่างสอดคล้องกบสถานการณ์ ๕.๔ มคี วาม -ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จเมื่อมีผู้ -ทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนสำเร็จดว้ ยตนเอง รบั ผิดชอบ ช้ีแนะ ๓.พัฒนาการดา้ นสงั คม มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชีวิตและปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบง่ ช้ี สภาพท่พี ึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๖.๑ - แตง่ ตัวด้วยตนเอง - แตง่ ตัวด้วยตนเองได้อย่างคลอ่ งแคลว่ ช่วยเหลือ -รับประทานอาหารด้วยตนเอง - รบั ประทานอาหารด้วยตนเองอยา่ งถูกวิธี ตนเองในการ -ใช้ห้องน้ำหอ้ งส้วมด้วยตนเอง ปฏิบตั กิ ิจวตั ร -ใช้และทำความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำห้องส้วม ประจำวัน ด้วยตนเอง ๖.๒ มีวนิ ยั ใน -เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ที่ดว้ ยตนเอง -เก็บของเล่นของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยด้วย ตนเอง ตนเอง -เข้าแถวตาลำดับกอ่ นหลังไดด้ ว้ ยตนเอง -เข้าแถวตาลำดับกอ่ นหลงั ไดด้ ้วยตนเอง ๖.๓ ประหยดั -ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและ -ใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างประหยัดและพอเพยี ง และพอเพยี ง พอเพียงเม่อื มีผูช้ ้แี นะ ดว้ ยตนเอง

๑๓ มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม และความเปน็ ไทย ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๗.๑ ดูแล -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและ -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและ รักษา ส่งิ แวดลอ้ มเมอ่ื มีผชู้ ้ีแนะ ส่งิ แวดลอ้ มดว้ ยตนเอง ธรรมชาติ -ท้ิงขยะได้ถกู ที่ -ท้ิงขยะไดถ้ ูกท่ี และ ส่งิ แวดล้อม ๗.๒ มี -ปฏบิ ัตติ นตามมารยาทไทยไดด้ ว้ ยตนเอง -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ ตามกาลเทศะ มารยาทตาม -กลา่ วคำขอบคุณและขอโทษดว้ ยตนเอง -กลา่ วคำขอบคณุ และขอโทษด้วยตนเอง วฒั นธรรม ไทยและรัก -หยุดเมื่อได้ยินเพลงชาติไทยและเพลงสรรเสริญ -ยืนตรงและร่วมร้องเพลงชาติไทยและเพลง ความเป็น พระบารมี สรรเสริญพระมารมี ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๘.๑ ยอมรับความ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเด็กที่ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กทีแ่ ตกตา่ งไป เหมอื นและความ แตกตา่ งไปจากตน จากตน แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ๘.๒ มีปฏิสัมพนั ธ์ทดี่ ี -เล่นหรือทำงานร่วมกับเพือ่ นเป็นกล่มุ -เลน่ หรอื ทำงานร่วมกบั เพ่อื นอย่างมีเปา้ หมาย กบั ผ้อู น่ื -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ บคุ คลทคี่ ้นุ เคยไดด้ ว้ ยตนเอง บคุ คลทค่ี ุ้นเคยได้เหมาะสมกับสถานการณ์

๑๔ มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข (ต่อ) ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๘.๑ ยอมรับความ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเด็กที่ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเด็กที่แตกต่าง เหมือนและความ แตกต่างไปจากตน ไปจากตน แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ๘.๒ มีปฏิสมั พนั ธท์ ่ดี ี -เล่นหรอื ทำงานร่วมกับเพือ่ นเปน็ กลุ่ม -เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อนอย่างมี กับผ้อู ื่น เป้าหมาย -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับผู้ใหญ่และ บคุ คลทีค่ ้นุ เคยได้ดว้ ยตนเอง บุคคลที่คุ้นเคยได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ๘.๓ ปฏบิ ตั ิตน -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตาม -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและปฏิบัติตาม เบอ้ื งตน้ ในการเป็น สมาชิกที่ดขี องสงั คม ขอ้ ตกลงเมือ่ มผี ู้ช้แี นะ ข้อตกลงดว้ ยตนเอง -ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีได้ด้วย -ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสม ตนเอง กับสถานการณ์ -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจาก -ประนีประนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจาก การใช้ความรนุ แรงเม่ือมีผชู้ ้ีแนะ การใชค้ วามรุนแรงดว้ ยตนเอง -คิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน -คิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและ กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิต ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิต พอเพียงต้านทุจริต และพลเมือง กับความ พอเพียงต้านทุจริต และพลเมือง กับความ รบั ผิดชอบต่อสังคม รับผิดชอบตอ่ สังคม ๔. พฒั นาการด้านสติปัญญา มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับวยั ตวั บง่ ชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๙.๑ สนทนาโต้ตอบ -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบ -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่าง และเล่าเรอ่ื งให้ผอู้ น่ื สอดคล้องกับเร่ืองท่ฟี ัง ต่อเนื่องเชอื่ มโยงกบั เรอื่ งที่ฟงั เข้าใจ -เล่าเรือ่ งเปน็ ประโยคอย่างต่อเนือ่ ง -เล่าเป็นเรื่องราวต่อเนื่องได้ ๙.๒ อ่าน เขียน -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ พร้อมทั้งชี้ หรือ -อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้ หรือ ภาพ และสัญลกั ษณ์ กวาดตามองข้อความตามบรรทดั กวาดตามองจุดเริ่มต้นและจุดจบของ ได้ ข้อความ -เขียนคลา้ ยตัวอกั ษร -เขียนชื่อของตนเอง ตามแบบ เขียน ขอ้ ความด้วยวธิ ที ค่ี ิดขึ้นเอง

๑๕ มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๑๐.๑ มีความ -บอกลักษณะและส่วนประกอบของสิ่งของ - บ อ ก ล ั ก ษ ณ ะ ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ ก า ร สามารถในการคิด ต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส เปลี่ยนแปลง หรือความสัมพันธ์ของสิ่งของ รวบยอด ต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผสั -จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือ -จับคู่และเปรียบเทียบความแตกต่างหรือ ความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะท่ี ความเหมือนของสิ่งต่างๆโดยใช้ลักษณะที่ สังเกตพบเพียงลักษณะเดียว สงั เกตพบสองลกั ษณะข้ึนไป -จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้อย่าง -จำแนกและจัดกลุ่มสิ่งต่างๆโดยใช้ตั้งแต่ นอ้ ยหน่ึงลกั ษณะเปน็ เกณฑ์ สองลกั ษณะขน้ึ ไปเป็นเกณฑ์ -เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย -เรียงลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์อย่างน้อย ๔ ลำดับ ๕ ลำดบั ๑๐.๒ มีความ -ระบุสาเหตุหรือผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ -อธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน สามารถในการคิดเชิง หรือ การกระทำเมอื่ มผี ้ชู แี้ นะ เหตกุ ารณห์ รือการกระทำดว้ ยตนเอง เหตุผล -คาดเดา หรือคาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดข้ึน -คาดคะเนส่ิงท่ีอาจจะเกดิ ข้ึน และมีสว่ นรว่ ม หรือมสี ว่ นรว่ มในการลงความเหน็ จากข้อมูล ในการลงความเหน็ จากข้อมูลอย่างมเี หตผุ ล ๑๐.๓ มคี วาม -ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและเริ่มเรียนรู้ผลที่ -ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆและยอมรับผลที่ สามารถในการคิด เกิดข้นึ เกดิ ข้ึน แก้ปัญหาและ -ระบุปัญหา และแก้ปัญหาโดยลองผิดลอง -ระบุปัญหาสร้างทางเลือกและเลือกวิธี ตัดสนิ ใจ ถกู แก้ปัญหา มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตวั บ่งช้ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศิลปะ -สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสาร -สร้างผลงานศิลปะเพื่อสื่อสารความคิด ตามจนิ ตนาการและ ความคิด ความรู้สึกของตนเองโดยมี ความรสู้ ึกของตนเองโดยมกี ารดดั แปลงและ ความคดิ สร้างสรรค์ การดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดิม แปลกใหม่จากเดิมและมีราย ละเอียด หรอื มีราย ละเอยี ดเพม่ิ ขน้ึ เพมิ่ ขน้ึ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ -เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร -เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสารความคิด เคล่อื นไหวตามจินตนาการ ความคิด ความรู้สึกของตนเองอย่าง ความรู้สึกของตนเองอย่างหลากหลายและ อยา่ งสรา้ งสรรค์ หลากหลายหรอื แปลกใหม่ แปลกใหม่

๑๖ มาตรฐานท่ี ๑๒ มีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อการเรียนรู้ และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวัย ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๑๒.๑ มเี จตคติทดี่ ีต่อการ อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี เรียนรู้ -สนใจซักถามเก่ียวกับสัญลักษณ์หรือ -หยิบหนังสือมาอ่านและเขียนสื่อความคิด ๑๒.๒ มีความสามารถใน การแสวงหาความรู้ ตัวหนงั สอื ทพี่ บเหน็ ดว้ ยตนเองเป็นประจำอยา่ งต่อเนอ่ื ง -กระตือรอื รน้ ในการเข้าร่วมกิจกรรม -กระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมตั้งแต่ต้น จนจบ -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัยต่างๆ ตาม ตามวิธีการของตนเอง วธิ กี ารทีห่ ลากหลายดว้ ยตนเอง -ใช้ประโยคคำถามว่า “ที่ไหน” -ใช้ประโยคคำถามว่า “เมือ่ ไร” อยา่ งไร” ใน “ทำไม” ในการค้นหาคำตอบ การคน้ หาคำตอบ ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรรู้ ายปี ชว่ งอายุ ๓ – ๔ ปี พัฒนาการด้านรา่ งกาย มาตรฐานท่ี ๑ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัย และมีสขุ นิสัยทีด่ ี ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี ๑.๑ มีนำ้ หนกั และ ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ส่วนสูงตามเกณฑ์ -น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ๑.การปฏบิ ตั ิตนตามสุขอนามัย ตัวเด็ก ๑.๒ มสี ุขภาพอนามัย ของกรมอนามัย สขุ นสิ ัยที่ดใี นกิจวัตรประจำวนั ๑. การรับประทานทมี่ ปี ระโยชน์ สุขนสิ ยั ทดี่ ี ๒. การช่งั นำ้ หนักและวดั ส่วนสูง -ยอมรับประทานอาหารทีม่ ี ๑.การปฏิบตั ิตนตามสุขอนามัย ๓. การวดั เสน้ รอบศรี ษะ ประโยชน์และด่ืมนำ้ ที่สะอาด สขุ นสิ ัยทด่ี ใี นกจิ วัตรประจำวัน ตวั เด็ก เมือ่ มีผ้ชู แ้ี นะ ๒. การประกอบอาหารไทย ๑. การปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามยั - การรบั ประทานอาหาร -ลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทานอาหาร ๑.การปฏบิ ัติตนตามสุขอนามัย อาหารหลกั ๕ หมู่ และหลังจากใชห้ อ้ งน้ำห้องส้วม สขุ นสิ ัยที่ดใี นกิจวัตรประจำวนั ๒. อาหารท่ีมีประโยชน์และไม่มี เมอื่ มผี ชู้ แี้ นะ ๒. การปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัย ประโยชน์ ตัวเด็ก ในกิจวัตรประจำวนั ๑. การปฏิบตั ติ นตามสขุ อนามยั - การทำความสะอาดรา่ งกาย

๑๗ - ล้างหน้าและแปรงฟนั หลงั ๓. การฟงั นทิ าน เรอื่ งราว ตวั เด็ก รับประทานอาหารเม่อื มีผู้ช้แี นะ เหตกุ ารณ์เกีย่ วกบั การป้องกนั ๑. การปฏิบัติตนตามสุขอนามยั และรกั ษาความปลอดภยั ๒. การทำความสะอาดร่างกาย -นอนพักผ่อนเปน็ เวลา ๔.การช่วยเหลือตนเองในกจิ วตั ร ประจำวนั ตัวเดก็ -การพกั ผอ่ น ๑.การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามัย สขุ นิสยั ทด่ี ใี นกิจวัตรประจำวัน ๒. การปฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั ใน กิจวตั รประจำวนั ๓.การฟงั นิทาน เรือ่ งราว เหตกุ ารณ์เกย่ี วกับการป้องกนั และรกั ษาความปลอดภยั ๔. การชว่ ยเหลือตนเองในกิจวัตร ประจำวนั ๑. การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามยั สขุ นิสัยท่ดี ีในกิจวัตรประจำวัน ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑.๓ รกั ษา -ออกกำลังกายเป็นเวลา ๑. การเคล่ือนไหวข้ามสงิ่ กีดขวาง ตัวเด็ก ความปลอดภยั ของ ๒. การเล่นเครื่องเลน่ อย่าง ๑. การออกกำลังกาย ตนเองและผ้อู ืน่ -เล่นและทำกจิ กรรมอยา่ ง ปลอดภยั ๒. การเลน่ เคร่อื งเล่นสนาม ปลอดภัยเมื่อมีผชู้ แ้ี นะ ๓. การเลน่ เครอื่ งเลน่ สนามอยา่ ง ๓.การละเล่นพ้ืนบา้ นของไทย อิสระ ๔. การเลน่ อสิ ระ ตัวเด็ก ๕. การเลน่ นอกหอ้ งเรยี น ๑. ความปลอดภัยในการปฏบิ ตั ิ ๖. การละเล่นพน้ื บ้านของไทย กจิ วตั รประจำวนั ๑.การปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภัยใน กิจวตั รประจำวัน ๒. การฟงั นิทาน เร่ืองราว เหตกุ ารณ์เกย่ี วกบั การป้องกนั และ รักษาความปลอดภัย ๓. การเลน่ บทบาทสมมติ เหตุการณ์ต่างๆ ๔. การเล่นเครอ่ื งเล่นอยา่ ง ปลอดภัย ๕.การเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น ๖.การพูดกับผอู้ ื่นเก่ียวกบั ประสบการณข์ องตนเองหรอื พูด เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตนเอง

๑๘ มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและ ประสานสมั พันธก์ ัน ตวั บง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ตวั บง่ ช้ที ่ี ๒.๑ ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) เคล่อื นไหวรา่ งกายอย่าง -เดนิ ตามแนวท่กี ำหนดได้ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ คลอ่ งแคลว่ ประสาน -กระโดดสองขา ข้ึนลงอยู่กับทไี่ ด้ สัมพนั ธ์และทรงตัวได้ -วง่ิ แลว้ หยดุ ได้ ๑. การเคลอ่ื นไหวอย่กู ับที่ ตวั เดก็ -โ ย น ร ั บ ล ู ก บ อ ล โ ด ย ใ ช ้ ม ื อ แ ล ะ ตวั บ่งช้ที ี่ ๒.๒ ใช้มือ-ตา ลำตัวช่วย ๒. การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี ๑. การเคลื่อนไหวร่างกายใน ประสานสัมพันธ์กัน - ใช้กรรไกรตัดกระดาษขาดจาก ๓. การเคล่อื นไหวพรอ้ มอุปกรณ์ ลักษณะตา่ งๆ กันได้โดยใชม้ อื เดยี ว - เขียนรูปวงกลมตามแบบได้ ๔. การเคล่อื นไหวทใี่ ชก้ ารประสาน -ร ้ อ ย ว ั ส ด ุ ท ี ่ ม ี ร ู ข น า ด เ ส ้ น ผ ่ า น ศนู ย์กลาง ๑ ซม.ได้ สมั พนั ธ์ของกล้ามเนื้อใหญ่ในการขว้าง การจบั การโยน การเตะ ๕. การเล่นเครื่องเลน่ สนามอยา่ งอสิ ระ ๖. การเคลื่อนไหวโดยควบคุมตนเอง ไปในทศิ ทาง ระดับ และพื้นท่ี ๗.การเคลื่อนไหวขา้ มสิง่ กีดขวาง ๑. การเล่นเครอื่ งเลน่ สัมผัส และ ตัวเด็ก การสรา้ งสิ่งต่างๆจากแทง่ ไม้บลอ็ ก ๑. การใช้มือทำสิ่งตา่ งๆ ๒.การเขียนภาพและการเล่นกับสี ๒. การใชก้ รรไกรที่ถกู วิธี ๓. การประดิษฐส์ งิ่ ต่างๆด้วยเศษวสั ดุ ๓. การทำงานศลิ ปะ ๔. การหยิบจบั การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ การร้อยวัสดุ

๑๙ ๒.พฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจิตดีและมคี วามสขุ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ๓.๑ แสดงออกทาง ช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ อารมณ์อยา่ ง -แสดงอารมณ์ความรูส้ กึ ได้ ๑. การพูดสะทอ้ นความรสู้ กึ ตัวเด็ก เหมาะสม เหมาะสมกับบางสถานการณ์ ของตนเองและผอู้ นื่ ๑. อารมณ์ ความรูส้ ึก ความต้องการ- ๒. การเล่นบทบาทสมมตุ ิ อารมณต์ ่างๆ ๓.๒ มีความร้สู กึ ท่ีดี -กลา้ พูดกลา้ แสดงออก ๓. การเคลื่อนไหวตาม - การแสดงออกทางอารมณท์ ีเ่ หมาะสม ตอ่ ตนเองและผู้อื่น -แสดงความพอใจในผลงาน เสยี งเพลง ดนตรี กบั บางสถานการณ์ ตนเอง ๔. การรอ้ งเพลง - ความต้องการทางร่างกาย และการ ๕. การทำงานศิลปะ ตอบสนอง ๑. การแสดงออกอย่างมนั่ ใจ ๑. การแสดงความภาคภมู ใิ จในสิ่งทีต่ นเอง ทำแล้วประสบความสำเร็จ มาตรฐานท่ี ๔ ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ตวั บง่ ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และ ชน้ั อนุบาลปที ี่ ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ แสดงออกผ่านงานศิลปะ -สนใจและมีความสขุ และ ๑. การทำกิจกรรมศลิ ปะตา่ งๆ - การทำกิจกรรมศิลปะ ดนตรแี ละการเคล่ือนไหว แสดงออกผ่านงานศิลปะ ๒. การสรา้ งสรรคส์ ิง่ สวยงาม สร้างสรรค์ ๓. การรบั รู้และแสดงความคดิ -สนใจ มคี วามสุขและ ความรสู้ กึ ผา่ นสอ่ื วัสดุ ของ - การฟงั ดนตรี การร้องเพลง แสดงออกผา่ นเสยี งเพลง เลน่ และช้ินงาน ดนตรี ๔. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง ๑. การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโต้ตอบ เสียงดนตรี ๒. การเลน่ เครอ่ื งดนตรี ประกอบจงั หวะ ๔. การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง

๒๐ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ชัน้ อนุบาลปที ี่ ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ -สนใจ มคี วามสขุ และแสดง ๑. การฟังเพลง การร้องเพลง - การแสดงท่าทางเคลอ่ื นไหว ท่าทาง/เคลอื่ นไหวประกอบ และการแสดงปฏิกิรยิ าโตต้ อบ ประกอบเพลง จงั หวะและ เพลง จงั หวะและ ดนตรี เสียงดนตรี ดนตรี ๒. การเคลื่อนไหวตาม เสียงเพลง ดนตรี ๔. การปฏิบตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง ๕. การเล่นเคร่ืองดนตรี ประกอบจังหวะ มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีจติ ใจทด่ี ีงาม ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๕.๑ ซ่ือสัตย์ สจุ รติ ช้นั อนุบาลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ -บอกหรอื ชี้ไดว้ ่าสิง่ ใดเป็นของ ๑. ปฏิบตั ติ นเป็นสมาชกิ ท่ดี ี บุคคลและสถานที่แวดล้อม ตนเองและสิ่งใดเป็นของผู้อนื่ ของห้องเรยี น เด็ก ๑. คุณธรรมจริยธรรม ๒. การฟังนิทานเกี่ยวกับ - ความซ่ือสตั ย์ สุจรติ คุณธรรม จรยิ ธรรม - ความเกรงใจ ๓. การร่วมสนทนาและ ๒. การเคารพสิทธิของตนเอง แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ เชิง และผู้อ่นื จริยธรรม ๔. เลน่ บทบาทสมมุติ ๕. การเล่นและทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ๖. การปฏิบัตติ นตามหลัก ศาสนาท่ีนับถอื ๕.๒ มีความเมตตา กรุณา มี -แสดงความรักเพื่อนและมี ๑. การฟังนิทานเก่ยี วกบั ๑. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม - ความเมตตากรณุ า นำ้ ใจและชว่ ยเหลอื แบ่งปัน เมตตาสัตว์เล้ยี ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม - ความเอ้อื เฟือ้ เผือ่ แผ่ ๒. เลน่ บทบาทสมมตุ ิ ๓. การเลีย้ งสัตว์ -แบ่งปนั สิ่งของใหผ้ ู้อ่นื ได้เม่ือมี ๑. การฟงั นทิ านเก่ยี วกับ ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม ผชู้ แ้ี นะ คุณธรรม จริยธรรม - ความมีน้ำใจ ช่วยเหลือ แบง่ ปนั ๒. เลน่ บทบาทสมมตุ ิ

๒๑ ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ ๓. ปฏบิ ัตติ นเป็นสมาชกิ ทด่ี ี ของห้องเรยี น ๔. การเลน่ รายบุคคล กลมุ่ ย่อย และกลุ่มใหญ่ ๕. การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์/มุมเลน่ ตา่ งๆ ๕.๓ มีความเห็นอกเห็นใจ -แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ ๑. การเล่นและทำงานร่วมกบั ๑. คณุ ธรรมจริยธรรม ผอู้ ืน่ ความรู้สกึ ผอู้ น่ื ผู้อน่ื - ความเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ื่น ๒. การเลน่ บทบาทสมมุติ ๓. การแสดงความยินดีเมื่อ ผ้อู น่ื มคี วามสุข เหน็ ใจเมอ่ื ผู้อื่น เศร้าหรือเสียใจและการ ช่วยเหลือปลอบโยนเมื่อผู้อื่น ไดร้ ับบาดเจ็บ ๕.๔ มีความรบั ผดิ ชอบ -ทำงานที่ได้รับมอบหมายจน ๑. การทำกิจกรรมศลิ ปะต่างๆ ๑. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม สำเรจ็ เม่อื มผี ู้ชว่ ยเหลือ ๒. การดแู ลห้องเรยี นรว่ มกนั - ความรบั ผิดชอบ ๓. การมสี ่วนร่วมรับผิดชอบ - ระเบยี บวนิ ัย ดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ มท้งั ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน ๔. การร่วมกำหนดข้อตกลง ของห้องเรยี น

๒๒ ๓.พฒั นาการดา้ นสงั คม มาตรฐานที่ ๖ มีทักษะชวี ิตและปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ชัน้ อนบุ าลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองใน - แต่งตัวโดยมีผู้ช่วยเหลือ ๑. การช่วยเหลือตนเองในกิจวตั ร ๑. การปฏบิ ัติกจิ วตั รประจำวัน การปฏิบตั กิ ิจวตั ร ประจำวัน - รับประทานอาหารด้วย ประจำวนั - การแตง่ กาย ๖.๒ มวี นิ ัยในตนอง ตนเอง ๒. การให้ความรว่ มมอื ในการ - การรบั ประทานอาหาร ๖.๓ ประหยัดและ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่างๆ - การใชห้ ้องน้ำหอ้ งส้วม พอเพียง -ใชห้ อ้ งน้ำหอ้ งสว้ มโดยมีผู้ ๓. การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ งๆตาม ชว่ ยเหลอื ความสามารถของตนเอง -เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ีเมื่อ ๑. การรว่ มกำหนดข้อตกลงของ ๑. การเล่น มผี ้ชู แี้ นะ หอ้ งเรียน ๒. ระเบียบวนิ ัย ๒. การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิกทด่ี ี ๓. ความรับผิดชอบ -เข้าแถวตามลำดับก่อนหลัง ของหอ้ งเรียน ๑. การรอคอยตามลำดบั กอ่ นหลัง ไดเ้ มือ่ มีผชู้ ้ีแนะ ๓. การใหค้ วามรว่ มมอื ในการ ๒. การเขา้ แถว ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ ๔. การดแู ลหอ้ งเรียนรว่ มกนั -ใช้สิ่งของเครื่องใช้อยา่ ง ๑. การปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลัก ๑. การปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำวัน ประหยดั และพอเพยี งเมื่อมีผู้ ชแ้ี นะ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. การใชข้ องใชอ้ ยา่ งถูกวิธี ๒. การใชว้ ัสดแุ ละสิ่ง ๓. การเห็นคุณค่าของสิ่งของ ของเครื่องใชอ้ ย่างคมุ้ คา่ เครอื่ งใช้ มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเป็นไทย ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ๗.๑ ดูแลรกั ษาธรรมชาติ ชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ และสิง่ แวดล้อม -มีส่วนร่วมในการดูแลรกั ษา ๑. การมีส่วนรว่ มในการดูแลรักษา บคุ คลและสถานทแี่ วดล้อมเดก็ ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มเม่อื มี สงิ่ แวดล้อมท้งั ภายในและ ๑. สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและ ผู้ชแี้ นะ ภายนอกห้องเรยี น การดแู ลรักษา ๒.การสนทนาข่าวและเหตกุ ารณ์ที่ - สิ่งมีชีวิต สิง่ ไมม่ ชี ีวติ เกีย่ วกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในชีวิตประจำวนั รอบตัว ๓. การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ๒. การมีระเบยี บวินยั

๒๓ ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นร้รู ายปี ชน้ั อนบุ าลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ -ทิ้งขยะไดถ้ กู ที่ ๔. การอธบิ ายเชือ่ มโยงสาเหตแุ ละ ผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ กระทำ ๕. การตัดสินใจและมสี ว่ นร่วมใน กระบวนการแกป้ ัญหา ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่มและ ๑. การดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อม จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ ๒. การมรี ะเบยี บวินยั รปู ร่าง รปู ทรง ๒. การใชว้ ัสดแุ ละส่งิ ของเครื่องใช้ อย่างคุ้มค่า ๓. การทำงานศิลปะที่นำวัสดุหรือ สิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้แล้วมาใช้ซ้ำ หรอื แปรรูปแลว้ นำกลบั มาใชใ้ หม่ ๔. การสรา้ งสรรคช์ น้ิ งานโดยใช้ รปู ร่างรปู ทรงจากวสั ดทุ ี่ หลากหลาย ๕. การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี ของหอ้ งเรยี น ๗.๒ มมี ารยาทตาม -ปฏิบัตติ นตามมารยาทไทยได้ ๑. การปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรม ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาท วฒั นธรรมไทยและรกั ความ เมอ่ื มีผชู้ แี้ นะ ท้องถน่ิ ทอ่ี าศัยและประเพณีไทย และวฒั นธรรมไทย เปน็ ไทย ๒. การเล่นบทบาทสมมตุ ิการ - การแสดงความเคารพ ปฏบิ ตั ิตนในความเป็นคนไทย -กล่าวคำขอบคุณและขอโทษ ๑. การปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรม ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาท เมอ่ื มผี ู้ชี้แนะ ท้องถ่นิ ทีอ่ าศยั และประเพณีไทย และวฒั นธรรมไทย ๒. การเล่นบทบาทสมมตุ กิ าร - การกล่าวคำขอบคุณและขอ ปฏิบตั ิตนในความเป็นไทย โทษ ๓. การพูดสะท้อนความรู้สึกของ ตนเองและผู้อื่น -หยุดเมื่อได้ยินเพลงชาติไทย ๑. การปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรม สง่ิ ต่างๆอบตัว และเพลงสรรเสริญพระบารมี ทอ้ งถ่นิ ที่อาศัยและประเพณไี ทย ๑. วันสำคัญของชาติ ศาสนา ๒. การเลน่ บทบาทสมมุตกิ าร พระมหากษตั รยิ ์ ปฏิบัตติ นในความเป็นไทย ๒. สัญลักษณ์สำคัญของชาตไิ ทย ๓. การรว่ มกจิ กรรมวันสำคัญ

๒๔ มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ ๘.๑ ยอมรบั ความเหมือนและ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับ ๑.การเล่นและทำงานรว่ มกบั สิ่งต่างๆรอบตวั ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เดก็ ทแ่ี ตกต่างไปจากตน ผูอ้ น่ื ๑. การเลน่ และการทำ ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพันธ์ทีด่ กี บั ผู้อน่ื -เล่นรว่ มกบั เพอ่ื น ๒. การเลน่ พื้นบ้านของไทย กจิ กรรมร่วมกับผู้อนื่ ๓. การศกึ ษานอกสถานท่ี ๔. การเล่นและทำกิจกรรม ๒. การแสดงความเคารพ -ยิ้มหรือทักทายผู้ใหญ่และ รว่ มกบั กลุ่มเพื่อน บุคคลทค่ี ุ้นเคยเม่อื มผี ชู้ แ้ี นะ ๕. การทำศิลปะแบบร่วมมือ ๖. การรว่ มสนทนาและ แลกเปล่ยี นความคิดเห็น ๗. การเล่นรายบคุ คล กลมุ่ ยอ่ ยและกลมุ่ ใหญ่ ๘.๓ ปฏบิ ัตติ นเบ้อื งตน้ ในการ -ปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ ๑. การรว่ มกำหนดข้อตกลง ๑. การปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บ เป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคม ชแ้ี นะ ของห้องเรียน และขอ้ ตกลง ๒.การปฏบิ ัติตนเป็นสมาชิกทด่ี ี ๒. ผนู้ ำผตู้ าม -ปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตาม ของห้องเรยี น ๓. การเลน่ รว่ มกับผอู้ ่นื เมื่อมีผู้ชี้แนะ ๓. การใหค้ วามรว่ มมือในการ ปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ -ยอมรับการประนีประนอม ๔. การร่วมกิจกรรมวันสำคัญ ๕. การมีสว่ นร่วมในการเลือก แก้ไขปญั หาเมื่อมผี ้ชู ี้แนะ วธิ ีการแกป้ ญั หา ๖. การมีสว่ นรว่ มในการ แกป้ ญั หาความขัดแยง้

๒๕ ๔. ด้านสติปัญญา มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับวัย ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่า -ฟังผู้อื่นพูดจนจบและโต้ตอบ ๑. การฟงั เสียงต่างๆในสิง่ แวดล้อม ส่งิ ต่างๆรอบตวั เร่อื งใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ เก่ียวกบั เร่อื งท่ีฟงั ๒. การฟงั และปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำ การส่อื สาร ๓. การฟังเพลง นิทาน คำคล้องจอง - มารยาทในการฟัง บทรอ้ ยกรอง หรือเรือ่ งราวต่างๆ - การสนทนา ๔. การเล่นเกมทางภาษา -เลา่ เรื่องดว้ ยประโยคสนั้ ๆ ๑. การพูดแสดงความคิด ความรู้สึก ๑. การใช้ภาษาในการส่อื และความต้องการ - การเล่าเรือ่ ง ๒. การพูดเกี่ยวกับประสบการณ์ของ ตนเอง หรอื พดู เรื่องราวเก่ียวกับตนเอง ๓. การพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของส่ิง ตา่ งๆ ๔. การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทำต่างๆ ๕. การรอจังหวะทเี่ หมาะสมในการพูด ๖. การพูดเรียงลำดับเพื่อใช้ในการ สอ่ื สาร ๗. การเลน่ เกมทางภาษา ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และ -อ่านภาพ และพูดข้อความ ๑. การอา่ นหนังสอื ภาพ นิทาน ๑. การใช้ภาษาในการสอ่ื สัญลักษณไ์ ด้ ดว้ ยภาษาของตน หลากหลายประเภท/รปู แบบ - การอ่านภาพ สญั ลกั ษณ์ ๒. การอา่ นอย่างอสิ ระตามลำพัง การ นิทาน อ่านร่วมกนั การอา่ นโดยมผี ้ชู ้แี นะ ๓. การเหน็ แบบอย่างของการอา่ นที่ ถกู ต้อง ๔. การสังเกตทิศทางการอา่ นตวั อักษร คำ และขอ้ ความ ๕. การอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาด สายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จากบนลงลา่ ง ๖. การสังเกตตัวอักษรในชื่อของตน หรอื คำค้นุ เคย

๒๖ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ -เขยี นขีด เขีย่ อย่างมีทิศทาง ๗. การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเปน็ คำผ่านการอา่ นหรอื เขียนของผูใ้ หญ่ ๑. การใช้ภาษาในการ ๘. การคาดเดาคำ วลี หรือประโยคทีม่ ี สอ่ื สาร โครงสร้างซ้ำๆกนั จากนิทาน เพลง คำ - การเขยี นภาพ สัญลักษณ์ คล้องจอง ๙. การเล่นเกมทางภาษา ๑๐. การเห็นแบบอย่างของการเขยี นท่ี ถูกตอ้ ง ๑. การเขียนร่วมกันตามโอกาส และ การเขียนอิสระ ๒. การเขียนคำที่มีความหมายกับตัว เดก็ /คำคุ้นเคย ๓. การคิดสะกดคำและเขียนเพื่อส่ือ ความหมายด้วยตนเองอยา่ งอิสระ ๔. การเลน่ เกมทางภาษา มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ที่เป็นพืน้ ฐานในการเรยี นรู้ ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ชัน้ อนบุ าลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิด -บอกลักษณะของสิ่งของ ๑. การสังเกตลกั ษณะ ส่งิ ต่างๆรอบตวั รวบยอด ต่างๆจากการสังเกตโดยใช้ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง ๑. การคดิ ประสาทสมั ผสั และความสัมพนั ธ์ของสิ่งต่างๆ - ประสาทสมั ผสั โดยใช้ประสาทสัมผสั อย่าง - การสงั เกต เหมาะสม ๒. การสังเกตส่ิงตา่ งๆแลละ สถานทจ่ี ากมุมมองที่ตา่ งกัน ๓. การเล่นกับสอ่ื ตา่ งๆที่เป็น ทรงกลม ทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย ๔. การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์ กับเหตุการณ์ในชวี ติ ประจำวนั -จบั คูห่ รือเปรยี บเทียบสงิ่ ๑. การคดั แยก การจดั กลุ่ม และ ๑. การคิด ตา่ งๆโดยใช้ลักษณะหรือ การจำแนกส่งิ ต่างๆตามลกั ษณะ - การจับคู่ และรูปร่าง รูปทรง - การเปรยี บเทยี บ

๒๗ ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ช้ันอนบุ าลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรยี นรู้ หน้าทก่ี ารใช้งานเพยี ง ๒. การต่อของชิ้นเล็กเติมในช้นิ ลกั ษณะเดยี ว ใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยก ชิ้นสว่ น ๓. การจับคู่ การเปรยี บเทยี บ และการเรยี งลำดับสง่ิ ต่างๆตาม ลกั ษณะความยาว/ความสงู นำ้ หนัก ปริมาตร ๔. การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์ กบั เหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำวนั -คดั แยกสง่ิ ต่างๆตามลักษณะ ๑. การคดั แยก การจดั กลมุ่ และ ๑. การคิด หรือหนา้ ทีก่ ารใช้งาน การจำแนกสิง่ ตา่ งๆตามลักษณะ - การจำแนก และรปู ร่าง รปู ทรง - การจัดกลุ่ม ๒. การทำซ้ำ การต่อเติม และ การสรา้ งแบบรปู ๓. การรวมและการแยกสิ่งตา่ งๆ ๔. การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์ กับเหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำวนั -เรียงลำดับสิ่งของห รือ ๑. การนับและแสดงจำนวนของ สิ่งต่างๆรอบตวั เดก็ เหตกุ ารณอ์ ย่างนอ้ ย ๓ ลำดบั สิง่ ตา่ งๆในชีวิตประจำวนั ๑. การคดิ ๒. การเปรยี บเทียบและ - การเรียงลำดบั เรียงลำดับจำนวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ - จำนวนและตัวเลข ๓. การบอกและแสดงอันดบั ท่ี ของสงิ่ ต่าง ๆ ๔. การบอกและเรียงลำดับ กจิ กรรมหรือเหตกุ ารณต์ ามช่วง หรือเวลา ๕. การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์ กบั เหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ๖. การบอกและแสดงตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของส่ิง ต่างดว้ ยการกระทำ ภาพวาด ภาพถา่ ย และรูปภาพ

๒๘ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ชน้ั อนุบาลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิด -ระบผุ ลท่เี กิดขึน้ ในเหตกุ ารณ์ ๑. การช่ัง ตวง วดั สิ่งตา่ งๆโดย ๑. การแสดงความคิดเหน็ เชงิ เหตุผล หรอื การกระทำเมอ่ื มีผู้ชแ้ี นะ ใช้เครอื่ งมอื และหนว่ ยทไ่ี ม่ใช่ - การช่งั หนว่ ยมาตรฐาน - การตวง ๒. การอธิบายเชื่อมโยง สาเหตุ - การวัด และผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ หรือการกระทำ -คาดเดา หรือ คาดคะเนสิง่ ที่ ๑ . ก า ร ค า ด เ ด า ห ร ื อ ก า ร -การหาความสัมพันธ์ อาจเกดิ ขน้ึ คาดคะเนสิ่งที่อาจจะเกิดข้ึน อยา่ งมีเหตุผล ๒. การมีส่วนร่วมในการลง ค ว า ม เ ห ็ น จ า ก ข ้ อ ม ู ล อ ย ่ า ง มี เหตผุ ล ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิด -ตัดสินใจในเรือ่ งงา่ ยๆ ๑. การตัดสินใจและมสี ว่ นรว่ ม ๑. การตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาและตดั สินใจ ในกระบวนการแกป้ ญั หา - การเล่นหรือทำสิ่งต่างๆ ๒. การอธบิ ายเชอ่ื มโยง สาเหตุ ด้วยตนเองคนเดียวหรือ และผลท่เี กิดข้ึนในเหตกุ ารณ์ กับผูอ้ ่ืน หรอื การกระทำ -แกป้ ัญหาโดยลองผดิ ลองถูก ๑. การตัดสินใจและมีส่วนร่วม ๑. การแกป้ ัญหา ในกระบวนการแก้ปัญหา - การเรียนรู้ในการทำสิ่ง ๒. การคาดเดาหรอื การ ตา่ งๆ คาดคะเนสง่ิ ท่อี าจจะเกดิ ข้นึ อย่างมีเหตุผล ๓. การมีสว่ นร่วมในการลง ความเห็นจากข้อมลู อย่างมี เหตผุ ล

๒๙ มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ (๓ – ๔ ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ ๑๑.๑ เล่น/ทำงานศลิ ปะตาม -สร้างผลงานศลิ ปะเพ่ือ ๑. การแสดงความคดิ ๑. การทำงานศลิ ปะ จินตนาการและความคิด สรา้ งสรรค์ สื่อสารความคดิ ความรสู้ ึก สร้างสรรคผ์ ่านภาษา ท่าทาง ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/ ของตนเอง การเคลื่อนไหว และศลิ ปะ เคลือ่ นไหวตามจนิ ตนาการ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๒. การเขียนภาพและการเล่น กับสี ๓. การป้ัน ๔. การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วย เศษวสั ดุ ๕. การทำงานศิลปะที่นำวัสดุ หรือสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้แล้ว มาใช้ซ้ำหรือแปรรูปแล้วนำ กลบั มาใชใ้ หม่ ๖. การหยบิ จบั การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะและ การรอ้ ยวัสดุ ๗.การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผา่ นภาษา ท่าทาง การเคล่ือนไหว และศิลปะ ๘. การทำงานศลิ ปะ ๙. การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดย ใช้รูปร่าง รูปทรง จากวัสดุที่ หลากหลาย ๑๐. การรับรู้และแสดง ความคดิ ความรสู้ ึกผ่านสอ่ื วสั ดุ ของเลน่ และชิน้ งาน -เคลือ่ นไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสาร ๑. การเคลือ่ นไหวอยกู่ ับที่ - การแสดงท่าทางต่างๆตาม ความคิด ความรู้สึกของ ๒. การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ ความคดิ ของตนเอง ตนเอง ๓. การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุ อุปกรณ์ ๔. การแสดงความคดิ สรา้ งสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลอ่ื นไหวและศลิ ปะ

๓๐ ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช้ันอนบุ าลปีท่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ ๕. การเคลื่อนไหวโดยควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และ พ้ืนท่ี ๖. การเคลื่อนไหวตาม เสียงเพลง/ดนตรี ๗. การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบ เสยี งดนตรี มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกบั วัย ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ช้นั อนุบาลปที ่ี ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ - สนใจฟงั หรอื อ่านหนงั สอื ๑. การสำรวจสิ่งต่างๆ และ ๑. การทำกิจกรรม เล่นเกม เรียนรู้ ด้วยตนเอง แหล่งเรยี นรูร้ อบตัว การละเลน่ ตา่ งๆ ๒. การตั้งคำถามในเรื่องท่ี ๒. การอา่ นหนงั สอื ภาพ สนใจ -กระตอื รอื รน้ ในการเข้าร่วม ๑. การให้ความร่วมมือในการ ๑. การแสดงออกทางอารมณ์ กิจกรรม ปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ และความรูส้ ึก ๒. การตั้งคำถามในเรื่องที่ ๒. ค วาม ส นใจในการทำ สนใจ กิจกรรม ๓. การมีส่วนร่วมในการ รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ ข้อมูลจากการสืบเสาะหา ความรู้ในรูปแบบต่างๆและ แผนภูมิอย่างงา่ ย ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการ -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ๑. การสำรวจสิ่งต่างๆ และ - การเรียนรู้ที่จะเล่นและทำ แสวงหาความรู้ ตา่ งๆ ตามวธิ ีการท่มี ผี ู้ชแ้ี นะ แหลง่ เรียนรู้รอบตวั ส่งิ ต่างๆ ๒. การตั้งคำถามในเรื่องท่ี สนใจ ๓. การสืบเสาะหาความรู้เพ่อื ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ตา่ งๆ

๓๑ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๑ (๓ – ๔ ปี) ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ๔. การมีส่วนร่วมในการ รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ ข้อมูลจากการสืบเสาะหา ความรู้ในรูปแบบต่างๆและ แผนภมู ิอย่างงา่ ย -เชื่อมโยงคำถาม “อะไร” ใน ๑. การตั้งคำถามในเรื่องท่ี - การสนใจซักถามในสิ่งที่ตน การค้นหาคำตอบ สนใจ อยากรู้ ๒. การสืบเสาะหาความรู้เพอ่ื ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ต่างๆ ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรูร้ ายปี ช่วงอายุ ๔ – ๕ ปี ๑.พัฒนาการดา้ นร่างกาย มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวยั เด็กมีสขุ นสิ ยั ท่ีดี ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ชั้นอนบุ าลปีที่ ๒ (๔ – ๕ ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรยี นรู้ ๑.๑ มีนำ้ หนัก -น้ำหนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์ ๑.การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามัย ๑. การปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจำวนั - การเปลย่ี นแปลงของรา่ งกาย และส่วนสงู ตาม ของกรมอนามยั สุขนิสัยท่ีดใี นกจิ วัตรประจำวนั เกณฑ์ ๑.๒ มสี ุขภาพ -รบั ประทานอาหารท่ีมี ๑.การปฏิบตั ติ นตามสุขอนามัย สง่ิ ตา่ งๆรอบตวั อนามยั สุขนิสยั ประโยชน์และด่มื นำ้ สะอาด สุขนิสยั ทด่ี ีในกิจวัตรประจำวนั ๑. การปฏิบัตกิ ิจวัตรประจำวนั ทด่ี ี ด้วยตนเอง ๒. การประกอบอาหารไทย - สุขนสิ ยั ท่ีดีในการรบั ประทาน -ล้างมือกอ่ นรับประทาน อาหาร อาหารและหลังจากใชห้ ้องน้ำ ห้องสว้ มด้วยตนเอง ๑.การปฏิบตั ิตนตามสุขอนามัย ๑. การปฏิบัตกิ จิ วตั รประจำวนั สุขนิสยั ที่ดใี นกิจวัตรประจำวัน - การทำความสะอาดร่างกาย ๒. การช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั กิ ิ จกวตั รประจำวนั ๓. การปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั ในกิจวตั ร ประจำวัน

๓๒ ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี ชนั้ อนุบาลปที ี่ ๒ (๔ – ๕ ป)ี ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ ๔. การฟงั นทิ าน เร่ืองราว เหตุการณ์ เกี่ยวกับการป้องกัน และรักษาความ ปลอดภยั -ล้างหนา้ และแปรงฟนั ถกู วธิ ี ๑.การปฏิบตั ิตนตามสุขอนามัย ๑. การปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจำวนั หลังรบั ประทานอาหาร สุขนสิ ยั ท่ีดีในกิจวัตรประจำวนั - การทำความสะอาดรา่ งกาย -นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา ๒. การชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติ กิจวัตรประจำวัน ๓. การปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภัยในกิจวัตร ประจำวนั ๔. การฟังนทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ เกย่ี วกับการป้องกนั และรักษาความ ปลอดภัย - การปฏบิ ัตติ นตามสุขอนามยั - การพกั ผ่อน สุขนสิ ัยท่ีดีในกจิ วัตรประจำวัน -ออกกำลังกายเปน็ เวลา ๑. การเลน่ อสิ ระ - การออกกำลงั กาย ๒. การเคลอ่ื นไหวข้ามสิ่งกีดขวาง - การเล่นในห้องเรียนและนอก ๓. การเล่นเครอ่ื งเล่นอยา่ งปลอดภยั ห้องเรียน ๔. การละเลน่ พนื้ บา้ นไทย ๕. การเลน่ นอกหอ้ งเรียน ๖. การเลน่ เครื่องเล่นสนามอย่างอสิ ระ ๑.๓ รักษา -เล่นและทำกจิ กรรมอยา่ ง ๑.การปฏิบตั ติ นใหป้ ลอดภยั ใน - การเลน่ และทำงานดว้ ยตนเอง ความปลอดภัย ปลอดภัยดว้ ยตนเอง ของตนเองและ กิจวัตรประจำวนั ผูอ้ ่นื ๒. การฟงั นิทาน เรื่องราวเหตกุ ารณ์ เก่ยี วกับการป้องกันและรักษาความ ปลอดภัย ๓. การเลน่ บทบาทสมมุติเหตกุ ารณ์ ต่างๆ ๔. การพูดกบั ผู้อื่นเกย่ี วกับ ประสบการณข์ องตนเองหรอื พูด เร่ืองราวเกีย่ วกับตนเอง ๕. การเลน่ เครือ่ งเลน่ อย่างปลอดภัย ๖. การเลน่ และทำงานร่วมกบั ผ้อู ่นื

๓๓ มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพนั ธก์ ัน ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช้ันอนุบาลปีท่ี ๒ (๔ – ๕ ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระทีค่ วรเรยี นรู้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ เคลื่อนไหว -เดินต่อเท้าไปข้างหน้าเป็น ๑. การเคลื่อนไหวอยกู่ บั ท่ี ๑. การเคลื่อนไหวร่างกาย ร่างกายอย่างคล่องแคล่ว เสน้ ตรงไดโ้ ดยไมต่ อ้ งกางแขน ๒. การเคลอื่ นไหวเคลอื่ นท่ี ในลักษณะตา่ ง ๆ ประสานสัมพันธ์และทรงตัว -กระโดดขาเดียวอยู่กับที่ได้โดย ๓. การเคลื่อนไหวพร้อม ๒. การใชม้ ือทำสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ ไม่เสยี การทรงตัว อปุ กรณ์ ๔. การเคล่อื นไหวที่ใชก้ าร -วงิ่ หลบหลีกสง่ิ กดี ขวางได้ ประสานสัมพันธข์ องกล้ามเนอื้ ใหญ่ในการขวา้ ง การจบั การ -โยนรับลูกบอลได้ด้วยมือทั้ง โยน การเตะ สองข้าง ๕. การเล่นเครื่องเล่นสนาม อย่างอสิ ระ ๖. การเคลื่อนไหวข้ามสิ่งกีด ขวาง ๗. การเคล่ือนไหวโดยควบคุม ตนเองไปในทิศทางระดับและ พนื้ ท่ี ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ ใช้มือ-ตา -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตาม ๑. การเลน่ เคร่อื งเล่นสัมผสั - การใชม้ ือทำสิง่ ต่าง ๆ ประสานสัมพนั ธก์ นั แนวเสน้ ตรงได้ และการสร้างสิ่งตา่ งๆจากแทง่ -เขียนรูปสี่เหลี่ยมตามแบบได้ ไม้บล็อก อยา่ งมมี มุ ชดั เจน ๒.การเขียนภาพและการเล่น กับสี -ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าน ๓. การประดิษฐ์สิ่งต่างๆด้วย เศษวัสดุ ศูนย์ กลาง ๐.๕ ซม.ได้ ๔. การหยิบจับ การใช้กรรไกร การฉีก การตัด การปะ การ รอ้ ยวสั ดุ

๓๔ ๒.พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ ชน้ั อนุบาลปที ี่ ๒ (๔ – ๕ ป)ี ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่ีควรเรียนรู้ อย่างเหมาะสม -แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้ตาม สถานการณ์ ๑. การพดู สะทอ้ นความรูส้ กึ ๑. อารมณแ์ ละความรสู้ ึก ของตนเองและผอู้ ื่น - การแสดงออกทางอารมณ์ท่ี ๒. การเล่นบทบาทสมมตุ ิ เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ๓. การเคลือ่ นไหวตาม - ความต้องการทางร่างกายและ เสยี งเพลง ดนตรี การตอบสนอง ๔. การรอ้ งเพลง - ความต้องการทางจิตใจและ ๕. การทำงานศลิ ปะ การตอบสนอง ๓.๒ มีความรู้สกึ ทด่ี ตี อ่ ตนเอง -กล้าพดู กล้าแสดงออกอยา่ ง - การพูดแสดงความคิดเหน็ และผ้อู นื่ เหมาะสมบางสถานการณ์ -แสดงความพอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเอง - การประสบความสำเรจ็ ใน สิ่งต่างๆ ท่ที ำ มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว ตัวบ่งช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และ ชัน้ อนบุ าลปีท่ี ๒ ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรียนรู้ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ -สนใจและมคี วามสุขและ ๑. การทำกจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ - การทำกจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรีและการเคลือ่ นไหว แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ๒. การสรา้ งสรรคส์ ่งิ สวยงาม สร้างสรรค์ ๓. การรับรู้และแสดงความคิด -สนใจ มีความสุขและแสดงออก ความรสู้ ึกผา่ นส่อื วัสดุ ของ - การฟัง การรอ้ งเพลง ผา่ นเสยี งเพลง ดนตรี เลน่ และช้นิ งาน ๔. การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง ๑. การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบ เสยี งดนตรี ๒. การเลน่ เคร่อื งดนตรี ประกอบจังหวะ ๔. การปฏิบัตกิ ิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง

๓๕ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรียนรู้ -สนใจ มีความสุขและแสดง ๑. การฟงั เพลง การร้องเพลง - การแสดงทา่ ทางเคลื่อนไหว ทา่ ทาง/เคล่ือนไหวประกอบเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ ประกอบเพลง จงั หวะและ จงั หวะและ ดนตรี เสียงดนตรี ดนตรี ๒. การเคลื่อนไหวตาม เสยี งเพลง ดนตรี ๔. การปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง ๕. การเลน่ เคร่ืองดนตรี ประกอบจังหวะ มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและมจี ิตใจทดี่ งี าม ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ช้นั อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณ์สำคัญ สาระทีค่ วรเรยี นรู้ สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก ๕.๑ ซื่อสัตย์ สุจริต - ขออนุญาตหรือรอคอยเมื่อ ๑. ปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของ ๑. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม - ความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ ต้องการสิ่งของของผู้อื่นเมื่อมีผู้ หอ้ งเรียน - ความเกรงใจ ๒. การเคารพสิทธิของตนเองและ ช้ีแนะ ๒. การฟังนทิ านเก่ียวกับคณุ ธรรม ผ้อู นื่ จรยิ ธรรม ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม - ความเมตตากรุณา ๓. การร่วมสนทนาและแลกเปลีย่ น ความคดิ เห็นเชิงจริยธรรม ๔. เลน่ บทบาทสมมตุ ิ ๕. การเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ๖. การปฏิบตั ติ นตามหลักศาสนาที่ นับถอื ๕.๒ มีความเมตตา -แสดงความรกั เพ่อื นและมีเมตตา ๑. การฟงั นทิ านเก่ียวกับคณุ ธรรม กรุณา มีน้ำใจและ สตั ว์เลย้ี ง จริยธรรม ชว่ ยเหลือแบง่ ปัน ๒. เล่นบทบาทสมมตุ ิ ๓. การเล้ยี งสตั ว์ -ชว่ ยเหลือและแบง่ ปันผู้อื่นได้เมื่อ ๑. การฟงั นิทานเก่ยี วกบั คณุ ธรรม ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม - ความมีน้ำใจ ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั มผี ชู้ แี้ นะ จรยิ ธรรม - ความกตัญญู ๒. เลน่ บทบาทสมมตุ ิ ๓. ปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ที่ดีของ หอ้ งเรียน

๓๖ ตัวบง่ ชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ช้นั อนบุ าลปีท่ี ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรียนรู้ ๔. การเล่นรายบุคคล กลุ่มย่อย และ กลมุ่ ใหญ่ ๕. การเลน่ ตามมุมประสบการณ/์ มมุ เล่นต่างๆ ๕.๓ มีความเห็นอก -แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ ๑. การเลน่ และทำงานร่วมกับผู้อน่ื ๑. คุณธรรมจริยธรรม เหน็ ใจผู้อ่ืน ความรู้สกึ ผู้อืน่ ๒. การเล่นบทบาทสมมุติ - ความเห็นอกเห็นใจผู้อน่ื ๓. การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมี ความสุข เห็นใจเมื่อผู้อื่นเศร้าหรือ เสียใจและการช่วยเหลือปลอบโยน เม่อื ผู้อื่นได้รับบาดเจบ็ ๕.๔ มคี วาม -ทำงานที่ได้รับมอบหมายจน ๑. การทำกิจกรรมศิลปะตา่ งๆ ๑. คณุ ธรรมจริยธรรม รบั ผดิ ชอบ สำเรจ็ เม่ือมีผชู้ ้ีแนะ ๒. การดูแลหอ้ งเรียนรว่ มกัน - ความรับผดิ ชอบ ๓. การมีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบ ดูแล - ความอดทน มุง่ มน่ั รกั ษาส่ิงแวดล้อมทัง้ ภายในและ - ความเพียร ภายนอกห้องเรยี น ๔. การร่วมกำหนดข้อตกลงของ ห้องเรียน ๓.พฒั นาการดา้ นสังคม มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชวี ิตและปฏิบัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ชนั้ อนบุ าลปที ่ี ๒ ประสบการณ์สำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ ๑. การชว่ ยเหลือตนเอง ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองใน - แตง่ ตวั ด้วยตนเอง ๑. การชว่ ยเหลอื ตนเองในกจิ วัตร ๒. มารยาทในการรับประทาน การปฏิบตั กิ จิ วัตร อาหาร ประจำวัน -รบั ประทานอาหารดว้ ยตนเอง ประจำวนั ๑. การเลน่ และการเกบ็ สิง่ ของ ๖.๒ มีวนิ ยั ในตนอง ๒. การใหค้ วามรว่ มมือในการ ๑. การรอคอยตามลำดบั กอ่ นหลงั - ใช้ห้องน้ำหอ้ งสว้ มด้วย ปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ ๒. การเขา้ แถว ตนเอง ๓. การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ งๆตาม ความสามารถของตนเอง -เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ที่ด้วย ๑. การรว่ มกำหนดขอ้ ตกลงของ ตนเอง หอ้ งเรยี น -เข้าแถวตามลำดับกอ่ นหลังได้ ๒. การปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทดี่ ี ด้วยตนเอง ของห้องเรียน ๓. การให้ความรว่ มมือในการ ปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ ๔. การดแู ลหอ้ งเรยี นร่วมกัน

๓๗ ๖.๓ ประหยดั และ -ใชส้ ง่ิ ของเคร่ืองใช้อย่าง ๑. การปฏิบตั ติ นตามแนวทางหลัก ๑. การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ พอเพียง ประหยดั และพอเพียงเม่ือมีผู้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อยา่ งประหยัด ชแี้ นะ ๒. การใช้วัสดแุ ละสิ่ง ของเคร่ืองใชอ้ ยา่ งค้มุ คา่ มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม และความเป็นไทย ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ๗.๑ ดูแลรักษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ชัน้ อนบุ าลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระทีค่ วรเรียนรู้ ๗.๒ มีมารยาทตาม -มีส่วนร่วมในการดูแล ๑. การมีสว่ นร่วมในการดูแลรกั ษา ๑. สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและการ วัฒนธรรมไทยและรักความ เปน็ ไทย รักษาธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มทั้งภายในและภายนอก ดแู ลรกั ษา สิ่งแวดลอ้ มเม่อื มผี ้ชู ้ีแนะ หอ้ งเรยี น ๒. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติและ ๒.การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ท่ี การอนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม เกย่ี วกบั ธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมใน ๓. การรักษาสาธารณสมบัติใน ชวี ติ ประจำวนั หอ้ งเรียน ๓. การเพาะปลกู และดแู ลตน้ ไม้ ๔. การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและ ผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ กระทำ ๕. การตดั สนิ ใจและมีส่วนร่วมใน กระบวนการแกป้ ัญหา -ทง้ิ ขยะได้ถกู ที่ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่มและ ๑. ขยะและการคัดแยกขยะ จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ ๒. การดแู ลรักษาส่งิ แวดลอ้ ม รูปรา่ ง รูปทรง ๒. การใช้วัสดุและสิ่งของเครื่องใช้ อย่างคุ้มค่า ๓. การทำงานศิลปะที่นำวัสดุหรือ ส่ิงของเครอ่ื งใชท้ ใี่ ชแ้ ล้วมาใช้ซ้ำหรือ แปรรูปแล้วนำกลับมาใชใ้ หม่ ๔. การสรา้ งสรรคช์ น้ิ งานโดยใช้ รูปรา่ งรูปทรงจากวสั ดทุ หี่ ลากหลาย ๕. การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของ ห้องเรยี น -ปฏบิ ัตติ นตามมารยาท ๑. การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมท้อง ๑. การปฏิบัติตนตามมารยาทและ ไทยได้ด้วยตนเอง ถนิ่ ทอี่ าศยั และประเพณีไทย วัฒนธรรมไทย ๒. การเล่นบทบาทสมมุติการปฏิบตั ิ - การแสดงความเคารพ ตนในความเป็นคนไทย

๓๘ ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ชนั้ อนุบาลปที ี่ ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระที่ควรเรยี นรู้ -กล่าวคำขอบคุณและ ๑. การปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมทอ้ ง ๑. การปฏิบัตติ นตามมารยาทและ ขอโทษด้วยตนเอง ถ่ินทอ่ี าศยั และประเพณไี ทย วฒั นธรรมไทย ๒. การเลน่ บทบาทสมมตุ กิ ารปฏิบัติ - การพูดสภุ าพ ตนในความเป็นไทย - การกลา่ วคำขอบคุณและขอโทษ ๓. การพูดสะท้อนความรู้สึกของ ตนเองและผอู้ ่นื -หยุดเมอ่ื ไดย้ ินเพลงชาติ ๑. การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมทอ้ ง - การแสดงออกทเ่ี หมาะสมกบั ไทยและเพลงสรรเสริญ ถน่ิ ทอี่ าศัยและประเพณีไทย สถานการณ์ พระบารมี ๒. การเลน่ บทบาทสมมตุ กิ ารปฏิบัติ ตนในความเป็นไทย ๓. การร่วมกจิ กรรมวนั สำคญั มาตรฐานที่ ๘ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมใน ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ช้นั อนบุ าลปที ี่ ๒ ประสบการณส์ ำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ ๘.๑ ยอมรับความเหมอื นและ -เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับ ๑.การเล่นและทำงาน - การเล่นและการทำ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล กลมุ่ เดก็ ทีแ่ ตกตา่ งไปจากตน ร่วมกับผอู้ ่นื กิจกรรมรว่ มกับผูอ้ น่ื ๘.๒ มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ท่ีดกี บั ผู้อืน่ -เล่นหรือทำงานร่วมกับเพื่อน ๒. การเลน่ พ้ืนบ้านของไทย - การเลน่ และทำกจิ กรรม เปน็ กลุม่ ๓. การศกึ ษานอกสถานท่ี กล่มุ ใหญ่ ๔. การเล่นและทำกิจกรรม รว่ มกับกลุ่มเพอ่ื น -ยิ้มหรือทักทายหรือพูดคุยกับ ๕. การทำศิลปะแบบร่วมมือ - การปฏิบตั ติ ามวัฒนธรรม ผู้ใหญ่และบุคคลที่คุ้นเคยได้ ๖. การรว่ มสนทนาและ ท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ดว้ ยตนเอง แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ๗. การเล่นรายบคุ คล กลุม่ ยอ่ ยและกลมุ่ ใหญ่ ๘.๓ ปฏบิ ตั ติ นเบอ้ื งต้นในการ -มีส่วนร่วมสร้างข้อตกลงและ ๑. การร่วมกำหนดขอ้ ตกลง - การปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บ เปน็ สมาชกิ ทีด่ ขี องสงั คม ปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อมีผู้ ของหอ้ งเรยี น และข้อตกลง ช้แี นะ ๒.การปฏิบัตติ นเป็นสมาชิก - ผ้นู ำผู้ตาม -ปฏบิ ัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ ทด่ี ีของห้องเรยี น ดีได้ดว้ ยตนเอง

๓๙ -ประนีประนอมแก้ไขปัญหา ๓. การใหค้ วามร่วมมอื ใน โดยปราศจากการใช้ความ การปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ - การแสดงออกทางอารมณ์ และความรสู้ กึ อย่าง รนุ แรงเมอ่ื มีผชู้ ้ีแนะ ๔. การรว่ มกจิ กรรมวัน เหมาะสม สำคญั ๕. การมีสว่ นร่วมในการ เลือกวิธกี ารแก้ปัญหา ๖. การมสี ่วนรว่ มในการ แก้ปัญหาความขัดแยง้ ๔. ด้านสติปัญญา มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกับวยั ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรยี นรู้ ๙.๑ สนทนาโต้ตอบและเล่า -ฟังผ้อู น่ื พดู จนจบ ๑. การฟังเสยี งต่างๆในส่งิ แวดล้อม มารยาทในการฟงั เรอื่ งให้ผอู้ น่ื เข้าใจ และสนทนาโตต้ อบ ๒. การฟังและปฏบิ ัติตามคำแนะนำ - การรับฟัง สอดคล้องกับเรอื่ งท่ี ๓. การฟังเพลง นทิ าน คำคล้องจอง บท ฟงั รอ้ ยกรอง หรอื เร่อื งราวตา่ งๆ ๔. การเลน่ เกมทางภาษา -เลา่ เรอ่ื งเปน็ ๑. การพูดแสดงความคดิ ความรู้สึก - การเลา่ เร่อื งราวหรอื นิทาน ประโยคอย่าง และความต้องการ ต่อเนื่อง ๒. การพูดเก่ียวกับประสบการณ์ของ ตนเอง หรอื พูดเร่อื งราวเกีย่ วกบั ตนเอง ๓. การพดู อธบิ ายเกี่ยวกบั สิง่ ของ เหตกุ ารณ์ และความสัมพันธ์ของส่ิง ตา่ งๆ ๔. การพดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ในการเล่น และการกระทำตา่ งๆ ๕. การรอจงั หวะท่เี หมาะสมในการพูด ๖. การพดู เรียงลำดับเพ่ือใชใ้ นการ ส่ือสาร ๗. การเลน่ เกมทางภาษา

๔๐ ตวั บง่ ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ๙.๒ อ่าน เขียนภาพ และ -อา่ นภาพ ๑. การอา่ นหนงั สอื ภาพ นิทาน - การอา่ นภาพ สญั ลักษณ์ นิทาน สัญลกั ษณไ์ ด้ สญั ลกั ษณ์ คำ หลากหลายประเภท/รูปแบบ พรอ้ มทัง้ ช้ี หรือ ๒. การอ่านอย่างอิสระตามลำพัง การ กวาดตามอง อา่ นร่วมกัน การอา่ นโดยมีผูช้ ี้แนะ ขอ้ ความตามบรรทดั ๓. การเห็นแบบอยา่ งของการอา่ นที่ ถกู ตอ้ ง ๔. การสังเกตทศิ ทางการอา่ นตัวอักษร คำ และข้อความ ๕. การอ่านและชี้ข้อความ โดยกวาด สายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จาก บนลงลา่ ง ๖. การสังเกตตัวอักษรในชื่อของตน หรือ คำคุ้นเคย ๗. การสังเกตตัวอกั ษรทีป่ ระกอบเป็นคำ ผ่านการอ่านหรอื เขียนของผ้ใู หญ่ ๘. การคาดเดาคำ วลี หรือประโยคที่มี โครงสร้างซ้ำๆกันจากนิทาน เพลง คำ คลอ้ งจอง ๙. การเล่นเกมทางภาษา ๑๐. การเห็นแบบอย่างของการเขียนที่ ถกู ตอ้ ง -เขยี นคลา้ ย ๑. การเขยี นร่วมกันตามโอกาส และการ - การใชม้ ือทำสง่ิ ตา่ ง ๆ ตวั อักษร เขียนอสิ ระ - การเขียนภาพ สัญลักษณ์ ๒. การเขียนคำที่มีความหมายกับตัว ตัวอกั ษร เดก็ /คำคุ้นเคย ๓. การคิดสะกดคำและเขียนเพื่อสื่อ ความหมายด้วยตนเองอย่างอสิ ระ ๔. การเล่นเกมทางภาษา

๔๑ มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ ตวั บง่ ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้รายปี ๑๐.๑ มีความสามารถในการคิด ชน้ั อนุบาลปที ่ี ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระทคี่ วรเรยี นรู้ รวบยอด -บอกลกั ษณะและ ๑. การสงั เกตลักษณะ ส่วนประกอบ ๑. การคดิ สว่ นประกอบของส่งิ ของ การเปลย่ี นแปลง และความสมั พนั ธข์ อง - ประสาทสัมผสั ตา่ งๆจากการสงั เกตโดย ส่งิ ต่างๆโดยใชป้ ระสาทสมั ผสั อย่าง - การสังเกต ใชป้ ระสาทสมั ผสั เหมาะสม ๒. การเปลี่ยนแปลงและ ๒. การสงั เกตสิ่งต่างๆแลละสถานทจ่ี าก ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ มมุ มองทีต่ า่ งกนั รอบตวั ๓. การเล่นกบั สื่อตา่ งๆที่เปน็ ทรงกลม ทรงสีเ่ หล่ียมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ๔. การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์กบั เหตกุ ารณ์ในชีวิตประจำวัน -จับคู่และเปรียบเทียบ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ ๑. การคดิ ความแตกต่างหรือความ จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง - การจับคู่ เหมือนของสิ่งต่างๆโดย รูปทรง - การเปรียบเทียบความ ใช้ลักษณะที่สังเกตพบ ๒. การต่อของชิ้นเล็กเติมในชิ้นใหญ่ให้ เหมอื นความต่าง เพยี งลักษณะเดยี ว สมบูรณ์ และการแยกชน้ิ สว่ น ๓. การจบั คู่ การเปรยี บเทียบและการ เรยี งลำดับสง่ิ ต่างๆตามลกั ษณะความ ยาว/ความสงู นำ้ หนกั ปรมิ าตร ๔. การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตร์กับ เหตกุ ารณ์ในชีวิตประจำวนั -จำแนกและจัดกลุ่มส่ิง ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการ ๑. การคิด ต่างๆโดยใช้อย่างน้อย จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและรูปร่าง - การจำแนก หนึง่ ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ รปู ทรง - การจัดกลุ่ม สิ่งของหนึ่ง ๒. การทำซ้ำ การต่อเติม และการสร้าง ลักษณะ แบบรปู ๓. การรวมและการแยกส่ิงต่างๆ ๔. การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กับ เหตกุ ารณใ์ นชีวติ ประจำวนั -เรียงลำดับสิ่งของหรือ ๑. การนับและแสดงจำนวนของสิง่ ต่างๆ ๑. การคดิ เหตุการณ์อย่างน้อย ๔ ในชวี ิตประจำวนั - การเรียงลำดับเหตุการณ์ ลำดับ ๒. การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับ ๔ ลำดับ จำนวนของส่งิ ต่าง ๆ - จำนวนและตวั เลข ๓. การบอกและแสดงอันดบั ท่ีของสิ่ง ตา่ ง ๆ

๔๒ ๔. การบอกและเรียงลำดับกิจกรรมหรอื เหตกุ ารณต์ ามช่วงหรือเวลา ๕. การใชภ้ าษาทางคณิตศาสตรก์ ับ เหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจำวัน ๖. การบอกและแสดงตำแหนง่ ทศิ ทาง และระยะทางของสง่ิ ต่างดว้ ยการกระทำ ภาพวาด ภาพถ่าย และรปู ภาพ ๑๐.๒ มีความสามารถในการคิด -ระบุสาเหตุหรือผลท่ี ๑. การชงั่ ตวง วัดสิง่ ตา่ งๆโดยใช้ ๑. การแสดงความคิดเห็น เชิงเหตุผล เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรอื เคร่อื งมือและหน่วยที่ไม่ใชห่ น่วย - การช่งั การกระทำเม่อื มีผูช้ แ้ี นะ มาตรฐาน - การตวง ๒. การอธบิ ายเชอื่ มโยง สาเหตแุ ละผลที่ - การวดั เกดิ ขน้ึ ในเหตุการณ์หรือการกระทำ - คาดเดา หรือคาดคะเน ๑. การคาดเดาหรือการคาดคะเนสิ่งที่ -การหาความสัมพันธ์ และ สิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น หรือ อาจจะเกิดขึน้ อย่างมเี หตุผล แสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมในการ ล ง ๒. การมสี ่วนร่วมในการลงความเหน็ จาก ความเหน็ จากขอ้ มูล ขอ้ มูลอยา่ งมเี หตุผล ๑๐.๓ มีความสามารถในการคิด -ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ๑. การตดั สนิ ใจและมีสว่ นรว่ มใน ๑. การตัดสินใจสิ่งต่างๆ แก้ปญั หาและตัดสนิ ใจ และเริ่มเรียนรู้ผลที่ กระบวนการแกป้ ัญหา ดว้ ยตนเอง เกดิ ขนึ้ ๒. การอธิบายเชือ่ มโยง สาเหตุและผลท่ี เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรอื การกระทำ -ระบปุ ัญหา และ ๑. การตดั สินใจและมสี ่วนรว่ มใน ๑. การแก้ปัญหาด้วย แกป้ ัญหาโดยลองผดิ ลอง กระบวนการแกป้ ัญหา ตนเอง ถูก ๒. การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสง่ิ ท่ี อาจจะเกดิ ข้ึนอยา่ งมเี หตุผล ๓. การมสี ่วนร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมลู อย่างมเี หตผุ ล

๔๓ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ สาระการเรียนรู้รายปี ชั้นอนบุ าลปีท่ี ๒ ประสบการณส์ ำคัญ สาระที่ควรเรียนรู้ -สรา้ งผลงานศิลปะเพือ่ ส่อื สาร ๑๑.๑ เลน่ /ทำงานศลิ ปะตาม ความคิด ความรู้สกึ ของตนเองโดยมี ๑. การสังเกตลกั ษณะ การทำงานศลิ ปะ จนิ ตนาการและความคดิ การดัดแปลงและแปลกใหมจ่ ากเดิม สรา้ งสรรค์ หรอื มีรายละเอียดเพิ่มขนึ้ ส่วนประกอบ การ - วิธกี ารใชเ้ คร่ืองมอื เครอ่ื งใช้ ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/ -เคลื่อนไหวท่าทางเพื่อสื่อสาร เปลย่ี นแปลง และ ในการทำงานศลิ ปะอยา่ งถูก เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการ ความคดิ ความรูส้ กึ ของตนเอง อย่างสร้างสรรค์ อย่างหลากหลายหรอื แปลกใหม่ ความสัมพนั ธข์ องส่งิ ต่างๆโดย วิธีและปลอดภยั ใช้ประสาทสมั ผัสอย่าง เหมาะสม ๒. การสังเกตส่งิ ต่างๆแลละ สถานที่จากมมุ มองที่ตา่ งกัน ๓. การเลน่ กับสอ่ื ต่างๆที่เป็น ทรงกลม ทรงสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก ทรงกระบอก ทรงกรวย ๔. การใช้ภาษาทาง คณติ ศาสตรก์ บั เหตุการณใ์ น ชวี ิตประจำวนั ๑. การเคลื่อนไหวอยู่กบั ที่ ๑. การเคลื่อนไหวร่างกายใน ๒. การเคล่ือนไหวเคล่ือนท่ี ทศิ ทางระดับและพื้นที่ตา่ งๆ ๓. การเคลื่อนไหวพร้อมวัสดุ ๒. การแสดงท่าทางอย่าง อุปกรณ์ อิสระ ๔. การแสดงความคดิ สรา้ งสรรคผ์ ่านภาษา ท่าทาง การเคล่อื นไหวและศิลปะ ๕. การเคลื่อนไหวโดยควบคุม ตนเองไปในทิศทาง ระดับและ พื้นที่ ๖. การเคลอื่ นไหวตาม เสยี งเพลง/ดนตรี ๗. การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏกิ ิริยาโต้ตอบ เสยี งดนตรี

๔๔ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้ เหมาะสมกับวัย ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนรูร้ ายปี ช้ันอนุบาลปีที่ ๒ ประสบการณส์ ำคญั สาระทค่ี วรเรียนรู้ ๑๒.๑ มีเจตคติที่ดีต่อการ -สนใจซกั ถามเก่ียวกับ เรยี นรู้ สัญลักษณห์ รอื ตัวหนังสือที่ ๑. การสำรวจสงิ่ ตา่ งๆ และแหล่ง - ความรพู้ ืน้ ฐานเกี่ยวกบั การใชห้ นงั สือ พบเหน็ เรยี นรู้รอบตัว และตัวหนงั สอื ๒. การตั้งคำถามในเรือ่ งที่สนใจ -กระตือรือร้นในการเข้าร่วม ๑. การให้ความร่วมมือในการ ๑.การแสดงออกทางอารมณ์และ กจิ กรรม ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ความรู้สึกอย่างเหมาะสม ๒. การตั้งคำถามในเรอ่ื งที่สนใจ ๒. ความสนใจในการทำกจิ กรรม ๓. การมีส่วนร่วมในการรวบรวม ข้อมูลและนำเสนอข้อมลู จากการ สืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบต่างๆ และแผนภูมิอย่างง่าย ๑๒.๒ มคี วามสามารถใน -ค้นหาคำตอบของข้อสงสัย ๑. การสำรวจสง่ิ ตา่ งๆ และแหล่ง - การเรยี นรทู้ ่ีจะเล่นและทำสง่ิ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ ตา่ งๆ ตามวธิ ีการของตนเอง เรียนร้รู อบตวั ๒. การต้ังคำถามในเรอ่ื งทีส่ นใจ ๓. การสืบเสาะหาความรู้เพื่อ ค้นหาคำตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ ๔. การมีส่วนร่วมในการรวบรวม ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลจากการ สบื เสาะหาความรใู้ นรปู แบบต่างๆ และแผนภมู ิอยา่ งงา่ ย -ใช้ประโยคคำถามว่า “ท่ี ๑. การต้งั คำถามในเรือ่ งทีส่ นใจ - การสนใจซักถามคำถามเพื่อค้นหา ไหน” “ทำไม” ในการค้นหา ๒. การสืบเสาะหาความรู้เพื่อ คำตอบ คำตอบ ค้นหาคำตอบของขอ้ สงสยั ต่างๆ

๔๕ ตารางวเิ คราะห์สาระการเรียนรู้รายปี ช่วงอายุ ๕ – ๖ ปี ๑.พฒั นาการด้านรา่ งกาย มาตรฐานที่ ๑ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยเด็กมสี ุขนสิ ัยที่ดี ตวั บ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ชน้ั อนุบาลปีท่ี ๓ (๕-๖ปี) ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ๑.๑ มีน้ำหนัก -นำ้ หนกั และสว่ นสงู ตาม และส่วนสูงตาม เกณฑ์ของกรมอนามัย ๑.การปฏิบัตติ นตามสุขอนามัย การปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจำวนั เกณฑ์ สขุ นสิ ัยท่ดี ีในกจิ วัตรประจำวนั - การเจริญเติบโตของร่างกาย ๑.๒ มีสขุ ภาพ -รับประทานอาหารทม่ี ี ๑.การปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามัย การปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจำวนั อนามยั สขุ นิสัย ประโยชน์ได้หลายชนิดและ สขุ นสิ ัยที่ดีในกจิ วัตรประจำวัน ๑. อาหารทม่ี ีประโยชนแ์ ละไมม่ ี ทด่ี ี ดืม่ น้ำสะอาดไดด้ ้วยตนเอง ๒. การประกอบอาหารไทย ประโยชน์ ๒. อาหารหลกั ๕ หมู่ -ล้างมือก่อนรับประทาน ๑.การปฏิบัตติ นตามสุขอนามัย ๓. การมีเจตคติทด่ี ีต่อการ อาหารและหลงั จากใช้ สขุ นสิ ยั ท่ีดใี นกจิ วัตรประจำวนั รับประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ห้องนำ้ หอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง ๒. การช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั กิ ิ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวนั จกวัตรประจำวัน ๑. อวัยวะต่างๆของรา่ งกายและ -ล้างหน้าและแปรงฟันถูกวธิ ี ๓. การปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภยั ในกจิ วัตร การรักษาความปลอดภัย หลังรับประทานอาหารดว้ ย ประจำวัน ๒. วิธีรักษารา่ งกายให้สะอาด ตนเอง ๔. การฟงั นิทาน เร่ืองราว เหตกุ ารณ์ และมีสขุ อนามัยท่ีดี เกี่ยวกบั การปอ้ งกัน และรักษาความ -นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา ปลอดภยั การปฏิบตั ิกิจวัตรประจำวัน ๑.การปฏบิ ตั ิตนตามสขุ อนามัย ๑. อวัยวะต่างๆของรา่ งกายและ สุขนสิ ยั ทดี่ ีในกจิ วัตรประจำวนั การรักษาความปลอดภัย ๒. การชว่ ยเหลือตนเองในการปฏิบัติ ๒. วิธรี กั ษารา่ งกายใหส้ ะอาด กิจวัตรประจำวนั และมสี ุขอนามัยท่ีดี ๓. การปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภัยในกิจวัตร ประจำวัน -ประโยชนข์ องการนอนหลับ ๔. การฟงั นทิ าน เรือ่ งราว เหตกุ ารณ์ พักผ่อน เกย่ี วกบั การปอ้ งกัน และรกั ษาความ ปลอดภยั - การปฏบิ ตั ติ นตามสุขอนามัย สุขนิสัยท่ดี ใี นกจิ วัตรประจำวนั

๔๖ ๑.๓ รกั ษา -ออกกำลงั กายเป็นเวลา ๑. การเล่นอิสระ ๑. ประโยชน์ของการออกกำลัง ความปลอดภัย ๒. การเคล่ือนไหวขา้ มสิ่งกีดขวาง กาย ของตนเองและ -เลน่ และทำกิจกรรมร่วมกับ ๓. การเลน่ เครอ่ื งเลน่ อยา่ งปลอดภัย ๒. การเล่นเคร่อื งเลน่ สนามอย่าง ผอู้ นื่ ผู้อืน่ ด้วยความระมัดระวัง ๔. การละเลน่ พนื้ บ้านไทย ถกู วิธี อย่างปลอดภัย ๕. การเลน่ นอกหอ้ งเรียน ๖. การเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอยา่ งอสิ ระ ๑. การรกั ษาความปลอดภัยของ ตนเองและการปฏิบตั ติ ่อผอู้ น่ื ๑.การปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภยั ใน อย่างปลอดภยั ในชวี ติ ประจำวนั กจิ วัตรประจำวนั ๒. การปฏิบตั ติ นอยา่ งเหมาะสม ๒. การฟังนิทาน เร่ืองราวเหตุการณ์ เมอื่ เจบ็ ป่วย เก่ียวกบั การปอ้ งกนั และรักษาความ ๓. การระวังภยั จากคนแปลก ปลอดภัย หนา้ และอบุ ตั ิภัยตา่ งๆ ๓. การเลน่ บทบาทสมมุตเิ หตุการณ์ ตา่ งๆ ๔. การพดู กบั ผู้อืน่ เกยี่ วกับ ประสบการณข์ องตนเองหรือพดู เรือ่ งราวเก่ยี วกับตนเอง ๕. การเล่นเครือ่ งเล่นอยา่ งปลอดภัย ๖. การเลน่ และทำงานร่วมกับผู้อน่ื มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธก์ นั ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ชน้ั อนบุ าลปที ่ี ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณส์ ำคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ เคลื่อนไหว -เดินต่อเท้าถอยหลงั เป็นเส้นตรงได้ ๑. การเคลอ่ื นไหวอยกู่ บั ที่ ๑. การออกกำลงั กาย ร่างกายอย่างคล่องแคล่ว อย่างคล่องแคล่ว ๒. การเคล่ือนไหวเคลอ่ื นท่ี ๒. การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ประสานสัมพนั ธแ์ ละทรงตัว -กระโดดขาเดียว ไปข้างหน้าได้ ๓. การเคล่อื นไหวพรอ้ มอุปกรณ์ ได้ อยา่ งต่อเน่อื งโดยไมเ่ สียการทรงตัว ๔. การเคลอ่ื นไหวทใ่ี ชก้ าร ประสานสัมพันธข์ องกล้ามเน้อื -วิ่งหลบหลกี สง่ิ กดี ขวางไดอ้ ย่าง ใหญใ่ นการขว้าง การจับ การโยน การเตะ คลอ่ งแคลว่ ๕. การเล่นเคร่ืองเล่นสนามอย่าง -โยนรับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจาก อิสระ พน้ื โดยใช้มอื ทัง้ ๒ ขา้ งได้ ๖. การเคลื่อนไหวขา้ มสงิ่ กีดขวาง ๗. การเคลื่อนไหวโดยควบคุม ตนเองไปในทิศทาง ระดับ และ พ้นื ที่

๔๗ ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ ใช้มือ-ตา -ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนว ๑. การเล่นเครือ่ งเลน่ สมั ผสั และ ๑. การเล่นและการทำงานร่วมกับ ประสานสัมพันธก์ ัน เส้นโคง้ ได้ การสร้างส่งิ ต่างๆจากแทง่ ไม้ ผ้อู ่นื -เขียนรูปสามเหลี่ยมตามแบบได้ บลอ็ ก ๒. การทำงานศิลปะ อย่างมมี มุ ชดั เจน ๒.การเขยี นภาพและการเล่นกับสี ๓. การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆด้วยเศษ -ร้อยวัสดุที่มีรูขนาดเส้นผ่าน วัสดุ ๔. การหยิบจับ การใช้กรรไกร ศูนย์กลาง๐.๒๕ ซม.ได้ การฉีก การตัด การปะ การร้อย วัสดุ ๒.พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจติ ดแี ละมีความสุข ตวั บ่งชี้ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๓.๑ แสดงออกทางอารมณ์ ชนั้ อนุบาลปที ี่ ๓ (๕-๖ปี) ประสบการณส์ ำคญั สาระท่ีควรเรียนรู้ อย่างเหมาะสม ๑. การพดู สะท้อนความรู้สกึ - การแสดงทางอารมณ์และ -แสดงอารมณ์ ความรสู้ ึกได้ ของตนเองและผ้อู ่นื ความร้สู ึกอยา่ งเหมาะสมกบั สอดคล้องกบั สถานการณอ์ ยา่ ง ๒. การเล่นบทบาทสมมตุ ิ สถานการณ์ เหมาะสม ๓. การเคลื่อนไหวตาม เสยี งเพลง ดนตรี - การรูจ้ ักแสดงความคิดเห็น ๓.๒ มคี วามรสู้ ึกทด่ี ตี อ่ ตนเอง -กลา้ พูดกลา้ แสดงออกอยา่ ง ๔. การร้องเพลง อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ ๕. การทำงานศิลปะ และผ้อู ื่น เหมาะสมตามสถานการณ์ - การประสบความสำเรจ็ ในสิ่ง ต่างๆท่ที ำดว้ ยตนเอง -แสดงความพอใจในผลงานและ ความสามารถของตนเองและผอู้ นื่ มาตรฐานที่ ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรูร้ ายปี ๔.๑ สนใจและมคี วามสขุ และ ช้ันอนุบาลปีที่ ๓ (๕-๖ปี) ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรียนรู้ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ -สนใจและมีความสุขและ ๑. การทำกิจกรรมศลิ ปะตา่ งๆ - การทำกิจกรรมศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคลือ่ นไหว แสดงออกผ่านงานศลิ ปะ ๒. การสรา้ งสรรคส์ ง่ิ สวยงาม สรา้ งสรรค์ ๓. การรับรู้และแสดงความคิด ความรสู้ กึ ผา่ นสื่อ วสั ดุ ของ เลน่ และชน้ิ งาน ๔. การปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ งๆ ตามความสามารถของตนเอง

๔๘ -สนใจ มีความสขุ และแสดงออก ๑. การฟังเพลง การรอ้ งเพลง - การฟัง การรอ้ งเพลง ผา่ นเสียงเพลง ดนตรี และการแสดงปฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบ เสยี งดนตรี - การแสดงท่าทางเคลอ่ื นไหว -สนใจ มีความสขุ และแสดง ๒. การเล่นเครื่องดนตรี ประกอบเพลง จงั หวะและ ท่าทาง/เคลอื่ นไหวประกอบเพลง ประกอบจงั หวะ ดนตรี จงั หวะและ ดนตรี ๔. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง ๑. การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิรยิ าโต้ตอบ เสยี งดนตรี ๒. การเคลอ่ื นไหวตาม เสยี งเพลง ดนตรี ๔. การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง ๕. การเลน่ เครอ่ื งดนตรี ประกอบจงั หวะ มาตรฐานที่ ๕ มคี ุณธรรม จริยธรรมและมจี ิตใจทดี่ ีงาม ตัวบ่งชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ๕.๑ ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู้ - ขออนญุ าตหรือรอคอยเมอื่ ต้องการ ๑. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกท่ดี ีของ ๑. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๕.๒ มีความเมตตา ส่ิงของของผอู้ ื่นดว้ ยตนเอง ห้องเรียน - ความซื่อสัตย์ สจุ ริต กรุณา มีน้ำใจและ ๒. การฟังนทิ านเกีย่ วกบั คุณธรรม - ความเกรงใจ ช่วยเหลือแบ่งปนั -แสดงความรักเพื่อนและมีเมตตา จริยธรรม ๒. การเคารพสิทธิของตนเอง สัตวเ์ ล้ยี ง ๓. การร่วมสนทนาและแลกเปล่ียน และผอู้ ่ืน ความคดิ เหน็ เชงิ จริยธรรม ๔. เลน่ บทบาทสมมุติ ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม ๕. การเลน่ และทำงานรว่ มกับผู้อน่ื - ความเมตตากรณุ า ๖. การปฏิบัตติ นตามหลกั ศาสนาที่นับ - ความมนี ำ้ ใจเออ้ื เฟื้อเผ่อื แผ่ ถือ ๑. การฟงั นทิ านเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ๒. เล่นบทบาทสมมุติ ๓. การเลยี้ งสัตว์

๔๙ -ช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นได้ด้วย ๑. การฟงั นิทานเกยี่ วกับคณุ ธรรม ๑. คณุ ธรรมจริยธรรม ตนเอง จริยธรรม - ความมีน้ำใจ ช่วยเหลือ ๒. เล่นบทบาทสมมตุ ิ แบ่งปนั ๓. ปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของ - ความกตญั ญู ห้องเรยี น - ความมนี ้ำใจเอ้ือเฟื้อเผอื่ แผ่ ๔. การเลน่ รายบคุ คล กลุม่ ยอ่ ย และ กลมุ่ ใหญ่ ๕. การเล่นตามมมุ ประสบการณ/์ มุม เล่นตา่ งๆ ๕.๓ มีความเห็นอก -แสดงสีหน้าหรือท่าทางรับรู้ ๑. การเลน่ และทำงานร่วมกบั ผ้อู ่นื ๑. คณุ ธรรมจริยธรรม เหน็ ใจผอู้ น่ื ความรู้สึกผู้อื่นอย่างสอดคล้องกบ ๒. การเลน่ บทบาทสมมตุ ิ - ความเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน สถานการณ์ ๓. การแสดงความยินดีเมื่อผู้อื่นมี - ความมีนำ้ ใจเอ้ือเฟอ้ื เผ่อื แผ่ ความสุข เห็นใจเมื่อผู้อื่นเศร้าหรือ เสียใจและการช่วยเหลือปลอบโยนเม่ือ ผูอ้ ่ืนได้รบั บาดเจบ็ ๕ . ๔ ม ี ค ว า ม -ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จ ๑. การทำกิจกรรมศลิ ปะตา่ งๆ ๑. คุณธรรมจรยิ ธรรม รบั ผดิ ชอบ ดว้ ยตนเอง ๒. การดูแลห้องเรียนร่วมกนั - ความรับผิดชอบ ๓. การมสี ว่ นร่วมรับผดิ ชอบ ดูแล - ความอดทน มุ่งม่ัน รักษาส่ิงแวดลอ้ มทง้ั ภายในและ - ความเพยี ร ภายนอกหอ้ งเรียน ๔. การร่วมกำหนดข้อตกลงของ หอ้ งเรยี น ๓.พฒั นาการด้านสงั คม มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบง่ ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรียนร้รู ายปี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเองใน ชน้ั อนบุ าลปีท่ี ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้ การปฏิบัติกิจวตั ร - แต่งตัวดว้ ยตนเองได้อย่าง ๑. การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วตั ร ๑. การชว่ ยเหลอื ตนเอง ประจำวนั คล่องแคล่ว ประจำวัน ๒. มารยาทในการรบั ประทาน - รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง ๒. การใหค้ วามร่วมมอื ในการ อาหาร อย่างถูกวธิ ี ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่างๆ ๓. การปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆตาม - ใชแ้ ละทำความสะอาดหลงั ใช้ ความสามารถของตนเอง หอ้ งนำ้ ห้องส้วมดว้ ยตนเอง ๖.๒ มีวินยั ในตนอง -เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ทอี่ ยา่ ง ๑. การร่วมกำหนดขอ้ ตกลงของ ๑. การเลน่ และการเก็บสิง่ ของ เรียบรอ้ ยด้วยตนเอง ห้องเรยี น อยา่ งถกู วิธี

๕๐ -เข้าแถวตามลำดับก่อนหลังได้ด้วย ๒. การปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกทีด่ ี ๑. การรอคอยตามลำดับ ตนเอง ของหอ้ งเรียน ก่อนหลัง ๓. การใหค้ วามรว่ มมือในการ ๒. การเขา้ แถว ปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ๔. การดูแลหอ้ งเรียนร่วมกนั ๖.๓ ประหยัดและ -ใช้ส่ิงของเครอ่ื งใชอ้ ย่างประหยดั ๑. การปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางหลัก - การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ พอเพียง และพอเพยี งด้วยตนเอง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง น้ำ ไฟอยา่ งประหยัด ๒. การใชว้ ัสดุและสิ่ง ของเครื่องใช้อย่างคมุ้ คา่ มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย ตวั บ่งช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ สาระการเรยี นรรู้ ายปี ๗.๑ ดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ช้ันอนบุ าลปีที่ ๓ (๕-๖ป)ี ประสบการณ์สำคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู้ และสง่ิ แวดลอ้ ม -มีส่วนร่วมในการดูแลรักษา ๑. การมสี ่วนร่วมในการดูแลรกั ษา ๑. สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ มทัง้ ภายในและภายนอก การดแู ลรักษา ดว้ ยตนเอง ห้องเรียน ๒. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ๒.การสนทนาข่าวและเหตุการณ์ที่ และการอนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม เก่ียวกบั ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมใน ๓. การรักษาสาธารณสมบัติใน ชวี ิตประจำวัน หอ้ งเรยี น ๓. การเพาะปลกู และดแู ลตน้ ไม้ ๔. การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและ ผลที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์หรือการ กระทำ ๕. การตัดสนิ ใจและมสี ่วนรว่ มใน กระบวนการแกป้ ญั หา -ท้ิงขยะได้ถูกที่ ๑. การคัดแยก การจัดกลุ่มและ ๑. ขยะและการคดั แยกขยะ จำแนกสิ่งต่างๆตามลักษณะและ ๒. การดแู ลรักษาสงิ่ แวดล้อม รปู ร่าง รูปทรง ๒. การใช้วัสดุและสิ่งของเครื่องใช้ อยา่ งคุ้มค่า ๓. การทำงานศิลปะที่นำวัสดุหรือ สง่ิ ของเครอ่ื งใชท้ ี่ใช้แลว้ มาใช้ซำ้ หรือ แปรรปู แลว้ นำกลับมาใช้ใหม่ ๔. การสรา้ งสรรคช์ ิ้นงานโดยใช้ รูปร่างรปู ทรงจากวสั ดทุ หี่ ลากหลาย ๕. การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของ หอ้ งเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook