Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore epidemiology

epidemiology

Published by WARISA CHANTARUNGSEEVORAKUL, 2018-08-22 10:48:18

Description: ระบาด บทที่-61-วริศา

Keywords: epidemiology

Search

Read the Text Version

การสรา้ งเสริมสขุ ภาพและป้องกนั ปัญหา สขุ ภาพโดยวิธีการทางระบาดวิทยา 14 12 10 8 6 4 2 0 อาจารยพ์ ีระ เรืองฤทธ์ิ อาจารยว์ ริศา จนั ทรงั สีวรกลุวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สวรรคป์ ระชารกั ษ์ นครสวรรค์

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้1. อธบิ ายแนวคดิ และหลกั ระบาดวทิ ยาได้2. คานวณสถติ ทิ ใ่ี ชท้ างระบาดวทิ ยาได้3. บอกธรรมชาตกิ ารเกดิ โรคและการควบคมุ โรค/ปัญหาสุขภาพได้4. อธบิ ายการเฝ้าระวงั ทางระบาดวทิ ยาได้5. อธบิ ายการสอบสวนโรคและปัญหาสุขภาพได้6. บอกวธิ กี ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและป้องกนั ปัญหาสุขภาพครอบครวั กลมุ่ คนและชุมชน โดยใชว้ ธิ กี ารทางระบาดวทิ ยาได้

ความหมายของวิทยาการระบาด เป็นวชิ าทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั การเกดิ การกระจาย และ ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลหรอื เป็นตวั กาหนดการเกดิ โรค การบาดเจบ็ และภาวะต่างๆทม่ี ผี ลเกย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาพของมนุษย์

ประโยชน์ของวิทยาการระบาด1. ศกึ ษาธรรมชาติของการเกิดโรค2. ทราบสาเหตขุ องโรค หรือปัจจยั เสี่ยง3. จดั ประเภทของโรค4. วินิจฉัยและเลือกการรกั ษาพยาบาลท่ีมปี ระสิทธิภาพ5. พฒั นาระบบเฝ้าระวงั โรคหรือสถานภาพทางอนามยั ชุมชน6. วินิจฉัยชุมชน7. วางแผนควบคมุ / ป้องกนั โรค รวมทงั้ ประเมินผลโครงการ8. งานวิจยั ทางวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ

รปู แบบการศึกษาทางระบาด1. ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา(Descriptive Epidemiology) 2. ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์(Analysis Epidemiology) 3. ระบาดวิทยาเชิงทดลอง(Experimental Epidemiology)

ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา เป็ นการศึกษาลกั ษณะการเกิดโรคเพื่อให้ทราบว่าเกิดโรค อะไร กบั ใคร ท่ีไหน และเมื่อไร (Person, Place, Time) เป็ นข้อมลู เบอื้ งต้นในการหาสาเหตขุ องโรคและการ ตงั้ สมมติฐาน เพื่อศึกษาเชิงวิเคราะหแ์ ละทางทดลอง ต่อไป เป็ นรปู แบบการศึกษาท่ีไม่มีกล่มุ เปรียบเทียบ

คน (Person) 1.คุณลกั ษณะทางธรรมชาติ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ เชอ้ื ชาติ 2.คณุ ลกั ษณะทไ่ี ดร้ บั มา ไดแ้ ก่ สถานภาพสมรส เศรษฐกจิสถานท่ี (Place) เชอ้ื โรคสามารถเปลย่ี นจากอกี ทห่ี น่งึ ไปสอู่ กี ทห่ี น่งึ ได้ เน่อื งจากปัจจยั ทางสง่ิ แวดลอ้ มผลการเกดิ โรคแปรผนั ไปตามความแตกต่างของชมุ ชนเวลา (Time) สะทอ้ นใหเ้ หน็ การเปลย่ี นแปลงขณะดาเนนิ โรค มปี ระโยชน์ในการหาสาเหตุ และปัจจยั ทเ่ี กย่ี วกบั การเกดิ โรค ชว่ ยทานายแนวโน้มของโรค 1. เวลาเกดิ ครงั้ แรกและครงั้ สดุ ทา้ ย 2. ระยะเวลาฟักตวั ของโรค 3. ความถส่ี งู สดุ ของการเกดิ โรค 4. ช่วงระยะเวลาของการเกดิ โรค 5. ชว่ งการเปลย่ี นแปลงการเกดิ โรค

องค์ประกอบการเกิดโรค Agent ส่ิงที่ทาให้เกิดโรค Human Host มนุษย์ Environment ส่ิงแวดล้อมAgent ทางชวี ภาพ ไดแ้ ก่ เชอ้ื โรค พยาธิ แมลง ทางเคมี ไดแ้ ก่ สารเคมตี ่าง ยารกั ษาโรค มลพษิ ทางกายภาพ ไดแ้ ก่ แสง เสยี ง รอ้ นเยน็ รงั สี แรงกลไก ทางสรรี วทิ ยา เชน่ ปัจจยั ดา้ นอาหาร พนั ธุกรรม สารเคมใี นรา่ งกาย

Human Host Factor กรรมพนั ธุ์ คนบางลกั ษณะจะไวต่อการเกดิ โรคมากกว่าปกติ และ ลกั ษณะเหลา่ น้อี าจถ่ายทอดทางกรรมพนั ธุ์ เช่น โรคเบาหวาน สรรี วทิ ยา เชน่ เดก็ เลก็ หรอื ผสู้ งู อายุ จะไวต่อการรบั โรคติดเชอ้ื ความ เหน่อื ยลา้ ทาใหภ้ มู ริ า่ งกายต่า องคป์ ระกอบดา้ นจติ ใจ องคป์ ระกอบดา้ นพฤตกิ รรม เช่น การดม่ื เหลา้ สบู บหุ ร่ี พฤตกิ รรม จากความเชอ่ื การมภี มู คิ ุม้ กนั เฉพาะโรคมาก่อน

Environment Factor1. ทางกายภาพ เช่น สภาพภมู ศิ าสตร์2. ทางชวี ภาพ เชน่ มนุษย,์ พชื ทเ่ี ป็นอาหาร, สตั วท์ เ่ี ป็นพาหะนาโรค3. ทางเศรษฐกจิ และสงั คม ไดแ้ ก่ 3.1 การกระจายประชากร 3.2 รายไดป้ ระชากร 3.3 อาชพี 3.4 การศกึ ษา 3.5 การคมนาคม 3.6 สถานบรกิ ารทางการแพทย์

ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง Agent Host และ Environment AH E ปัจจยั ท้งั 3 ตัว อยู่กนั อย่างสมดุล

ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง Agent Host และ Environment AH Eagent เปลยี่ นแปลง เพิ่มจำนวน / มีชนิดใหม่ / ชนิดเก่ำเกิด Mutation

ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง Agent Host และ Environment AH EHost เปลย่ี นแปลงไป (เส่ียงต่อกำรเป็นโรคมำกข้ึน) เช่น เดก็ คนชรำ

ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง Agent Host และ Environment AH EEnvironment เปลยี่ นแปลงไป สนบั สนุนให้ agent มีกำรเพิม่ มำกข้ึน

ปฏกิ ริ ิยาระหว่าง Agent Host และ Environment AH E Environment เปลยี่ นแปลงไป สนบั สนุนให้ Susceptible Host เพ่มิ มำกข้ึน

การประยุกต์ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคA H1. วนิ ิจฉยั รักษำแตแ่ รกเริ่ม E 1. กำรส่งเสริมสุขภำพ2. คน้ หำและรักษำพำหะนำโรค โภชนำกำร สุขศึกษำ ควบคุม 2. สร้ำงเสริมภมู ิคุม้ กนั3. กำรควบคุมแหล่งแพร่เช้ือ สิ่งแวดลอ้ ม พำหะนำโรค

ปัญหาสุขภาพ Agent Host Environment1.โรคอุจจาระร่วงแนวทางสรา้ งเสริมและป้องกัน2.โรคจิตเภทแนวทางสร้างเสริมและปอ้ งกนั3.อุบตั ิเหตุแนวทางสรา้ งเสรมิ และปอ้ งกนั4.โรคเบาหวานแนวทางสรา้ งเสรมิ และปอ้ งกัน

เคร่ืองมอื ทางระบาดวิทยา

อตั ราการป่ วย (Morbidity Rates) อตั ราอบุ ตั ิการณ์ (Incidence Rate)สตู ร incidence rate = (x / y) X k x = จานวนผปู้ ่วยใหม่ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน ในช่วงเวลาหน่งึ y = จานวนประชากรทงั้ หมดทเ่ี สย่ี งต่อโรคในชว่ งเวลาเดยี วกนั k = ค่าคงท่ี 100 ; 1,000 ; 10,000 ; 100,000 มกั เลอื กใชค้ า่ k ทใ่ี หผ้ ลลพั ธเ์ ป็นเลขจานวนเตม็ อยา่ งน้อย 1 หลกั ชว่ งเวลา = ชว่ งเวลาใดกไ็ ด้ แต่ทใ่ี ชก้ นั เป็นปกตคิ อื ช่วงเวลา 1 ปี (ปฏทิ นิ )

อตั ราการป่ วย (Morbidity Rates) อตั ราความชุก (Prevalence Rate)สตู ร Prevalence rate = (x / y) X k x = จานวนผปู้ ่วยทกุ ราย(เกา่ และใหม่) ทจ่ี ุดเวลาหน่งึ หรอื ช่วงเวลาหน่งึ y = จานวนประชากรทงั้ หมดจดุ เวลานนั้ หรอื ช่วงเวลานนั้ k = คา่ คงท่ี 100 ; 1,000 ; 10,000 ; 100,000

อตั ราการป่ วย (Morbidity Rates) อตั ราป่ วย Attack Rate มกั ใช้กบั โรคติดเชื้อเฉียบพลนั หรือเม่ือมีการระบาดสตู ร Attack rate = (x / y) X k x = จานวนผปู้ ่วยโรคตดิ เชอ้ื เฉยี บพลนั หรอื ระบาดในชว่ งเวลาหน่งึ y = จานวนประชากรทงั้ หมดทเ่ี สย่ี งต่อโรคในชว่ งเวลาเดยี วกนั k = ค่าคงท่ี 100

อตั ราการป่ วย (Morbidity Rates) อตั ราป่ วยเฉพาะ (Specific Attack Rate)สตู ร Specific Attack rate = (x / y) X k x = จานวนผปู้ ่วยเฉพาะอยา่ ง ในช่วงเวลาหน่ึง y = จานวนประชากรกลุ่มเดยี วกนั ทงั้ หมด ในช่วงเวลาเดยี วกนั k = ค่าคงท่ี 100 ; 10,000ได้แก่ อตั ราป่ วยเฉพาะอายุ ,อตั ราป่ วยเฉพาะเพศ, อตั ราป่ วยเฉพาะเหต/ุ โรค

อตั ราการตาย (Mortality Rates) อตั ราตายอย่างหยาบ (Crude Death Rate)สตู ร CDR = (x / y) X k x = จานวนคนตายทงั้ หมดในปีทก่ี าหนด y = ประชากรกลางปีนนั้ k = คา่ คงท่ี 1,000บอกถงึ สภาวะอนามยั ระดบั การครองชีพของชุมชน สูงในกลมุ่ เศรษฐกิจสงั คมตา่

การคานวณประชากรกลางปี1. ประชากร ณ วนั ที่ 1 ก.ค. ของปี ท่ีกาหนด2. ประชากร 1 ม.ค. + ½ (จานวนคนเกิดในปี นัน้ – จานวนคนตายในปี นัน้ + จานวนคนท่ยี ้ายเข้าในปี นัน้ – จานวนคนท่ยี ้ายออกในปี นัน้ )3. ½ (จานวนประชากรเม่อื 31 ธันวาคมปี ก่อนนัน้ + จานวนประชากรเม่อื 31 ธันวาคมของปี ท่กี าหนด)

อตั ราการตาย (Mortality Rates) อตั ราตายเฉพาะ (Specific Death Rate)สตู ร SDR = (x / y) X k x = จานวนคนตายดว้ ยลกั ษณะเฉพาะอยา่ งในชว่ งเวลาหน่ึง y = จานวนประชากรกลมุ่ เดยี วกนั ทงั้ หมด ในช่วงเวลาเดยี วกนั k = คา่ คงท่ี 1,000 ; 10,000 ; 100,000บง่ ชี้ความรนุ แรงของโรค และคณุ ภาพบริการทางการแพทย์

อตั ราการตาย (Mortality Rates) อตั ราผปู้ ่ วยตาย (Case Fatality Rate)สตู ร CFR = (x / y) X k x = จานวนผปู้ ่วยทต่ี ายดว้ ยโรคเฉพาะ y = จานวนผปู้ ่วยดว้ ยโรคนนั้ k = คา่ คงท่ี 100บง่ ชี้ถึงความรนุ แรงของโรค และคณุ ภาพบริการทางการแพทย์

อตั ราส่วน (Ratio)สตู ร อตั ราส่วน = (x / y) X k = X : Yx = จานวนเหตุการณ์,ประชากรซง่ึ มลี กั ษณะเฉพาะy = จานวนเหตุการณ์,ประชากรซง่ึ มลี กั ษณะเฉพาะทแ่ี ตกต่างจาก Xk = คา่ คงท่ี 1เพศ จานวนผู้ป่ วย ประชากรชาย 19 87หญิง 7 9อตั ราสว่ นผปู้ ่วยชาย : หญงิ = 19 : 7 = 2.7 : 1

สดั ส่วน (Proportion)สตู ร สดั ส่วน = (x / y) X 100x = จานวนเหตุการณ์,ประชากรซง่ึ เป็นกลมุ่ ยอ่ ย (X เป็นสว่ นหน่งึ ของY)y = จานวนเหตุการณ์,ประชากรทงั้ หมดk = คา่ คงท่ี 100เพศ จานวนผ้ปู ่ วย ประชากรชาย 19 87หญิง 7 9 สดั สว่ นของผปู้ ่วยชาย = 19 X 100 = ร้อยละ 73.1 26

สดั ส่วนการเส่ียง (Risk Ratio)สตู ร(R.R.) = อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์ในนกั เรียนของหอพกั ี่ี 1 อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์ในนกั เรียนของหอพกั ีีเ่ หลอื = 22.5/2.4 = 9.4

ธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค1. ระยะก่อนเกิดโรค (Pre pathogenesis period) เป็นระยะ ที่มีปฏิสมั พนั ธ์ ระหว่างHost Agent และ Environment เป็นระยะท่ีคนมีแนวโน้มที่จะเกิดโรค เรียกว่า เป็นระยะ แห่งการมีภมู ิไวรบั (Susceptibility stage)-โรคไรเ้ ชอ้ื = ภาวะทค่ี นมปี ัจจยั เสย่ี งมากขน้ึ แตย่ งั ไมเ่ กดิ พยาธิสภาพ เชน่ คนทด่ี ม่ื เหลา้ สบู บุหร่ี จะมกี ารสะสมของสารพษิ ตา่ ง ๆ-โรคตดิ เชอ้ื = คนทอ่ี ยใู่ นภาวะออ่ นเพลยี อดนอน ไมอ่ อกกาลงั กายเครยี ด

ธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค2. ระยะเกิดโรค (Pathogenesis period) เป็นระยะทม่ี กี ารเสยี สมดุลระหวา่ ง Agent Host และ Environment แลว้ ก่อใหเ้ กดิ พยาธสิ ภาพต่าง ๆ และจะปรากฏอาการเมอ่ื ผา่ นพน้ ระยะฟัก ตวั ไปแลว้ ซง่ึ แบง่ ได้ 3 ระยะดงั น้ี2.1 ระยะก่อนมอี าการ (Presymptomatic stage) หลงั จากเชอ้ื เขา้ สู่ รา่ งกายและมกี ารเปลย่ี นแปลงของเน้อื เยอ่ื และชวี เคมี เรยี กว่ามพี ยาธิ สภาพโรคเกดิ ขน้ึ แลว้ แต่ยงั ไมม่ อี าการ มขี บวนการต่อตา้ นเช้อื โรค หากรา่ งกายต่อสไู้ ด้ กจ็ ะกลบั ไปสภู่ าวะไวรบั เช่นเดมิ แต่หากต่อสไู้ มไ่ ด้ กจ็ ะก่อใหเ้ กดิ อาการระยะทส่ี องต่อไป

ธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค2.2 ระยะปรากฏอาการ (Stage of symptomatic disease) มอี าการและ อาการแสดงใหเ้ หน็ เช่น เมอ่ื ไขมนั ไปเกาะทผ่ี นงั หลอดเลอื ดหวั ใจจน เกอื บตบี ตนั ทาใหก้ ลา้ มเน้อื หวั ใจตายเป็นหยอ่ ม ๆ และมอี าการเจบ็ รา้ วหน้าอก แบง่ ระยะปรากฏอาการเป็น 5 ระยะ หรอื 5D’s คือ Discomfort : การรสู้ กึ ไมส่ บาย ครนั่ เน้อื ครนั่ ตวั Disease : มภี าวะความเจบ็ ป่วยแสดงออกมาใหเ้ หน็ Disability : มกี ารสญู เสยี หรอื ลดสมรรถภาพของรา่ งกาย จติ ใจ และ สงั คมลง Defect : มคี วามพกิ าร หรอื สญู เสยี หน้าทก่ี ารทางานของอวยั วะต่าง ๆ Death : เสยี ชวี ติ

ธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค2.3 ระยะสญู เสียสมรรถภาพ (Stage of disability) บางโรคเมอ่ื เป็น แลว้ หายไดเ้ อง แต่บางโรคตอ้ งรกั ษาจงึ หาย แต่โรคสว่ นมากแมจ้ ะ รกั ษาหายแลว้ กย็ งั มคี วามพกิ ารใหเ้ หน็ ซง่ึ อาจเป็นระยะสนั้ ๆ ระยะ ยาว หรอื ตลอดชวี ติ ความพกิ ารทเ่ี กดิ ขน้ึ น้ี อาจเป็นการสูญเสยี หน้าท่ี หรอื โครงสรา้ งของอวยั วะ เช่น เชอ้ื หดั มผี ลใหผ้ ปู้ ่วยบางรายเกดิ ความพกิ ารทางสมองและระบบ ประสาทได้

การป้องกนั โรค คือ การขดั ขวางการดาเนินโรค แบ่งได้ 3 ระดบั ดงั น้ี ระดบั ที่ 1 การป้องกนั โรคล่วงหน้า ระดบั ที่ 2 การป้องกนั ในระยะเกิดโรคแล้วระดบั ท่ี 3 การป้องกนั ความพิการและการฟื้ นฟู สมรรถภาพ

การป้องกนั โรคระดบั ที่ 1 การป้องกนั โรคลว่ งหน้า หรอื การป้องกนั ก่อนเกิดโรคมปี ระสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ จดุ ประสงคห์ ลกั คอื การปรบั สภาพความเป็นอยู่/ภาวะแวดลอ้ ม เพ่อื ใหโ้ รคต่าง ๆ ไม่สามารถเกดิ หรอื คงอยไู่ ด้เพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพประชาชนใหม้ คี วามตา้ นทานต่อโรคมงุ่ ไปทร่ี ะยะมคี วามไวต่อการเกดิ โรค โดยยดึ หลกั ดงั น้ี เปลย่ี นความไวต่อการเกดิ โรค เชน่ ฉีดวคั ซนี ปรบั ปรุงภาวะโภชนาการ ลดโอกาสผทู้ ม่ี คี วามไวในการเกดิ โรคจะไปสมั ผสั โรค กาจดั หรอื ลดสาเหตุทจ่ี ะทาใหเ้ กดิ โรคประกอบดว้ ยงานสาคญั ดงั น้ี สง่ เสรมิ สขุ ภาพ เชน่ สขุ ศกึ ษา โภชนาการ อนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม วางแผนครอบครวั การคมุ้ กนั เฉพาะ ฉีดวคั ซนี การกาจดั สาเหตุโดยตรง และการควบคุมพาหะนาโรค

การป้องกันโรคระดบั ที่ 2 การป้องกนั ในระยะเกิดโรคแลว้ความมงุ่ หมายคอื ระงบั กระบวนการดาเนนิ ของโรค ป้องกนั การแพรเ่ ชอ้ื และระบาดของโรค ลดการเจบ็ ป่วยทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชมุ ชนใหน้ ้อยลงและหายไปใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ มาตรการต่าง ๆ ตอ้ งดาเนินการไดเ้ รว็ ทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะทาได้ มดี งั น้ี การคน้ หาผปู้ ่วยใหไ้ ดใ้ นระยะเรมิ่ แรก การวนิ ิจฉยั โรค และใหก้ ารรกั ษาไดท้ นั ที การป้องกนั การแพร่เชอ้ื การเพมิ่ ความตา้ นทานหรอื การป้องกนั โรคใหแ้ ก่บคุ คลหรอื ชมุ ชน การใชก้ ฎหมายสาธารณสขุ

การป้องกนั โรคระดบั ที่ 3 การป้องกนั ความพิการ/การไรส้ มรรถภาพและการบาบดั ความพิการ และฟื้ นฟสู มรรถภาพไดแ้ ก่ การรกั ษาผปู้ ่วยใหห้ ายโดยเรว็ เพ่อื ลดผลเสยี และภาวะแทรกซอ้ นท่จี ะตามมานบั วา่ ไดผ้ ลน้อยกว่าการป้องกนั ระดบั อน่ื ประกอบดว้ ย การกาจดั ความพกิ าร (disability limitation) เชน่ การนาสง่ ต่อผปู้ ่วย การใหค้ วามรู้ การใชย้ าหรอื เครอ่ื งมอื แพทยช์ ว่ ยลดความพกิ าร การฟ้ืนฟูสขุ ภาพ (Rehabilitation) เพอ่ื ใหใ้ ชส้ ว่ นพกิ ารนนั้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์มาก ทส่ี ดุ ไมเ่ ป็นภาระแกส่ งั คม เช่น กายภาพบาบดั อรรถบาบดั การฟ้ืนฟูสภาพจติ

การเฝ้าระวงั ทาง ระบาดวิทยา

การเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยาคอื กระบวนการตดิ ตาม สงั เกต พนิ ิจพจิ ารณาอยา่ งสม่าเสมอและต่อเน่อื ง ถงึ ลกั ษณะการเกดิ /การกระจายของโรค ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเกดิ /การกระจายของโรคประกอบดว้ ย การบนั ทกึ รวบรวม เรยี บเรยี ง นาเสนอวเิ คราะห์ แปลผลและการกระจายขอ้ มลู ขา่ วสารต่าง ๆทงั้ ในสภาวะปกตแิ ละสภาวะผดิ ปกติ แลว้ นาไปสกู่ ารดาเนินงานป้องกนั และควบคมุ ตอ่ ไป

จดุ ประสงคข์ องการเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา 1. เพ่ือทราบถึงการเกิดโรคและภยั ได้ทนั ท่วงที 2. เพื่อทราบแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของโรคและภยั 3. เพ่ือทราบถึงลกั ษณะการกระจายของโรคและภยั ทงั้ เวลา สถานท่ี และกล่มุ ประชากร 4. เพ่ือทราบถึงวิธีการป้องกนั และควบคมุ โรคและภยั

ขัน้ ตอนการเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยา1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เช่น รายงานผปู้ ่วย รายงานทาง หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รายงานการตาย รายงานการสอบสวนโรค การสอบสวน ผปู้ ่วยเฉพาะราย เป็นตน้2. การเรียบเรียงข้อมลู รวมถงึ การนาเสนอขอ้ มลู ดว้ ย ไดแ้ ก่2.1 การกาหนดเกณฑแ์ ละการจดั หมวดหมู่ ตามลกั ษณะบคุ คลและสถานท่ี2.2 การคานวณ อตั รา อตั ราส่วน สดั สว่ น ค่าเฉลย่ี ค่ามธั ยฐาน เป็นตน้2.3 การจดั ทาตาราง กราฟ แผนภมู ิ

ขนั้ ตอนการเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา3. การวิเคราะหแ์ ละการแปลผล คอื การนาขอ้ มลู มาแยกแยะ พจิ ารณาเป็นตวั แปร แลว้ เรยี บเรยี งหรอื ทดสอบหาความสมั พนั ธ์ - การวเิ คราะหก์ ารเกดิ โรค โดยดจู ากการเทยี บกบั คา่ มาตรฐาน - การเรยี งลาดบั ความสาคญั - การวเิ คราะหก์ ารกระจายของโรค ตามเวลา สถานท่ี และบคุ คล - การวเิ คราะหส์ าเหตุการเกดิ โรค - การประมวลผลหรอื แปลความหมาย4. การกระจายข้อมลู นาไปใช้ประโยชน์ คอื การจดั ทาและเผยแพร่รายงานใหก้ บั บุคคล/หน่วยงานควบคุมป้องกนั โรค รายงานควรมกี ารสรุป/แปลผลขอ้ มลู มกี าร คาดประมาณแนวโน้มของการเกดิ โรค และขอ้ เสนอแนะ

วิธีการดาเนินงานเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา1. การเฝ้าระวงั เชิงรกุ (Active Surveillance) โดยเขา้ ไปตดิ ตามปัญหา อยา่ งใกลช้ ดิ จะทาใหท้ ราบลกั ษณะปัญหาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และควบคุม คุณภาพขอ้ มลู ไดด้ ว้ ยตนเอง ไดผ้ ลดใี นการเฝ้าระวงั ระยะสนั้ ๆ และ พน้ื ทไ่ี มก่ วา้ งนกั2. การเฝ้าระวงั เชิงรบั (Passive Surveillance) เจา้ หน้าทต่ี ามสถาน บรกิ ารเป็นผบู้ นั ทกึ และรวบรวมขอ้ มลู แลว้ ส่งใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบเป็นลาดบั ไดผ้ ลดกี บั การตดิ ตามปัญหาสาธารณสขุ ทวั่ ไปและพน้ื ทก่ี ว้าง ไมม่ ขี อ้ จากดั ในดา้ นเวลา เหมาะในการตดิ ตามปัญหาตามชว่ งฤดกู าลหรอื รอบปี

เครอื่ งมือในการดาเนินงานเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา1. แบบรวบรวมขอ้ มลู ทางระบาดวทิ ยาของผปู้ ่วยแต่ละราย ไดแ้ ก่ 1.1 บตั รรายงานผปู้ ่วย (แบบ รง.506) ใชบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ของผปู้ ่ วยแต่ละ ราย ทป่ี ่วยดว้ ยโรคทอ่ี ยใู่ นขา่ ยงานเฝ้าระวงั 70 รายการ ซง่ึ มขี อ้ มลู ผปู้ ่วยในดา้ นลกั ษณะบุคคล สถานทเ่ี รมิ่ ป่วยและวนั ทเ่ี รมิ่ ป่วยและอ่นื ๆ หลกั การสาคญั คอื แมแ้ ต่สงสยั กใ็ หร้ ายงาน ไมจ่ าเป็นตอ้ งรอผลชนั สตู ร 1.2 บตั รเปลย่ี นแปลงการรายงานผปู้ ่วย (แบบ รง.507) ใชห้ ลงั จากส่ง รง.506 ไปแลว้ อาจมกี ารเปลย่ี นแปลงภายหลงั เกย่ี วกบั ผปู้ ่วย ช่วยให้ ขอ้ มลู เฝ้าระวงั โรคน่าเชอ่ื ถอื และมคี วามถูกตอ้ งสงู

เคร่ืองมือในการดาเนินงานเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา2. แบบเรยี บเรยี งขอ้ มลู แบ่งเป็น 2.1 แบบ E.1 แยกเป็นรายโรค 2.2 แบบ E.2 แยกจานวนผปู้ ่วยตามสถานทเ่ี รม่ิ ป่วยในชว่ งเวลาแต่ละ เดอื นในรอบปี 2.3 แบบ E.3 แยกจานวนผปู้ ่วยตามกลุ่มอายแุ ละเพศ 2.4 แบบบนั ทกึ ผปู้ ่วยประจาวนั แยกจานวนผปู้ ่วยออกตามสถานทเ่ี รม่ิ ป่วยแต่ละวนั ในรอบ 1 เดอื น 2.5 แบบ E.4 แยกจานวนผปู้ ่วยออกตามโรคทเ่ี ป็นปัญหาอยู่ ในขา่ ยงานเฝ้าระวงั ตามพน้ื ทต่ี ่าง ๆ

บทบาทของพยาบาลกบั การเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา1. การรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งมรี ะบบ คอื รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั การป่ วย การ ตาย การชนั สตู รทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การระบาด การสบื สวนแหลง่ โรค การรกั ษาพยาบาล ประชากรและสง่ิ แวดลอ้ ม เป็นตน้ โดยรวบรวมจาก การบนั ทกึ ไวใ้ น รง.506 ,รง.507 รายงานของโรคตดิ ต่ออนั ตรายและ โรคตดิ ต่อตอ้ งแจง้ ความ (รง.504, รง.505) และทารายงานการเฝ้าระวงั โรคประจาสปั ดาห/์ เดอื น แลว้ ส่งต่อ2. ตดิ ตามสถานการณ์ของโรค โดยทาการวเิ คราะหเ์ บอ้ื งตน้ เช่น จาแนก จานวนผปู้ ่วย – ตาย ตามกลุ่มอายุ เพศ เป็นตน้ เพอ่ื เป็นประโยชน์ต่อ การประเมนิ สถานการณ์ของโรคทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชุมชนทร่ี บั ผดิ ชอบ

บทบาทของพยาบาลกบั การเฝ้าระวงั ทางระบาดวิทยา3. การกระจายขา่ วสาร เพ่อื ลดโอกาสการเกดิ โรคและกาจดั การ แพรก่ ระจายของโรค ตอ้ งรวดเรว็ และถูกตอ้ ง 3.1 รายงานขา่ วประจาวนั เกย่ี วกบั สถานการณ์ของโรคตดิ ต่ออนั ตราย โรคภยั รา้ ยแรง และภยั ต่าง ๆ 3.2 รายงานขา่ วประจาสปั ดาห์ เป็นขา่ วสารทม่ี ขี อ้ มลู มากกว่ารายงาน ประจาวนั สว่ นใหญ่เป็นขอ้ มลู การเจบ็ ป่วยทไ่ี ดม้ าจากเจา้ หน้าท่ี 3.3 รายงานขา่ วประจาเดอื น เพ่อื การวางแผนป้องกนั และควบคมุ โรค 3.4 รายงานขา่ วประจาปี มกั ทาเป็นรปู เลม่ มปี ระโยชน์ในการวางแผน ป้องกนั และควบคมุ โรคใหก้ บั ชมุ ชนทร่ี บั ผดิ ชอบ

การสอบสวนโรค

นิ ยามการระบาดคอื การมคี วามถข่ี องการเกดิ โรคเกนิ กว่าทไ่ี ดค้ าดหมายไวใ้ นชว่ งเวลา เดยี วกนั ยกเวน้ โรคทไ่ี มเ่ คยเกดิ ขน้ึ ในทอ้ งถนิ่ นนั้ มาก่อนเลย หรอื เคย เกดิ ขน้ึ แต่หายไปนานแลว้ หากเกดิ ขน้ึ แมเ้ พยี ง 1-2 รายกถ็ อื ว่าเป็นการ ระบาด เชน่ ไขเ้ หลอื ง อหวิ าตกโรคDisease outbreak : คอื การเกดิ โรคชนิดหน่งึ กบั บุคคลตงั้ แต่สองคนขน้ึ ไป โดยลกั ษณะของการเกดิ โรคมคี วามสมั พนั ธก์ นั ในลกั ษณะ1. เวลาของการไดร้ บั เชอ้ื และเวลาปรากฎอาการใกลเ้ คยี งกนั2. ไดร้ บั สาเหตุของโรคจากสถานทห่ี รอื สงิ่ แวดลอ้ มเดยี วกนั เช่น งานเลย้ี ง3. สาเหตุของโรคมกั มาจากแหล่งเดยี วกนั เชน่ จากอาหารชนดิ หน่งึ ท่ี รบั ประทานรว่ มกนั การไดร้ บั สารเคมชี นดิ เดยี วกนั

นิ ยามการระบาด Qutbreak จะเกดิ ขน้ึ ไดเ้ มอ่ื มอี งคป์ ระกอบต่าง ๆ ต่อไปน้ี1. มเี ชอ้ื โรคหรอื สารก่อโรคในปรมิ าณเพยี งพอทจ่ี ะมผี ลต่อกลุ่มคน2. เชอ้ื สามารถกระจายไปส่กู ล่มุ คนดว้ ยวธิ กี ารแพรโ่ รค (mode of transmission) อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ3. มจี านวนของกลุ่มบคุ คลทไ่ี วต่อการตดิ เชอ้ื (susceptible persons) จานวนหน่งึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook