Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่ 1 เซลล์

เล่มที่ 1 เซลล์

Published by pid_33, 2022-08-24 06:27:47

Description: เล่มที่ 1 เซลล์

Search

Read the Text Version

ชุดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน เรอื่ ง เซลลข์ องสิง่ มีชีวติ และการดารงชวี ติ ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กติ ติมา สนั ตะกิจ โรงเรียนเทศบาล 4 บา้ นบอ่ แขม (เรอื นพรง้ิ อาสาสงเคราะห)์ เทศบาลเมอื งชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี

คานา ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่ืองเซลล์ของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิต ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จัดทาขึ้น เพ่ือพัฒนาการการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง เสริมสร้างศักยภาพให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ซง่ึ สอดคล้องกับหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิต ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีท้ังหมด 5 ชุด ประกอบด้วย ชดุ ท่ี 1 เซลล์ ชุดท่ี 2 กระบวนการลาเลียงสารของพชื ชุดท่ี 3 กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง ชดุ ท่ี 4 การสบื พนั ธ์ุและการตอบสนองของพชื ต่อสง่ิ เร้า ชุดที่ 5 พชื กับเทคโนโลยีชีวภาพ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง เซลล์ ของส่ิงมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จะทาให้นักเรียนได้รับความรู้และประสบการณ์การเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มากขึน้ และสามารถนาความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปพฒั นาคณุ ภาพการเรียนวทิ ยาศาสตร์ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงข้นึ นางสาวกติ ติมา สันตะกิจ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ เซลล์

สารบญั หน้า คานา 1 คาแนะนาการใช้ชดุ การเรยี นรู้ 2 คาแนะนาการใช้ชุดการเรียนรู้สาหรับครู 3 คาแนะนาการใชช้ ุดการเรยี นรู้สาหรับผ้เู รยี น 4 มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด 5 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 6 ผังมโนทัศน์ 7 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 11 ลกั ษณะและรปู รา่ งของเซลล์ส่ิงมีชวี ิต 14 รปู รา่ งและขนาดของเซลล์ 16 ความหมายและหนา้ ทีข่ องเซลล์ 17 การศึกษาเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ 20 กิจกรรมที่ 1 เรอื่ ง ลกั ษณะของเซลล์ 22 กจิ กรรมท่ี 2 เรื่อง เซลล์พชื และเซลล์สัตว์ 24 กิจกรรมท่ี 3 เรื่อง สิง่ มีชวี ติ เซลลเ์ ดียวและส่งิ มชี ีวิตหลายเซลล์ 26 ส่วนประกอบและหนา้ ทีข่ องสว่ นประกอบของเซลล์ 30 กจิ กรรมที่ 4 เรอ่ื ง สว่ นประกอบและหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์ 32 แบบทดสอบหลังเรยี น 35 แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ก่อนเรยี นและหลังเรียน 36 เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น 37 แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม 38 เกณฑก์ ารประเมินกิจกรรมกล่มุ 40 แบบบนั ทึกการประเมนิ กจิ กรรม 41 เกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรม 43 แบบประเมินดา้ นคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 45 เกณฑ์การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ 46 แบบประเมนิ สมรรถนะผู้เรียนรายบคุ คล 47 แบบบนั ทึกการประเมนิ สมรรถนะผ้เู รยี น 48 เฉลยชุดการเรยี นรู้ท่ี 1 เซลล์ บรรณานุกรม เซลล์ ประวัตผิ ู้จัดทา

1 คาแนะนาการใชช้ ุดการเรียนรู้ ชุดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่ืองเซลล์ของส่ิงมีชีวิตและการดารงชีวิต ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทาขึ้นตาม ข้ันตอนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สืบเสาะหา ความรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยเน้นการใช้คาถามและทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ให้ผู้เรียนได้คิดและลงมือปฏิบัติ โดยครูเป็นผู้กาหนดสถานการณ์ปัญหา ให้ผู้เรียน เกิดการคิด อย่างมีวิจารณญาณ การหาเหตุผล นาไปสู่การแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการสร้างแรงจูงใจในการเรียนให้กับผู้เรียน ทาให้สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ความคงอยู่ ของความรจู้ ะนานขึน้ ลักษณะของการเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ประกอบด้วย 1. ใช้ปญั หาสอดคลอ้ งกับสถานการณจ์ รงิ เป็นสง่ิ กระต้นุ หรือเริ่มตน้ ในการแสวงหาความรู้ 2. บรู ณาการความรู้ในสาขาต่างๆทเ่ี ก่ียวข้องกับปญั หานั้น ๆ 3. เน้นกระบวนการคดิ อย่างมเี หตุผลเป็นระบบ 4. เรยี นเปน็ กล่มุ ยอ่ ย โดยมผี สู้ อนเป็นผู้สนับสนนุ และกระตุน้ ชุดการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เร่อื ง เซลลข์ องส่งิ มชี ีวิตและการดารงชีวิต ของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ชุดน้ีมีข้ันตอน การเรยี นรู้ ดังนี้ ข้ันท่ี 1 ทดสอบกอ่ นเรยี น ขนั้ ท่ี 2 ศึกษาเรียนรจู้ ากใบความรู้ ข้ันท่ี 3 ปฏิบตั ิกิจกรรมกลุ่มตามใบงาน ข้นั ที่ 4 ทดสอบหลงั เรยี น เซลล์

2 คาแนะนา การใชช้ ดุ การเรยี นรู้ สาหรบั ผสู้ อน เมื่อผู้สอนนาชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่ืองเซลล์ของส่ิงมีชีวิต และการดารงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ชุดนี้ ไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรคู้ วรปฏิบัติดงั นี้ 1. ทดสอบความรูก้ อ่ นเรยี นของผู้เรยี น เพื่อวัดความรพู้ นื้ ฐานของผูเ้ รียนแต่ละคน 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เร่อื ง เซลลข์ องส่งิ มีชีวติ และการดารงชวี ติ ของพชื กล่มุ สาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชดุ ท่ี 1 เซลล์ ควบคกู่ ับแผนการจดั การเรยี นรู้ 3. ขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมควรแนะนาผเู้ รียนอยา่ งใกล้ชดิ 4. เมื่อผเู้ รียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเรยี บรอ้ ยแล้ว ใหช้ ว่ ยกันตรวจสอบคาตอบจากแบบเฉลย 5. ใหผ้ เู้ รยี นซกั ถามเน้อื หาทไ่ี มเ่ ข้าใจ แล้วผ้สู อนอธิบายคามรู้เพิ่มเติม 6. ทดสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี น โดยใช้แบบทดสอบหลงั เรียน 7. ใช้ชุดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคามรู้และทักษะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และซ่อมเสริมความรู้ ด้วยตนเอง เซลล์

3 คาแนะนา การใชช้ ดุ การเรยี นรู้ สาหรับผู้เรยี น ก่อนที่ผู้เรียนจะนาชุดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องเซลล์ ของส่ิงมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ชุดนี้ไปศกึ ษาเรียนรู้ ผู้เรียนควรทาความเข้าใจเก่ียวกับข้ันตอนการใช้ชุด การเรียนรู้อย่างละเอียดเพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง โดยทาตามคาแนะนาและปฏิบัติตาม ขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. อ่านคาชี้แจงในการใช้ชุดการเรียนรู้ให้เข้าใจ ศึกษาตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ กอ่ นศึกษาเรยี นรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยใชเ้ วลา 10 นาที เพ่อื วัดความรพู้ ื้นฐานของผู้เรียน 3. ผเู้ รยี นทากจิ กรรมตามชดุ การเรยี นร้เู ปน็ กลมุ่ โดยปฏบิ ัติดงั น้ี ข้ันที่ 1 นาเสนอสถานการณป์ ัญหา ขั้นท่ี 2 ระบุและวิเคราะห์ปญั หา ขน้ั ท่ี 3 ตง้ั สมมติฐานการแก้ปญั หา ขั้นท่ี 4 แสวงหาความรู้และรวบรวมข้อมูล ขน้ั ท่ี 5 อภปิ รายและสรปุ ภายในกลมุ่ ยอ่ ย ข้ันที่ 6 แลกเปลี่ยนความร้ใู นชนั้ เรียน ขั้นที่ 7 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3. เมอ่ื ผู้เรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมเรยี บร้อยแล้ว ช่วยกนั ตรวจสอบจากแบบเฉลยกจิ กรรม 5. ในการทากิจกรรมตามชุดการเรียนรู้ ไม่ควรเปิดเฉลยดูก่อน ขอให้มีความซื่อสัตย์ ตอ่ ตนเองใหม้ ากทสี่ ดุ 6. เม่ือศึกษาเรียนรู้และทากิจกรรมตามที่กาหนดแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพ่อื ประเมินความเขา้ ใจและความกา้ วหน้าของตนเองในการเรียนรู้ เซลล์

4 มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.2 สมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ ที่ทางานสัมพนั ธก์ ัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ี ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทางาน สมั พันธก์ นั รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน ตัวชวี้ ดั ว.1.2 ม.1/1 เปรียบเทยี บรปู ร่าง ลกั ษณะ และโครงสรา้ ง ของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์รวมท้ังบรรยายหน้าที่ ของผนังเซลล์เยอื่ หมุ้ เซลลไ์ ซโทพลาซึม นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ว 1.2 ม. 1/2 ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงศกึ ษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ ว 1.2 ม. 1/3 อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างรปู รา่ ง กบั การทาหนา้ ที่ของเซลล์ เซลล์

5 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) 1. ผ้เู รียนมีความร้คู วามเขา้ ใจความหมายและหน้าทข่ี องเซลล์ 2. ผู้เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจขนาดและรปู ร่างของเซลล์ 3. เปรยี บเทียบส่วนประกอบของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ได้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) 1. ระบุปญั หาและสมมติฐานของกิจกรรมได้ 2. ปฏิบตั ิกิจกรรมการทดลองตามข้นั ตอนที่กาหนดใหไ้ ด้ 3. นาเสนอผลการอภปิ รายหลังการปฏิบัติกจิ กรรมได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ (A) 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 4. มีความรอบคอบ 5. มีเจตคติทดี่ ีตอ่ การเรียนวิทยาศาสตร์ เซลล์

6 ผังมโนทศั น์ เซลลข์ องส่ิงมชี วี ติ และกระบวนการดารงชวี ิตของพืช ความหมายและหนา้ ท่ขี องเซลล์ การศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ เซลล์ ขนาดและรปู ร่างของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ กระบวนการ การแพรแ่ ละการออสโมซสิ ลาเลยี งสาร การลาเลยี งน้าและอาหารของพืช โครงสรา้ งระบบลาเลียงของพืช ของพืช การบวนการ พชื สงั เคราะห์แสงอย่างไร สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ปจั จัยที่ใชใ้ นการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง การสบื พันธ์ุ โครงสร้างของดอกที่เก่ียวขอ้ งกับการสบื พันธุ์ และการตอบสนอง การสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศของพชื ของพชื ต่อสิ่งเรา้ การสืบพนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศของพชื การตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ของพืช พชื กับ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพการขยายพนั ธพ์ุ ชื เทคโนโลยชี วี ภาพการปรบั ปรุงพนั ธุ์ และเพิ่มผลผลติ พชื ประโยชนข์ องเทคโนโลยชี วี ภาพ เซลล์

7 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชดุ การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เร่ือง เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ และการดารงชวี ติ ของพชื กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ชุดท่ี 1 เซลล์ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขียนเครือ่ งหมาย × ขอ้ ที่ถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. เซลล์เปน็ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวติ ตามเหตผุ ลข้อใด ก. เพราะเป็นสิ่งแรกที่ถูกค้นพบ ข. เพราะทาหนา้ ทร่ี องรบั สว่ นอนื่ ค. เพราะเป็นตน้ กาเนดิ ของส่งิ มชี ีวิต ง. เพราะเป็นหนว่ ยท่เี ล็กท่สี ุดของส่งิ มีชวี ิต 2. ส่วนประกอบของเซลล์ข้อใดท่ีไม่พบในเซลล์สัตว์ ก. ยีน คลอโรพลาสต์ ข. แวควิ โอล นิวเคลียส ค. ผนงั เซลล์ เยอื่ ห้มุ เซลล์ ง. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ 3. ส่วนประกอบทที่ กุ เซลล์จะต้องมี คอื ขอ้ ใด ก. นิวเคลียส ข. เซนตริโอล ค. เยือ่ หุ้มเซลล์ ง. คลอโรพลาสต์ 4. ขอ้ ใดไม่ใช่หน้าท่ีของนวิ เคลียส ก. เป็นทสี่ รา้ งสารพนั ธุกรรม ข. ควบคมุ การทางานของเซลล์ ค. ควบคมุ การผ่านเข้าออกของสาร ง. ควบคมุ การถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม เซลล์

8 5. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่พบเฉพาะในเซลล์พชื เทา่ น้นั ก. ไรโซโซม ข. กอลจบิ อดี ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไมโทคอนเดรีย 6. ขอ้ ใดมีสมบัติเปน็ เยอ่ื เลอื กผ่าน ก. ผนังเซลล์ ข. เย่อื หมุ้ เซลล์ ค. ไซโทพลาสซึม ง. ไมโทคอนเดรีย 7. การจาแนกสงิ่ มชี ีวิตเซลล์เดยี วและส่งิ มชี ีวติ หลายเซลล์ ใช้สงิ่ ใดเป็นเกณฑใ์ นการแบง่ ก. จานวนเซลล์ ข. ขนาดของเซลล์ ค. รปู ร่างของเซลล์ ง. สว่ นประกอบของเซลล์ 8. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกลอ้ งจลุ ทรรศน์ ก. ใชศ้ ึกษาโครงสร้างเเละส่วนประกอบของเซลลเ์ เละส่ิงมชี ีวิตเล็กๆ ข. ส่วนทท่ี าหนา้ ที่ในการรบั เเสงของกลอ้ งจลุ ทรรศนม์ ี 1.กระจกเงา 2.เลนสร์ วมเเสง 3.ไดอะเเฟรม ค. ลากล้อง เปน็ ส่วนท่ีเชือ่ มโยงอยรู่ ะหวา่ งเลนสใ์ กล้ตากบั เลนส์ใกล้วัตถุ มีหนา้ ที่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เเสงจากภายนอกรบกวน ง. ท่ีหนบี สไลด์ ไมม่ ีส่วนเกยี่ วข้องท่ีเกีย่ วกับส่วนท่ีเป็นตวั กล้องเพราะที่หนีบสไลด์ เปน็ ส่วนประกอบของกลอ้ งดดู าวเพียงอยา่ งเดียว 9. เลนส์ใกลต้ าของกล้องจุลทรรศนท์ าหนา้ ที่สาคัญคืออะไร ก. รวมลาแสงใหเ้ ขม้ ข้นึ ข. ขยายวตั ถุให้เกดิ ภาพจรงิ ค. ขยายภาพเสมือนให้เกดิ ภาพจรงิ ง. ขยายภาพเสมอื นให้เกิดภาพเสมือน เซลล์

9 10. จากขอ้ มูลในตาราง ขอ้ ใดคือคาตอบของ A , B , C และ D ตามลาดับ ส่ิงเปรียบเทยี บ เซลล์พืช เซลล์สัตว์ รูปรา่ ง คอ่ นข้างเหลยี่ ม A…………………….? ผนังเซลล์ มี ไม่มี คลอโรพลาสต์ มี B…………………….? เยื่อหมุ้ เซลล์ C……………………..? D…………………….? ก. คอ่ นขา้ งกลม , ไมม่ ี , มี , มี ข. คอ่ นขา้ งกลม , มี , ไมม่ ี , มี ค. ค่อนขา้ งเหล่ยี ม , ไมม่ ี , มี , มี ง. คอ่ นขา้ งเหลย่ี ม , มี , ไม่มี , มี เซลล์

10 สิง่ มีชีวิตทกุ ชนดิ จะประกอบดว้ ยหน่วยพื้นฐาน ทราบหรือไม่วา่ หนว่ ยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ติ คืออะไร และหน่วยพ้นื ฐานของสิ่งมีชวี ิตแตล่ ะชนดิ เหมอื นหรอื แตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร ไปหาตาตอบกันค่ะ ไปเรยี นรูก้ นั เลย เซลล์

11 ลกั ษณะและรปู รา่ งของเซลล์ส่งิ มชี วี ติ ความหมายของเซลล์ เซลล์ (Cell) เปน็ หนว่ ยที่เลก็ ท่สี ุดของส่ิงมีชีวิต เซลล์ สามารถเพ่ิมจานวน เจรญิ เติบโตและตอบสนองตอ่ ส่ิงเรา้ ได้ เซลล์บางชนดิ เคลอ่ื นทไ่ี ดด้ ว้ ย ตัวเอง เชน่ เซลล์อสจุ ิ เป็นตน้ เซลล์ มอี ยูห่ ลายชนดิ มีรูปร่างและลักษณะที่แตกตา่ งกนั ไป ตามตาแหน่งทอ่ี ยู่ ของเซลล์ และหน้าทก่ี ารทางานของเซลล์ เซลล์ มีโครงสรา้ งทีส่ าคัญอยู่ 3 สว่ น ทมี่ ีเหมือนกนั คอื 1. เยือ่ หมุ้ เซลล์ 2. ไซโตพลาซึม 3. นวิ เคลยี ส ผู้ทศ่ี ึกษาเรือ่ งเซลล์ ในปี พ.ศ.2208 (ค.ศ. 1665) โรเบิรต์ ฮุค (Robert Hooke) นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ไดท้ า การประดษิ ฐ์กลอ้ งจลุ ทรรศนช์ นิดเลนส์ประกอบ ใชใ้ นการศึกษาเน้ือเยอื่ ของไมค้ อรก์ พบว่าเน้ือเยือ่ ของไมค้ อร์กประกอบด้วยชอ่ งวา่ งเล็กๆ จานวนมาก แล้วเรยี กช่องที่วา่ นวี้ า่ “เซลล์” (cell) ซ่งึ เปน็ เซลล์ท่ีตายแลว้ แตย่ งั สามารถคงรปู ใหอ้ ย่ไู ด้เพราะมผี นังเซลลซ์ งึ่ มีความแขง็ หลงั จากนั้นกท็ าการศึกษา คน้ ควา้ ในเรื่องเซลลข์ องพชื เซลล์ของสตั ว์และเซลล์ของจุลนิ ทรียต์ ่างๆ เรื่อยมา เซลล์

12 ลกั ษณะและรปู ร่างของเซลลส์ ิ่งมชี วี ติ รปู ร่างและขนาดของเซลล์ สงิ่ มชี วี ิตทกุ ชนดิ ไม่วา่ จะมขี นาดเลก็ หรือใหญก่ ต็ าม จะประกอบด้วยหน่วย ท่เี ล็กท่ีสดุ แตม่ ีความสาคญั ตอ่ ชีวิตมากทีส่ ดุ เรยี กว่า เซลล์ เซลล์ อาจมีรูปร่างและส่วนประกอบที่แตกต่างกัน เพ่ือความเหมาะสม กับหน้าท่ีการทางาน สิ่งมีชีวิตมีทั้งส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวและส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ เซลล์ของสิ่งมชี วี ิตเหลา่ นีจ้ ะมีลกั ษณะและรปู รา่ งแตกตา่ งกัน ส่ิงมชี วี ิตเซลลเ์ ดียว หมายถึง ส่ิงมีชีวิต ท่ี ตวั อย่างสิ่งมีชวี ิตเซลลเ์ ดียว อะมบี า ประกอบดว้ ยเซลลเ์ พยี งเซลลเ์ ดียว มีลกั ษณะที่สาคัญ ดังนี้ - เป็นเซลลเ์ ดย่ี ว ที่ไม่มีเยือ่ ห้มุ นวิ เคลยี ส - สารในนิวเคลียสจะกระจายอยู่ทั่วเซลล์ - โครงสรา้ งภายในเป็นแบบง่ายๆ - พบได้ท่ัวไปทั้งในน้าและบนบก ดารงชีวิตอย่าง อิสระ - สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ในเซลล์เดียว เช่น กินอาหาร ยอ่ ยอาหาร หายใจ เคลื่อนท่ี สบื พนั ธ์ุ เปน็ ต้น พารามเี ซียม ไดอะตอม ยูกลนี า คลอเรลลา เซลล์

13 ลักษณะและรปู รา่ งของเซลล์ส่ิงมชี ีวติ ส่ิงมชี วี ติ หลายเซลล์ หมายถึง สงิ่ มชี ีวติ ทีป่ ระกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ มีลักษณะที่ สาคญั ดังนี้ - เซลล์จะมีรูปร่างและหน้าท่ีแตกต่างกัน แต่มีการทางานประสานกันของเซลล์ท้ังหมด ทปี่ ระกอบกนั เปน็ รูปรา่ งอนั มีผลทาให้สงิ่ มีชีวิตนัน้ ๆ สามารถดารงชวี ิตอยไู่ ด้ - เซลล์ใหมจ่ ะเกิดจากกระบวนการแบ่งเซลล์ ของเซลล์ท่ีมีชีวิตอยู่ก่อน และเซลล์ใหม่จะได้รับ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม - ไดแ้ ก่ พชื สัตว์ มนษุ ย์ เห็ดรา และเซลล์ของส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ที่มีขนาด เล็กมากมอง ดว้ ยตาเปลา่ ไมเ่ ห็น ตัวอย่างส่ิงมีชวี ติ หลายเซลล์ ไฮดรา เมด็ เลอื ดคน ไสเ้ ดือนดิน เซลลพ์ ืช พลานาเลยี ดาวทะเล เซลล์

14 รปู รา่ งและขนาดของเซลล์ รปู รา่ งและขนาดของเซลล์ เซลลข์ องสง่ิ มีชีวิตมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าท่ีแตกต่าง กันออกไป บางเซลลก์ ็มีหน้าทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การเคล่ือนไหวของอวัยวะ บางเซลล์มีหน้าท่ีเก่ียวกับระบบสืบพันธุ์ ระบบย่อยอาหาร และระบบไหลเวยี นโลหติ เป็นต้น การท่ีเซลล์แต่ละชนิดมีหน้าที่ต่างกัน จึงทาให้เซลล์แต่ละชนิด มขี นาดและรูปรา่ งต่างกนั รูปร่างของเซลล์ เซลลม์ ขี นาดตา่ งๆ กนั ตง้ั แต่ขนาดเล็ก เช่น เซลล์แบคทเี รยี ซง่ึ มีขนาดประมาณ 1 ไมโครเมตร (1 ไมโครเมตร มีค่าเท่ากับ 10-6 เมตร หรือ 0.000001 เมตร) จนถึงเซลล์ขนาดใหญ่ เช่น เซลล์พืช ทั่วไปมขี นาดประมาณ 100 ไมโครเมตร สาหรับเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ ซ่ึงมีขนาดหลายเซนติเมตร เซลล์ส่วนใหญ่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าต้องดูด้วย กลอ้ งจลุ ทรรศน์ ขนาดของเซลล์ เน่ืองจากเซลล์มีลักษณะเฉพาะและถูกควบคุมด้วยยีน (Gene) ทาให้เซลล์มีลักษณะรูปร่าง แตกตา่ งกันตามกิจกรรมที่ทา ร้หู รอื ไม่ ? ในร่างกายมนษุ ย์มเี ซลลอ์ ยูป่ ระมาณ 10,000 ล้านลา้ นเซลล์ (1016 เซลล์) - เซลล์ท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุด คือ เซลล์ไข่ (egg cell) ซ่ึงมีขนาดเทียบได้กับจุดของตัว “i” ในภาษาอังกฤษ - ส่วนเซลล์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด คือ เซลล์ประสาท (nerve cell) มีขนาดเล็กกว่าเซลล์ไข่ถึง 40 เทา่ เซลล์

15 รปู ร่างและขนาดของเซลล์ เซลล์ของสิง่ มชี วี ติ ไมว่ ่าจะเป็นพชื หรอื สตั วจ์ ะมีรูปรา่ ง และขนาดแตกต่างกัน เซลลข์ นราก เช่น เชลล์เมด็ เลือดขาว เซลลเ์ มด็ เลือดแดง เชลล์ประสาท เซลล์ขนราก เซลล์ขนราก ของพชื จะมกี ารสรา้ งขนรากยื่นเข้าไปในดนิ เพือ่ ดูดนา้ และแรธ่ าตุ โดยขนรากทย่ี ืน่ ออกมานั้นจะมีพืน้ ท่ีผิวเพ่ิมขึ้น ทาใหร้ ากสามารถดดู นา้ และแรธ่ าตุไดม้ ากขนึ้ เซลลเ์ ม็ดเลือดแดงขณะเกิดใหม่จะมีนวิ เคลยี ส แตเ่ มือ่ โตเต็มทน่ี วิ เคลยี สจะ เซลลเ์ มด็ เลือดแดง สลายไป บริเวณกลางเซลลเ์ วา้ เข้าหากันทัง้ 2 ข้าง ภายในมีฮโี มโกลบิน ซ่ึงเป็น สารสีแดงทาหนา้ ทรี่ ับออกซิเจนจากถุงลมไปเล้ียงเซลล์ตามส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย มหี น้าท่ีต่อตา้ นและทาลายเชื้อโรคทเ่ี ขา้ สูร่ ่างกาย เซลล์เม็ดเลอื ดขาว เซลล์เม็ดเลอื ดขาว เปล่ยี นแปลงรปู ร่างได้จงึ ทาให้สามารถแทรกออกจากเส้นเลือดไปทาลายเชอื้ โรคท่ีเขา้ สรู่ า่ งกายได้ เซลลป์ ระสาท มหี น้าทสี่ ง่ กระแสประสาทจากจุดหน่งึ ไปยงั อกี จดุ หน่ึงภายในระบบประสาท ประกอบด้วยส่วนที่เป็นตวั เซลล์ซึ่งมีลักษณะคอ่ นข้างกลมและสว่ นท่ีเป็นแขนง แยกออกจากตวั เซลล์ เรียกว่า เดนไดรต์ และแอกซอน เซลล์

16 ความหมายและหนา้ ท่ขี องเซลล์ หนา้ ทข่ี องเซลล์ เซลล์แต่ละชนิดอาจหนา้ ที่อย่างใดอย่างหนึ่ง หรอื ทาหน้าที่หลายๆ ดา้ นได้ เซลลม์ หี นา้ ที่ ดงั น้ี 1. การเจรญิ และการสืบพันธุ์ เป็นหน้าท่ีท่ีสาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือ มีความสามารถ ใน การเพมิ่ จานวนในการสืบพนั ธุ์ มีการเจริญเติบโต และเพิ่มขนาดของเซลล์ 2. การหายใจ มีกระบวนการท่ีสลายสารอาหารชนิดต่างๆ เพื่อสร้างพลังงานในการดารงชีวิตโดย การใชห้ รือไม่ใช้ออกซเิ จนมาร่วมในปฏกิ ริ ยิ าการหายใจระดบั เซลล์ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหน่ึง 3. การขับถ่ายและการหล่ังสาร เซลล์ทั่วไปมีการขับถ่ายยูเรีย และเซลล์ต่อมขับถ่ายเหงื่อ นอกจากนี้เซลล์บางชนิดมีความสามารถในการสร้างและหล่ังสารท่ีถูกผลิต ภายในเซลล์ออกสู่ ภายนอกเซลล์ สารต่างๆ ไดแ้ ก่ พวกออรโ์ มน เอนไซม์ น้าย่อยชนดิ ต่างๆ ของระบบตา่ งๆ 4. การดูดซึม เซลล์มีความสามารถในการดูดซึมหรือเก็บกินสิ่งต่างๆ ท่ีอยู่ภายนอกเซลล์ เช่น การกินเชอ้ื โรคของเม็ดเลอื ดขาว 5. การเปลีย่ นรปู ร่าง เซลล์สามารถเปลย่ี นแปลงรูปร่าง ตลอดจนมีการเคลอ่ื นไหว เช่น การหดตัว ของเซลลก์ ล้ามเนื้อ 6. การตอบสนอง เซลล์มีความสามารถในการตอบสนองต่อส่ิงเร้าท่ีมากระตุ้น เช่น พวกเซลล์ ประสาท เซลล์รบั ความรู้สึก 7. การส่งผ่านสาร เซลล์มีความสามารถในการส่งผ่านสิ่งกระตุ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่พบ ใน บรเิ วณเยือ่ หมุ้ เซลล์ของเส้นใยประสาทและเซลลก์ ล้ามเน้อื ชนดิ ตา่ งๆ เซลล์

17 การศกึ ษาเซลล์ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ การศึกษาเซลล์ดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ กล้องจลุ ทรรศน์ (microscope) เปน็ อปุ กรณ์สาคญั ของนักวิทยาศาสตร์ ชว่ ยในการศกึ ษา เซลล์สงิ่ มีชวี ิตเล็กๆ สังเกตการเตบิ โตของโครงสร้างต่างๆ กล้องจลุ ทรรศน์ มอี ยู่ 3 แบบ ไดแ้ ก่ 1. กล้องจลุ ทรรศนท์ ีใ่ ชแ้ สง 2. กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอริโอ 3. กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ล็กตรอน (electron microscope) กล้องจุลทรรศน์ทใี่ ชแ้ สง ประกอบด้วยเลนส์นนู เพียงอนั เดยี ว วตั ถุประสงค์เพื่อขยายวตั ถุ ทจ่ี ะดใู ห้ใหญข่ น้ึ ภาพทไี่ ด้เป็นภาพเสมือนและข้อสาคญั วัตถตุ ้องอย่หู ่างจากเลนสน์ อ้ ยกว่าความ ยาวโฟกสั เป็นกลอ้ งท่ใี ชแ้ สง และมีระบบเลนส์ทท่ี าหนา้ ทข่ี ยายภาพ 2 ชดุ ขยายภาพ 2 ครง้ั สว่ นประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์ เลนสใ์ กลต้ า ลากลอ้ ง จานหมุนเลนส์ แขนกลอ้ ง เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ 10X แท่นวางสไลด์ เลนส์ใกลว้ ตั ถุ 40X ป่มุ ปรบั ภาพหยาบ เลนส์ใกลว้ ตั ถุ 100X ปุ่มปรับภาพละเอยี ด ท่ีหนีบสไลด์ ฐานกลอ้ ง คอนเดนเซอร์ หลอดไฟ เซลล์

18 การศึกษาเซลลด์ ้วยกล้องจลุ ทรรศน์ วิธีการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ 1. ใช้มือหนง่ึ จับท่ีแขนกลอ้ งและใชอ้ กี มือหนึง่ รองรับที่ฐาน 2. ตั้งลากล้องให้ตรง 3. หมุนเลนสใ์ หม้ ีขนาดพอดี 4. เช็คแสงใหพ้ อเหมาะ 5. วางวัตถุให้อยกู่ ่ึงกลาง 6. คอ่ ยๆหมุนปรบั ภาพหยาบใหเ้ ลนสใ์ กล้วัตถุอยู่เล่อื นลงมาอยูใ่ กลๆ้ กระจกปิดสไลด์ 7. ตามองที่เลนสใ์ กล้ตา คอ่ ยๆปรบั ป่มุ ปรับภาพหยาบใหก้ ลอ้ งเล่ือนขึ้นชา้ ๆเพอ่ื หาระยะภาพ 8. ปรบั ปุ่มปรับภาพละเอียดเพือ่ ใหไ้ ดภ้ าพท่ีชดั เจนย่งิ ขึน้ 9. ถ้าตอ้ งการขยายภาพใหใ้ หญข่ ึ้น หมุนเลนส์อันท่ีกาลังขยายสงู ขน้ึ เขา้ ส่แู นวลากล้อง แล้วปรับความคมชดั ดว้ ยปุ่มปรับภาพละเอยี ด 10. ทาบนั ทึกกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วตั ถุ การดูแลรักษากลอ้ งจลุ ทรรศน์ หลงั จากใชก้ ล้องจุลทรรศน์เสร็จแล้ว ควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1. ใช้ผ้าที่สะอาดและแหง้ เชด็ ทาความสะอาดส่วนทเ่ี ปน็ โลหะ 2. ส่วนที่เป็นเลนส์และกระจกทาความสะอาดโดยใช้กระจกเชด็ เลนสเ์ ทา่ นั้น 3. เล่อื นทีห่ นีบสไลดใ์ ห้ต้งั ฉากกบั ตวั กล้อง 4. หมนุ เลนส์ใกลว้ ัตถทุ ม่ี กี าลังขยายต่าสดุ ใหอ้ ยใู่ นแนวลากลอ้ งแล้วเล่อื นให้อยู่ในระดับตา่ สดุ 5. ปรบั กระจกเงาใหอ้ ยใู่ นแนวตั้งฉากกับพ้นื 6. ใช้ผา้ คลมุ ไวเ้ ม่ือเลกิ ใชง้ าน 7. อยา่ เก็บกล้องไว้ในท่ีชื้นเพราะจะทาให้เลนส์ขึ้นรา เซลล์

19 การศกึ ษาเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ การคานวณหากาลังขยายของกลอ้ งจุลทรรศน์ กาลังขยายของกลอ้ ง = กาลงั ขยายของเลนส์ใกล้วตั ถุ x กาลงั ขยายของเลนส์ใกลต้ า ตวั อย่าง กลอ้ งจุลทรรศน์มีเลนส์ใกลว้ ัตถุกาลงั ขยาย 40x และเลนสใ์ กลต้ ากาลังขยาย 5x ตรวจดูวัตถุ จะสามารถมองเหน็ วตั ถุขยายได้ก่ีเทา่ วธิ ที า กาลงั ขยายของกล้อง = กาลังขยายของเลนสใ์ กล้วตั ถุ x กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา กาลงั ขยายของกล้อง = 40x x 5x = 200 เท่า ตวั อย่างภาพขยายเซลล์ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ เซลล์เย่อื บุขา้ งแกม้ พารามเี ซยี ม สาหร่ายหางกระรอก ไฮดรา เซลลเ์ ยอ่ื หอม เซลล์

20 กิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง ลกั ษณะของเซลล์ จดุ ประสงค์ 1. กาหนดปัญหาและตงั้ สมมตุ ิฐานจากปญั หากอ่ นทากจิ กรรมได้ 2. ทากิจกรรมและสรุปผลกิจกรรมเก่ยี วกับลกั ษณะของเซลล์ได้ 3. เปรยี บเทยี บขนาดและรูปรา่ งของเซลลท์ ีศ่ ึกษาได้ 4. อธบิ ายลกั ษณะและหน้าทขี่ องเซลล์ชนิดต่างๆได้ ส่ือการเรียนรู้ 1. ภาพเซลล์ชนิดตา่ งๆ 10 ภาพ 2. ปากกาเมจิก 1 ดา้ ม 3. กระดาษวาดภาพแผ่นใหญ่ 1 แผน่ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใหน้ ักเรยี นสงั เกตภาพเซลลช์ นดิ ตา่ งๆท่กี าหนดใหแ้ ลว้ จาแนกประเภทของ เซลลโ์ ดยใชเ้ กณฑ์การจาแนกของตนเอง 2. บนั ทึกผลการจาแนกประเภทของเซลล์ลงในใบบันทกึ กจิ กรรม 3. เขยี นแผนผังการจาแนกประเภทของเซลล์ลงในกระดาษวาดภาพแลว้ นาเสนอ ผลงาน เซลลไ์ ขไ่ ก่ เซลลอ์ สุจขิ องมนุษย์ เซลล์เม็ดเลอื ดมนุษย์ เซลลพ์ ารามเี ซยี ม เซลล์คุมของพชื เซลลก์ ล้ามเนื้อ เซลลส์ าหรา่ ยหางกระรอก เซลล์เย่ือของหัวหอมแดง เซลล์ไข่ของมนุษย์ เซลล์ประสาทของมนุษย์ เซลล์

21 คาถามกอ่ นทากิจกรรม 1. ปญั หาของการทากจิ กรรมนค้ี อื อะไร ............................................................................................................................................................ 2. สมมติฐาน .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 3. เซลล์ชนดิ ใดมองเหน็ ได้ดว้ ยตาเปลา่ ............................................................................................................................................................ บันทึกผลกจิ กรรม 1. เกณฑใ์ นการจาแนกประเภทของเซลล์ ............................................................................................................................................................ 2. แผนผังการจาแนกประเภทของเซลล์ คาถามหลงั ทากิจกรรม 1. เซลล์ทนี่ กั เรียนสงั เกตมีลกั ษณะและรูปร่างต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 2. เซลล์ที่ศึกษาเปน็ เซลลเ์ หมือนกนั แตท่ าไมเซลลเ์ หล่าน้นั จึงมลี กั ษณะรปู ร่างต่างกัน ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ สรปุ ผลกจิ กรรม ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ เซลล์

22 กิจกรรมท่ี 2 เรอื่ ง เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ จดุ ประสงค์ 1. ใชก้ ล้องจุลทรรศนเ์ พื่อศกึ ษาเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ได้ 2. เปรียบเทยี บสว่ นประกอบของเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั วไ์ ด้ ส่ือการเรียนรู้ 1. หอมแดง 1 หวั 2. ไม้จิม้ ฟนั 1 อัน 3. สไลด์,กระจกปดิ สไลด์ 1 ชุด 4. สาหรา่ ยหางกระรอก 5. หลอดหยด 1 อัน 6. ปากคบี 1 อัน 7. กล้องจุลทรรศน์ 1 ตัว 8. สารละลายไอโอดนี 9. เอทิลแอลกอฮอล์ 70% 10. สารละลายโซเดยี มคลอไรด์ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. หยดนา้ ลงบนสไลด์ 1-2 หยด ใชป้ ากคบี ลอกเยื่อดา้ นในของกลบี หวั หอมแดงวางบนหยดน้า ย้อมสดี ้วยสารละลายไอโอดนี ปิดดว้ ยกระจกปิดสไลด์ นาไปสอ่ งดดู ้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตแล้ว วาดภาพ 2. หยดสารละลายโซเดียมคลอไรดล์ งบนสไลด์ 1-2 หยด ใชไ้ ม้จ้ิมฟนั ดา้ นปา้ นจุม่ เอทิลแอลกอฮอล์ 70% ปล่อยใหแ้ ห้งสักครู่ แลว้ ขูดเบาๆทผ่ี ิวเยื่อบุข้างแก้ม ในปากแลว้ นามาเกลย่ี ให้กระจายบนสไลด์ ย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน ปดิ ดว้ ยกระจกปดิ สไลด์ นาไปสอ่ งดดู ว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ สงั เกตแลว้ วาดภาพ 3. นาใบอ่อนของสาหรา่ ยหางกระรอกมาวางบนหยดนา้ บนสไลด์ ปิดทบั ด้วยกระจกปดิ สไลด์ นาไปสอ่ งดูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ สงั เกตแล้ววาดภาพ คาถามกอ่ นทากจิ กรรม 1. ปญั หาของการทากจิ กรรมนคี้ ืออะไร .............................................................................................................................................................. 2. สมมติฐาน ............................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. บนั ทึกผลกิจกรรม เซลล์ทน่ี ามาศกึ ษา ภาพของเซลล์ สว่ นประกอบ เซลลเ์ ยือ่ หอม ............................................. ............................................. เซลล์เยือ่ บุขา้ งแกม้ ............................................. ............................................. เซลล์สาหร่ายหางกระรอก ............................................. ............................................. เซลล์

23 คาถามหลังทากิจกรรม 1. จากการสังเกตเซลล์ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ ให้นกั เรยี นเปรยี บเทียบเซลล์ของพืชและสัตว์ ดังน้ี ส่วนประกอบ เซลลพ์ ชื เซลลส์ ัตว์ 1 รปู ร่าง O ส่ีเหลยี่ ม O กลมรี O สเี่ หล่ียม O กลมรี 2 ผนงั เซลล์ O มี O ไม่มี O มี O ไม่มี 3 เยื่อหมุ้ เซลล์ O มี O ไม่มี O มี O ไมม่ ี 4 ไซโทพลาซึม O มี O ไม่มี O มี O ไม่มี 5 คลอโรพลาสต์ O มี O ไม่มี O มี O ไม่มี 6 นวิ เคลยี ส O มี O ไมม่ ี O มี O ไมม่ ี 2. เซลล์เยื่อบขุ ้างแกม้ เซลลเ์ ยอื่ หอมและเซลล์สาหรา่ ยหางกระรอก มรี ูปร่าง ลกั ษณะ สว่ นประกอบ ท่ีเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 3. รูปร่าง ลักษณะ ส่วนประกอบของเซลลพ์ ืชคลา้ ยคลงึ กันหรือไม่ อยา่ ไร ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 4. โครงสรา้ งพน้ื ฐานของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั วม์ ีอะไรบา้ งทเี่ หมอื นกัน ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ สรุปผลกิจกรรม ................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. เซลล์

24 กจิ กรรมที่ 3 เร่อื ง ส่งิ มีชวี ติ เซลล์เดียวและสิ่งมีชีวติ หลายเซลล์ จดุ ประสงค์ 1. ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ศึกษาสง่ิ มชี วี ติ เซลล์เดยี วและสิง่ มีชวี ติ หลายเซลล์ 2. เปรยี บเทียบลกั ษณะของส่งิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียวและสง่ิ มีชีวติ หลายเซลล์ สือ่ การเรียนรู้ 1. สไลด์สาเรจ็ รูป พารามีเซยี ม ไฮดรา พลานาเรีย และ อะมีบา 2. กลอ้ งจุลทรรศน์ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นาสไลด์สาเร็จรปู พารามเี ซยี มส่องดูด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ สงั เกตรปู ร่าง ลักษณะ ส่วนประกอบ แล้ววาดภาพลงในตารางบันทึกผลการสงั เกต 2. ทาเช่นเดียวกับข้อ 1 แต่เปลี่ยนเป็นสไลด์ของไฮดรา พลานาเรีย และ อะมีบา คาถามก่อนทากจิ กรรม 1. ปัญหาของการทากจิ กรรมนค้ี ืออะไร ............................................................................................................................................................ 2. สมมตฐิ าน .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ บนั ทกึ ผลกิจกรรม ท่ี ชอ่ื ส่งิ มชี ีวติ รูปภาพ 1 พารามีเซยี ม 2 ไฮดรา 3 พลานาเรีย 4 อะมีบา เซลล์

25 คาถามหลังทากจิ กรรม 1. จากการศกึ ษาเซลล์ด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์ เซลล์ของส่ิงมชี วี ิตแต่ละชนดิ เหมือนหรือต่างกัน อย่างไร ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2. ส่งิ มชี ีวิตเซลล์เดียวต่างจากสิ่งมีชวี ติ หลายเซลล์อย่างไร ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 3. สง่ิ มีชีวติ เซลล์เดียวมีลกั ษณะอยา่ งไร ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 4. สงิ่ มีชีวติ หลายเซลลม์ ีลกั ษณะอยา่ งไร ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... สรุปผลกจิ กรรม ................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. เซลล์

26 สว่ นประกอบและหนา้ ทขี่ องส่วนประกอบของเซลล์ ส่วนประกอบของเซลล์ เซลลท์ ุกชนดิ จะประกอบด้วยโครงสร้างหรอื ส่วนประกอบท่ีทาให้เซลล์ 1 เซลล์ สามารถดารงชวี ิตอยู่ได้ เซลล์จะประกอบโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ดังนี้ ผนงั เซลล์ แวคิวโอล นิวเคลยี ส เยื่อหมุ้ เซลล์ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาซมึ กอลจิบอดี ไซโทพลาสซึม ไลโซโซม คลอโรพลาสต์ ผนงั เซลล์ (Cell Wall) เป็นสว่ นที่อย่รู อบนอกของเซลล์ พบทงั้ ในแบคทเี รยี , ฟงั ไจ , สาหรา่ ย และพชื ชั้นสงู ผนงั เซลล์ประกอบดว้ ยสาร เซลลโู ลส ลกิ นิน เพกทิน โปรตนี ผนงั เซลล์จึงมีความ แขง็ แรงมาก สว่ นเซลลส์ ัตวไ์ มม่ ีผนังเซลล์ บทบาทของผนังเซลล์ คอื ปอ้ งกันและให้ความแข็งแรงแกเ่ ซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปอยู่ได้ เย่ือห้มุ เซลล์ (Cell Membrane) เป็นเยอ่ื บางๆล้อมรอบไซโทพลาซมึ พบในเซลล์ทุกชนิด มคี ุณสมบตั ยิ อมให้สารบางชนิดผ่านเข้าออก บทบาทของเย่อื หุ้มเซลล์ 1. กาหนดขอบเขตของเซลล์และออร์แกเนลล์ตา่ งๆ 2. เกีย่ วข้องกบั การควบคุมการลาเลยี งของสารผ่านเข้าออกเซลล์ คุณสมบตั ิเยอื่ เลือกผา่ น สารทีแ่ พรผ่ ่านเยือ่ หุม้ เซลล์ได้ดี เช่น สารที่มขี นาดโมเลกุลเลก็ ไมม่ ีขวั้ และไม่แตกประจุ เชน่ ก๊าซออกซเิ จน แอมโมเนีย เปน็ ต้น 3. เก่ียวของกบั การรบั สัญญาณจากฮอรโ์ มนและสารเคมีต่างๆ ในร่างกาย 4. เก่ยี วขอ้ งกับการควบคุมศกั ย์ไฟฟา้ และการสง่ สญั ญาณประสาทในเซลล์สัตว์ เซลล์

27 สว่ นประกอบและหนา้ ที่ของสว่ นประกอบของเซลล์ ไซโทพลาสซมึ (Cytoplasm) เปน็ ของเหลวที่บรรจอุ อร์แกเนลล์ ซึ่งกระจายอย่ทู วั่ เซลล์ เช่น ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ ไลโซโซม แวควิ โอล เปน็ ตน้ ไซโทพลาสซมึ พบในเซลล์ทุกชนิด บทบาทของไซโทพลาสซมึ ออรแ์ กเนลล์ (Organelle) คอื 1. สังเคราะห์สารทจี่ าเปน็ สาหรบั เซลล์ โครงสรา้ งยอ่ ยที่มขี นาดเล็กอยภู่ ายในเซลล์ 2. เป็นท่เี กบ็ สะสมวัตถุดิบสาหรบั เซลล์ และมหี น้าท่ีเฉพาะ 3. เกี่ยวขอ้ งกับกระบวนการขับถา่ ยของเสียของเซลล์ - มกั อยภู่ ายในไซโทพลาสซมึ หรืออยู่ติดกบั เยอื่ ห้มุ เซลล์ - มักอยภู่ ายในเยอื่ หมุ้ เซลล์ - สามารถมองเห็นไดด้ ้วยกล้องจลุ ทรรศน์ ตัวอย่างออร์แกเนลล์ เอนโดพลาซึม ลกั ษณะเป็นรา่ งแห แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื เอนโดพลาซมึ ชนดิ ขรุขระ เยอ่ื ห้มุ นวิ เคลียส – ร่างแหเอนโดพลาซมึ ทม่ี ีไรโบโซม (ชนดิ ขรขุ ระ) นิวเคลียส หน้าท่ี สังเคราะห์โปรตนี สาหรบั ส่งออกไปเซลล์ เตมิ หมนู่ า้ ตาลใหก้ บั โปรตนี ทีถ่ กู สังเคราะหข์ ึ้น – แบบท่ไี มม่ ไี รโบโซม (ชนิดเรยี บ) หนา้ ที่ เป็นแหล่งสรา้ งโปรตีนและเอนไซม์ ไรโบโซม นอกจากนเ้ี อนโดพลาซึม ทาหนา้ ท่ีควบคุมการลาเลียงสารระหว่าง เอนโดพลาซึม ชนิดเรยี บ นวิ เคลยี สกับไซโทพลาสซมึ ดว้ ย ไมโทคอนเดรยี ส่วนใหญม่ รี ปู ร่างลกั ษณะกลม ทอ่ นส้ัน ท่อนยาว หรอื กลมรี คลา้ ยรูปไข่ - ภายในไมโตคอนเดรยี มขี องเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนดิ เรียกว่า เมทริกซ์ - ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมนั - จานวนของไมโตคอนเดรียในเซลลแ์ ตล่ ะชนดิ จะมจี านวนไม่ แนน่ อนข้นึ อยู่กับชนดิ และกิจกรรมของเซลล์ หนา้ ท่ี เป็นแหลง่ สร้างพลงั งานใหแ้ ก่เซลล์ โดยกระบวนการหายใจ ระดับเซลล์ เซลล์

28 สว่ นประกอบและหน้าท่ีของส่วนประกอบของเซลล์ ตวั อยา่ งออร์แกเนลล์ แวคิวโอล ลกั ษณะเป็นถุงมเี ยื่อบางๆห้มุ พบในเซลล์พืชสว่ นใหญ่ เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั วห์ ลายชนิด โดยแวควิ โอลในเซลลส์ ตั วม์ กั เลก็ กว่าใน เซลลพ์ ืช แวคิวโอล หน้าที่ ใชใ้ นการสะสมนา้ ของเหลวหรืออาหาร และทาหนา้ ท่ี ขบั ถา่ ยของเหลวออกจากเซลล์ เซลลส์ ัตว์ กอลจบิ อดี เป็นกลมุ่ ถงุ ลมแบนขนาดใหญ่ บรเิ วณตรงขอบโปง่ พองใหญ่ขึน้ หน้าที่ 1. เกบ็ สะสมสารทีเ่ ซลล์สร้างข้นึ ก่อนท่ีจะปล่อยออกนอกเซลล์ ซึ่งสารสว่ นใหญเ่ ป็นสารโปรตนี 2. กอลจิบอดี เกีย่ วขอ้ งกับ การสรา้ งอะโครโซม ซง่ึ อยทู่ ่ีสว่ นหวั ของสเปริ ม์ โดยทาหน้าท่ีเจาะไขเ่ มอ่ื เกิดปฏิสนธิในอะโครโซม จะมนี ้ายอ่ ยช่วยสลายเยือ่ หุ้มเซลลไ์ ข่ 3. สรา้ งเมือกทงั้ ในพชื และสัตว์ ในพืช กอลจบิ อดที าหน้าทส่ี ร้างเมือกบรเิ วณหมวกราก เพือ่ ให้ รากชอนไชในดินได้สะดวกย่ิงขึน้ ในสตั ว์เน้อื เย่ือบผุ นงั ลาไสบ้ ุกระเพาะอาหาร สรา้ งเยอ่ื เมือก ฉาบบรเิ วณผวิ เพ่อื ปอ้ งกันการยอ่ ยของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร และลาไส้ยอ่ ยตวั กระเพาะหรือลาไส้เอง เซลล์

29 ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของสว่ นประกอบของเซลล์ ตวั อยา่ งออรแ์ กเนลล์ คลอโรพลาสต์ เปน็ พลาสติดทีม่ สี ีเขยี ว พบเฉพาะในเซลล์พชื และสาหรา่ ย เกือบทกุ ชนิด พลาสติคมีเยือ่ หมุ้ สองชั้น ภายในโครงสร้างพลาสติค จะมีเม็ดสหี รือรงควตั ถบุ รรจอุ ยู่ - ถ้ามเี ม็ดสีคลอโรฟลิ ล์เรยี กว่า คลอโรพลาสต์ - ถา้ มเี ม็ดสชี นิดอืน่ ๆ เชน่ แคโรทีนอยด์ เรียกว่า โครโมพลาส - ถา้ พลาสติคนัน้ ไม่มีเม็ดสี เรยี กวา่ ลิวโคพลาสต์ หนา้ ท่ี เปน็ แหล่งเกบ็ สะสมโปรตนี หรือเกบ็ สะสมแปง้ ทีเ่ รียกวา่ เม็ดสี นวิ เคลียส (Nucleus) เปน็ ออรแ์ กเนลล์ทม่ี เี ยอื่ หมุ้ 2 ชน้ั ภายในบรรจุสารพันธุกรรมไว้ มกั พบอยบู่ รเิ วณกลางเซลล์ ภายในนิวเคลียสจะมีดเี อ็นเอ(DNA) กับโปรตีนหลายชนดิ ท่เี กาะตัว อยู่กับดเี อน็ เอ โดยในดีเอน็ เอกจ็ ะมียนี (Gene)ตา่ งๆ โดยขดตวั กันเปน็ โครโมโซม หน้าท่ีของนวิ เคลียส 1. เปน็ ศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์ 2. เป็นแหลง่ สังเคราะห์ DNA และ RNA 3. ควบคมุ การสงั เคราะห์โปรตีนภายในเซลล์ นิวเคลียส 4. ควบคมุ การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม จากบรรพบรุ ุษไปสู่ลูกหลาน ดีเอ็นเอ (DNA) คือ ชื่อยอ่ ของสารพนั ธุกรรม มีชอ่ื แบบเต็มว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอกิ (Deoxyribonucleic Acid) ซ่ึงเป็นจาพวกกรดนิวคลีอิก (กรดท่ีสามารถพบได้ในส่วนของใจกลาง ของเซลล์) ซง่ึ ดเี อน็ เอ มักพบอยใู่ นสว่ นของนิวเคลียสของเซลลโ์ ดยพนั ตวั อยบู่ นโครโมโซมในเซลล์ ของส่ิงมชี ีวติ ทุกชนิด ได้แก่ คน สตั ว์ พชื เห็ดและรา แบคทีเรยี ไวรสั เป็นต้น ดีเอ็นเอ ทาการเกบ็ ขอ้ มูลทางพันธกุ รรมของส่งิ มชี ีวติ ชนดิ หนงึ่ ๆ เอาไว้ ซ่ึงมีลกั ษณะทีม่ ีการผสมผสานมาจากสิง่ มชี วี ติ รุน่ ก่อน ซ่ึงกค็ อื รนุ่ พอ่ และแม่ ท้งั ยงั สามารถถ่ายทอดลักษณะไปยงั สิง่ มชี ีวิตรนุ่ ถัดไป ซึ่งกค็ อื รุน่ ลูกหรอื รนุ่ หลาน เซลล์

30 กิจกรรมที่ 4 เรือ่ ง สว่ นประกอบและหน้าทข่ี องสว่ นประกอบของเซลล์ จดุ ประสงค์ 1. ช้ีบอกสว่ นประกอบของเซลล์ได้ถูกต้อง 2. บอกสว่ นประกอบและหนา้ ทข่ี องสว่ นประกอบของเซลลไ์ ด้ สอื่ การเรยี นรู้ 1. แบบจาลองโครงสร้างและสว่ นประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ 1 ชดุ 2. กระดาษวาดภาพแผน่ ใหญ่ 1 แผ่น 3. ปากกาเมจกิ 1 แทง่ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. สงั เกตส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์จากแบบจาลองโครงสร้าง และส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 2. วาดภาพและชีบ้ อกส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ ลงในกระดาษ วาดภาพแผ่นใหญ่ พร้อมเขียนอธบิ ายหน้าท่ีของส่วนประกอบของเซลล์ โดยสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ เชน่ ห้องสมุด ห้องคอมพวิ เตอร์ ในชุดการเรยี นรู้วิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน คาถามกอ่ นทากจิ กรรม 1. ปัญหาของการทากิจกรรมนค้ี อื อะไร ............................................................................................................................................................ 2. สมมตฐิ าน .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ บนั ทึกผลกิจกรรม 1. ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 1. ................................. 2. ................................. 3. ................................. 4. ................................. 5. ................................. เซลล์

31 2. หน้าท่ขี องส่วนประกอบของเซลล์ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ คาถามหลังทากิจกรรม นาตัวอักษรหนา้ ขอ้ ความดา้ นขวา มาใสท่ ่ีชอ่ งว่างหนา้ ข้อความทางดา้ นซา้ ย ทีม่ ีความสัมพันธ์กนั ......1.1 กอลจิบอดี ก. ปอ้ งกนั และใหค้ วามแข็งแรงแกเ่ ซลลท์ าให้เซลล์คงรูปอย่ไู ด้ ......1.2 ผนงั เซลล์ ข. เปน็ เย่ือเลอื กผ่าน ควบคมุ การลาเลียงของสารผ่านเข้าออกเซลล์ ......1.3 คลอโรพลาสต์ ค. สร้างอะโครโซมทส่ี ว่ นหวั ของสเปริ ์มทาหนา้ ที่เจาะไข่เมือ่ เกดิ ......1.4 ไมโทคอนเดรีย ......1.5 เอนโดพลาซมึ การปฏสิ นธิ ......1.6 เยอื่ หุ้มเซลล์ ง. สะสมนา้ ของเหลวหรืออาหาร และทาหน้าทีข่ ับถ่ายของเหลว ......1.7 นิวเคลียส ......1.8 แวคิวโอล ออกจากเซลล์ จ. ควบคมุ การลาเลียงสารระหว่างนิวเคลยี สกบั ไซโทพลาสซึม ช. แหล่งสร้างพลงั งานให้แกเ่ ซลล์ ญ. แหลง่ เกบ็ สะสมโปรตนี หรือเกบ็ สะสมแปง้ ไม่มีในเซลล์สัตว์ ฎ. เปน็ ศนู ยก์ ลางควบคุมการทางานของเซลล์ สรุปผลกิจกรรม ................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. เซลล์

32 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่อื ง เซลลข์ องส่งิ มชี ีวิตและการดารงชีวิตของพืช กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ชดุ ท่ี 1 เซลล์ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเคร่อื งหมาย × ขอ้ ทีถ่ ูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. การจาแนกส่งิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี วและสิ่งมชี วี ิตหลายเซลล์ ใช้สิง่ ใดเป็นเกณฑใ์ นการแบ่ง ก. จานวนเซลล์ ข. ขนาดของเซลล์ ค. รปู รา่ งของเซลล์ ง. สว่ นประกอบของเซลล์ 2. ส่วนประกอบทีท่ กุ เซลล์จะตอ้ งมี คอื ขอ้ ใด ก. นิวเคลยี ส ข. เซนตรโิ อล ค. เยอื่ หุ้มเซลล์ ง. คลอโรพลาสต์ 3. เซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพน้ื ฐานของสิ่งมชี วี ิตตามเหตุผลข้อใด ก. เพราะเปน็ สงิ่ แรกที่ถูกคน้ พบ ข. เพราะทาหน้าท่รี องรับสว่ นอน่ื ค. เพราะเปน็ ตน้ กาเนิดของส่งิ มีชวี ิต ง. เพราะเป็นหนว่ ยที่เล็กท่สี ุดของสงิ่ มชี วี ิต 4. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกีย่ วกับกลอ้ งจุลทรรศน์ ก. ใช้ศกึ ษาโครงสร้างเเละสว่ นประกอบของเซลลเ์ เละสงิ่ มชี วี ิตเล็กๆ ข. ส่วนท่ที าหนา้ ท่ีในการรับเเสงของกล้องจลุ ทรรศนม์ ี 1.กระจกเงา 2.เลนสร์ วมเเสง 3.ไดอะเเฟรม ค. ลากล้องเป็นสว่ นทเี่ ชื่อมโยงอยู่ระหวา่ งเลนสใ์ กลต้ ากับเลนส์ใกล้วัตถุ มีหนา้ ทปี่ ้องกนั ไม่ให้เเสงจากภายนอกรบกวน ง. ท่ีหนบี สไลด์ ไมม่ สี ว่ นเกย่ี วข้องท่ีเก่ียวกบั ส่วนท่ีเป็นตวั กลอ้ งเพราะท่หี นบี สไลดเ์ ป็นส่วนประกอบของกล้องดูดาวเพียงอย่างเดยี ว เซลล์

33 5. ส่วนประกอบของเซลลข์ ้อใดที่ไม่พบในเซลลส์ ัตว์ ก. ยนี คลอโรพลาสต์ ข. แวคิวโอล นิวเคลียส ค. ผนงั เซลล์ เยือ่ หมุ้ เซลล์ ง. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ 6. ส่วนประกอบใดของเซลลท์ ีพ่ บเฉพาะในเซลลพ์ ชื เท่าน้ัน ก. ไรโซโซม ข. กอลจบิ อดี ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไมโทคอนเดรีย 7. ข้อใดมสี มบตั ิเป็นเยื่อเลือกผ่าน ก. ผนังเซลล์ ข. เยอื่ หุม้ เซลล์ ค. ไซโทพลาสซึม ง. ไมโทคอนเดรีย 8. จากขอ้ มูลในตาราง ข้อใดคือคาตอบของ A , B , C และ D ตามลาดับ ส่งิ เปรยี บเทยี บ เซลลพ์ ืช เซลลส์ ัตว์ รูปรา่ ง คอ่ นข้างเหล่ยี ม A…………………….? ผนังเซลล์ มี ไมม่ ี คลอโรพลาสต์ มี B…………………….? เย่อื หุ้มเซลล์ C……………………..? D…………………….? ก. คอ่ นขา้ งกลม , ไม่มี , มี , มี ข. ค่อนขา้ งกลม , มี , ไมม่ ี , มี ค. ค่อนขา้ งเหลยี่ ม , ไมม่ ี , มี , มี ง. ค่อนขา้ งเหลี่ยม , มี , ไม่มี , มี เเซซลลลล์ ์

34 9. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ นา้ ทข่ี องนิวเคลียส ก. เป็นท่ีสรา้ งสารพันธุกรรม ข. ควบคมุ การทางานของเซลล์ ค. ควบคมุ การผ่านเขา้ ออกของสาร ง. ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม 10. เลนส์ใกลต้ าของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ทาหนา้ ที่สาคัญคอื อะไร ก. รวมลาแสงใหเ้ ข้มข้ึน ข. ขยายวตั ถใุ ห้เกิดภาพจรงิ ค. ขยายภาพเสมอื นให้เกดิ ภาพจริง ง. ขยายภาพเสมือนให้เกิดภาพเสมือน ค่อยๆคดิ ทบทวน เด๋ียวกท็ าไดน้ ะ เซลล์

35 แบบบันทกึ ผลการประเมนิ ก่อนเรียนและหลังเรียน ชดุ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์โดยใช้ปญั หาเป็นฐาน เร่ือง เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ิตและการดารงชีวิตของพชื ชดุ ที่ 1 เซลล์ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 การประเมนิ เลขที่ ช่ือ - นามสกลุ กอ่ นเรยี น ผล หลังเรียน ผล หมายเหตุ การประเมิน การประเมิน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 เซลล์

36 เกณฑก์ ารประเมินแบบทดสอบก่อนเรยี น และหลังเรยี น 5 - 10 คะแนน หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ต่ากว่า 5 คะแนน หมายถึง ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดมี าก 7–8 คะแนน หมายถึง ดี 5-6 คะแนน หมายถึง พอใช้ ตา่ กวา่ 5 คะแนน หมายถึง ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน เซลล์

37 แบบประเมินกจิ กรรมกลุ่ม กลุ่มที่......................................................... เร่อื ง............................................................................... คาชแ้ี จง ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ใส่เครื่องหมาย ลงในชอ่ องวา่ งตามความเปน็ จริง ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 432 1 ความรว่ มมือกนั ภายในกลุ่ม 2 ความสนใจและความต้ังใจในการทางาน 3 การนาเสนอผลงาน 4 ทกั ษะการแกป้ ัญหา 5 ความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ รวมคะแนน 20 คะแนน เกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการประเมิน 4 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ดี 3 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ปรับปรุง 2 คะแนน หมายถงึ 1 คะแนน หมายถงึ ระดับคณุ ภาพ ได้ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดีมาก ได้ระดับคุณภาพ 3 หมายถงึ ดี คะแนนรวม 16 - 20 คะแนน ได้ระดบั คณุ ภาพ 2 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 11 - 15 คะแนน ได้ระดบั คุณภาพ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง คะแนนรวม 6 - 10 คะแนน คะแนนรวม 1 - 5 คะแนน เซลล์

38 เกณฑ์การประเมินกิจกรรมกล่มุ ประเดน็ การ ระดับคุณภาพ ประเมิน ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 4 คะแนน 0 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน ส่วนนอ้ ย ไมป่ ฏิบัติ 1 ความรว่ มมือกัน ทุกคนปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ส่วนใหญ่ปฏบิ ตั ิ บางส่วนปฏบิ ัติ หน้าทข่ี องตนตามท่ี ได้รบั มอบหมาย ภายในกล่มุ ของตนเองตามที่ หน้าทีข่ องตนตามท่ี หนา้ ทข่ี องตนตามที่ ไม่ช่วยเหลอื เพอ่ื น และไม่ยอมรบั ฟัง ไดร้ ับมอบหมาย ไดร้ ับมอบหมาย ไดร้ ับมอบหมาย ความคิดเหน็ ของ ผู้อ่ืน และช่วยเหลอื เพอื่ น และชว่ ยเหลอื เพอ่ื น และช่วยเหลอื เพอ่ื น ในกลุ่มเป็นอย่างดี ในกลุ่ม ยอมรับฟงั ในกลมุ่ ยอมรับฟงั มีความรับผิดชอบ ความคดิ เหน็ ของ ความคดิ เหน็ ของ ยอมรับฟงั ความ ผอู้ ่ืนเปน็ ส่วนใหญ่ ผู้อืน่ บ้างเล็กนอ้ ย คิดเหน็ ของผอู้ ืน่ ทุกครั้ง 2 กระบวนการ มกี ารวางแผน มกี ารวางแผน มกี ารวางแผน มกี ารวางแผน ทางานของกลุม่ การทางานอยา่ งเปน็ การทางานอยา่ ง การทางานอยา่ งเปน็ การทางานอยา่ ง ขั้นตอนทุกครง้ั เปน็ ขัน้ ตอนสว่ น ข้นั ตอนบ้าง ผนู้ า เปน็ ขนั้ ตอนนอ้ ย ผ้นู ากลุ่มสามารถ ใหญ่ ผนู้ ากลุม่ กลมุ่ สามารถ มาก ผนู้ ากลมุ่ ดาเนินงานตาม สามารถดาเนินงาน ดาเนินงานตาม สามารถดาเนินงาน บทบาทและหน้าที่ ตามบทบาท มภี าวะ บทบาท มีภาวะเป็น ตามบทบาท มภี าวะ มีภาวะเป็นผ้นู า เปน็ ผู้นา สมาชิกใน ผ้นู า สมาชกิ ในกล่มุ เปน็ ผ้นู า สมาชิกใน สมาชกิ ในกลุ่มปฏิบัติ กลมุ่ ปฏบิ ตั ิตาม ปฏิบตั ติ ามหนา้ ที่ กลุ่มปฏบิ ตั ิตาม ตามหน้าที่ มกี าร หนา้ ทแ่ี ละสว่ นใหญ่ และมีการ หน้าท่ี และมีการ ปรึกษาหารือ ในกล่มุ มกี ารปรึกษาหารือ ปรึกษาหารือในกล่มุ ปรึกษาหารือ เปน็ อยา่ งดี ในกลมุ่ บา้ งเล็กนอ้ ย ในกล่มุ นอ้ ย 3 การนาเสนอ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน ผลงาน หนา้ ชนั้ เรียนชัดเจน หนา้ ชน้ั เรียนชัดเจน หนา้ ชัน้ เรยี นไม่คอ่ ย หนา้ ช้นั เรยี นขาด เข้าใจง่าย นาเสนอ เขา้ ใจงา่ ย นาเสนอ ชัดเจน มที ่าทาง ชัดเจน มีทา่ ทาง ดว้ ยความม่ันใจ ได้ทุกคน มีความ เขนิ อาย บางสว่ น เขินอาย ส่วนนอ้ ย ทกุ คนมีความภูมใิ จ ภูมิใจในผลงาน มีความภมู ิใจใน มคี วามภมู ิใจใน ในผลงานของตน ของตน และสมาชกิ ผลงานของตน ผลงานของตน และสมาชิกในกลมุ่ ในกลมุ่ ยินดนี าเสนอ และสมาชิก ในกลุ่ม และสมาชกิ ในกลุ่ม ยนิ ดีนาเสนอและ และแลกเปลยี่ น ไม่ค่อยเตม็ ใจ ไมเ่ ต็มใจนาเสนอ แลกเปล่ียนเรียนรู้ เรียนรผู้ ลงานกับ นาเสนอ และ และแลกเปลยี่ น ผลงานกับกลมุ่ อื่น ๆ กลุม่ อืน่ ๆ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เรยี นรู้ผลงานกับ ผลงานกบั กลุม่ อ่นื ๆ กล่มุ อนื่ ๆ เซลล์

39 เกณฑ์การประเมนิ กิจกรรมกลมุ่ ประเด็นการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง 4 คะแนน 0 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน ทางานสาเร็จ 4 ทกั ษะในการ ทางานสาเรจ็ ลลุ ว่ ง ทางานสาเร็จลุลว่ ง ทางานสาเรจ็ ใช้ทกั ษะ กระบวนการ แก้ปัญหา ไปดว้ ยดี ใชท้ กั ษะ ไปด้วยดี ใชท้ ักษะ ใช้ทกั ษะ วทิ ยาศาสตร์ ในการทากิจกรรม กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ การทดลอง แกไ้ ข ปญั หาท่เี กดิ ข้ึน วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ไมไ่ ด้เลย ในการทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม มีการตกแต่งช้นิ งาน เลียนแบบผู้อ่ืน การทดลอง แกไ้ ข การทดลอง แก้ไข การทดลอง แกไ้ ข ทงั้ หมดรูปแบบไม่ น่าสนใจ ไม่ชัดเจน ปญั หา ท่ีเกดิ ข้ึนได้ ปัญหา ทเี่ กดิ ขน้ึ ได้ ปัญหาที่เกดิ ขึ้น ในเน้อื หา เขา้ ใจยาก และถกู ต้องน้อยมาก ทุกครง้ั บางครงั้ ได้บา้ งเล็กน้อย 5 ความคิด มีการตกแตง่ ชิ้นงาน มกี ารตกแตง่ ช้นิ งาน มกี ารตกแต่งชนิ้ งาน รเิ รมิ่ ที่มคี วามแปลกใหม่ ท่มี ีความแปลกใหม่ เลียนแบบผอู้ ่ืน สรา้ งสรรค์ ไมซ่ ้าใคร มรี ูปแบบ แต่ดัดแปลงมาจาก บางส่วน รปู แบบ น่าสนใจ ชัดเจนใน ผ้อู ่นื เนอ้ื หาส่วนใหญ่ น่าสนใจบ้าง ไม่คอ่ ย เน้อื หา เข้าใจงา่ ย ชดั เจนในเน้อื หา ชดั เจนในเน้ือหา และถูกตอ้ ง เข้าใจงา่ ย ถูกตอ้ ง เข้าใจยาก และถูกตอ้ งบ้าง เลก็ นอ้ ย เซลล์

ส ุรปผล 4 4 4 4 4 20 การประเมิน เซล ์ล รวม 40 ค้นคว้าขอ้ มลู จากแหล่งเรยี นรอู้ ่นื การแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ับเพอ่ื น แบบบัน ึทกการประเมินกิจกรรม ความสนใจและความตัง้ ใจ ประเ ็ดนการประเ ิมน ความถกู ตอ้ งและสมเหตุสมผลของ การตอบคาถาม ความสมบูรณค์ รบถว้ นของใบงาน ่ืชอ-ส ุกล เลขท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

41 แบบประเมนิ กิจกรรม แบบประเมินกจิ กรรมผู้เรียน ใชป้ ระเมินแบบฝึกกิจกรรมผ้เู รยี นทเ่ี กิดขนึ้ ในระหว่าง ดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยครูผสู้ อนเป็นผู้บันทึกเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กิดข้นึ ของผเู้ รยี น เม่ือส้นิ สุดการเรยี นในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เกณฑ์การประเมินดังน้ี เกณฑ์การให้คะแนนแบบรบู รคิ (Scoring rubrics) แบ่งเปน็ 4 ระดบั โดยเกณฑ์ การประเมนิ ดงั นี้ เกณฑ์ที่ใชใ้ นการประเมนิ 4 คะแนน หมายถงึ ดมี าก 3 คะแนน หมายถงึ ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรงุ ระดบั คุณภาพ ได้ระดบั คุณภาพ 4 หมายถึง ดมี าก ไดร้ ะดับคณุ ภาพ 3 หมายถงึ ดี คะแนนรวม 16 - 20 คะแนน ไดร้ ะดบั คณุ ภาพ 2 หมายถงึ พอใช้ คะแนนรวม 11 - 15 คะแนน ได้ระดบั คุณภาพ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง คะแนนรวม 6 - 10 คะแนน คะแนนรวม 1 - 5 คะแนน เซลล์

42 เกณฑก์ ารประเมินกิจกรรม ระดบั คณุ ภาพ รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน งานไมส่ มบรู ณ์ ไม่ชัดเจน 1. ความสมบูรณ์ งานสมบูรณ์ งานสมบรู ณ์ งานสมบูรณ์ และไมต่ รงประเด็น ของใบงาน ชดั เจน ทาใบงาน ชัดเจน ทาใบงาน แตไ่ มช่ ัดเจน ทางานได้ถูกต้อง บ้างแตไ่ ม่สามารถ ไดอ้ ยา่ งครบถว้ น ไดไ้ ม่ครบถ้วน และไมต่ รงประเด็น ยกตัวอยา่ งมา อธิบายคาตอบได้ ของจานวนท้ังหมด และสว่ นใหญ่ และตรงประเดน็ ตรงประเด็น 2. ความถูกต้อง ทางานไดถ้ ูกต้อง ทางานไดถ้ ูกต้อง ทางานได้ถกู ต้อง และสมเหตุ สมผล ยกตัวอยา่ งเพิ่มเตมิ ยกตัวอย่างเพ่ิมเติม บางส่วนไมส่ ามารถ ของการตอบ ได้เป็นอยา่ งดี ได้เลก็ น้อย ยกตวั อย่างเพม่ิ เติม คาถาม อธิบายคาตอบได้ ยังอธิบายได้ไม่ ได้ ไมอ่ ธบิ าย ชัดเจน มีเหตมุ ผี ล ชดั เจนในบางสว่ น คาตอบ 3. ความคิด คาตอบสร้างสรรค์ คาตอบสร้างสรรค์ คาตอบยังไม่ คาตอบยังไม่ สร้างสรรค์ มีแนวคิดเป็นของ มียกตัวอยา่ ง สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ ตนเอง ยกตวั อย่าง แต่ยงั ไม่ชัดเจน มียกตวั อยา่ ง มียกตัวอย่าง 4. การ ชัดเจน และชิน้ งาน และชิ้นงานแปลก แตย่ งั ไม่ชดั เจน แต่ยงั ไม่ชดั เจน แลกเปลย่ี น แปลกใหม่ ใหมไ่ ม่เหมอื นใคร และชิน้ งานแปลก และช้นิ งาน เรียนรู้กับเพื่อน ไมเ่ หมอื นใคร ใหมไ่ ม่เหมอื นใคร ไมแ่ ปลกใหม่ เตม็ ใจใหเ้ พอ่ื นติชม ไมเ่ กดิ 5. การค้นคว้า เตม็ ใจให้เพือ่ นติชม งานของตนเอง ให้เพื่อนติชมงาน การแลกเปลี่ยน ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จาก งานของตนเอง แตน่ าใบงาน ของตนเองเพยี ง เรียนรกู้ บั เพอ่ื น แหลง่ เรียนรูอ้ ่ืน ๆ นาใบงาน มาตรวจสอบ บางสว่ น ไม่ได้นา มาตรวจสอบ มาพฒั นางานของ มาพัฒนางาน ไมไ่ ด้ค้นคว้า มาพฒั นางานของ ตนเองเป็นบางคร้ัง ของตนเอง จากแหลง่ ข้อมลู ตนเองทกุ คร้งั ค้นคว้าจากแหล่ง อืน่ เลย ข้อมลู 2 แหลง่ ค้นคว้าจากแหลง่ คน้ ควา้ จาก มกี ารยกตัวอยา่ ง ขอ้ มลู มา 1 แหล่ง แหล่งข้อมลู และอ้างองิ แหลง่ มีการยกตัวอยา่ ง มากกวา่ 3 แหล่ง คน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ บ้าง แตไ่ ม่อ้างอิงแหล่ง มีการยกตวั อยา่ ง คน้ คว้าเพิ่มเตมิ และอ้างองิ แหล่ง คน้ ควา้ เพม่ิ เติม เซลล์

43 แบบบนั ทึกการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมการทางาน การปฏิบตั ิงานของผูเ้ รยี นวา่ มีการปฏบิ ตั หิ รอื ไม่ ถ้ามกี ารปฏิบัติในรายการใดให้ขดี ถ้าไม่มีใหเ้ วน้ ว่าง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม เลขที่ ชอ่ื -สกุล ระดบั คุณภาพรวม สรุปผล การประเมิน มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการเรียน วิทยาศาสตร์ มคี วามรอบคอบ มงุ่ มั่นการทางาน ใฝ่เรียนรู้ มวี ินัย 3 3 3 3 3 15 ผ่าน / ไมผ่ ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 เซลล์

44 แบบบันทึกการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม เลขที่ ช่ือ-สกลุ รวม ระดบั คุณภาพ สรปุ ผล การประเมิน มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการเรียน วิทยาศาสตร์ มคี วามรอบคอบ มงุ่ มั่นการทางาน ใฝ่เรียนรู้ มวี ินัย 3 3 3 3 3 15 ผ่าน / ไม่ผ่าน 21 22 23 24 ระดบั คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ดเี ยยี่ ม ดี 13 - 15 คะแนน ระดบั คุณภาพ 3 หมายถงึ ผา่ น 10 - 12 คะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถงึ ไมผ่ ่าน 7-9 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ 1 หมายถงึ ต่ากว่า 7 คะแนน ระดับคณุ ภาพ 0 หมายถงึ เซลล์

45 เกณฑก์ ารประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ รายการประเมิน 3 (ดี) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 1 (ตอ้ งปรับปรงุ ) 1. มวี ินัย 2 (พอใช้) - สมุดงาน ชิ้นงาน - สมดุ งาน ช้นิ งาน 2. ใฝ่เรียนรู้ สะอาดเรยี บร้อย - สมดุ งาน ช้นิ งาน ไม่ค่อยเรียบร้อย สว่ นใหญส่ ะอาดเรยี บร้อย - ปฏบิ ตั ิตนอยู่ในขอ้ ตกลง 3. มุง่ ม่ันในการ - ปฏบิ ัติตนตามขอ้ ตกลง ทางาน ทก่ี าหนดให้รว่ มกนั - ปฏบิ ตั ติ นอยใู่ นข้อตกลง ทกี่ าหนดร่วมกัน 4. มีความรอบคอบ ทกุ คร้งั ท่กี าหนดใหเ้ ป็นบางครงั้ เป็นบางคร้ัง ตอ้ งอาศยั การแนะนา 5. เจตคติท่ีดี - ตั้งใจเรียน - ต้ังใจเรยี น - ตง้ั ใจเรยี นแต่ขาด ต่อการเรยี น มีความกระตือรือร้น มคี วามกระตือรอื ร้น ความกระตือรือรน้ วิทยาศาสตร์ ในการเรียน เปน็ บางครัง้ - ไมค่ ่อยรับผดิ ชอบ งานที่ไดร้ ับมอบหมาย - ทางานทไ่ี ด้รับมอบหมาย - ทางานท่ีไดร้ ับมอบหมาย - ไม่สนใจซักถามปัญหา เป็นอย่างดี เป็นสว่ นใหญ่ ข้อสงสัย - สนใจซกั ถามปญั หาข้อ - ไม่สนใจซกั ถามปัญหา - ไมส่ ่งงาน สงสยั ข้อสงสยั - ไม่มกี ารตดิ ต่อช้ีแจง - ส่งงานตามเวลาทก่ี าหนด - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด - ไม่มีการวางแผน - รับผดิ ชอบในงานทไี่ ดร้ ับ - ปฏบิ ัติงานโดยต้องอาศยั การดาเนนิ งาน มอบหมาย การช้แี นะ คาแนะนา - การทางานไม่มขี ั้นตอน - ปฏบิ ัติจนเปน็ นสิ ยั และการตักเตอื น มคี วามผิดพลาดตอ้ งแก้ไข - มีการวางแผนการ - มกี ารวางแผนการ ดาเนินงาน การทางาน - ไม่จัดเรียงลาดบั ดาเนินงานเปน็ ระบบ ไม่ครบทกุ ข้ันตอน ความสาคัญ - การทางานมคี รบทกุ และผดิ พลาดบา้ ง - จดั เรยี งลาดับ - ไม่มีความสนใจ ขัน้ ตอน ตัดข้ันตอน ความสาคญั ก่อน-หลงั ได้ ในการเรียน ที่ไมส่ าคญั ออก เปน็ สดั สว่ น - จดั เรียงลาดับ - สังเกตไดว้ ่าไม่มคี วามสุข ความสาคัญ ก่อน-หลงั - มคี วามสนใจในบางเรอ่ื ง ในบางเรอื่ งขณะเรียน ถูกตอ้ งครบถ้วน - สังเกตได้วา่ มีความสุข - มคี วามสนใจขณะเรยี น - ไมค่ อ่ ยทากจิ กรรม ตามที่ - สงั เกตได้วา่ มีความสุข ในบางเร่อื งขณะเรยี น ไดร้ ับมอบหมายบางเรอ่ื ง ขณะเรยี น - ทากจิ กรรมตามท่ไี ดร้ ับ - ทากิจกรรมตามท่ไี ดร้ ับ มอบหมายทุกข้ันตอน มอบหมายบางเรือ่ ง เซลล์

46 แบบประเมนิ สมรรถนะผู้เรียนรายบุคคล ชอื่ ............................................................นามสกลุ ................................................เลขที่............. คาชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในระหวา่ งเรยี น แล้วทาเครอ่ื งหมาย ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดับคะแนน สมรรถนะท่ีประเมนิ ระดบั คะแนน 32 10 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคดิ ความรู้สกึ และทัศนะ ของตนเองด้วยการพูดและการเขียน 1.2 พูดเจรจาตอ่ รอง 1.3 เลือกรบั หรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร 1.4 เลอื กใชว้ ิธีการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 2.1 คดิ พื้นฐาน (การคดิ วเิ คราะห์) 2.2 คดิ ขนั้ สูง (การคดิ สงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ) 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3.1 ใชก้ ระบวนการแกป้ ัญหาโดยวเิ คราะห์ปัญหา วางแผน ในการแกป้ ัญหาดาเนนิ การแกป้ ัญหา ตรวจสอบและสรุปผล 3.2 ผลลัพธ์ทีเ่ กดิ จากการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 4.1 นากระบวนการเรยี นรูท้ ีห่ ลากหลายไปใช้ในชวี ิตประจาวนั 4.2 เรียนรู้ดว้ ยตนเองและเรียนร้อู ย่างต่อเน่ือง 4.3 ทางานและอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างมคี วามสุข 4.4 จดั การกับปัญหาและความขัดแย้งในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.5 ปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม 4.6 หลกี เลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง และผอู้ ืน่ รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ - พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 35 - 42 3 หมายถึง ดีเยี่ยม - พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 2 คะแนน 28 - 34 2 หมายถงึ ดี 21 - 27 1 หมายถึง ผ่าน - พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน ตา่ กวา่ 21 0 หมายถึง ไมผ่ ่าน - ไม่เคยปฏบิ ัตเิ ลย ให้ 0 คะแนน เซลล์

47 แบบบนั ทกึ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน สมรรถนะผู้เรยี น เลข ชือ่ -สกุล ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ รวม ระดบั สรปุ ผล ท่ี ความสามารถในการแกป้ ญั หา คณุ ภาพ การประเมนิ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร 3 3 3 3 12 ผา่ น / ไม่ผ่าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 เซลล์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook