Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชางานซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล

แผนการสอนวิชางานซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล

Published by koonbeer2519, 2019-09-18 03:27:26

Description: แผนการสอนวิชางานซ่อมบำรุงเครื่องจักรกล

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบฐานสมรรถนะบรู ณาการปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงและตามนโยบาย 3D [] ] ]

1 แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบฐานสมรรถนะบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และตามนโยบาย 3D หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพพทุ ธศกั ราช2545 (ปรับปรุงพุทธศักราช2546) ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ าเครือ่ งมอื กลและซอ่ มบารงุ รหสั วชิ า 2102-2115 ชอ่ื วชิ า งานซอ่ มบารุงเคร่ืองจักรกล จัดทาโดย นายอภนิ นั ต์ อนิ ทรนาค แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนคิ ระนอง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 คานา วชิ างานบารุงรกั ษาเครือ่ งจักรกล(2102-2115)ไดเ้ รียบเรยี งขึ้นตามจดุ ประสงค์ รายวิชามาตรฐาน รายวชิ าและคาอธบิ ายรายวชิ า หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช2545 (ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช2546) ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เนอ้ื หาแบง่ ออกเป็น 13 หน่วย ประกอบดว้ ย ความสาคัญในการบารงุ รกั ษาเครอื่ งจกั รกล ยทุ ธวธิ ใี นการบารงุ รักษา การบารุงรักษาแบบไม่มีแบบแผน การบารุงรักษาแบบมีแผนการบารุงรักษาเชิง ปูองกัน สาเหตุการชารุดเสียหายของเครื่องจักรกล ระบบและวิธีการหล่อล่ืนข้อมูลการบารุงรักษา การ วางแผนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการบารุงรักษา การวางแผนบารุงรักษาการควบคุมงานบารุงรักษา การ ประเมินผลการบารุงรักษา การบารุงรักษาช้ินส่วนเคร่ืองจักกลแต่ละหน่วยประกอบด้วยใบความรู้ แบบ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ใบงาน ใบประเมินผล ขอขอบคุณผ้ทู ่ีมสี ่วนชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ ในการจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ในวชิ างาบารงุ รักษา เคร่อื งจกั รกล(2102-2115) ที่ไดใ้ หค้ วามร้แู ละให้ความช่วยเหลือในการจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้มงุ่ เน้น สมรรถนะอาชีพ และบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไว้ ณ โอกาสนี้ นายอภินนั ต์ อนิ ทรนาค ครู คศ.1

สารบัญ 3 คานา หน้า สารบญั 2 ขอ้ ตกลงระหวา่ งผสู้ อนกบั ผเู้ รยี น 3 แผนการสอน 4 แผนการสอน หนว่ ยที่ 1 แผนการสอน หนว่ ยท่ี 2 22 แผนการสอน หน่วยท่ี 3 26 แผนการสอน หน่วยที่ 4 30 แผนการสอน หนว่ ยท่ี 5 34 แผนการสอน หนว่ ยท่ี 6 38 แผนการสอน หน่วยท่ี 7 42 แผนการสอน หน่วยท่ี 8 46 แผนการสอน หนว่ ยที่ 9 50 แผนการสอน หน่วยท่ี 10 54 แผนการสอน หน่วยที่ 11 57 แผนการสอน หนว่ ยท่ี 12 61 แผนการสอน หน่วยที่ 13 65 69

4 แผนการสอน/แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ า รหสั วิชา 2102-2115 ช่ือวิชา งานซ่อมบารงุ เครื่องจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกติ ( 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ) ประเภท ช่างอุตสาหกรรม สาขาวชิ า เครอื่ งมอื กลและซอ่ มบารงุ ระดับช้ัน ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี จดุ ประสงครายวิชา 1. มคี วามเขา้ ใจขอบเขตของ วิชา งานบารงุ รกั ษาเครอ่ื งจกั รกล 2. ทราบถงึ มาตรฐานจดุ เนน้ และแนวทางปฏิบัตใิ นการเรยี น วิชา งานบารงุ รักษาเคร่อื งจักรกล 3. มคี วามเขา้ ใจวธิ ีการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรูใ้ น วิชา งานบารงุ รักษาเคร่ืองจักรกล 4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ผ่ี ูส้ อนสามารถ สังเกตเห็นได้ ในดา้ นความมมี นษุ ย์ สัมพันธ์ ความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบ ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที คาอธิบายรายวชิ า การศึกษาวชิ า งานบารงุ รักษาเครื่องจกั รกลนนั้ ประกอบด้วยความสาคญั ในการบารงุ รักษา เครือ่ งจกั รกล ยุทธวธิ ใี นการบารงุ รักษา การบารงุ รกั ษาแบบไม่มแี บบแผน การบารุงรักษาแบบมแี ผน การ บารุงรักษาเซิงปูองกัน สาเหตกุ ารชารุดเสยี หายของเครอื่ งจกั รกล ระบบและวธิ กี ารหล่อลื่น ขอ้ มลุ การ บารุงรักษา การวางแผนเตรยี มวัสดอุ ปุ กรณใ์ นการบารงุ รกั ษา การวางแผนบารุงรักษา การควบคุมงาน บารุงรกั ษาการประเมนิ ผลการบารุงรกั ษา การบารุงรักษาชิ้นสว่ นเคร่ืองจกั รกล สมรรถนะของรายวชิ า 1. ขอบขา่ ยของเนอ้ื หาวชิ า งานบารงุ รักษาเครอื่ งจักรกล 2. มาตรฐานจดุ เนน้ และแนวทางปฏบิ ัติในการเรียน วชิ า งานบารุงรักษาเครื่องจกั รกล 3. แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นวชิ า งานบารุงรกั ษาเครอ่ื งจกั รกล

5 ตารางวเิ คราะหห์ น่วยการสอน / การเรยี นรู้ รหัสวชิ า 2102-2115 ชอื่ วิชา งานซ่อมบารงุ เคร่ืองจกั รกล จานวน 3 หน่วยกิต 6 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรแู้ ละรายการสอน สปั ดาห์ที่ ชั่วโมงที่ ปฐมนิเทศ 1. ขอบขา่ ยของเนอ้ื หา วชิ า งานบารุงรกั ษาเคร่ืองจกั รกล 1 1-6 - 2. มาตรฐานจดุ เนน้ และแนวทางปฏบิ ัตใิ นการเรยี นวิชา งาน บารุงรกั ษาเครื่องจักรกลแนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผล การเรยี นรูใ้ นวิชา งานบารงุ รักษาเครือ่ งจกั รกล ความสาคัญในการบารุงรักษาเครอ่ื งจักรกล 1. ความร้เู บ้ืองตน้ เกีย่ วกับการบารุงรกั ษา 2. ความหมายของการบารุงรักษา 2 7-12 1 3. การเสอื่ มสภาพของเครือ่ งจกั รกล 4. ความสาคัญของการบารงุ รกั ษา ประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากการบารงุ รกั ษา ยุทธวิธใี นการบารงุ รักษา 3 13-18 1. ประเภทของการบารุงรักษา 4-5 19-30 2 2. ข้อพจิ ารณาสาหรบั การบารงุ รักษา 6-7 31-42 3. ชนิดของการบารุงรกั ษา แผนภูมกิ ารบารงุ รักษา การบารงุ รักษาแบบไมม่ ีแบบแผน 3 1. การบารงุ รักษาแบบแกไ้ ข (Breakdown Maintenance) การซ่อมแบบยกเครอ่ื ง (Overhaul) การบารุงรกั ษาแบบมแี ผน 4 1. การบารุงรักษาแบบตรวจสอบ (Inspection Maintenance) การบารุงรกั ษาเชิง ปูองกัน (Preventive Maintenance) การบารงุ รักษาเชงิ ปอ้ งกัน 8-9 43-54 1. การบารุงรกั ษาทท่ี า เป็นประจา (Routine Maintenance Servicing) 5 2. การซอ่ มตามวาระทกี่ าหนดไวล้ ว่ งหน้า (Scheduled Repair Maintenance)

3. ชว่ งเวลาทาการบารงุ รกั ษาเชิงปอู งกัน 10 6 ข้ันตอนการบารงุ รกั ษาเชงิ ปอู งกนั 11 12 55-60 สาเหตกุ ารชารดุ เสยี หายของเครื่องจกั รกล 13 61-66 1. สาเหตกุ ารเสียหายของเคร่อื งจกั รกล 14 67-72 6 2. การพจิ ารณาความเสียหายของเคร่ืองจกั รกล 73-78 3. สาเหตทุ ท่ี าให้เครอื่ งจกั รกลเสอื่ มสภาพ 79-84 ขั้นตอนการซ่อมเครอ่ื งจกั รกล ระบบและวิธีการหลอ่ ล่ืน 1. หนา้ ท่ขี องการหล่อลนื่ 2. ชนิดของวสั ดหุ ลอ่ ล่นื เครือ่ งจักรกล 7 3. คณุ สมบัติพ้นื ฐานของวสั ดหุ ล่อลนื่ 4.การเลอื กใชน้ า้ มนั หลอ่ ลื่นเครอ่ื งจักรกลในงาน อตุ สาหกรรม 5.การหลอ่ ล่ืนด้วยวธิ ีทางกล การบารุงรกั ษาระบบ หลอ่ ล่นื ขอ้ มลู การบารงุ รกั ษา 1. ประเภทของข้อมลู 8 2. การรวบรวมขอ้ มลู เพ่อื การบารงุ รกั ษา 3. การสรุปผลข้อมลู เพอ่ื การบารงุ รกั ษา เอกสารการบารงุ รกั ษา การวางแผนเตรยี มวสั ดอุ ุปกรณใ์ นการบารงุ รักษา 9 1. เครอ่ื งมืออปุ กรณส์ าหรบั การบารงุ รกั ษาเชงิ ปูองกัน วัสดุคงคลัง (Inventory) การวางแผนบารุงรักษา 1. ความหมายของการ วางแผน 2. การกาหนดจดุ มงุ่ หมายการบารงุ รกั ษา 10 3. การกาหนดนโยบาย การบารุงรกั ษา 4. เกณฑใ์ นการวางแผน การบารุงรักษา 5. ฝุายวางแผนการบารงุ รักษา 6. ฝุายสนบั สนนุ การบารุงรักษา

การวางแผนกาหนด ตารางเวลาบารุงรักษา 7 การควบคมุ งานบารงุ รกั ษา 15 85-90 16 91-96 11 1. การวางแผนและควบคุมงานบารงุ รกั ษา 2. การควบคมุ ผลการปฏิบตั งิ านบารุงรกั ษา 17 97-102 การควบคุมวสั ดงุ านบารงุ รกั ษา 18 103-108 การประเมินผลการบารุงรกั ษา 1. ความสาคัญของการประเมนิ ผลการบารงุ รกั ษา 2. ปัญหาการประเมินผลการบารุงรักษา 3. วิธีการประเมินผลบารงุ รกั ษา 12 4. ยทุ ธวธิ กี ารประเมินผล 5. การนาผลการประเมินมาปรับปรงุ 6. แนวทางการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบารงุ รกั ษา 7. ประสิทธภิ าพโดยรวมของเคร่อื งจักรกล หลกั การหาประสทิ ธภิ าพโดยรวม การบารุงรักษาช้ินสว่ นเครื่องจักกล 1. แบริง่ (Bearing) 13 2. การถอดประกอบแบรง่ิ 3. การหล่อล่นื แบร่งิ โดยใช้จาระบี 4. เฟือง (Gears) 5. โซส่ ง่ กาลงั 6. การตรวจสอบโซล่ กู กลิ้ง 14 สอบปลายภาค

8 หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย รหสั วิชา 2102-2115 ชื่อวชิ า งานซอ่ มบารงุ เครอ่ื งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกติ 6 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หน่วยท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1 ความสาคัญในการบารุงรกั ษาเครือ่ งจกั รกล สมรรถนะ 1. แสดงความร้เู ก่ยี วกับการบารงุ รกั ษา เครอ่ื งจกั รกล จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 5. 1. ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั การบารงุ รกั ษา 2. ความหมายของการบารงุ รกั ษา 6. 3. การเสอ่ื มสภาพของเคร่อื งจักรกล 7. 4. ความสาคัญของการบารงุ รกั ษา 5.ประโยชนท์ ีจ่ ะไดร้ บั จากการบารงุ รกั ษา ด้านทักษะ 1. บอกความจาเป็นทต่ี อ้ งมกี ารบารุงรักษาได้ 2. อธบิ ายความหมายของการบารงุ รกั ษาได้ 3. บอกการเส่ือมสภาพของเครอ่ื งจกั รกลได้ 4. บอกความสาคัญของการบารุงรกั ษาได้ 5. บอกประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการบารงุ รักษาได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ พอเพยี ง ความมมี นุษย์สมั พันธ์ ความมวี ินัย ความรับผิดชอบ ความเชอื่ มั่นในตนเอง ความสนใจใฝรุ ูค้ วามรกั สามัคคีความกตัญญกู ตเวที

9 หน่วยการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะประจาหนว่ ย รหสั วิชา 2102-2115 ชื่อวชิ า งานซ่อมบารงุ เครอ่ื งจกั รกล จานวน 3 หน่วยกติ 6 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 2 ยทุ ธวิธใี นการบารงุ รักษา สมรรถนะ 1. แสดงความร้คู วามเข้าใจยุทธวิธีในการ บารงุ รักษาจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ด้านความรู้ 1.ประเภทของการบารุงรกั ษา 2.ข้อพิจารณาสาหรับการบารุงรกั ษา 3.ชนิดของการบารงุ รักษา 4.แผนภมู ิการบารงุ รกั ษา ด้านทกั ษะ 1. บอกประเภทของการบารุงรกั ษาได้ 2. บอกข้อพจิ ารณาสาหรับการบารงุ รกั ษาได้ 3. บอกชนดิ ของการบารุงรกั ษาได้ 4. แสดงแผนภูมกิ ารบารุงรักษาได้ 5. ใดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพยี ง ความมมี นษุ ยส์ ัมพันธ์ ความมีวินัย ความ รับผิดชอบความเช่ือม่ันในตนเอง ความสนใจใฝุ รคู้ วามรกั สามคั คีความกตญั ญูกตเวที

10 หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย รหัสวิชา 2102-2115 ชอ่ื วิชา งานซอ่ มบารงุ เครอ่ื งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกิต 6 ช่วั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3 การบารุงรักษาแบบไม่มีแบบแผน สมรรถนะ การบารุงรักษาแบบแกไ้ ข (Breakdown Maintenance) การซ่อมแบบยกเครอื่ ง (Overhaul) จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมายของการบารุงรักษาแบบแก้ไข ได้ 2. บอกประโยชนข์ องการบารงุ รักษาแบบแก้ไขได้ 3. บอกความหมายของการซอ่ มแบบยกเครอ่ื งได้ 4. บอกประโยชน์ของการซอ่ มแบบยกเครอื่ งได้ ดา้ นทักษะ 1. อธิบายวธิ ีการดาเนินการบารงุ รักษาแบบแกไ้ ขได้ 2.อธิบายวธิ กี ารซ่อมแบบยกเครอ่ื งได้ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ พอเพียง ความมมี นษุ ยส์ มั พันธค์ วามมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเชื่อมนั่ ในตนเองความสนใจใฝุรคู้ วามรกั สามคั คี ความกตญั ญูกตเวที

11 หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย รหัสวิชา 2102-2115 ชื่อวชิ า งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกติ 6 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ หน่วยท่ี ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 4 การบารุงรักษาแบบมีแผน สมรรถนะ การบารุงรักษาแบบตรวจสอบ (Inspection Maintenance) การบารงุ รักษาเชงิ ปูองกนั (Preventive Maintenance) จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของการบารงุ รกั ษาแบบ ตรวจสอบได้ 2.บอกความหมายของการบารุงรักษาเชงิ ปูองกันได้ 3.บอกวัตถปุ ระสงค์ของการบารุงรกั ษาเชิง ปอู งกันได้ ดา้ นทกั ษะ 1.ปฏิบัตกิ ารบารงุ รกั ษาเชิงปอู งกนั ได้ 2.ปฏิบตั กิ ารบารงุ รกั ษาแบบตรวจสอบได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความมีมนษุ ย์สัมพันธ์ ความมวี นิ ยั ความ รับผดิ ชอบ ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง ความสนใจ ใฝุรูค้ วามรกั สามัคคคี วามกตัญญกู ตเวที

12 หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหนว่ ย รหัสวิชา 2102-2115 ชื่อวิชา งานซ่อมบารงุ เครอ่ื งจกั รกล จานวน 3 หน่วยกิต 6 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 5 การบารุงรกั ษาเชิงป้องกัน สมรรถนะ 1.การบารงุ รกั ษาทท่ี า เปน็ ประจา (Routine Maintenance Servicing) 2.การซ่อมตามวาระที่กาหนดไว้ลว่ งหน้า (Scheduled Repair Maintenance) 3.ชว่ งเวลาทาการบารงุ รกั ษาเชิงปอู งกนั ข้นั ตอนการบารงุ รักษาเชงิ ปูองกนั จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. อธิบายชว่ งเวลาทาการบารุงรักษาเชิงปูองกันได้ ด้านทักษะ 1.บอกขัน้ ตอนการบารุงรักษาเชงิ ปอู งกนั ได้ 2. บอกลกั ษณะการบารงุ รกั ษาทีท่ าเป็นประจาได้ 3. บอกลักษณะการซอ่ มตามวาระทก่ี าหนดไว้ ล่วงหนา้ ได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ เศรษฐกจิ พอเพียง ความมมี นษุ ยส์ ัมพนั ธ์ ความมวี ินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมน่ั ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ้คู วามรกั สามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที

13 หน่วยการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะประจาหนว่ ย รหสั วิชา 2102-2115 ชื่อวิชา งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกิต 6 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 6 สาเหตกุ ารชารุดเสยี หายของเครอื่ งจกั รกล สมรรถนะ มีความรู้ความเขา้ ใจสาเหตุการชารุดเสยี หายของ เครอ่ื งจกั รกล จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1.สาเหตุการเสียหายของเครอ่ื งจกั รกล 2.การพจิ ารณาความเสียหายของเครอื่ งจกั รกล 3.สาเหตุทที่ าให้เครอ่ื งจกั รกลเสอ่ื มสภาพ ขั้นตอนการซ่อมเครอ่ื งจักรกล ด้านทกั ษะ 1. บอกสาเหตกุ ารเสยี หายของเครื่องจกั รกลได้ 2. อธิบายขัน้ ตอนการพจิ ารณาความเสยี หายของ เครื่องจักรกลได้ 3. วเิ คราะหส์ าเหตทุ ี่เคร่ืองจักรกลเสื่อมสภาพได้ อธบิ ายขน้ั ตอนการซอ่ มเครือ่ งจักรกลได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ เศรษฐกิจพอเพียง ความมมี นุษย์สัมพันธ์ความมวี ินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ความรกั สามคั คีความกตญั ญูกตเวที

14 หน่วยการเรยี นรู้และสมรรถนะประจาหนว่ ย รหัสวชิ า 2102-2115 ช่อื วิชา งานซ่อมบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกติ 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 7 ระบบและวิธีการหล่อล่นื สมรรถนะ มีความรู้ความเขา้ ใจระบบและวิธีการหล่อลื่น จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ดา้ นความรู้ 1. บอกหน้าทข่ี องการหล่อล่ืนได้ 2. บอกชนิดของวัสดหุ ล่อลืน่ เคร่ืองจกั รกลได้ 3. อธิบายคณุ สมบตั พิ ื้นฐานของวสั ดหุ ลอ่ ลนื่ ได้ ดา้ นทกั ษะ 1.บอกวิธีการเลอื กใช้นา้ มนั หล่อลืน่ เคร่อื งจักรกลใน งานอตุ สาหกรรมได้ 2.อธิบายวธิ กี ารหลอ่ ล่ืนทางกลได้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง ความมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ ความมวี ินัย ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มน่ั ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ้คู วามรัก สามัคคี ความกตัญญกู ตเวที

15 หนว่ ยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาหน่วย รหัสวิชา 2102-2115 ชื่อวชิ า งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หน่วยกิต 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 8 ข้อมลู การบารุงรักษา สมรรถนะ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจข้อมลู การบารงุ รกั ษา จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. บอกประเภทของขอ้ มลู ได้ 2. บอกวิธีการรวบรวมขอ้ มูลการบารุงรักษาได้ ด้านทักษะ 1.สรปุ ผลจากขอ้ มลู การบารงุ รกั ษาได้ 2.จัดทาเอกสารการบารงุ รกั ษาได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมวี ินยั ความรับผิดชอบ ความเช่ือมั่นในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ความรัก สามคั คี ความกตญั ญูกตเวที

16 หน่วยการเรียนร้แู ละสมรรถนะประจาหนว่ ย รหสั วิชา 2102-2115 ชือ่ วชิ า งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกิต 6 ช่วั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 9 การวางแผนเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ในการ สมรรถนะ บารุงรักษา 1.มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจการวางแผนเตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ใน การบารุงรกั ษา จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ด้านความรู้ 1. บอกเครือ่ งมอื สาหรบั การบารุงรักษาเชิงปูองกนั ได้ ดา้ นทักษะ 1.อธบิ ายการจัดวสั ดุคงคลงั ได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความมีมนษุ ย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มั่นในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที

17 หน่วยการเรยี นร้แู ละสมรรถนะประจาหนว่ ย รหัสวิชา 2102-2115 ชอ่ื วิชา งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกิต 6 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยที่ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 10 การวางแผนบารงุ รักษา สมรรถนะ มคี วามรู้ความเข้าใจการวางแผนบารงุ รักษา จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. กาหนดจุดม่งุ หมายการบารงุ รกั ษาได้ 2. กาหนดนโยบายการบารงุ รกั ษาได้ ด้านทกั ษะ 1.บอกเกณฑใ์ นการวางแผนการบารงุ รักษาได้ 2.บอกหนา้ ท่ีของฝาุ ยวางแผนได้ 3.แบ่งฝาุ ยสนับสนนุ การบารงุ รกั ษาได้ 4.กาหนดตารางเวลาการบารุงรกั ษาได้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพียง ความมมี นุษย์สัมพนั ธ์ ความมวี ินยั ความรับผิดชอบ ความเช่อื ม่นั ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ูค้ วามรกั สามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที

18 หนว่ ยการเรียนรู้และสมรรถนะประจาหนว่ ย รหัสวิชา 2102-2115 ชื่อวชิ า งานซอ่ มบารงุ เครอ่ื งจกั รกล จานวน 3 หน่วยกิต 6 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 11 การควบคุมงานบารงุ รักษา สมรรถนะ มีความรู้ความเขา้ ใจการควบคมุ งานบารงุ รักษา จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ดา้ นความรู้ 1. อธิบายข้นั ตอนการวางแผนและควบคุมงาน บารงุ รกั ษาได้ ด้านทกั ษะ 1.อธบิ ายดัชนีตา่ งๆ ทใี่ ชใ้ นการควบคมุ ผลการ ปฏบิ ัตงิ านบารุงรักษาได้ 2.อธิบายหลกั ในการควบคมุ วสั ดุงานบารุงรกั ษาได้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพยี ง ความมมี นษุ ยส์ มั พนั ธ์ ความมีวินัย ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ ความรกั สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

19 หน่วยการเรยี นร้แู ละสมรรถนะประจาหน่วย รหสั วิชา 2102-2115 ช่อื วชิ า งานซ่อมบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หน่วยกิต 6 ชั่วโมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 12 การประเมินผลการบารงุ รกั ษา สมรรถนะ มีความรูค้ วามเข้าใจการประเมนิ ผลการบารงุ รกั ษา จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ด้านความรู้ 1. บอกปญั หาของการประเมนิ ผลการบารงุ รกั ษาได้ 2. อธบิ ายวธิ กี ารประเมนิ ผลบารุงรกั ษาได้ ด้านทกั ษะ 3. 1บอกยุทธวิธกี ารประเมนิ ผลได้ 4. บอกวิธนี าผลการประเมินมาปรบั ปรงุ ได้ 5.อธิบายแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการ บารุงรกั ษาได้ 6.คานวณหาประสทิ ธิภาพโดยรวมของเครอื่ งจกั รกล ได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพยี ง ความมีมนุษยส์ มั พันธ์ ความมีวินยั ความรบั ผิดชอบ ความเช่ือม่ันในตนเอง ความสนใจ ใฝุรูค้ วามรกั สามคั คคี วามกตญั ญกู ตเวที

20 หน่วยการเรียนรแู้ ละสมรรถนะประจาหนว่ ย รหสั วิชา 2102-2115 ชือ่ วชิ า งานซ่อมบารงุ เครอื่ งจกั รกล จานวน 3 หนว่ ยกิต 6 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 13 การบารุงรักษาช้นิ ส่วนเคร่ืองจกั กล สมรรถนะ มีความรู้ความเขา้ ใจการบารุงรักษาชิ้นสว่ นเครอื่ งจกั กล จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ดา้ นความรู้ 1. สามารถตรวจสอบความเสยี หายของแบริง่ ได้ 2. เลอื กถอดประกอบแบริง่ ด้วยวิธีท่ีถูกตอ้ ง ด้านทกั ษะ 1.ปฏบิ ัตกิ ารหล่อล่ืนแบรง่ิ ดว้ ยจาระบไี ด้ 2.ปฏิบัติการตรวจสอบหาสภาพความเสียหายของเฟอื งได้ 3. ปฏิบตั ิการตดั ตอ่ โซส่ ง่ กาลังได้ 4.ตรวจสอบหาจุดกาเนดิ ของการสั่นสะเทือนได้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพยี ง ความมมี นุษย์สัมพันธ์ ความมวี นิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ความเชอื่ มนั่ ในตนเอง ความสนใจใฝรุ ู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที

รหสั 2102-2115 ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร 21 ระดบั ช้ัน ปวช.1 วิชา งานบารงุ รักษาเครอื่ งจกั รกล หนว่ ยกติ 3 (6) พฤตกิ รรม สาขาวชิ า ชา่ งอตุ สาหกรรม กล่มุ วชิ า ช่างกลโรงงาน ชื่อ หนว่ ย/หวั ข้อย่อย พุทธพิ สิ ัย ความสาคญั ในการบารุงรกั ษา ความรู้ เครือ่ งจกั รกล ความเ ้ขาใจ นาไปใ ้ช ิวเคราะห์ สังเคราะห์ ประเ ิมนค่า ัทกษะ ิพ ัสย จิต ิพ ัสย รวม ลาดับความสาคัญ จานวน ่ัชวโมง  -  -  6 3 6 ยุทธวิธีในการบารุงรักษา    -    7 2 6 การบารุงรกั ษาแบบไม่มีแบบแผน     -    7 2 12 การบารงุ รักษาแบบมีแผน         8 1 12 การบารงุ รักษาเชิงปูองกนั         8 1 12 สาเหตุการชารดุ เสยี หายของ เครื่องจกั รกล  8 1 6 ระบบและวิธีการหล่อล่ืน  8 1 6 ข้อมลู การบารงุ รักษา  5 1 6 การวางแผนเตรยี มวัสดอุ ุปกรณใ์ นการ บารุงรักษา  8 1 6 การวางแผนบารุงรกั ษา  8 1 6 การควบคุมงานบารุงรกั ษา การประเมนิ ผลการบารุงรักษา  5 1 6 การบารงุ รักษาช้ินส่วนเคร่ืองจกั กล  5 1 6 รวม ลาดบั ความสาคัญ  5 1 6 13 13 13 13 10 13 12 13 - - 90 11113121- - -

22 แผนการสอนและการจัดการเรียนรู้ ประจาหน่วย รหัสวิชา 2102-2115 ชื่อวิชา งานซอ่ มบารงุ เครอื่ งจกั รกล สอนคร้ังท่ี 2 หนว่ ยท่ี 1 ชือ่ หน่วย ความสาคญั ในการบารงุ รกั ษาเคร่อื งจกั รกล เวลา 6 ชั่วโมง หัวขอ้ เร่อื ง ดา้ นความรู้ 1. ประโยชนท์ จี่ ะได้รบั จากการบารงุ รกั ษา 2. ความร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกบั การบารุงรกั ษา 3. ความหมายของการบารุงรกั ษา ด้านทักษะ 4. ประโยชน์ท่จี ะไดร้ ับจากการบารงุ รกั ษา 5. การเสอ่ื มสภาพของเครอ่ื งจกั รกล ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 6. ความรับผิดชอบ 7. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคญั การชารุดเสียหายสาหรบั เครอ่ื งมอื เคร่ืองจักรกลเป็นสิ่งที่ยากจะหลีกเล่ียงได้ แต่ก็สามารถลด หรือชะลอการชารุดเสียหายให้เกิดข้ึนช้าท่ีสุดได้เช่นกัน และน่ันหมายถึงสามารถทาให้เคร่ืองมือ เคร่อื งจักรกลมอี ายกุ ารใช้งานไดย้ าวนานยิ่งขน้ึ น่ันเอง การท่ีจะใหเ้ ครือ่ งมือเคร่ืองจกั รกลมีอายุการใช้งาน ได้นานขนึ้ จะต้องทาการดแู ล ตรวจสอบรวมทั้งมกี ารบารุงรกั ษาเปน็ ประจาและตอ้ งทาอยา่ งต่อเน่ือง ซ่ึงจะ เห็นได้ภายในโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภทโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปจะมีการดาเนิ นการจัดทา ระบบของการบารงุ รักษาข้ึนภายในแตล่ ะ โรงงาน โดยมอบหมายใหม้ ีผู้รบั ผดิ ชอบหลกั คอื ฝุายซ่อมบารุง ซ่ึงจะตอ้ งวางแผนและจดั บุคลากรเพื่อทาการซ่อมบารุงรักษาเคร่ืองมือเครื่องจักรกลอยู่เป็นประจาและ ต่อเน่ือง เพื่อให้เครื่องจักรกลสามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ไม่เกิดการชารุดเสียหายขึ้นขณะทาการ ปฏบิ ตั ิงาน 2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรียนรู้ (ประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม) แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการบารุงรักษาเคร่ืองจักรกล

23 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ -จดุ ประสงคท์ ่วั ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั คร)ู 1. ความร้เู บ้อื งต้นเก่ยี วกบั การบารงุ รักษา 2. ความหมายของการบารงุ รักษา 3. การเส่ือมสภาพของเครอ่ื งจกั รกล 4. ความสาคัญของการบารงุ รักษา 5.ประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากการบารงุ รกั ษา -จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั นักเรยี น) 1. บอกความจาเปน็ ทต่ี อ้ งมกี ารบารงุ รกั ษาได้ 2. อธบิ ายความหมายของการบารงุ รกั ษาได้ 3. บอกการเสือ่ มสภาพของเครอ่ื งจกั รกลได้ 4. บอกความสาคญั ของการบารุงรกั ษาได้ 5. บอกประโยชน์ทจี่ ะไดร้ บั จากการบารงุ รักษาได้ 4.สาระการเรยี นรู้ 1. ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับการบารุงรักษา 2. ความหมายของการบารงุ รักษา 3. การเส่ือมสภาพของเครอ่ื งจักรกล 4. ความสาคัญของการบารุงรักษา 5. ประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากการบารงุ รกั ษา 5.กิจกรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นักเรียน ) 1. ครูสรา้ งคาถามเพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาไดอ้ ภปิ รายเพื่อหาคาตอบของคาถาม 2. ครูใช้วธิ สี อนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกบั นกั เรียน 3. ครแู บ่งกลุ่มนกั เรียนออกเป็น 5 กลมุ่ เพ่ือปฏบิ ตั ติ ามกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ 6.สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนวชิ า งานบารุงรกั ษาเครื่องจกั รกล 2. แผ่นใสแสดงมาตรฐานการเรียนรใู้ นรายวชิ า งานบารงุ รกั ษาเคร่อื งจักรกล 3. แผ่นใสแสดงวธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนวิชา งานบารงุ รกั ษาเครอ่ื งจกั รกล 7.การบรู ณาการ / ความสมั พนั ธก์ ับวิชาอ่นื

24 8.การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1) วิธีการประเมนิ 1. ประเมินโดยการสังเกตขณะเรียนและขณะปฏิบตั งิ าน 2. ประเมินองคค์ วามรหู้ ลงั เรียนและการสอบกลางภาคเรียน 3. ประเมินผลงานสาเรจ็ 2) เครือ่ งมอื ประเมนิ 1. แบบประเมนิ ผลก่อนเรียนและหลงั เรียน 2. เกณฑป์ ระเมินผลงานตามใบงาน 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม 4. แบบประเมินผลงานตามใบงาน 3) เกณฑก์ ารประเมนิ 1. เตรยี มเครอ่ื งมอื -วสั ดุ อุปกรณ์ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม 2. ปฏบิ ัติงานตามหลักการและข้นั ตอนการทางานไดถ้ กู ตอ้ ง 3. มกี จิ นิสัยทด่ี ใี นการปฏิบัตงิ าน 4. ผลงานสาเรจ็ มีคุณภาพ

25 9.บันทกึ หลังการสอน 1.ข้อสรปุ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. 2.ปัญหาอปุ สรรคทพี่ บ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ................................. 3.แนวทางแก้ปญั หาหรอื พฒั นา .................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. .................................

26 แผนการสอนและการจัดการเรยี นรู้ ประจาหน่วย รหัสวิชา 2102-2115 ช่ือวิชา งานซอ่ มบารงุ เครือ่ งจกั รกล สอนครั้งท่ี 3 หน่วยท่ี 2 ชือ่ หน่วย ยุทธวิธใี นการบารงุ รกั ษา เวลา 24 ช่ัวโมง หัวข้อเร่ือง ด้านความรู้ 1. ประเภทของการบารุงรักษา ด้านทกั ษะ 2. ขอ้ พจิ ารณาสาหรบั การบารุงรกั ษา 3. ชนดิ ของการบารงุ รกั ษา 4. แผนภมู ิการบารงุ รักษา ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 5. ความรับผดิ ชอบ 6. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคัญ การดาเนินการบารุงรักษามวี ิธีการดาเนนิ งานอยูห่ ลายแบบด้วยกัน แต่โดยทว่ั ไปแล้วสามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ได้แก่ การบารุงรักษาแบบไม่มีแผน และการบารุงรักษาแบบมีแผน เปรียบเสมือน เป็นยุทธวิธีที่ถูกนามาใช้สาหรับดาเนินการบารุงรักษาในโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั้ง สามารถประยกุ ตย์ ุทธวธิ กี ารบารุงรักษาท้งั 2 แบบกบั การทางานด้านอื่นได้อีกด้วย 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ (ประยกุ ต์ใช้ ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม) แสดงความรู้ความเข้าใจยุทธวธิ ใี นการบารงุ รักษาจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ -จุดประสงคท์ ่วั ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง (สาหรบั ครู) 1.ประเภทของการบารงุ รกั ษา 2.ข้อพิจารณาสาหรบั การบารุงรกั ษา 3.ชนิดของการบารุงรักษา 4.แผนภูมกิ ารบารงุ รักษา -จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรับนักเรยี น) 5. บอกประเภทของการบารงุ รักษาได้

27 6. บอกข้อพจิ ารณาสาหรบั การบารุงรกั ษาได้ 7. บอกชนิดของการบารงุ รกั ษาได้ 8. แสดงแผนภูมกิ ารบารุงรกั ษาได้ 4.สาระการเรยี นรู้ 5. ประเภทของการบารุงรกั ษา 6. ขอ้ พิจารณาสาหรบั การบารุงรกั ษา 7. ชนดิ ของการบารงุ รกั ษา 8. แผนภูมกิ ารบารงุ รกั ษา 5.กิจกรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นักเรยี น ) 1. ครสู ร้างคาถามเพอ่ื ใหน้ ักศึกษาได้คดิ เพื่อหาคาตอบของคาถาม 2. ครูใช้วิธีสอนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกบั นกั เรยี น 3. ครแู บ่งกลุ่มนกั เรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ เพื่อทาการอภปิ รายถึงข้อดแี ละข้อเสียของการ บารุงรักษา 6.ส่อื การเรยี นร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้ หนงั สือเรียนวชิ า งานบารุงรกั ษาเครอื่ งจกั รกล 7.การบูรณาการ / ความสมั พันธก์ ับวิชาอื่น 8.การประเมินผลการเรียนรู้ วิธีวดั ผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล 3. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 5. การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึง ประสงค์ เครอ่ื งมอื วัดผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ภาคผนวก ค) 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 2 5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละนกั เรียน

28 รว่ มกนั ประเมิน (ภาคผนวก จ) เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นใบงาน คอื พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านรายบคุ คล เกณฑผ์ า่ น ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ เกณฑ์ผา่ น 50% ข้ึนไป 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 เกณฑผ์ า่ น ทาถูกต้อง 50% ขึ้นไป 5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอยกู่ ับ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

29 9.บันทกึ หลงั การสอน 1.ข้อสรปุ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. 2.ปญั หาอปุ สรรคทพี่ บ .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. 3.แนวทางแก้ปญั หาหรือพัฒนา ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ........................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. .................................

30 แผนการสอนและการจดั การเรยี นรู้ ประจาหนว่ ย รหัสวิชา 2102-2115 ช่อื วชิ า งานซ่อมบารงุ เครอ่ื งจกั รกล สอนคร้งั ท่ี 4-5 หนว่ ยท่ี 3 ช่ือหนว่ ย การบารงุ รกั ษาแบบไมม่ ีแบบแผน เวลา 16 ชวั่ โมง หวั ข้อเร่ือง ด้านความรู้ 1.อธิบายความหมายของการบารงุ รกั ษาแบบแกไ้ ข 2.บอกประโยชนข์ องการบารงุ รกั ษาแบบแกไ้ ข 3.บอกความหมายของการซอ่ มแบบยกเครอ่ื ง 4.บอกประโยชนข์ องการซอ่ มแบบยกเคร่อื ง ดา้ นทกั ษะ 5.อธิบายวิธีการดาเนนิ การบารงุ รกั ษาแบบแกไ้ ข 6.อธิบายวิธีการซ่อมแบบยกเครือ่ ง ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 7. ความรับผิดชอบ 8. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคญั การบารุงรักษาเมื่อมีเหตุขัดข้องเกิดขึ้น เช่น เครื่องมือเครื่องจักรกลเกิดการชารุดเสียหาย โดยไม่ได้ คาดคิดมาก่อน และมีความจาเป็นที่จะต้องทาการหยุดการทางานของเคร่ืองจักรกล เพ่ือทาการซ่อมแซม ลักษณะน้จี ะเรียกวา่ “การบารงุ รกั ษาแบบไมม่ แี ผน” โดยสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ ได้แก่ การบารงุ รักษา แบบแก้ไข (Breakdown Maintenance) และ การซ่อมแบบยกเครอ่ื ง (Overhaul) 2. สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ (ประยกุ ต์ใช้ ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม) การบารุงรกั ษาแบบแกไ้ ข (Breakdown Maintenance) การซอ่ มแบบยกเคร่ือง (Overhaul) 3.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ -จุดประสงค์ท่ัวไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั คร)ู 1. อธบิ ายความหมายของการบารุงรกั ษาแบบแก้ไขได้

31 2. บอกประโยชนข์ องการบารงุ รักษาแบบแกไ้ ขได้ 3. บอกความหมายของการซอ่ มแบบยกเครื่องได้ 4. บอกประโยชนข์ องการซ่อมแบบยกเคร่อื งได้ -จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง (สาหรับนักเรียน) 5. อธบิ ายวิธกี ารดาเนนิ การบารงุ รักษาแบบแก้ไขได้ 6. .อธบิ ายวิธกี ารซ่อมแบบยกเครื่องได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. การบารงุ รักษาแบบแกไ้ ข (Breakdown Maintenance) 2. การซอ่ มแบบยกเคร่อื ง (Overhaul) 5.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นกั เรยี น ) 1. ครใู ช้วิธีสอนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกับนกั เรยี น 2. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทาการสารวจเครื่องจักรกลทใ่ี ชภ้ ายในแผนกว่าเคร่อื งจกั รใดมแี นวโนม้ ท่ี จะต้องทาการบารงุ รกั ษาโดยใช้การอภิปรายกลมุ่ 6.ส่ือการเรยี นร้/ู แหล่งการเรยี นรู้ 1.หนังสือเรยี นวชิ า งานบารุงรักษาเครอ่ื งจกั รกล 7.การบรู ณาการ / ความสัมพันธ์กับวิชาอื่น 8.การประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีวัดผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานรายบคุ คล 3. สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 3 5. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบคุ คล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (ภาคผนวก ค) 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 3 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนกั เรยี น ร่วมกนั ประเมิน (ภาคผนวก จ)

32 เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นใบงาน คอื พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล เกณฑ์ผา่ น ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ เกณฑ์ผา่ น 50% ขนึ้ ไป 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 3 เกณฑผ์ า่ น ทาถูกต้อง 50% ขน้ึ ไป 5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยูก่ บั การ ประเมนิ ตามสภาพจริง

33 9.บันทึกหลังการสอน 1.ข้อสรุปหลงั การจดั การเรยี นรู้ .......................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................... ............................... 2.ปญั หาอปุ สรรคทพ่ี บ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ................................. 3.แนวทางแกป้ ญั หาหรือพัฒนา .................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. .................................

34 แผนการสอนและการจัดการเรยี นรู้ ประจาหนว่ ย รหสั วิชา 2102-2115 ชอื่ วิชา งานซ่อมบารงุ เครอื่ งจักรกล สอนคร้งั ท่ี 6-7 หนว่ ยที่ 4 ชอื่ หน่วย การบารุงรกั ษาแบบมีแบบแผน เวลา 12 ช่ัวโมง หวั ข้อเรื่อง ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของการบารงุ รกั ษาแบบตรวจสอบ 2.บอกความหมายของการบารุงรกั ษาเชิงปอู งกนั 3.บอกวตั ถุประสงคข์ องการบารงุ รกั ษาเชิงปอู งกนั ด้านทกั ษะ 4.ปฏิบตั ิการบารงุ รกั ษาเชงิ ปูองกัน 5.ปฏิบัตกิ ารบารงุ รักษาแบบตรวจสอบ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 6. ความรบั ผดิ ชอบ 7. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคัญ การบารงุ รักษาแบบมีแผนเราสามารถเรยี กได้อีกอย่างหนึ่งว่า “การบารุงรักษาตามระยะเวลา” ซ่ึง เปน็ การดูแลรกั ษาเครื่องมอื เคร่อื งจักรกลให้อยู่ในสภาพทีส่ ามารถใชง้ านได้ตลอดเวลา โดยเปน็ การปอู งกนั ไมใ่ ห้ เครื่องมือเครื่องจักรกลเกิดเหตุขัดข้องหรือชารุดเสียหายขณะใช้งาน เช่น การบารุงรักษาประจาวัน การ บารุงรกั ษาประจาสปั ดาห์ การบารุงรักษาประจาเดือน การบารุงรกั ษาทกุ 3 เดอื น เป็นตน้ เราสามารถแยกการ บารงุ รักษาแบบมีแผนออกเป็น 2 ชนดิ ได้แก่ การบารุงรกั ษาแบบตรวจสอบ (Inspection Maintenance) และ การบารงุ รักษาเชิงปอู งกัน (Preventive Maintenance) 2.สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ (ประยกุ ต์ใช้ ความรู้ ทักษะ คุณธรรม) การบารุงรกั ษาแบบตรวจสอบ (Inspection Maintenance) การบารงุ รกั ษาเชงิ ปอู งกัน (Preventive Maintenance) 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ -จุดประสงคท์ ัว่ ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั คร)ู 1. บอกความหมายของการบารงุ รกั ษาแบบตรวจสอบได้ 2.บอกความหมายของการบารุงรกั ษาเชิงปูองกันได้ 3.บอกวัตถุประสงค์ของการบารงุ รกั ษาเชงิ ปูองกันได้

35 -จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง (สาหรับนกั เรียน) 1.ปฏิบตั ิการบารงุ รกั ษาเชงิ ปอู งกันได้ 2.ปฏบิ ัตกิ ารบารงุ รกั ษาแบบตรวจสอบได้ 4.สาระการเรยี นรู้ 1. การบารุงรักษาแบบตรวจสอบ (Inspection Maintenance) 2. การบารุงรกั ษาเชงิ ปอู งกนั (Preventive Maintenance) 5.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นักเรียน ) 1. ครใู ชว้ ธิ ีสอนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกบั นกั เรียน 2. ครมู อบหมายงานให้นักเรยี นแตล่ ะคนทาการตรวจสอบเครอ่ื งจกั รโดยใช้แบบฟอรม์ Function Check และ Condition Check ท่ีครูแจกให้ 3. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มจัดทาแบบฟอร์ม Function Check และ Condition Check ของเคร่ืองจักรกล ท่ีติดตงั้ ภายในแผนกโดยแบง่ กลุ่มตามชนิดของเคร่ืองจกั ร 6.สื่อการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ 1.หนังสือเรียนวิชา งานบารงุ รักษาเครอื่ งจกั รกล 7.การบรู ณาการ / ความสัมพนั ธก์ บั วิชาอ่ืน 8.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วธิ ีวัดผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านรายบุคคล 3. สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 5. การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เคร่อื งมือวดั ผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบคุ คล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (ภาคผนวก ค) 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 4 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนกั เรียน รว่ มกนั ประเมิน (ภาคผนวก จ)

36 เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นใบงาน คอื พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล เกณฑ์ผา่ น ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ เกณฑ์ผา่ น 50% ขนึ้ ไป 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4 เกณฑผ์ า่ น ทาถูกต้อง 50% ขน้ึ ไป 5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยูก่ บั การ ประเมนิ ตามสภาพจริง

37 9.บันทึกหลังการสอน 1.ขอ้ สรุปหลงั การจัดการเรยี นรู้ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. 2.ปญั หาอปุ สรรคทพ่ี บ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ................................. 3.แนวทางแกป้ ญั หาหรอื พัฒนา .................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. .................................

38 แผนการสอนและการจดั การเรยี นรู้ ประจาหน่วย รหสั วิชา 2102-2115 ช่อื วชิ า งานซ่อมบารงุ เครื่องจักรกล สอนครง้ั ที่ 8-9 หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การบารุงรกั ษาเซงิ ปอู งกนั เวลา 12 ชั่วโมง หวั ขอ้ เร่อื ง ดา้ นความรู้ 1. อธิบายช่วงเวลาทาการบารงุ รกั ษาเชิงปูองกนั ด้านทักษะ 2. บอกขั้นตอนการบารงุ รักษาเชิงปูองกนั 3. บอกลกั ษณะการบารุงรกั ษาท่ที าเป็นประจา 4. บอกลกั ษณะการซอ่ มตามวาระทก่ี าหนดไวล้ ว่ งหนา้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 5. ความรับผดิ ชอบ 6. ความสนใจใฝุรู้ 1.สาระสาคัญ จากหนว่ ยที่ 4 นักเรียนได้มีการเรียนรู้เกี่ยวกับการบารุงรักษาเชิงปูองกันเบื้องต้นไปแล้ว เพ่ือเป็น แนวทางรวมท้ังเป็นการสร้างพื้นฐานให้มีความเข้าใจเบื้องต้น สาหรับในหน่วยน้ีจะเป็นการกล่าวถึงวิธีการ ดาเนินการบารงุ รกั ษาเชงิ ปูองกันซึ่งตอ้ งนาไปปฏบิ ัตจิ ริง โดยการดาเนินการบารุงรักษาเชิงปูองกันนั้น สามารถ แบง่ ไดห้ ลายชนดิ เพ่อื ให้เข้าใจไดง้ า่ ยจงึ แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด อย่างกว้างๆ คือ การบารุงรักษาที่ทาเป็นประจา และ การซ่อมตามวาระทก่ี าหนดไว้ล่วงหน้า 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ (ประยกุ ตใ์ ช้ ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม) 1.การบารงุ รกั ษาทท่ี า เปน็ ประจา (Routine Maintenance Servicing) 2.การซ่อมตามวาระทก่ี าหนดไวล้ ่วงหน้า (Scheduled Repair Maintenance) 3.ชว่ งเวลาทาการบารงุ รักษาเชิงปอู งกัน 3.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ -จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั คร)ู 1.อธบิ ายช่วงเวลาทาการบารงุ รักษาเชิงปูองกันได้

39 -จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง (สาหรบั นกั เรียน) 1.บอกขน้ั ตอนการบารุงรักษาเชิงปูองกนั ได้ 2.บอกลกั ษณะการบารงุ รกั ษาท่ที าเป็นประจาได้ 3.บอกลกั ษณะการซอ่ มตามวาระทก่ี าหนดไว้ล่วงหนา้ ได้ 4.สาระการเรยี นรู้ 1. การบารงุ รักษาท่ีทาเป็นประจา (Routine Maintenance Servicing) 2. การซอ่ มตามวาระที่กาหนดไวล้ ่วงหน้า (Scheduled Repair Maintenance) 3. ชว่ งเวลาทาการบารงุ รกั ษาเชงิ ปอู งกัน 4. ข้ันตอนการบารงุ รกั ษาเชิงปูองกนั 5.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นกั เรียน ) 1. ครูใช้วธิ สี อนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกบั นกั เรียนใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ 2. ครจู ดั กจิ กรรมการบารุงรกั ษาโดยใหน้ ักเรียนแบง่ กลมุ่ ทาการบารุงรกั ษาประจาวนั 3. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคนจัดทากาหนดการบารงุ รกั ษาเครอื่ งจกั รกลภายในโรงงาน 6.ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ 1.หนงั สอื เรียนวชิ า งานบารุงรักษาเครอื่ งจักรกล 7.การบูรณาการ / ความสมั พนั ธ์กบั วิชาอื่น 8.การประเมินผลการเรียนรู้ วิธวี ดั ผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานรายบุคคล 3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 5. การสังเกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เครื่องมือวดั ผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ (ภาคผนวก ค) 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 5 5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนกั เรียน

40 ร่วมกนั ประเมนิ (ภาคผนวก จ) เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านใบงาน คือ พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล เกณฑ์ผา่ น ตอ้ งไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรงุ 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 50% ข้นึ ไป 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ า่ น ทาถกู ต้อง 50% ขึน้ ไป 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอยูก่ ับการ ประเมินตามสภาพจรงิ

41 9.บันทึกหลงั การสอน 1.ข้อสรปุ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ......................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ................................................. 2.ปัญหาอปุ สรรคทพี่ บ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................. ................ .................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ................................. 3.แนวทางแกป้ ญั หาหรือพัฒนา .................................................................................................................................................. ............ ...................................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. .................................

42 แผนการสอนและการจดั การเรยี นรู้ ประจาหนว่ ย รหสั วชิ า 2102-2115 ชอ่ื วชิ า งานซอ่ มบารุงเครอื่ งจักรกล สอนครัง้ ที่ 10 หน่วยที่ 6 ชือ่ หนว่ ย สาเหตกุ ารชารดุ เสยี หายของเครื่องจกั รกล เวลา 6 ชว่ั โมง หวั ข้อเรอ่ื ง ดา้ นความรู้ 1.สาเหตกุ ารเสยี หายของเครอ่ื งจักรกล 2.การพจิ ารณาความเสยี หายของเคร่อื งจกั รกล 3.สาเหตทุ ที่ าใหเ้ ครือ่ งจกั รกลเส่ือมสภาพ ด้านทกั ษะ 1.บอกสาเหตกุ ารเสยี หายของเคร่ืองจักรกล 2.อธิบายข้นั ตอนการพจิ ารณาความเสียหายของเครอ่ื งจักรกล 3. วิเคราะหส์ าเหตุทเี่ คร่อื งจกั รกลเสื่อมสภาพ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 1. ความรับผดิ ชอบ 2. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคญั การบารงุ รักษาเครอ่ื งจักรกล เปน็ การยดื อายุการใช้งานของเคร่ืองจักรกลไม่ให้เส่ือมสภาพหรือเกิด การชารดุ เสยี หายก่อนระยะเวลาอนั ควร ซงึ่ เราควรจะมีการเรียนรูถ้ ึงสาเหตุตา่ งๆ ทท่ี าให้เคร่ืองจักรกลเกิดการ ชารุดเสียหายหรือเกดิ การเส่อื มสภาพ เพือ่ ท่จี ะได้นาไปวิเคราะหแ์ ละหาทางปูองกัน อกี ทง้ั สามารถนาไปวางแผน หรือกาหนดในมาตรฐานการบารงุ รักษา 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ (ประยกุ ต์ใช้ ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม) มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจสาเหตุการชารุดเสียหายของเครือ่ งจกั รกล 3.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ -จุดประสงคท์ ว่ั ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง (สาหรบั คร)ู 1.สาเหตุการเสียหายของเคร่อื งจกั รกล 2.การพจิ ารณาความเสียหายของเครอ่ื งจกั รกล 3.สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ ครอื่ งจกั รกลเสอ่ื มสภาพ

43 -จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรับนักเรยี น) 1.บอกสาเหตุการเสียหายของเคร่อื งจกั รกลได้ 2.อธิบายข้ันตอนการพจิ ารณาความเสยี หายของเครอ่ื งจักรกลได้ 3.วิเคราะหส์ าเหตุทเี่ คร่อื งจักรกลเสอ่ื มสภาพได้ 4.สาระการเรียนรู้ 1. สาเหตกุ ารเสยี หายของเคร่ืองจักรกล 2. การพิจารณาความเสียหายของเคร่ืองจกั รกล 3. สาเหตทุ ที่ าให้เครอื่ งจกั รกลเสอื่ มสภาพ 4. ข้นั ตอนการซ่อมเครอื่ งจกั รกล 5.กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นักเรียน ) 1. ครูใช้วธิ สี อนแบบบรรยายประกอบการถาม-ตอบกบั นกั เรยี นให้เกิดความเขา้ ใจ 2. ครูจดั กจิ กรรมกลุ่มใหน้ กั เรยี นแบง่ กล่มุ จานวน 5 กลุ่มเพื่อทาการสารวจความเสียหายของเครอ่ื งจักร 3. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอสาเหตุความเสยี หายทีพ่ บพร้อมวเิ คราะห์ถงึ สาเหตุ 6.ส่ือการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ 1.หนังสอื เรยี นวชิ า งานบารุงรักษาเครอ่ื งจกั รกล 7.การบรู ณาการ / ความสัมพันธก์ บั วิชาอ่นื 8.การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธีวัดผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านรายบคุ คล 3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 5 5. การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมอื วดั ผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบคุ คล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (ภาคผนวก ค) 4. แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละนกั เรียน

44 ร่วมกนั ประเมนิ (ภาคผนวก จ) เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑ์ผ่านใบงาน คือ พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านรายบคุ คล เกณฑ์ผา่ น ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรงุ 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 50% ข้นึ ไป 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ า่ น ทาถกู ต้อง 50% ขึน้ ไป 5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอยูก่ ับการ ประเมินตามสภาพจรงิ

45 9.บนั ทกึ หลังการสอน 1.ข้อสรปุ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................................... ............... ................................................................................................................... ........................................... ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. 2.ปญั หาอปุ สรรคทพี่ บ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................. ................ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. 3.แนวทางแก้ปญั หาหรอื พฒั นา ............................................................................................................................. ................................. ................................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................

46 แผนการสอนและการจดั การเรยี นรู้ ประจาหน่วย รหสั วชิ า 2102-2115 ชอื่ วิชา งานบารงุ รักษาเครอื่ งจกั รกล สอนคร้งั ท่ี 11 หน่วยท่ี 7 ชอ่ื หนว่ ย ระบบและวิธกี ารหลอ่ ลื่น เวลา 6 ชั่วโมง หวั ขอ้ เร่ือง ดา้ นความรู้ 1.บอกหน้าท่ขี องการหลอ่ ลน่ื 2.บอกชนดิ ของวัสดุหล่อลืน่ เครื่องจกั รกล 3.อธิบายคณุ สมบตั ิพนื้ ฐานของวัสดหุ ล่อลื่น ดา้ นทกั ษะ 4.บอกวธิ กี ารเลอื กใช้น้ามันหล่อลนื่ เครอ่ื งจักรกลในงานอุตสาหกรรม 5.อธบิ ายวธิ ีการหล่อลืน่ ทางกล ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 6. ความรบั ผิดชอบ 7. ความสนใจใฝรุ ู้ 1.สาระสาคัญ ช้ินสว่ นที่มีการเคลอ่ื นทหี่ รอื มกี ารหมุน จะตอ้ งสัมผัสกบั ช้ินสว่ นอน่ื ๆ ทาใหม้ คี วามฝืดและเกิดความรอ้ น เม่ือมีความรอ้ นเพิ่มขึน้ เรื่อยๆ ก็จะทาให้ชิ้นส่วนนั้นเกิดความเสียหาย มีผลกระทบโดยตรงต่อการทางานของ เครื่องจักรกล การหล่อลื่นอย่างสม่าเสมอจะช่วยทาให้ช้ินส่วนท่ีมีการเคล่ือนที่ สามารถทางานได้อย่างเต็ม ประสิทธภิ าพ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ (ประยุกตใ์ ช้ ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม) มีความรคู้ วามเขา้ ใจระบบและวธิ กี ารหล่อล่ืน 3.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ -จุดประสงคท์ ่ัวไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรบั คร)ู 1.บอกหนา้ ทีข่ องการหลอ่ ลน่ื ได้ 2.บอกชนิดของวสั ดหุ ล่อลืน่ เครอื่ งจกั รกลได้ 3.อธบิ ายคุณสมบตั ิพนื้ ฐานของวสั ดหุ ล่อล่ืนได้

47 -จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สาหรับนักเรียน) 1บอกวิธกี ารเลือกใช้น้ามันหล่อลน่ื เครื่องจกั รกลในงานอุตสาหกรรมได้ 2.อธบิ ายวธิ กี ารหลอ่ ลนื่ ทางกลได้ 4.สาระการเรยี นรู้ 1. หน้าทข่ี องการหลอ่ ล่ืน 2. ชนดิ ของวัสดหุ ลอ่ ล่นื เครื่องจักรกล 3. คณุ สมบตั พิ ื้นฐานของวัสดุหล่อลนื่ 4. การเลอื กใช้น้ามนั หล่อลนื่ เคร่ืองจกั รกลในงานอตุ สาหกรรม 5. การหลอ่ ลื่นดว้ ยวิธที างกล 6. การบารงุ รักษาระบบหลอ่ ลนื่ 5.กิจกรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมของครู / นกั เรียน ) 1. ครูใช้วิธีสอนแบบบรรยายประกอบการให้นักเรยี นทากจิ กรรม 2. ครจู ดั กจิ กรรมกลมุ่ ให้นักเรยี นอภปิ รายการใชส้ ารหลอ่ ลน่ื ภายในโรงฝึกงานวา่ มคี วามเหมาะสม หรือไม่ 3. ครูให้นักเรยี นตรวจสอบระดับน้ามนั หลอ่ ล่นื ของเคร่ืองจกั รภายในโรงฝึกงาน 6.สอื่ การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ 1.หนงั สอื เรียนวิชา งานบารุงรกั ษาเครอ่ื งจักรกล 7.การบรู ณาการ / ความสัมพนั ธก์ ับวชิ าอ่ืน 8.การประเมินผลการเรยี นรู้ วธิ ีวัดผล 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านรายบคุ คล 3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 4. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 5. การสงั เกตและประเมินผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เคร่อื งมอื วดั ผล 1. ใบงาน 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล (ภาคผนวก ข) 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (ภาคผนวก ค)

48 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 5 5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละนกั เรียน รว่ มกันประเมนิ (ภาคผนวก จ) เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านใบงาน คอื พอใช้ 2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านรายบุคคล เกณฑผ์ ่าน ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม เกณฑผ์ า่ น 50% ขน้ึ ไป 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ า่ น ทาถูกต้อง 50% ขน้ึ ไป 5. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยกู่ บั การ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

49 9.บันทึกหลงั การสอน 1.ขอ้ สรปุ หลังการจัดการเรยี นรู้ .......................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................... ............................... 2.ปัญหาอปุ สรรคทพี่ บ .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ......................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. 3.แนวทางแก้ปญั หาหรือพัฒนา ................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. ..............................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook