Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรการทำตะกร้าเชือกมัดฟาง

หลักสูตรการทำตะกร้าเชือกมัดฟาง

Published by nitikranaemto, 2020-05-01 00:11:16

Description: สอนวิธีการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง

Search

Read the Text Version

1 หลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมงี านทา หลกั สูตรเชือกป่ านมหัศจรรย์ กลุ่มอาชีพพาณชิ ยกรรมและบริการ และบริการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2 คานา การจดั การศึกษาเพ่ือตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตอ้ งมุ่งเน้นการพฒั นา เพือ่ เพมิ่ ศกั ยภาพและขีดความสามารถของประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย ใหส้ ามารถประกอบอาชีพ สร้างรายไดท้ ่ี มงั่ คง่ั และมน่ั คง เป็ นบุคคลท่ีมีวินยั เป่ี ยมไปดว้ ยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อตนเอง ผูอ้ ื่น และสงั คม เนน้ การจดั การศึกษาท่ียดึ พ้ืนท่ีเป็ นฐาน โดยสถานศึกษาตอ้ งวเิ คราะห์ศกั ยภาพ 5 ดา้ น ของแต่ละ พ้ืนที่ ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ศกั ยภาพดา้ นภูมิอากาศ ศกั ยภาพดา้ นภูมิประเทศ ศกั ยภาพ ดา้ นศิลปวฒั นธรรมประเพณี และศกั ยภาพดา้ นทรัพยากรมนุษย์ และวเิ คราะห์ขอ้ มลู วถิ ีการดาเนินชีวติ ความ ตอ้ งการ และประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ที่เป็ นผูใ้ ช้บริการผลผลิตของสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล ดงั กล่าวจะนามาสู่การกาหนดหลกั สูตรอาชีพที่สถานศึกษาจะจดั การเรียนการสอน การจดั การศึกษาของสานกั งาน กศน. เพื่อตอบสนองนโยบายดงั กล่าว จึงตอ้ งปรับเปลี่ยน กระบวนการจดั การเรียนรู้ ท่ีเนน้ การปฏิบตั ิจริง มีการศึกษาดูงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผมู้ ีประสบการณ์ ในอาชีพโดยตรง ผสู้ อนเป็ นวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ และเป็ นผูป้ ระกอบการในอาชีพน้นั ๆ ให้ ความสาคญั ต่อการประเมินผลการจบหลกั สูตรท่ีเนน้ ทกั ษะ ความสามารถ และการมีผลงาน ชิ้นงาน ที่ได้ มาตรฐานออกสู่ตลาดได้ การพัฒนาหลักสูตรอาชีพ จึงต้องปรับใหม่โดยการพัฒนาให้ครบวงจร ประกอบดว้ ย ช่องทางการประกอบอาชีพ ทกั ษะของอาชีพ การบริหารจดั การ และโครงการอาชีพพร้อม แหล่งเงินทุน และให้ผูเ้ รียนที่เรียนจบจากหลกั สูตรอาชีพมีความมนั่ ใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้าง รายได้ ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง จึงขอให้สถานศึกษาที่นาหลกั สูตรที่ไดพ้ ฒั นาแลว้ น้นั นามาคดั เลือกใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของพ้ืนท่ี และนาไปอนุมตั ิใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนต่อไป หลกั สูตรอาชีพท่ีพฒั นาข้ึนไดป้ รับปรุงจากหลกั สูตรอาชีพท่ีสถานศึกษาในแต่ละจงั หวดั พฒั นาเป็ นฉบบั ร่างมาแลว้ สานกั งาน กศน. นามาพฒั นาเน้ือหาสาระใหค้ รบวงจรและกาหนดระยะเวลาใน การเรียนให้เหมาะสม โดยไดร้ ับความร่วมมือเป็ นอย่างดีจาก สถาบนั กศน.ภาค สานกั งาน กศน.จงั หวดั สถานศึกษา วทิ ยากร ภูมิปัญญา และผทู้ ี่เก่ียวขอ้ ง มาร่วมพิจารณาและตรวจสอบความถูกตอ้ งจึงทาใหก้ าร ดาเนินการจดั ทาหลกั สูตรในคร้ังน้ีเสร็จสิ้นไปดว้ ยดี สานกั งาน กศน. ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี (นายประเสริฐ บุญเรือง) เลขาธิการ กศน. ธนั วาคม 2554

3 สารบญั หน้า คานา สารบญั ความเป็นมา……………………….………………………………………………………… 1 หลกั การของหลกั สูตร....…………………………………………………………………… 2 จุดหมาย……………………………………………………………………………………… 2 กลุ่มเป้ าหมาย……..………………………………………………………………………… 2 ระยะเวลา……..…………..………………………………………………………………… 2 โครงสร้างหลกั สูตร - ช่องทางการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย…์ …………………………… 3 - ทกั ษะการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย…์ ……………………………… 3 - การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย…์ ……………… 4 - โครงการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย.์ ..…………….………………… 4 การจดั กระบวนการเรียนรู้………………………….………………………………………… 4 สื่อการเรียนรู้............................................................................................................................. 4 การวดั และประเมินผล……………………………..………………………………………… 4 การจบหลกั สูตร………………………….…………………………………………………… 5 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา………….………………….……………………………………… 5 การเทียบโอน……………………….………………………………………………………… 5 บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………… 5 ภาคผนวก 6 - ใบความรู้………………………………………………………………………… 7 - รายละเอียดโครงสร้างหลกั สูตร ………………………………………………… 50 คณะผจู้ ดั ทา ................................................................................................................................ 54

1 หลกั สูตรเชือกป่ านมหัศจรรย์ จานวน 100 ชั่วโมง กลุ่มอาชีพพาณชิ ยกรรมและบริการ ความเป็ นมา สืบเนืองจากกระทรวงศึกษาธิการไดก้ าหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใตก้ รอบเวลา 2 ปี ท่ีจะพฒั นา 5 ศกั ยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขนั ไดใ้ น 5 ภูมิภาคหลกั ของโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทนั เพื่อแข่งขนั ได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกาหนดภารกิจที่จะยกระดบั การจดั การศึกษาเพ่ือเพิ่มศกั ยภาพและขีด ความสามารถใหป้ ระชาชนไดม้ ีอาชีพที่สามารถสร้างรายไดท้ ี่มน่ั คง มง่ั คงั่ มุ่งพฒั นาคนไทยใหไ้ ดร้ ับการศึกษา เพื่อพฒั นาอาชีพและการมีงานทาอยา่ งมีคุณภาพอยา่ งทวั่ ถึงและเท่าเทียมกนั ประชาชนมีรายได้ มีงานทาอย่าง ยงั่ ยนื และมีความสามารถเชิงการแขง่ ขนั ท้งั ในระดบั ภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากล ดงั น้ัน การจดั การศึกษา อาชีพในปัจจุบนั จะตอ้ งมุ่งพฒั นาประชากรของประเทศให้มีความรู้ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบ อาชีพ เนน้ การบรู ณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพดา้ นต่างๆ ซ่ึงเป็ นการจดั การศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ ท่ีสร้างความมน่ั คงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ ตลอดจนสามารถแกป้ ัญหาการว่างงานและส่งเสริมความ เขม้ แขง็ ใหแ้ ก่เศรษฐกิจชุมชน จากนโยบายและจุดเน้นในการดาเนินงานประจาปี งบประมาณ 2555 ของกระทรวงศึกษาธิการ และ สานกั งาน กศน. ที่มุง้ เนน้ การจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาใน 5 กลุ่มอาชีพ ประกอบดว้ ย กลุ่มอาชีพดา้ น เกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม ดา้ นพาณิชยกรรม ด้านความคิดสร้างสรรค์ และดา้ นอานวยการและอาชีพ เฉพาะทาง ซ่ึงเป็ นการศึกษาต่อเน่ืองเพื่อการพฒั นายงั่ ยืนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเลือกประกอบอาชีพในภาวะเศรษฐกิจยคุ ปัจจุบนั จาเป็นตอ้ งมีขอ้ มูลพ้ืนฐานในหลกั สูตรในหลาย ๆ ดา้ น ท้งั ดา้ นการผลิต และความตอ้ งการของตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่างๆ กลุ่มอาชีพสาขาพาณิชยกรรม ก็เป็ นทางเลือกหน่ึงในการเลือกประกอบอาชีพ สานักงาน กศน.ได้ดาเนินการคดั เลือกหลกั สูตรการประกอบ อาชีพดา้ นพาณิชยกรรมมานาเสนอไวเ้ ป็ นตวั อยา่ งให้ผูเ้ รียนไดเ้ ลือกเรียนตามความสนใจ ฝึ กปฏิบตั ิและ นาไปประกอบอาชีพสร้างรายไดอ้ ยา่ งทวั่ ถึงมีความมนั่ ใจในการนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชีพ การกาหนดเน้ือหาและชวั่ โมงในการเรียนหลกั สูตรจะประกอบไปดว้ ยจานวนชว่ั โมงของเน้ือหาความรู้ และการปฏิบตั ิเมื่อผูเ้ รียนเรียนจบหลกั สูตรแลว้ สามารถนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ รวมท้งั สามารถนาจานวนชว่ั โมงท่ีไดเ้ รียนไปเทียบโอน เป็ นผลการเรียนในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบ อาชีพตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประชาชนในพ้ืนที่ส่วนใหญม่ ีอาชีพเกษตรกรรมและวา่ งงานหลงั จากการทานา หรือทาสวน รวมถึงท่ี ยงั ตกงาน และเล้ียงดูบุตรอยทู่ ่ีบา้ น จึงไดค้ ิดรวมตวั กนั ข้ึนเพื่อร่วมกนั ถกั สานเชือกป่ านมดั ฟาง สาหรับเป็ น รายไดเ้ สริมอ่ืนที่นอกเหนือจากการทาการเกษตรมาสนบั สนุนครอบครัวเป็ นระบบกระบวนการ พฒั นา ความคิดสร้างสรรค์ ประยุกตพ์ ฒั นางาน ตลอดจนนาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น แหล่งเรียนรู้ ผเู้ ก่ียวขอ้ ง มีส่วนร่วม

2 จดั เน้ือหา ประสบการณ์ให้เกิดผลกบั ผูเ้ รียนเป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุข รู้แนวทางการประกอบอาชีพคู่กบั การอนุรักษ์ความเป็ นไทยและสิ่งแวดลอ้ มจึงไดต้ กลงกนั ว่าจะทาถกั สานเชือกป่ านมดั ฟาง (การถกั สาน ตะกร้าและการถกั สานกระเป๋ าในรูปแบบตา่ งๆ) ซ่ึงในปัจจุบนั เป็นที่นิยมกนั มากของตลาดท้งั ในตาบล อาเภอ และจงั หวดั ท้งั ยงั มีแนวโนม้ ความตอ้ งการเพ่ิมสูงข้ึนเรื่อยๆ เช่น กระเป๋ าเชือกป่ านมดั ฟาง ไดแ้ ก่ กระเป๋ าลาย รวงขา้ ว กระเป๋ าลายผเี ส้ือกระเป๋ าลายมา้ น้าในดอกพกิ ลุ ฯลฯ ส่วนการจกั สานตะกร้า ไดแ้ ก่ ตะกร้าขนาดเล็ก ลายใบไม้ ตะกร้าขนาดใหญ่ลายต่างๆ เป็ นตน้ มีการปรับเปล่ียนรูปแบบใหท้ นั สมยั และตามประโยชน์การ ใชง้ าน ปัจจุบนั สามารถผลิตสินคา้ ไดต้ ามท่ีลูกคา้ ตอ้ งการ ซ่ึงผลิตภณั ฑ์ต่างๆ เหล่าน้ีเป็ นผลิตภณั ฑท์ ี่มีความ ตอ้ งการสูงจึงทาใหจ้ าหน่ายไดง้ ่ายและทาราคาของผลิตภณั ฑข์ ายไดร้ าคาสูง ซ่ึงจะเป็ นอีกทางเลือกหน่ึงที่จะ ช่วยให้แม่บา้ นมีรายไดเ้ สริมแก่ครอบครัว เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตและความเป็ นอยทู่ ี่ดีข้ึน รวมถึงเพื่อเป็ น การสนบั สนุนการรวมกลุ่มก่อใหเ้ กิดรายไดใ้ นชุมชน ชุมชนเกิดความเขม้ แขง็ ต่อไป หลกั การของหลกั สูตร 1. เป็นหลกั สูตรที่เนน้ การจดั การศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทา ที่เนน้ การบูรณาการเน้ือหาสาระ ภาคทฤษฎีควบคูไ่ ปกบั การฝึกปฏิบตั ิจริง ผเู้ รียนสามารถนาความรู้และทกั ษะไปประกอบอาชีพไดจ้ ริงอยา่ งมี คุณภาพและมีคุณธรรมจริยธรรม 2. เป็นหลกั สูตรท่ีเนน้ การดาเนินงานร่วมกบั เครือขา่ ย สถานประกอบการ เพ่ือประโยชนใ์ นการ ประกอบอาชีพและการศึกษาดูงาน 3. เป็นหลกั สูตรท่ีผเู้ รียนสามารถนาผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในรายวชิ าเลือกของสาระการประกอบอาชีพ 4. เป็นหลกั สูตรที่เนน้ การใชศ้ กั ยภาพ 5 ดา้ นในการประกอบอาชีพ ไดแ้ ก่ ศกั ยภาพดา้ นทรัพยากร ภมู ิอากาศ ภูมิประเทศและทาเลที่ต้งั ศิลปวฒั นธรรมประเพณีและวถิ ีชีวติ และดา้ นทรัพยากรมนุษย์ จุดหมาย เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีคุณลกั ษณะดงั น้ี 1. มีความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายไดท้ ี่มนั่ คง มง่ั คงั่ 2. ตดั สินใจประกอบอาชีพใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของตนเอง ชุมชน สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งมีคุณธรรมจริยธรรม 3. มีเจตคติท่ีดีในการประกอบอาชีพ 4. มีความรู้ความเขา้ ใจและฝึกทกั ษะการบริหารจดั การในอาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5. มีโครงการประกอบอาชีพเพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาอาชีพของตนเอง

3 กลุ่มเป้ าหมาย มี 2 กลุ่มเป้ าหมาย คือ 1. ผทู้ ี่ไม่มีอาชีพ 2. ผทู้ ี่มีอาชีพและตอ้ งการพฒั นาอาชีพ ระยะเวลา จานวน 100 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี 20 ชว่ั โมง ภาคปฏิบตั ิ 80 ชว่ั โมง โครงสร้างหลกั สูตร เรื่องท่ี 1 ช่องทางการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ จานวน 5 ช่ัวโมง 1. ความสาคญั ในการเลือกประกอบอาชีพ จานวน 1 ชวั่ โมง 2. ความเป็นไปไดใ้ นการประกอบอาชีพธุรกิจจากเชือกป่ านมดั ฟาง จานวน 2 ชว่ั โมง 3. การทาผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกป่ านมดั ฟาง จานวน 1 ชว่ั โมง 4. ทิศทางการพฒั นาการประกอบอาชีพเชือกป่ านมดั ฟาง จานวน 1 ชวั่ โมง เรื่องที่ 2 ทกั ษะการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ จานวน 77 ช่ัวโมง 1. การเตรียมการประกอบอาชีพในการทาผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกป่ านมดั ฟาง จานวน 4 ชว่ั โมง 2. ประวตั ิการถกั สานจากเชือกป่ านมดั ฟางในแหล่งชุมชน จานวน 3 ชวั่ โมง 3. การจดั การข้นั ตอนกระบวนการถกั สานดว้ ยวธิ ีท่ีถูกตอ้ ง จานวน 30 ชว่ั โมง 4. การทาลวดลายและการประยกุ ตร์ ูปแบบใหมใ่ นชิ้นงาน จานวน 40 ชวั่ โมง เรื่องที่ 3 การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ จานวน 6 ช่ัวโมง 1. การบริหารจดั การในการทาผลิตภณั ฑเ์ ชือกป่ านมดั ฟางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง จานวน 1 ชวั่ โมง 2. การจดั การบริหารการตลาดของแหล่งจาหน่ายไดแ้ ละในการทาฐานขอ้ มลู จานวน จานวน 1 ชวั่ โมง 3. สารวจและศึกษาแหล่งวสั ดุจดั ใหผ้ เู้ รียน จานวน 1 ชวั่ โมง 4. การกาหนดการควบคุมคุณภาพของผลิตภณั ฑใ์ หค้ ุณภาพคงเดิม ศึกษาและวเิ คราะห์การตลาด การประเมินผลงาน จานวน 3 ชวั่ โมง

4 เร่ืองท่ี 4 โครงการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ จานวน 12 ช่ัวโมง 1. การเขียนโครงการประกอบอาชีพเพ่ือนาไปสู่การปฏิบตั ิจริง 2. การตรวจสอบความเป็ นไปไดข้ องโครงการประเมินโครงการและปรับปรุงโครงการ การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. การบรรยาย 2. การสาธิต ทดลอง 3. การศึกษาดูงาน 4. การฝึกปฏิบตั ิ 5. ศึกษาจากเอกสารส่ิงพิมพ์ /ใบความรู้ 6. ศึกษาจากผรู้ ู้ และภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ส่ือการเรียนรู้ 1. เอกสาร / ใบความรู้ 2. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน / วทิ ยากร / ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น 3. Website 4. VCD การวดั และประเมินผล 1. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎีระหวา่ งเรียนและจบหลกั สูตร 2. การประเมินผลระหวา่ งเรียนจากการปฏิบตั ิงานท่ีมีคุณภาพเพยี งพอ สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั ตนเอง ความสาเร็จของการปฏิบตั ิและจบหลกั สูตร การจบหลกั สูตร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบตั ิตามหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 3. มีผลงานผา่ นการประเมินทดสอบที่มีคุณภาพตามหลกั เกณฑก์ ารถกั สานเชือกป่ านมดั ฟ่ าง อยา่ ง นอ้ ย 1 ชิ้นงาน

5 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา 1. หลกั ฐานการประเมินผล 2. วฒุ ิบตั รออกโดยสถานศึกษา 3. ทะเบียนคุมวฒุ ิบตั ร การเทียบโอน ผเู้ รียนที่จบหลกั สูตรน้ีสามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กบั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระการประกอบอาชีพรายวชิ าเลือกที่สถานศึกษาไดจ้ ดั ทาข้ึนใน ระดบั ระดบั หน่ึง บรรณานุกรม อา้ งอิงจากเวบ็ ไซต์ www.pantip.com และ www.ebay.com “กลุ่มไมก้ วาดแมบ่ า้ นโพทะเลพฒั นา”

6 ภาคผนวก

7 ใบความรู้ เร่ืองที่ 1 ช่องทางการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย์ 1. ความสาคญั ในการประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพ หมายถึง การทามาหากินท่ีเกิดจากกิจกรรมหรือบริการใดๆ ท่ีก่อใหเ้ กิดผลผลิต และรายได้ ซ่ึงเป็นงานประจาที่สุจริต ไมผ่ ดิ ศีลธรรม ลกั ษณะอาชีพ แบง่ ออกเป็น 1. อาชีพอิสระ มีลกั ษณะเป็นเจา้ ของกิจการ บริหารจดั การดว้ ยตนเอง อาจเป็นกิจการขนาดเล็ก หรือเป็นอุตสาหกรรมในครัว เรือน อาชีพอิสระแยกยอ่ ยออกไปเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี „ อาชีพอิสระดา้ นการผลิต การแปรรูปผลผลิตเป็นสินคา้ นาไปจาหน่ายในทอ้ งตลาดเป็นการขาย ปลีกและขายส่ง เช่น อาหารไทย เบเกอรี่ ผกั ผลไม้ „ อาชีพอิสระดา้ นการใหบ้ ริการ เป็นอาชีพท่ีนิยมกนั แพร่หลาย เนื่องจากมีความเสี่ยงนอ้ ย การ ลงทุนต่า เช่น บริการทาความสะอาด ทานายโชคชะตา บริการซกั รีดเส้ือผา้ ช่างซ่อมอ่ืน ๆ 2. อาชีพรับจา้ ง เป็นการทางานท่ีมีเจา้ นายมอบหมาย ไดร้ ับคา่ ตอบแทนเป็นเงิน เช่น งานก่อสร้าง พนกั งานในบริษทั หา้ งร้าน และโรงงาน 3. อาชีพงานฝีมือ เป็นอาชีพที่ปฏิบตั ิงานโดยใชป้ ระสบการณ์และความชานาญเฉพาะดา้ น เช่น งาน ศิลปะ งานหตั ถกรรม งานประติมากรรม 4. อาชีพขา้ ราชการหรือเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ รวมท้งั พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ เป็นอาชีพท่ีใหบ้ ริการแก่ ประชาชน ประโยชน์ของอาชีพ มีหลายดา้ น ดงั น้ี 1. ดา้ นตนเอง เป็นคนท่ีรู้คุณคา่ ของเงิน ใชจ้ า่ ยเงินอยา่ งประหยดั วางแผนการใชจ้ ่ายเงิน การเก็บ ออมเงินเพื่อความมนั่ คงของชีวติ 2. ดา้ นครอบครัว การมีอาชีพจะสร้างคุณค่าใหก้ บั ตนเองและสมาชิกในครอบครัว เป็ นตวั อยา่ งแก่ คนในครอบครัวและบุคคลอ่ืนๆ 3. ดา้ นชุมชน เป็นการสร้างรายไดใ้ หช้ ุมชน ทาใหเ้ ศรษฐกิจชุมชนดีข้ึน ทาใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ พ่งึ พา ตนเองได้ 4. ดา้ นประเทศชาติ เม่ือประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ รัฐสามารถเกบ็ ภาษีจากประชาชนได้ สามารถ นารายไดจ้ ากการเก็บภาษีไปพฒั นาประเทศในดา้ นตา่ งๆ ได้

8 2. ความเป็ นไปได้ในการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ อาชีพมีหลายประเภท มีลกั ษณะแตกต่างกนั การเลือกอาชีพตอ้ งพจิ ารณาจากปัจจยั ตา่ งๆ ดงั น้ี 2.1 การวเิ คราะห์ตนเอง 1. ความสนใจ สารวจความถนดั ความสนใจ ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเองมากท่ีสุด เพ่อื เป็นแนวทางการเลือกอาชีพที่เหมาะสม 2. วสิ ยั ทศั นก์ ารเป็นคนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมองการณ์ไกล จะไดเ้ ปรียบในเชิง ธุรกิจมากกวา่ คนอ่ืน 3. ความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชีพ หากไมม่ ีความรู้เพียงพอ ตอ้ งศึกษาขวนขวายหาความรู้ เพ่ิมเติม อาจจะฝึกอบรมจากสถาบนั ท่ีใหค้ วามรู้ดา้ นอาชีพ หรือทางานเป็ นลูกจา้ งคนอ่ืนๆ หรือทดลองปฏิบตั ิดว้ ย ตนเองเพื่อใหม้ ีความรู้ ความชานาญ และมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพน้นั ๆ 2.2 การวเิ คราะห์ตลาด 1. การตลาด เป็นปัจจยั ท่ีสาคญั มากท่ีสุดปัจจยั หน่ึง เพราะหากสินคา้ และบริการท่ีผลิตข้ึนไม่ เป็นท่ีนิยมและไมส่ ามารถสร้างความพอใจใหแ้ ก่ผบู้ ริโภคไดก้ ็ถือวา่ กระบวนการท้งั ระบบไมป่ ระสบ ผลสาเร็จ ดงั น้นั การวางแผนการตลาด ซ่ึงปัจจุบนั มีการแขง่ ขนั สูง จึงควรไดร้ ับความสนใจในการพฒั นา รวมท้งั ตอ้ งรู้และเขา้ ใจในเทคนิคการผลิต การบรรจุและการหีบห่อ ตลอดจนการประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื ให้ สินคา้ และบริการของเราเป็นท่ีนิยมของลูกคา้ กลุ่มเป้ าหมาย ตอ่ ไป 2. การจดั การ เป็นเรื่องของเทคนิคและวธิ ีการ จึงตอ้ งรู้จกั การวางแผนการทางานในเร่ืองของตวั บุคคลท่ีจะร่วมคิด ร่วมทาและร่วมทุน ตลอดจนเครื่องมือ เคร่ืองใชแ้ ละกระบวนการทางาน 3. การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย เราอาจแบ่งกลุ่มลูกคา้ โดยแบ่งตามอายุ ความชอบ เพศ ระดบั การศึกษา การเลือกซ้ือสินคา้ ราคา และรสชาติ เป็ นตน้ 4. การวเิ คราะห์ลูกคา้ 1) เราตอ้ งรู้ความตอ้ งการของกลุ่มเป้ าหมาย 2) รู้วตั ถุประสงคใ์ นการ บริโภคสินคา้ 3) รู้วธิ ีการตดั สินใจซ้ือของลูกคา้ 2.3 การลงทุน/แหล่งเงินทนุ 1. ทรัพยากรในทอ้ งถิ่น การสารวจทรัพยากรที่มีในทอ้ งถิ่นวา่ สามารถนามาใชใ้ นการผลิต สินคา้ ซ่ึงจะช่วยประหยดั ตน้ ทุน คา่ ใชจ้ ่าย และเป็นการสร้างงานใหค้ นในทอ้ งถิ่น 2. ทุน เป็นสิ่งที่จาเป็ นปัจจยั พ้นื ฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะตอ้ งวางแผนและแนว ทางการดาเนินธุรกิจไวล้ ่วงหนา้ เพื่อท่ีจะทราบวา่ ตอ้ งใชเ้ งินทุนประมาณเทา่ ไร บางอาชีพใชเ้ งินทุนนอ้ ย ปัญหายอ่ มมีนอ้ ย แตถ่ า้ เป็นอาชีพท่ีตอ้ งใชเ้ งินทุนมากจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ มีทุนเพยี งพอหรือไม่ซ่ึงอาจ เป็น ปัญหาใหญ่ ถา้ ไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ใด อาจจะไดจ้ ากเงินเกบ็ ออม หรือการกูย้ มื จากธนาคาร หรือ สถาบนั การเงินอื่นๆ อยา่ งไรก็ตาม ในระยะแรกไมค่ วรลงทุนจนหมดเงินเก็บออมหรือลงทุนมากเกินไป 3. การประกอบอาชีพกาแฟโบราณ จะใชท้ ุนเร่ิมตน้ ประมาณ 3,000 - 4,000 บาท

9 3. แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพ แหล่งเรียนรู้ หมายถึง แหล่งขอ้ มลู ข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ท่ีสนบั สนุนส่งเสริมให้ ผเู้ รียนใฝ่ เรียน ใฝ่ รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ดว้ ยตนเองตามอธั ยาศยั อยา่ งกวา้ งขวางและต่อเน่ือง เพอื่ เสริมสร้างใหผ้ เู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สาหรับแหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพกาแฟโบราณ มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ ึกษารูปแบบ และวธิ ีการขายจากสถานที่จริง ไดเ้ ห็นรูปแบบการดาเนินกิจกรรมร้านกาแฟโบราณ ท่ีมีขายในทอ้ งตลาด นอกจากน้ีการไดศ้ ึกษาจากผปู้ ระกอบอาชีพร้านกาแฟโบราณ ที่ประสบความสาเร็จ จะทาใหผ้ เู้ รียน ไดร้ ับการถ่ายทอดประสบการณ์ อนั จะส่งผลใหเ้ กิดแนวคิด และแรงบนั ดาลใจในการสร้างอาชีพ 4. ทศิ ทางในการเลอื กประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ ก่อนกาหนดทิศทางในการเลือกประกอบอาชีพใดๆ กต็ าม ควรพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ ซ่ึงมี ขอ้ แนะนา ดงั น้ี ประการแรก ควรเลือกอาชีพท่ีชอบหรือคิดวา่ ถนดั สารวจตวั เองวา่ สนใจ อาชีพอะไร ชอบหรือถนดั ดา้ นไหน มีความสามารถอะไรบา้ ง ท่ีสาคญั คือตอ้ ง การหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะเหมาะสมกบั ตวั เองและครอบครัว กล่าวคือ พิจารณาลกั ษณะงานอาชีพ และพิจารณาตวั เอง พร้อมท้งั บุคคลในครอบครัว ประกอบกนั ไปดว้ ย ประการทส่ี อง จะตอ้ งพฒั นาความสามารถของตวั เอง คือ ตอ้ งศึกษารายละเอียดของอาชีพท่ีจะเลือก ไปประกอบ ถา้ ความรู้ความเขา้ ใจยงั มีนอ้ ย มีไม่เพียงพอก็ตอ้ งทาการศึกษา ฝึ กอบรม ฝึ กปฏิบตั ิเพ่ิมเติมจาก บุคคล หรือหน่วยงานต่างๆ ให้มีพ้ืนฐานความรู้ความเขา้ ใจในการเริ่มประกอบอาชีพท่ีถูกตอ้ ง เพื่อจะได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของผมู้ ีประสบการณ์มาก่อน จกั ไดเ้ พิ่มโอกาสความสาเร็จสมหวงั ในการไป ประกอบอาชีพน้นั ๆ ประการทสี่ าม พจิ ารณาองคป์ ระกอบอ่ืนที่เก่ียวขอ้ ง เช่น ทาเลท่ีต้งั ของอาชีพที่จะทาไม่วา่ จะเป็ นการ ผลิต การจาหน่าย หรือการใหบ้ ริการก็ตาม สภาพ แวดลอ้ มผรู้ ่วมงาน พ้ืนฐานในการเริ่มทาธุรกิจ เงินทุน โดยเฉพาะเงินทุนตอ้ งพิจารณาวา่ มีเพียงพอหรือไม่ถา้ ไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ใด

10 ใบความรู้ เรื่องท่ี 2 ทกั ษะการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหศั จรรย์ วสั ดุอปุ กรณ์และเคร่ืองมอื ในการถักสานผลติ ภัณฑ์เชือกมัดฟาง ศึกษาถึงวสั ดุ อุปกรณ์และเคร่ืองมือต่าง ๆ ในการถกั สานเชือกมดั ฟาง ไดแ้ ก่ 1. เชือกมดั ฟาง 2. โครงตะกร้าที่ทาจากเหล็ก ขนาด 26 x 35 ซ.ม. 3. ไฟแกส๊ 4. กรรไกร 5. เหลก็ แหลม 6. เทียนไข 7. น้ายาเคลือบเงา การเตรียมเชือกมดั ฟางเพอื่ การถกั สาน คุณสมบตั ิของเชือกมดั ฟาง ลกั ษณะของเชือกมดั ฟางมีคุณลกั ษณะพิเศษคือ เหนียว คงทน มีสีสนั ให้ เลือกหลากหลายในการใชง้ าน วธิ ีการเตรียมเส้นเชือก เม่ือเลือกเชือกมดั ฟางไดแ้ ลว้ เหมาะกบั การใชง้ าน เช่น ถา้ เราตอ้ งการทาตะกร้าอเนกประสงค์ ควรใชเ้ ชือกเบอร์ 4 (สีตามตอ้ งการ) เชือกมดั ฟางเป็นวสั ดุที่ผลิตข้ึนมา จากใยสังเคราะห์ ไมเ่ ป็นรา สีสดคงทนและสามารถเคลือบเงาได้ โครงแบบสาหรับถกั สานผลติ ภณั ฑ์เชือกมดั ฟาง ศึกษาวธิ ีการทาโครงแบบเพ่ือถกั สานผลิตภณั ฑเ์ ป็นรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงทาดว้ ยเส้นลวดและอุปกรณ์ อื่น ๆ อีก ซ่ึงจะเป็นตน้ แบบผลิตภณั ฑ์ การฝึกปฏิบตั ิการทาโครงแบบเพ่ือการถกั สานผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟาง เช่น โครงแบบตะกร้าอเนกประสงค์ เป็นตน้ ซ่ึงอยใู่ นข้นั ตอนต่อไปท่ีจะนาเสนอ การถักสานผลติ ภณั ฑ์จากเชือกมดั ฟางรูปแบบต่าง ๆ ศึกษาวธิ ีการถกั สานผลิตภณั ฑจ์ ากเชือกมดั ฟาง ไดแ้ ก่ การพนั การถกั การผกู การสอด การเก็บ และ การคล่ีใหเ้ ชือกเป็ นเส้นเล็ก ๆ เพ่ือการพนั และลกั ษณะการถกั เชือกท้งั เส้นใหเ้ ป็นลวดลายแบบตา่ ง ๆ การยดึ แบบโครงเพ่ือให้แขง็ แรงทนทานกบั การใชง้ านการเกบ็ ลายใหเ้ รียบร้อย สวยงานไดร้ ูปทรง - ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟางที่ใชเ้ ป็นของใช้ ไดแ้ ก่ ตะกร้าอเนกประสงค์ ตะกร้าใส่ผา้ ตะกร้าผลไม้ ตะกร้าดอกไม้ แฟ้ มใส่เอกสาร กระจาด พาน กระเป๋ าหิ้ว กระเป๋ าสะพาย และอ่ืน ๆ

11 - ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟางท่ีใชเ้ ป็นของตกแต่ง ไดแ้ ก่ โคมไฟ โมบาย ท่ีแขวนผา้ เช็ดมือ ที่ใส่กระถาง ตน้ ไมแ้ บบแขวน - ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟางท่ีใชเ้ ป็นเคร่ืองประดบั และของท่ีระลึก ไดแ้ ก่ เขม็ ขดั พวงกญุ แจ เป็นตน้ การตกแต่งผลติ ภัณฑ์ในข้ันตอนสุดท้าย การตรวจความเรียบร้อยเมื่อถกั สานเสร็จแลว้ ตอ้ งตรวจดูความเรียบร้อยเพ่ือความสวยงามของตวั ผลิตภณั ฑ์ จากน้นั จึงจะพน่ สีเคลือบเงาดว้ ยน้ายาเคลือบเงาเพือ่ เพม่ิ ความแขง็ แรงและความเงางามของตวั ผลิตภณั ฑ์ บทนิยาม ความหมายของคาที่ใชใ้ นมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชนน้ี มีดงั ต่อไปน้ี 1. ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟาง หมายถึง ผลิตภณั ฑท์ ่ีทาหรือประดิษฐข์ ้ึนจากเชือกมดั ฟาง โดยการถกั สาน มดั ผกู หรือเยบ็ เป็ นผลิตภณั ฑแ์ บบต่าง ๆ อาจใชว้ สั ดุอ่ืน เช่น ไม้ พลาสติก โลหะ ผา้ หนงั เป็น ส่วนประกอบ อาจซบั ดว้ ยวสั ดุอื่น เช่น ผา้ หนงั พลาสติก และเคลือบดว้ ยสารเคลือบเงาดว้ ยกไ็ ด้ 2. เชือกมดั ฟาง หมายถึง เชือกท่ีไดจ้ ากการสงั เคราะห์ มีความเหนียว คงทน มีลกั ษณะคลา้ ยเชือกกลว้ ย มีขนาดแตกตา่ งกนั ใชส้ าหรับมดั ฟางขา้ ว เกณฑ์การพจิ ารณาประเมินผลงาน 1. การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับใหเ้ ป็นไปตามแผนการชกั ตวั อยา่ งที่กาหนดตอ่ ไปน้ี 1.1 การชกั ตวั อยา่ งและการยอมรับสาหรับการทดสอบการบรรจุและเครื่องหมาย และฉลาก ให้ ชกั ตวั อยา่ งโดยวธิ ีสุ่มจากรุ่นเดียวกนั จานวน 5 ตวั อยา่ ง เม่ือตรวจสอบแลว้ ทุกตวั อยา่ งตอ้ งมีการบรรจุ ให้ บรรจุผลิตภณั ฑ์เชือกมดั ฟางในภาชนะที่สะอาด แหง้ เรียบร้อย และสามารถป้ องกนั ความเสียหายท่ีอาจเกิด ข้ึนกบั ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟางได้ และจึงจะถือวา่ ผลิตภณั ฑ์เชือกมดั ฟางรุ่นน้นั เป็นไปตามเกณฑท์ ี่กาหนด 1.2 การชกั ตวั อยา่ ง และการยอมรับ สาหรับการทดสอบลกั ษณะทว่ั ไป เชือกมดั ฟาง การถกั สาน มดั ผกู การประกอบ การประกอบดว้ ยวสั ดุอ่ืน และการเคลือบเงา ใหใ้ ชต้ วั อยา่ งที่ผา่ นการทดสอบ แลว้ จานวน 5 ตวั อยา่ ง เม่ือตรวจสอบแลว้ ตวั อยา่ งตอ้ งเป็นไปตามขอ้ 3.1 ถึงขอ้ 3.6 จึงถือวา่ ผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟางรุ่นน้นั เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 2. การทดสอบลกั ษณะทวั่ ไป เชือกมดั ฟาง การถกั สาน มดั ผกู การประกอบ การประกอบดว้ ยวสั ดุ อ่ืน และการเคลือบเงา 2.1 ใหแ้ ตง่ ต้งั คณะผตู้ รวจสอบ ประกอบดว้ ยผมู้ ีความชานาญในการตรวจสอบผลิตภณั ฑเ์ ชือกมดั ฟาง อยา่ งนอ้ ย 5 คน แตล่ ะคนจะแยกกนั ตรวจและใหค้ ะแนนโดยอิสระ 2.2 หลกั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ใหเ้ ป็นไปตามตาราง

12 ตารางหลกั เกณฑ์การให้คะแนน ระดับการตดั สิน (คะแนน) ลกั ษณะทต่ี รวจสอบ เกณฑ์ทกี่ าหนด ดมี าก ดี พอใช้ ต้อง ลกั ษณะทวั่ ไป ปรับปรุง เชือกมดั ฟาง ตอ้ งปราณีต มีรูปแบบทรงสวยงาม ไม่บิด 4 3 2 1 การถกั สาน มดั ผกู การประกอบ เบ้ียว หรือเอนเอียง ขนาดเหมาะสมกบั การ การประกอบดว้ ยวสั ดุ ใชง้ าน และไม่มีรอยต่อหรือรอยไหมข้ อง อ่ืน (ถา้ มี) การเคลือบเงา (ถา้ มี) เชือกมดั ฟางปรากฎใหเ้ ห็นเด่นชดั จนทา ใหช้ ิ้นงานขาดความสวยงาม ตอ้ งมีขนาดสม่าเสมอ เหนียว คงทน 4 32 1 ตอ้ งมีช่องไฟ และลวดลายสม่าเสมอ ไมม้ ี 4 3 2 1 ปลายของเชือกมดั ฟางหลุดหรือยนื่ ออกมา ตอ้ งปราณีต รอยตอ่ ตอ้ งไมแ่ ยกออกจาก 4 32 1 กนั และมีรอยต่อเป็นแนวเดียวกบั รอยสาน เดิม ตอ้ งปราณีต ติดแน่น คงทน กลมกลืน 4 32 1 เหมาะสมกบั ชิ้นงานและประโยชน์ใชส้ อย กรณีเป็นโลหะตอ้ งไมเ่ ป็นสนิม ตอ้ งเรียบ สม่าเสมอ ไมเ่ ป็ นเมด็ เป็นคราบ 4 3 2 1 กรอบแตก หลุด หรือลอก และไมห่ นา เกินไปจนทาใหช้ ิ้นงานขาดความสวยงาม 2.3 การทดสอบการบรรจุและเครื่องหมายและฉลากใหต้ รวจพินิจ

13 งบประมาณการลงทุน เชือกป่ านมดั ฟาง เบอร์ 4 ราคามว้ นละ 160 บาท ถา้ ใชท้ าตะกร้า 1 ใบ จะใช้ 4 ขีด 64 บาท โครงตะกร้าใบละ 100 บาท น้ายาเคลือบเงา 15 บาท ไฟแช็ค 5 บาท เทียน 1 แท่ง 1 บาท สรุปตน้ ทุนตอ่ ใบ 185 บาท ราคาขายใบละ 450-500 บาท ทาต้นแบบโครงตะกร้า ศึกษาการกระทาโครงแบบข้ันต้น อุปกรณ์ 1. เส้นลวดเบอร์ 10 2. ตเู้ ชื่อมไฟฟ้ า ขนาด 300 แอมป์ 3. ลวดเช่ือมเหล็ก ขนาด 2 มิล 4. คีมตดั ลวด 5. ตลบั เมตร เร่ิมดว้ ยแบบขนาดท่ีตอ้ งการในท่ีน้ีจะใหแ้ บบตะกร้าแบบอเนกประสงคร์ ูปมน ขนาดกวา้ ง 26 x ยาว 35 x สูง 16.5 ซ.ม. การตัดลวด 1. นาลวดมาวดั รอบปากแบ่ง 4 ส่วนใช้ 2 เส้นยาว 26 ซ.ม. และอีก 2 เส้น ใหเ้ พ่มิ ความยาวอีก 2 ซ.ม. จะไดเ้ ท่ากบั 28 ซ.ม. 2. วดั รอบกน้ ตะกร้าแบง่ 4 ส่วนให้ 2 เส้นยาว 23 ซ.ม. และอีก 2 เส้นยาว 24 ซ.ม. 3. ตดั ลวด 2 เส้นยาว 22 ซ.ม. 2 เส้นเพื่อจะทากน้ ตะกร้า 4. ตดั ลวด 8 เส้นยาว 16.5 ซ.ม. เป็นความสูง 5. ตดั ลวด 3 เส้นยาว 62 ซ.ม. 1 เส้นและยาว 63.5 ซ.ม.อีก 2 เส้น สาหรับทาหูหิ้ว

14 การเช่ือมเข้าแบบ 1. นาลวดในข้นั ตอนที่ 1 มา 2 เส้น ขนาดความยาว 28 ซ.ม. จบั มาโคง้ เล็กนอ้ ยใหเ้ ทา่ กนั แลว้ เชื่อมชน กนั ใหเ้ ป็นวงกลมเพือ่ ทาปากตะกร้า 2. ทากน้ ตะกร้าโดยวธิ ีทาเหมือนกบั ปากตะกร้า 3. นาลวดยาว 22 ซ.ม. 2 เส้นมาเช่ือมเป็นความกวา้ ง ส่วนกน้ ตะกร้าแบง่ เป็ น 3 ช่องเทา่ ๆ กนั 4. นาลวดท้งั 8 เส้นมาเช่ือมกบั ปากตะกร้าโดยเชื่อมเส้นที่ 1 ตรงมุม (แนวตรง) ที่ชนกบั เส้นที่ 2-4 เช่ือมตรงมุมท้งั 4 ดา้ น เส้นที่ 5-8 ตรงกลางเส้นลวดแต่ละเส้นของวงปากและนากน้ ตะกร้ามาเชื่อม เขา้ ดว้ ยกนั 5. นาลวดขนาดความยาว 62 ซ.ม. ใหอ้ ยตู่ รงกลาง ส่วนอีก 2 เส้นซ่ึงขนาดความยาว 63.5 ซ.ม. ใหอ้ ยู่ ขา้ งซา้ ยและขวา แลว้ จึงเช่ือมใหต้ ิดกนั ใหเ้ หลือไวด้ า้ นละ 16 ซ.ม. เพอ่ื ท่ีจะแยกท้งั สามเส้นออกจาก กนั ใหม้ ีความกวา้ งประมาณช่องละ 7 ซ.ม. 6. นามาเช่ือมติดบนปากตะกร้าตามยาวใหเ้ ส้นตรงกลางวางตรงกบั หลกั ของความสูง และเชื่อมติด ดา้ นขา้ งช่องละ 7 ซ.ม. แลว้ ตรวจดูความเรียบร้อยแขง็ แรง เจียรนยั ตามความเหมาะสมและจึงพน่ สี กนั สนิมเป็นอนั เสร็จ การทาตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง วสั ดุ/อปุ กรณ์ 1. โครงตะกร้าท่ีทาสาเร็จแลว้ ขนาด 26 x 35 ซ.ม. 2. เชือกมดั ฟางสีต่าง ๆ เบอร์ 4 3. ไฟแกส็ 4. กรรไกร 5. เหล็กแหลม 6. เทียนไข

15 ข้นั ตอนการทา 1. เลือกวสั ดุอุปกรณ์ และเชือกใหเ้ หมาะกบั ตะกร้าท่ีจะทา 2. ตดั เชือกยาวพอประมาณ แลว้ นามาแยกออกเป็นเส้นเลก็ ๆ นามาพนั เขา้ กบั โครงตะกร้า พนั ใหห้ มด จนไมเ่ ห็นเน้ือเหล็กซ่ึงเป็นโครงตะกร้า 3. ตดั เชือกยาวประมาณ 2.5-3 เมตร นามาถกั ขอบตะกร้าท้งั ขา้ งบนและขา้ งล่างโดยนาเชือกไวใ้ ตล้ ่าง เหล็กและใชเ้ ส้นขวาพาดบนเหล็กแลว้ ใชเ้ ส้นทางซา้ ยพาดเส้นทางขวา ใชป้ ลายเชือกเส้นทางซา้ ย สอดเขา้ บว่ งขวาแลว้ ดึงใหแ้ น่น ทาสลบั กนั โดยใหเ้ ส้นทางดา้ นซา้ ยพาดบนเหล็กแลว้ ใชป้ ลายเชือก ทางดา้ นขวาสอดเขา้ บว่ งซา้ ยแลว้ ดึงใหแ้ น่น ทาแบบน้ีรอบ ๆ ของขอบตะกร้าท้งั ดา้ นบนและล่าง รูปตวั อย่าง การพนั โครงตะกร้า และการถกั ขอบตะกร้า 4. การถกั กน้ ตะกร้า วธิ ีการวดั เส้นเชือกใหว้ ดั = 4 เทา่ ใชเ้ ชือกประมาณ 28-32 เส้น มาวดั สามารถเพ่มิ ความยาวเชือกไดอ้ ีกนิดหน่อยเพื่อสาหรับการดึง เริ่มจากกน้ ดา้ นใดดา้ นหน่ึงตามถนดั ใชเ้ หลก็ แหลมแทง นาเส้นเชือกบริเวณของขอบตะกร้า แลว้ สอดเส้นเชือก ทาแบบน้ีไปโดยเวน้ ระยะ ประมาณ 1 ซ.ม. ใส่เชือกใหค้ รบโดยเชือกท่ีใส่ตอ้ งเป็นเส้นคูแ่ ลว้ นามาถกั เรียกวา่ ตวั ปู โดยจบั เชือก 4 เส้น โดยดึงปลายใหเ้ สมอกนั ดึงดา้ นซา้ ย 1 ขา้ งขวา 1 แลว้ ใช้ เส้นทางดา้ นขวาพาดทบั 2 เส้นกลาง และเส้นซา้ ยทบั เส้นขวา ดึงใหแ้ น่น จากน้นั กน็ าเส้นขวาทบั เส้นซา้ ย แลว้ ดึงใหแ้ น่น ทาแบบน้ีจนเตม็ แลว้ สอด เก็บโดยตดั เชือกใหเ้ หลือประมาณ 0.5 ซ.ม. เพื่อนาไฟแกส๊ มารนเก็บเชือกให้ สวยงาม

16 รูปตัวอย่าง การถกั กน้ ตะกร้า (ตวั ป)ู วธิ ีทาลาย (รวงข้าว) 1. ใชเ้ ชือกยาว 100 ซ.ม. โดยใชเ้ ชือกท้งั หมด 128 เส้น เมื่อตดั ปลายเชือกแลว้ ใหร้ นไฟท่ีปลายเชือกท้งั สองดา้ นเพื่อกนั การแตกของเส้นเชือก แลว้ ใชเ้ หล็กแหลมแทงนาเส้นเชือกสอดจนครบ แลว้ จบั ปลายเชือกใหเ้ สมอกนั จบั 4 เส้นมาผกู ตวั ปู 2 ช้นั และผกู บิด 1 ช้นั ต่อดว้ ยตวั ปูอีก 1 ช้นั แลว้ จบั ดอกกลาง 4 เส้น ทบั เป็นตวั หนอนช้นั แรกให้ดึงเส้นยนื มาพนั ก่อน จากน้นั ใหด้ ึงเส้น 2 เส้นเป็นตวั แรก ส่วนตวั ที่ 2 ใหด้ ึงเส้นยนื ที่พนั หนอนเส้นแรกมาถึงแลว้ พนั ตวั หนอนจากเส้น 2 เส้น เม่ือพนั 2 เส้นแลว้ ใหด้ ึงเส้นยนื เส้นแรกกลบั มาพนั ทาอยา่ งน้ีอีกท้งั สองดา้ น เป็ น 1 ดอก แลว้ ผกู เป็นปู ทาท้งั หมดแลว้ ใกลส้ ุดใหท้ าปูจนเสร็จ และร้อยเชือกที่ขอบตะกร้าตามเดิมดึงใหแ้ น่นและถกั ปู 3 ช้นั เพ่อื เป็ นตีนตะกร้า 2. หูตะกร้า ใหว้ ดั ความยาว = 6 เท่า ทาเป็นเส้นคูเ่ ร่ิมตน้ ทาแบบเดียวกนั การถกั ลายใหใ้ ชล้ ายบิดขวา ท้งั 2 หู ส่วนตรงกลางใหถ้ กั สลบั จนเสร็จ วธิ ีการทากระเป๋ าสะพาย (ลายใบไม้ ใช้เชือกเบอร์ 8) 1. ตดั เชือกยาว 155 ซ.ม. แลว้ ทบจะยาวท้งั หมด 310 ซ.ม. ใชเ้ ชือก 64 เส้น 2. เร่ิมผกู ปู 4 ช้นั จานวนท้งั หมด 14 ตวั แลว้ นามาผกู ตอ่ กนั นามาทาบกบั แบบ จากน้นั ก็ผกู ปูใหเ้ ตม็ แบบผกู 4 ข้นั จากน้นั ใหเ้ อาเชือกที่เหลืออีก 8 เส้นใส่เพิม่ ดา้ นละ 4 เส้น แลว้ ผกู ปูต่อ 2 คร้ัง จานวน 7 ช้นั 3. จากน้นั ใหน้ บั เส้นเชือก 8 เส้น เป็น 1 ดอก แลว้ ดึงเส้นยนื 2 เส้น ใชเ้ ส้นแรกเป็นเส้นยนื แลว้ พนั 6 เส้น จากน้นั ดึงเส้นยนื เส้นท่ี2 นามาพนั เชือก 6 เส้น ส่วนตรงกลางใหผ้ กู ปตู วั ใหญ่ 4 ตวั แลว้ พนั ตวั หนอนแบบเดียวกนั ท้งั หมด 3 ตวั เรียงแลว้ ใหผ้ กู ปูอีก 7 ช้นั 4. วธิ ีทาหูกระเป๋ า เลือกความยาวตามความตอ้ งการ เชือกเส้นยนื 2 เส้นแลว้ นามาอีก 2 เส้นเรียงกนั ใช้ เส้นขวาพาดบน 2 เส้นกลาง ดึงเส้นซา้ ยพาดบนเส้นขวาแลว้ สอดเขา้ บ่วงแลว้ ดึงใหแ้ น่น ทา 5 คร้ัง

17 สลบั กนั จากน้นั ทาบิดขวาตลอดจนพอใจ เกบ็ ปลายเชือกโดยใชไ้ ฟลน แลว้ นามาเยบ็ กบั กระเป๋ า ตกแต่งตามใจชอบ วธิ ีการทา (ลายใบไม้ ใช้เชือกเบอร์ 4) 1. ตดั เชือกใชค้ วามยาว สีครีม 95 ซ.ม. จานวน 98 เส้น สีชมพู 140 ซ.ม. จานวน 32 เส้น (จะไดด้ อกท้งั หมด 16 ดอก สาหรับตะกร้าขนาดกลาง) 2. เริ่มแบ่งดอกดว้ ยการผกู ปู 1 คร้ัง และผกู ปเู ฉพาะสีครีมทาใหร้ อบตะกร้าจะได้ 16 ดอก 1 ดอกจะมี เชือกท้งั หมด 12 เส้น แลว้ ดึงเส้นยนื สีชมพู 2 เส้น ใชเ้ ส้นแรกเป็นเส้นยนื พนั ทบั 6 เส้น จากน้นั ดึง เส้นยนื เส้นท่ี 2 นามาพนั เชือกอีก 6 เส้น ส่วนตรงกลางใหผ้ กู ปตู วั ใหญ่ 4 ตวั แลว้ พนั ตวั หนอนทา แบบเดียวกนั (ตรงกลางอาจจะผกู เป็นพดั ก็ได้ ทาท้งั หมด 16 ดอกและทาลงมาช้นั ท่ี 2-3 เหมือนกนั หมด)

18 วธิ ีการทา (ลายผเี สื้อ) 1. ตดั เชือกตามขนาดท่ีกาหนดไวใ้ ห้ จากน้นั ถกั เป็นปู 2 ช้นั ถา้ บิดเกลียว 3 ช้นั แลว้ ถกั ปูต่ออีก 2 ช้นั จบั ดอกสายตรงกลางตะกร้าใชเ้ ชือก 6 เส้น ทาเป็นตวั หนอน 4 ช้นั จะไดป้ ี ก 1 ขา้ ง แลว้ ทาตอ่ อีกจะ ไดอ้ ีก 1 ขา้ ง จะเป็น 1 ตวั ผเี ส้ือแลว้ ดึงปลายเชือก 2 เส้นมาผกู ปูแลว้ ทาตอ่ จนหมด ถา้ โครงตะกร้าใบ ใหญจ่ ะได้ 4-5 ช้นั (กน้ ตะกร้าจะใชก้ ารผกู ปูเป็นมาตรฐานตลอด) วธิ ีการทา (ลายม้านา้ ในดอกพกิ ุล) เร่ิมผกู ปู 1 ช้นั และทาเกลียว 1 ตา แลว้ ทาปู 2 ช้นั จากน้นั ผกู ปูใหเ้ ป็นจอมก่อนแลว้ ข้ึนลาย โดยจบั เชือกเส้น ล่างสุดดึงพนั เป็นตวั หนอน 2 ตวั แลว้ ใหด้ ึง 4 เส้นแรกแยกออก เชือกที่พนั จะเหลือ 2 เส้นใหผ้ กู เป็นดอก พกิ ุล เสร็จแลว้ นามาพนั ให้เป็ นวงกลมท่ี 2 ขา้ ง แต่ใหด้ ึงเส้นขวามือท้งั 2 เส้นไวบ้ นแลว้ พนั ตอ่ ไปจนสุดให้ ปลายเชือกโคง้ กลบั แลว้ ทาเหมือนเร่ิมแรกจนพอ แลว้ เก็บปลายดว้ ยการถกั เป็นตวั ปแู ละลายเกลียว เม่ือถึงกน้ ตะกร้าแลว้ ใหใ้ ชเ้ หลก็ แทงแลว้ สอดเชือกทาเป็นตีนตะกร้า

19 ใบความรู้ เรื่องที่ 3 การบริหารจดั การในการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ 1. การเลอื กทาเลทตี่ ้งั ร้าน 1.1 ความสาคญั ของการเลอื กทตี่ ้งั การตดั สินใจเลือกทาเลท่ีต้งั เป็ นการตดั สินใจเชิงกลยุทธ์เน่ืองจากมีผลกระทบต่อธุรกิจในระยะยาว โดยเฉพาะตอ่ ความไดเ้ ปรียบในเชิงแข่งขนั ทางธุรกิจและจะมีผลต่อความสาเร็จของธุรกิจ ซ่ึงผปู้ ระกอบการ ตอ้ งพจิ ารณาถึงกลยทุ ธ์ท่ีต้งั ของธุรกิจที่มีความสาคญั ตอ่ การดาเนินงาน 2 กลยทุ ธ์สาคญั ไดแ้ ก่ 1. กลยุทธ์ที่ต้ังตามพนื้ ท่ี เป็ นแนวทางในการกาหนดให้ ที่ต้งั แต่ละแห่งรับผิดชอบพ้ืนที่แต่ละส่วน โดยตอ้ งผลิตสินคา้ และบริการทุกอยา่ งสาหรับพ้ืนที่น้นั ๆ ซ่ึงธุรกิจท่ีเลือกใชก้ ลยุทธ์ท่ีต้งั ตามพ้ืนที่มกั เป็ น ธุรกิจคา้ ปลีก หรือบริการ 2. กลยุทธ์ทต่ี ้ังตามผลติ ภัณฑ์ เป็ นแนวทางในการกาหนดให้ที่ต้งั หน่ึงแห่งทาการผลิตสินคา้ เพียง หน่ึงอยา่ ง โดยยดึ หลกั ของความสาคญั ของวตั ถุดิบที่มีในพ้ืนท่ี 1.2 หลกั เกณฑ์ในการเลอื กทาเลทต่ี ้งั การตดั สินใจเลือกทาเลท่ีต้งั เป็ นกระบวนการท่ีมีความสลบั ซับซอ้ นมากข้ึน เมื่อโลกกา้ วเขา้ สู่ยุค โลกาภิวตั น์ อีกท้งั ธุรกิจขนาดย่อมจานวนมากไดม้ ีการเติบโตข้ึนและไดพ้ ฒั นาไปอย่างรวดเร็ว ดงั น้นั ผปู้ ระกอบการควรพิจารณาถึงความจาเป็ นท่ีมีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงสาหรับกิจการควบคู่กนั ไปในแต่ละ สถานการณ์ ดงั น้ี 1. ความพึงพอใจส่วนบุคคล โดยท่ีผปู้ ระกอบการส่วนหน่ึงมกั จะพิจารณาต้งั กิจการของตนเองใน ชุมชนที่ตนอาศยั อยเู่ ป็ นทาเลในการประกอบการ อยา่ งไรก็ตามในแง่ของการดาเนินธุรกิจไม่ไดห้ มายความ ว่าจะมีเพียงพ้ืนที่ซ่ึงตนเองมีความเคยชินเท่าน้นั ที่เหมาะสมต่อการต้งั กิจการ เพราะผูป้ ระกอบการธุรกิจ สามารถใชป้ ระโยชน์ในดา้ นตา่ ง ๆ จากส่ิงเหล่าน้ีได้ ไม่วา่ จะเป็ นในดา้ นภาพลกั ษณ์ส่วนตวั การไดร้ ับความ เช่ือถือ หรือการยอมรับจากสังคม และอาศยั ประโยชน์จากความคุน้ เคย ความสามารถในการอา้ งอิงกบั บุคคล ตา่ ง ๆ ภายในชุมชนที่เกี่ยวขอ้ งกบั กิจการของตนมากข้ึน 2. ความได้เปรียบด้านต้นทุน โดยเฉพาะค่าแรงหรือค่าวตั ถุดิบในพ้ืนท่ี ท่ีมีตน้ ทุนในการดาเนิน ธุรกิจต่า ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีสะทอ้ นถึงคา่ ใชจ้ า่ ยในการลงทุนในช่วงเริ่มตน้ ของกิจการ ที่จะช่วยลดตน้ ทุนการผลิต ใหต้ ่าลง 3. ความสามารถในการจัดการทรัพยากร เป็ นการสะทอ้ นให้เห็นถึงค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินงานท้งั ในระยะส้ันและระยะยาว เน่ืองจากทกั ษะ ประสบการณ์ของแรงงานจะมีความสัมพนั ธ์โดยตรงกบั ผลิตผล และคุณภาพในกระบวนการผลิตของผลิตภณั ฑ์ ความยงั่ ยืนของแรงงานในทอ้ งถิ่นมีผลกระทบต่ออตั รา

20 ค่าจา้ ง ซ่ึงถือเป็ นตน้ ทุนที่สาคญั ซ่ึงผปู้ ระกอบการจะตอ้ งคานึงถึงอยเู่ สมอ อีกท้งั แหล่งที่ต้งั ตอ้ งมีความ ใกลช้ ิดกบั วตั ถุดิบและความสามารถในการขนส่งท่ีธุรกิจตอ้ งมีการบริหารจดั การอยา่ งมีประสิทธิภาพ 4. การเข้าถึงลูกค้า ธุรกิจขนาดยอ่ มยคุ ปัจจุบนั ตอ้ งให้ความสาคญั ผนั แปรแหล่งท่ีต้งั ของธุรกิจไป ตามประเภทของกิจการ เช่น ธุรกิจคา้ ปลีกและบริการ ตอ้ งมีรายละเอียดของสถานที่แสดงสินคา้ บริการและ รูปแบบ ดงั น้นั การเลือกทาเลที่ต้งั ตอ้ งใกลช้ ิดกบั ลูกคา้ และอานวยความสะดวกต่อการเขา้ มาติดต่อ และถือ เป็นปัจจยั ที่มีผลตอ่ ความสาเร็จของกิจการ ดงั น้นั ในข้นั ตอนแรกของเกณฑ์การเลือกทาเลที่ต้งั ผปู้ ระกอบการตอ้ งตดั สินใจก่อนว่าจะเลือก ดาเนินธุรกิจในชุมชน หมายถึง จงั หวดั หรืออาเภอ แลว้ จึงทาการตดั สินใจข้นั สุดทา้ ย คือ การเลือกบริเวณ ท่ีต้งั จากหลาย ๆ พ้ืนที่ภายในชุมชน ซ่ึงเป็นการระบุถึงตาแหน่งของที่ต้งั อยา่ งละเอียด 2. การจัดและตกแต่งหน้าร้าน ส่วนใหญร่ ้านขายสินคา้ มกั จะมีผขู้ าย ซ่ึงเป็นเจา้ ของกิจการเอง หรือบางร้านอาจมีการจา้ งพนกั งาน ขายของโดยเฉพาะเพอ่ื ทาหนา้ ที่เอาใจใส่คอยแนะนาใหค้ าอธิบายตา่ งๆ แก่ลูกคา้ หากเป็นร้านขนาดใหญม่ ี สินคา้ หลายชนิดยอ่ มทาใหต้ อ้ งมีพนกั งานขายจานวนมาก การจัดตกแต่งร้านค้า มีความสาคัญต้องคานึงถึงส่ิงต่อไปนี้ 1. แสงสว่างภายในร้าน ควรจดั ร้านให้มีความสวา่ งทวั่ ท้งั ร้านจากแสงไฟฟ้ าท่ีร้านไดต้ ิดเอาไว้ แสง สว่างธรรมชาติมกั ไม่เพียงพอและแสงแดดมกั ทาความเสียหายให้แก่สินคา้ การใช้แสงไฟฟ้ าแมจ้ ะมี ค่าใช้จ่ายสูงแต่ก็จูงใจลูกคา้ ให้เขา้ มาซ้ือสินคา้ ไดม้ ากกว่าร้านที่ดูมืดสลวั มุมห้องมืดๆ ก่อนตดั สินใจเรื่อง แสงสวา่ งควรรู้วา่ คา่ ไฟฟ้ าจะเป็นสักเท่าใด และใชไ้ ฟฟ้ าก่ีดวงถึงจะคุม้ ค่ากบั การขายสินคา้ ดว้ ย 2. การตกแต่งสีภายนอกและภายในร้าน นอกจากการทาสีร้านคา้ ใหส้ ดใสสวา่ ง สวยงามแลว้ สีของ หีบห่อและตวั สินคา้ ก็สามารถนามาตกแต่งให้ร้านคา้ ดูดีข้ึนจะตอ้ งใหผ้ คู้ นเห็นสินคา้ ชดั เจนและสวยงาม 3. การจัดหมวดหมู่ของขนม ขนมที่มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั หรือขนมท่ีใชร้ ับประทานร่วมกนั จะตอ้ งจดั วางไวด้ ว้ ยกนั เช่น ขนมหมอ้ แกงวางใกลก้ บั ขนมตะโก้ ขา้ วเหนียววางใกลก้ บั สังขยา เป็นตน้ 4. การตดิ ป้ ายราคาสินค้า การติดป้ ายบอกราคาขนมใหช้ ดั เจนพอท่ีลูกคา้ จะอ่านได้ เป็ นการให้ ความสะดวกกบั ลูกคา้ ในการตดั สินใจ การจัดวางสินค้า มีความสาคญั ต่อการจูงใจลูกคา้ ใหเ้ ลือกซ้ือสินคา้ เพ่ือใหส้ ะดวกและเกิดความพงึ พอใจควรคานึงถึงสิ่งตอ่ ไปน้ี 1. ความพงึ พอใจของลูกคา้ 2. จดั สินคา้ ไวใ้ นบริเวณท่ีเราจะขาย 3. จดั สินคา้ ไวใ้ นระดบั สายตาใหม้ ากท่ีสุด 4. จดั สินคา้ ดา้ นหนา้ บนช้นั ใหเ้ ตม็ อยเู่ สมอ 5. ช้นั ปรับระดบั ไดต้ ามขนาดของสินคา้ จะเป็ นการดี

21 6. การใชก้ ล่องหนุนสินคา้ ใหด้ ูงดงามแมจ้ ะมีสินคา้ ไมม่ ากนกั 7. ความเป็นระเบียบเรียบร้อย 8. สินคา้ มาก่อนตอ้ งขายก่อน เราตอ้ งขายสินคา้ เก่าก่อนสินคา้ ใหมเ่ สมอพยายามวางสินคา้ มาก่อนไว้ แถวหนา้ เสมอ ควรทาสินคา้ ที่มาก่อนใหด้ ูสดใสสะอาดเหมือนสินคา้ ใหม่ 3. การคดิ ราคาต้นทุนและการวเิ คราะห์จุดคุ้มทุน 3.1 การคดิ ราคาต้นทุน 1. ราคาวตั ถุดิบท้งั หมด 2. 35 - 50 % ของราคาวตั ถุดิบเป็นคา่ แรงและเช้ือเพลิง (แลว้ แตค่ วามยากง่าย และข้นั ตอนในการ ทา) 3. 10% ของราคาวตั ถุดิบรวมกบั ค่าแรงและเช้ือเพลิง เป็นค่าเสียหายอ่ืนๆ (ของเหลือ ของทิง้ ) นา 1 + 2 + 3 เทา่ กบั ตน้ ทุนสุทธิ 4. การขาย การขาย คือ กระบวนการท้งั ทางตรงและทางออ้ มของการจงู ใจใหผ้ ซู้ ้ือสินคา้ หรือบริการ ยนิ ยอมกระทาส่ิงใดสิ่งหน่ึงซ่ึงจะทาใหเ้ กิดประโยชน์ทางดา้ นการคา้ แก่ผขู้ าย เมื่อผผู้ ลิตสินคา้ ไปสู่ผบู้ ริโภค มีส่ิงท่ีควรพิจารณา ดงั น้ี 1. การหาตลาด ควรคานึงถึงความตอ้ งการของตลาดว่า มีมากน้อยเพียงใด โดยใช้วิธีสังเกต สอบถามกบั คนรู้จกั เพอ่ื นบา้ น และผซู้ ้ือ กระแสการบริโภคของลูกคา้ นิยมวนุ้ รสชาติแบบไหน รูปแบบของ วนุ้ ใหม้ ีลกั ษณะโดดเด่นอยา่ งไร ตอ้ งการซ้ือเป็ นของขวญั ของฝากหรือรับประทานในครอบครัว ตลาดควร เป็นตลาดท่ีมีการซ้ือขายอยา่ งต่อเนื่อง เช่น ตลาดนดั ตลาดคลองถม เป็ นตน้ ท้งั น้ีเพื่อจะไดต้ รงตามความ ตอ้ งการของตลาด 2. วิธีการจาหน่าย เม่ือผูผ้ ลิตลงทุนผลิตสินค้าข้ึนมา ก็เพ่ือนาสินคา้ ออกสู่ตลาด ถ้าผูผ้ ลิต สามารถเลือกช่องทาง ลู่ทางจาหน่ายสินคา้ ได้อย่างถูกตอ้ ง สินคา้ ก็จะเขา้ ถึงลูกคา้ ได้ง่าย ซ่ึงอาจเป็ นการ จาหน่ายจากผูผ้ ลิตถึงลูกคา้ โดยตรงดว้ ยการจดั หาสถานที่สาหรับจาหน่ายสินคา้ ท่ีเป็ นหลกั แหล่ง มีการจดั วางสินคา้ ที่สามารถนาเสนอสินคา้ ให้ดูสวยงามหรือเป็ นผูผ้ ลิตให้พ่อคา้ คนกลางมารับซ้ือไปขายให้กับ ผบู้ ริโภคอีกต่อหน่ึง เพ่ือจาหน่ายสินคา้ ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง 3. การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ ถือเป็นส่ิงสาคญั ที่จะทาใหผ้ ซู้ ้ือหรือลูกคา้ รู้จกั เกิดความตอ้ งการ ที่จะซ้ือ เป็ นวิธีการโนม้ นา้ วผซู้ ้ือท่ีสาคญั การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์มีหลายวิธี เช่น ใชว้ ิธีบอกปากต่อปาก การจดั กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์สินคา้ การออกร้านตามงานเทศกาลต่าง ๆ ของอาเภอหรือจงั หวดั การ ประชาสัมพนั ธ์ผา่ นอินเตอร์เน็ต โดยสิ่งท่ีเป็นการช่วยประชาสัมพนั ธ์อยา่ งหน่ึง ก็คือ คุณภาพสินคา้ เม่ือผซู้ ้ือ

22 หรือลูกคา้ ไดซ้ ้ือสินคา้ ไปรับประทาน มีรสชาติดี มีคุณภาพ ราคายอ่ มเยา จะเป็ นการช่วยประชาสัมพนั ธ์ ไปเอง 5. การส่งเสริมการขาย วตั ถุประสงคส์ าคญั ในการจดั ทาการส่งเสริมการขายน้นั ก็เพื่อ เป็ นการกระตุน้ ยอดขายของกิจการ และ การแนะนาสินคา้ สู่ลูกคา้ ท้งั น้ียงั สืบเนื่องกบั ความพึงพอใจท่ีดีของลูกคา้ ในการบริโภคหรืออุปโภค สินคา้ เพื่อการสร้างเครือข่ายความเป็ นไปได้ ในการเลือกบริโภคหรืออุปโภคสินคา้ น้นั ๆ อย่างต่อเนื่อง ประกอบกบั การแนะนาสินคา้ โดยอาศยั ช่องทางแบบปากตอ่ ปากหรือเพอื่ นสู่เพื่อนตอ่ ไป สรุป \"การส่งเสริมการขายคือการสนบั สนุนการสร้างราคาสินคา้ เฉพาะเจาะจง/การสร้างมูลค่าตรา สินคา้ กลยุทธ์ส่ งเสริมการขายท่ีนิยมนามาใช้ในการทาตลาดในปัจจุบันมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับ วตั ถุประสงคข์ องผปู้ ระกอบการ ซ่ึงผปู้ ระกอบการสามารถเลือกนามาใชใ้ หเ้ หมาะกบั สินคา้ เช่น การส่งเสริม การขายที่มุ่งสู่ลูกคา้ โดยตรง เพ่ือตอ้ งการใหล้ ูกคา้ ซ้ือสินคา้ มากข้ึน ผปู้ ระกอบการก็อาจเลือกใชว้ ธิ ีการใหช้ ิม สินคา้ การแจกของตวั อยา่ ง การให้คูปอง ฯลฯ แต่หากตอ้ งการส่งเสริมการขายโดยมุ่งไปที่ตวั แทนจาหน่าย ที่เป็นคนกลาง เพ่อื ใหบ้ ุคคลเหล่าน้ีกระจายสินคา้ ไปยงั ลูกคา้ ไดม้ ากข้ึน ก็สามารถนาวิธีการส่งเสริมการขาย ในลกั ษณะใหส้ ่วนลดสินคา้ การแถมสินคา้ การกาหนดเป้ าในการซ้ือสินคา้ การใหข้ องขวญั พิเศษ มาใชเ้ ป็ น แรงจูงใจ การใชค้ ูปอง (Coupon) เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขายท่ีนิยมใชแ้ พร่หลายวธิ ีหน่ึง เพราะวธิ ีน้ี ลูกคา้ ท่ีไดร้ ับจะถือวา่ เป็นการใหส้ ่วนลดอยา่ งหน่ึง วธิ ีน้ีจะทาใหเ้ กิดแรงจูงใจในการซ้ือสินคา้ มากข้ึน เพราะ ไดร้ าคาถูก โดยอาจทาใหล้ ูกคา้ ท่ีเคยซ้ือสินคา้ อยแู่ ลว้ มีความตอ้ งการสินคา้ เพ่ิม หรืออาจไดล้ ูกคา้ ใหม่ ๆ เขา้ มาเพราะมองวา่ เป็นราคาพิเศษได้ การใชแ้ สตมป์ การคา้ การส่งเสริมการขายวธิ ีน้ี จะกระตุน้ ใหล้ ูกคา้ เกิดการซ้ือซ้าได้ โดยลูกคา้ อาจ เกิดความตอ้ งการสะสมแสตมป์ ไวแ้ ลกของท่ีตอ้ งการ ทาใหผ้ ปู้ ระกอบการสามารถขายของไดม้ ากข้ึน และ อาจมีลูกคา้ ประจากลุ่มหน่ึง โดยผปู้ ระกอบการสามารถกาหนดเง่ือนไขสินคา้ ที่ลูกคา้ สามารถแลกซ้ือไดต้ าม ความเหมาะสม การลดราคาสินคา้ การส่งเสริมการขายดว้ ยการลดราคาสินคา้ เพ่ือจูงใจให้ลูกคา้ มาซ้ือสินคา้ ใน ช่วงเวลาน้นั ซ่ึงผปู้ ระกอบการสามารถนาอาหารไทยท่ีตอ้ งการมาจดั รายการพิเศษตามช่วงเวลา หรือวนั ให้ ลูกคา้ ไดเ้ ลือกซ้ือได้ อย่างไรก็ตามก่อนที่ผูป้ ระกอบการจะเลือกใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการขายวิธีใด ตอ้ งศึกษาปัจจยั แวดลอ้ มหลายประการ เช่น ลกั ษณะของตลาด กลุ่มลูกคา้ เป้ าหมาย อายุ อาชีพ สถานะภาพของกลุ่มลูกคา้ ลกั ษณะของผลิตภณั ฑ์ เพราะผลิตภณั ฑ์แต่ละประเภทจะมีลกั ษณะเฉพาะท่ีไม่เหมือนกนั รวมท้งั วงจรชีวิต ของผลิตภณั ฑ์ ราคาจาหน่าย และสิ่งสาคญั คืองบประมาณ เพราะการจดั กิจกรรมส่งเสริมการขายในแต่ละ

23 คร้ังผปู้ ระกอบการตอ้ งมีเงินทุนพอสมควร ซ่ึงผปู้ ระกอบการตอ้ งพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถว้ นเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด 6. การทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย การบญั ชี คือ การจดบนั ทึกรายการคา้ ต่างๆ ท่ีเก่ียวกบั การรับ-จา่ ยเงิน และสิ่งที่มีค่าเป็ นเงินไวใ้ น สมุดบญั ชีอยา่ งสม่าเสมอ เป็ นระเบียบถูกตอ้ งตามหลกั การ และสามารถแสดงผลการดาเนินงานและฐานะ การเงินของกิจการในระยะเวลาหน่ึงได้ การบันทึกรายการและตัวเลข ในรายรับ ‟ รายจ่ายของร้านค้า ถือเป็ นส่วนหน่ึงที่ทาให้ ผปู้ ระกอบการคา้ สามารถทราบสภาพการคา้ ของตนเอง วา่ ผลการประกอบการน้นั ไดก้ าไรหรือขาดทุน และ สามารถนารายการท่ีบนั ทึกมาพิจารณาไดว้ า่ มีจุดบกพร่องในส่วนใด และเป็ นขอ้ มูลในการตดั สินใจวา่ ควร จะปรับปรุงใหด้ ีข้ึนอยา่ งไร ประโยชน์ของการทาบัญชีร้านค้าอย่างง่าย 1. ทาใหเ้ จา้ ของกิจการสามารถควบคุมและดูแลรักษาทรัพยากรของกิจการที่มีอยไู่ ม่ใหเ้ กิดการ สูญหายได้ 2. ทาใหผ้ เู้ ป็นเจา้ ของกิจการสามารถท่ีจะไดร้ ับขอ้ มูลท่ีเพียงพอเพื่อนามาใชใ้ นการบริหารงาน ใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน 3. ทาใหเ้ จา้ ของกิจการไดท้ ราบถึงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน และการเปล่ียนแปลงฐานะ การเงินของกิจการไดเ้ ป็นระยะ ๆ 4. การทาบญั ชีเป็ นการรวบรวมสถิติอยา่ งหน่ึงท่ีช่วยในการบริหารงาน และใหข้ อ้ มลู อนั เป็ น ประโยชนใ์ นการวางแผนการดาเนินงาน และควบคุมกิจการใหป้ ระสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย 5. ทาใหบ้ ุคคลภายนอก เช่น เจา้ หน้ี ผลู้ งทุน เป็ นตน้ มีขอ้ มลู ทางการเงินเพ่ือนาไปใชใ้ นการ ตดั สินใจได้

24 ใบความรู้ เร่ืองท่ี 4 โครงการประกอบอาชีพเชือกป่ านมหัศจรรย์ โครงการอาชีพ เป็นแผนงานหรือเคา้ โครงของกิจกรรม งานอาชีพ โดยมีการกาหนดรายละเอียดท่ี ตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งมีระบบ มีความตอ่ เน่ืองอยา่ งชดั เจนไวล้ ่วงหนา้ วา่ จะทาอะไร อยา่ งไร เมื่อใด ท่ีใด และโดย ใคร รวมท้งั การพิจารณาการใชท้ รัพยากรในการดาเนินงานอาชีพ ความคาดหวงั ท่ีจะไดผ้ ลตอบแทนอยา่ ง คุม้ คา่ การดาเนินงานอาชีพใหป้ ระสบความสาเร็จ การเขียนโครงการอาชีพ จึงเป็ นส่วนงานท่ีสาคญั เพราะการเขียนโครงการอาชีพ จะช่วยใหก้ ารดาเนินงานอาชีพ สามารถดาเนินงานไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องและเป็น ระบบ มีประสิทธิภาพโดยใชท้ รัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหค้ ุม้ คา่ สามารถควบคุม กากบั และตรวจสอบ ข้นั ตอนการดาเนินงาน ผลการดาเนินงานอาชีพได้ ทาใหเ้ กิดความมนั่ ใจในการบริหารงาน ช่วยใหค้ วาม ผดิ พลาดในการทางานนอ้ ยลง อีกท้งั ยงั ช่วยลดการทางานท่ีซ้าซอ้ น และช่วยควบคุมสภาพแวดลอ้ มในการ ทางาน เพ่อื ใหบ้ รรลุถึงวตั ถุประสงคแ์ ละเป้ าหมายที่กาหนดข้ึน ภายในระยะเวลาที่กาหนดและภายใน ทรัพยากรท่ีมีอยู่ นอกจากประโยชน์ของโครงการอาชีพ ที่มีผลต่อการบริหารจดั การงานอาชีพดง้ กล่าวแลว้ โครงการอาชีพ ยงั มีประโยชนต์ อ่ การนาโครงการไปเสนอขอรับการสนบั สนุนงบประมาณจากหน่วยงาน สถานบนั การเงินท่ีส่งเสริมการดาเนินงานอาชีพอีกดว้ ย ดงั น้นั การเขียนโครงการอาชีพจึงตอ้ งมีวธิ ีการ เขียนโครงการที่ดี จะตอ้ งบรรยายสภาพและความจาเป็น ของสถานการณ์ท่ีทาใหเ้ กิดโครงการอาชีพ มีการ กาหนดวตั ถุประสงคท์ ี่ชดั เจน ระบุรายการกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีเป็นไปไดใ้ นการดาเนินงานอาชีพเพ่ือท่ีจะให้ บรรลุถึงวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ และมีแนวทางและวธิ ีการประเมินผล เพอื่ ให้รู้ถึงความสาเร็จของการ ดาเนินการอาชีพ ดงั น้ัน การจัดทาโครงการอาชีพ จึงมคี วามจาเป็ นที่ ผู้เรียนตามหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทา ต้องศึกษาเรียนรู้และฝึ กปฏบิ ตั ิในการเขียนโครงการอาชีพให้ดี เหมาะสม และถูกต้อง ความสาคัญของโครงการอาชีพ โครงการอาชีพ ( PROJECT ) หมายถึง แผนงานท่ีจดั ทาข้ึนอยา่ งเป็นระบบ ประกอบดว้ ยกิจกรรม ยอ่ ยๆ หลายกิจกรรม ท่ีตอ้ งใชท้ รัพยากรในการดาเนินงานโดยคาดหวงั ผลงานท่ีคุม้ คา่ มีประโยชน์ แสดงถึง ความสามารถทางความคิดริเริ่ม และสร้างสรรคใ์ นศาสตร์ของตน มีข้นั ตอนในการดาเนินงาน หรือ จุดมุ่งหมายในการดาเนินงานอยา่ งชดั เจน และสามารถนาเสนอผลงานไดอ้ ยา่ งมีระบบ ( วรี วธุ มาฆะศิรา นนท์ , 2542 : 26 ‟ 27 ) โดยมีหลกั สาคญั คือ

25 - เป็นงานท่ีเปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกในทีมงานทุกคน ไดร้ ่วมกนั ศึกษาคน้ ควา้ และลงมือปฎิบตั ิดว้ ย ตนเอง โดยอาศยั ความรู้ ความสามารถที่ไดศ้ ึกษามาเป็นองคป์ ระกอบในการดาเนินงานภายใน ระยะเวลาที่กาหนด - งานท่ีตอ้ งใชค้ วามสามารถ ( Competence ) และภมู ิปัญญา ( Knowledge / Wisdom ) รวมถึง ทกั ษะ ( Skills ) จากหลายๆ คน มารวมกนั เพื่อให้เกิดการพฒั นาหรือแกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดข้ึน รวมถึงสถานการณ์ที่ไม่ไดค้ าดคิดไวก้ ่อน - งานท่ีมีความซบั ซอ้ นและเก่ียวขอ้ งกบั บุคคลหลายๆ ฝ่ าย ประกอบดว้ ยกิจกรรมหลายๆ กิจกรรมมาประสานกนั - เป็นงานท่ีมีวตั ถุประสงคแ์ ละขอบเขตของงานอยา่ งชดั เจน ท้งั น้ีตอ้ งมีกาหนดวนั ที่เริ่มตน้ และ วนั ที่สิ้นสุด - เป็นงานหรือกิจกรรมท่ีทาข้ึน เพ่อื หวงั ผลประโยชน์ตอบแทนท้งั ทางตรงและทางออ้ ม ท้งั น้ีผเู้ รียนเป็นผวู้ างแผนการดาเนินงานต้งั แตก่ ารศึกษาคน้ ควา้ การออกแบบ การประดิษฐ์ การ ทดลอง การเก็บขอ้ มูล ตลอดจนการแปลผล สรุปผล และเสนอผลงานดว้ ยตนเองภายใตก้ าร ดูแล และใหค้ าปรึกษาของผสู้ อน หรือ ผเู้ ชี่ยวชาญในเรื่องน้นั โครงการอาชีพด้านธุรกจิ หรือบริการ ( Entrepreneurship Project) เป็นโครงการที่เก่ียวกบั การฝึก และสร้างประสบการณ์เพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นผปู้ ระกอบการณ์ในอนาคต โครงการประเภทน้ีเหมาะ สาหรับผเู้ รียนท่ีมีความคิดสร้างสรรคใ์ นการหาขอ้ มูลหรือช่องทางในการดาเนินธุรกิจมีบุคลิกภาพและความรู้ ความสามารถ ชอบงานบริหาร ขยนั อดทนต่อปัญหาต่างๆ ความหมายของโครงการ พจนานกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคาโครงการวา่ หมายถึง \"แผนหรือเคา้ โครงการตามที่กะกาหนดไว\"้ โครงการเป็ นส่วนประกอบส่วนหน่ึงในการวางแผนพฒั นาซ่ึงช่วย ใหเ้ ห็นภาพ และทิศทางการพฒั นา ขอบเขตของการท่ีสามารถติดตามและประเมินผลได้ โครงการเกิดจากลกั ษณะความพยายามที่จะจดั กิจกรรม หรือดาเนินการใหบ้ รรจุวตั ถุประสงค์ เพอื่ บรรเทาหรือลดหรือขจดั ปัญหา และความตอ้ งการท้งั ในสภาวการณ์ปัจจุบนั และอนาคต โครงการโดยทว่ั ไป สามารถแยกไดห้ ลายประเภท เช่น โครงการเพื่อสนองความตอ้ งการ โครงการพฒั นาทว่ั ๆไป โครงการตาม นโยบายเร่งด่วน เป็นตน้

26 องค์ประกอบของโครงการอาชีพ การวางแผนการปฎิบตั ิงาน และประมาณการโครงการ จะตอ้ งจดั ทา เคา้ โครงของโครงการ อยา่ งรัดกมุ และใหส้ ามารถปฎิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ มีองคป์ ระกอบดงั น้ี 1. ช่ือโครงการ ควรเป็นขอ้ ความท่ีกะทดั รัด ชดั เจน สื่อความหมายตรงกนั 2. ผู้จัดทาโครงการ รายช่ือผเู้ รียนหรือกลุ่มผเู้ รียนท่ีทาโครงการน้ีร่วมกนั และช่ือครูที่ปรึกษา 3. หลกั การและเหตุผล แสดงถึงความจาเป็นหรือเหตุผลท่ีเลือกทาโครงการน้ี โดยควรจะกล่าวถึง ประเดน็ ต่อไปน้ี 3.1 สถาพท่ีเป็นจริง ปัญหา เหตุการณ์ 3.2 ส่ิงที่ควรจะเป็น สภาพท่ีตอ้ งการ ความมุง่ หวงั 3.3 สาเหตุที่ทาใหไ้ ม่เป็นไปตามความมุง่ หวงั 3.4 ถา้ เป็นปัญหา ปัญหาน้ีมีความรุนแรงเพียงใด ถา้ ปล่อยไวจ้ ะเกิดผลเสียอยา่ งใด 3.5 มีวธิ ีแกไ้ ขอะไร ควรจะมีหลายๆ วธิ ี ทาไมจึงเลือกวธิ ีน้ี 3.6 ถา้ แกไ้ ข หรือดาเนินการแลว้ จะส่งผลดีอยา่ งไร 3.7 ประโยชน์ท่ีไดจ้ ะคุม้ คา่ เพยี งใด ฯลฯ 4. วตั ถุประสงค์ ควรเป็นจุดมุ่งหมายที่สามารถวดั ไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม หรือกล่าวถึงส่ิงท่ีตอ้ งการ ใหเ้ กิดข้ึนหลงั จากทาโครงการน้ีแลว้ โดยไม่จากดั วธิ ีทา 5. เป้ าหมาย ควรระบุเป้ าหมายใหช้ ดั เจนวา่ จะเกิดอะไรข้ึน กบั ใคร จานวนเทา่ ไรและคุณภาพของ ส่ิงน้นั จะเป็นอยา่ งไร 6. แนวความคดิ ในการออกแบบโครงการ เขียนในลกั ษณะแผนภาพประกอบคาบรรยายหรือบอก หลกั การ / ทฤษฏีท่ีใชใ้ นการทาโครงการ หรือที่เก่ียวขอ้ งโดยยอ่ ควรมีเอกสารอา้ งอิง 7. แหล่งความรู้ อาจจะเป็นเอกสาร ตารา บุคคล หรือสถานท่ีที่ผเู้ รียนจะสามารถศึกษาหาความรู้ เพื่อใหก้ ารปฎิบตั ิโครงการน้นั บรรลุจุดมุ่งหมาย 8. งบประมาณและทรัพยากร ควรระบุรายชื่อวสั ดุอุปกรณ์ที่สาคญั แหล่งท่ีจะหาได้ ราคาจาหน่าย ในปัจจุบนั และ รวมงบประมาณค่าใชจ้ า่ ยท้งั หมดใหด้ ูดว้ ย 9. วธิ ีดาเนินงาน ควรจะมีลาดบั ข้นั ตอนท่ีถูกตอ้ ง เหมาะสม สมเหตุสมผล เป็นไปตามกระบวนการ ของการทางานน้นั ๆ กิจกรรมตามวธิ ีดาเนินการจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้ และแต่ละ ข้นั ตอนของการดาเนินงานใหร้ ะบุ วนั เดือน ปี ที่จะทางานในแต่ละข้นั ตอนดว้ ย 10. การติดตามและประเมินผล ใหผ้ เู้ รียนเขียนวา่ จะประเมินผลอยา่ งไร ที่จะใหค้ รูที่ปรึกษาทราบ ความกา้ วหนา้ ของงาน เพอ่ื การปรับปรุงแกไ้ ข 11. ระยะเวลาและสถานทดี่ าเนินการ

27 12. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ ใหร้ ะบุผลท่ีจะเกิดข้ึนเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ เป็นท้งั ผลที่ไดร้ ับโดยตรงและ ผลพลอยได้ หรือผลกระทบจากโครงการที่เป็นผลในดา้ นดี ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับน้ีจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละเป้ าหมาย 13. การประมาณการโครงการ ( Project Estimating )เป็นการกาหนดรายละเอียดสาคญั สาหรับการ ใชท้ รัพยากรอยา่ งมีประสิทธิภาพและสอดคลอ้ งกบั การวางแผนดาเนินงานของโครงการ เช่น ประมาณการ ดา้ นกาลงั คน ดา้ นระยะเวลา ดา้ นเครื่องมือ วสั ดุ ‟ อุปกรณ์ และเงินงบประมาณตลอดโครงการ การประมาณ การโครงการ สามารถใชเ้ ป็นขอ้ มลู สาหรับการเตรียมหาเงินทุนในการดาเนินการโครงการได้ ซ่ึงแหล่ง เงินทุนของการทาโครงการโดยทว่ั ไปไดม้ าจาก 2 แหล่ง คือ แหล่งเงินทุนภายใน เช่น จากกลุ่มผทู้ าโครงการ และ จากสถานศึกษา กบั แหล่งเงินทุนภายนอก เช่น สถานประกอบการ และ บุคคลที่สนใจ หรือได้ ประโยชนจ์ ากการทาโครงการน้นั โดยผวู้ างแผนโครงการควรตอ้ งคานึงถึงหลกั สาคญั 4 ประการ ไดแ้ ก่ 13.1 ความประหยดั ( Economy ) : การเสนองบประมาณโครงการจะตอ้ งเป็ นไปโดยมีความ ประหยดั กล่าวคือ ใชท้ ุนหรือทรัพยากรทุกชนิดตามสมควร แต่ผลของการดาเนินโครงการเป็นไปดว้ ยดี และ มีคุณภาพ 13.2 ความมีประสิทธิภาพ ( Efficiency ) : โครงการทุกโครงการจะตอ้ งมีคุณคา่ เป็นท่ียอมรับ และทุกคนมีความพึงพอใจในผลงานที่เกิดข้ึน 13.3 ความมีประสิทธิผล ( Effectiveness ) : โครงการทุกโครงการจะตอ้ งดาเนินงานเป็นไป ตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้ าหมายท่ีกาหนดไว้ 13.4 ความยตุ ธิ รรม ( Equity ) : การจดั สรรทรัพยากรทุกชนิด หรือการใชจ้ า่ ยทรัพยากรจะตอ้ ง เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีไดก้ าหนดไวท้ ้งั น้ีเพื่อใหท้ ุกฝ่ ายปฎิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง คล่องตวั และมีประสิทธิภาพ สูงสุด 14. เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ เมื่อวางแผนและเขียนเคา้ โครงของโครงการ ซ่ึงแสดงถึงความพร้อมในการดาเนินโครงการแลว้ ผเู้ รียนตอ้ ง ร่วมกนั นาขอ้ มูลหรือรายละเอียดท่ีไดศ้ ึกษามา พร้อมแผนการดาเนินงานนาเสนอต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษา / คณะกรรมการโครงการ เพื่อพิจารณาขออนุมตั ิดาเนินงานโครงการ 15. วธิ ีการนาเสนอโครงการ 15.1 ควรนาเสนออยา่ งเป็นข้นั เป็นตอน เป็นลาดบั ไมว่ กวน 15.2 ควรเริ่มตน้ โดยกล่าวสรุปภาพรวมของท้งั โครงการ วา่ เกี่ยวกบั เรื่องอะไร ใชง้ บประมาณ และเวลา 15.3 อยา่ งไร และที่สาคญั ประโยชน์ท่ีจะไดร้ ับจากโครงการน้นั มีอะไรบา้ ง 15.4 ส่ือประกอบในการนาเสนอจะตอ้ งชดั เจนและชวนใหต้ ิดตาม ในระหวา่ งการนาเสนอ ควรใชค้ าพดู ที่ผฟู้ ังสามารถจะเขา้ ใจไดง้ ่ายๆ พดู ชดั ถอ้ ยชดั คา กิริยา ท่าทางประกอบท่ีเหมาะสม

28 15.5 ควรสรุปในตอนทา้ ยการนาเสนออีกคร้ังวา่ โครงการน้ีมีทางเลือกดาเนินการแบบใด ความ คุม้ คา่ อยทู่ ่ีไหน ทรัพยากรตา่ งๆ ท่ีจาเป็นตอ้ งใชจ้ ะมีอะไรและประโยชนท์ ี่จะไดร้ ับเป็นอยา่ งไร ในการเขียนโครงการ ควรจะมีข้นั ตอนในการเขียนอยา่ งนอ้ ยประกอบไปดว้ ย 1. ชื่อโครงการ 2. หลกั การและเหตุผล 3. วตั ถุประสงค์ 4. เป้ าหมาย 5. วธิ ีดาเนินการ 6. ระยะเวลาดาเนินการ 7. งบประมาณ 8. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 9. หน่วยงานท่ีใหก้ ารสนบั สนุน 10. การประเมินผล 11. ผลประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ลกั ษณะของโครงการทดี่ ี 1. มีรายละเอียด วตั ถุประสงค์ และเป้ าหมายท่ีชดั เจน สามารถดาเนินงานได้ หรือมีความเป็นไปได้ 2. รายละเอียดของโครงการตอ้ งเกี่ยวเน่ืองสัมพนั ธ์กนั กล่าวคือ วตั ถุประสงคต์ อ้ งสอดคลอ้ งกบั ปัญหาหรือหลกั การ และ เหตุผล วธิ ีการดาเนินงานตอ้ งสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ เป็ นตน้ สามารถตอบ คาถามไดว้ า่ ทาอะไร ทาเพื่ออะไร ทาท่ีไหน ทาเม่ือไร ทาอยา่ งไร ทาเท่าไหร่ ใครรับผดิ ชอบ และทากบั ใคร ใครเป็นผทู้ ่ีไดร้ ับประโยชน์ 3. รายละเอียดของโครงการสามารถเขา้ ใจไดง้ ่าย และสามารถดาเนินการตามโครงการได้ 4. โครงการตอ้ งกาหนดข้ึนจากขอ้ มูลท่ีมีความเป็นจริง และ เป็นขอ้ มูลที่ไดร้ ับการวเิ คราะห์อยา่ ง รอบคอบแลว้ 5. มีระยะเวลาในการดาเนินงาน กล่าวคือ จะตอ้ งระบุถึงวนั เวลาท่ีเร่ิมตน้ และ วนั เวลาท่ีแลว้ เสร็จท่ี แน่ชดั 6. เป็นโครงการท่ีปฏิบตั ิไดแ้ ละสามารถติดตามและประเมินผลได้

29 การวางแผนและการเขียนโครงการ ความหมายของการวางแผน มีผใู้ หค้ าจากดั ความของการวางแผนไวห้ ลายลกั ษณะ เช่น การวางแผน คือ การมองอนาคต การเลง็ เห็นจุดดหมายท่ีตอ้ งการ การคาดปัญหาเหล่าน้นั ไวล้ ่วงหนา้ ไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ตลอดจนการหา ทางแกไ้ ขปัญหาต่างๆ เหล่าน้นั การวางแผน เป็นการใชค้ วามคิดมองจินตนาการตระเตรียมวธิ ีการต่างๆ เพอ่ื คดั เลือกทางที่ดีท่ีสุดทาง หน่ึง กาหนดเป้ าหมายและวางหมายกาหนดการกระทาน้นั เพ่ือใหส้ าเร็จลุล่วงไปตามจุดประสงคท์ ่ีต้งั ไว้ การวางแผน เป็นกิจกรรมอยา่ งหน่ึงท่ีเกี่ยวกบั การกาหนดส่ิงที่จะกระทาในอนาคต การประเมินผล ของส่ิงท่ีกาหนดวา่ จะกระทาและกาหนดวธิ ีการท่ีจะนาไปใชใ้ นการปฏิบตั ิ ถา้ จะกล่าวโดยสรุป การวางแผนกค็ ือการคิดการหรือกะการไวล้ ่วงหนา้ วา่ จะทาอะไร ทาไม ทาที่ ไหน เม่ือไร อยา่ งไร และใครทา การวางแผนจึงเป็นเร่ืองที่เก่ียวกบั อนาคต การตดั สินใจ และการปฏิบตั ิ ความสาคัญของการวางแผน ถา้ จะเปรียบเทียบระบบการศึกษากบั คน การวางแผนกเ็ ปรียบเสมือนสมองของคน ซ่ึงถา้ มองใน ลกั ษณะน้ีแลว้ การวางแผนก็มีความสาคญั ไมน่ อ้ ยทีเดียว เพราะถา้ สมองไมท่ างานส่วนอื่นๆของร่างกาย เช่น แขน ขา ก็จะทาอะไรไม่ได้ หรือถา้ คนทางานไม่ใชส้ มอง คือทางานแบบไม่มีหวั คิดก็ลองนึกภาพดูก็ แลว้ กนั วา่ จะเป็นอยา่ งไร คนทุกคนตอ้ งใชส้ มองจึงจะทางานได้ ระบบการศึกษาหรือการจดั การศึกษาก่็ เช่นเดียวกนั ตอ้ งมีการวางแผน คือ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมีความคิด การเตรียมการวา่ จะจดั การศึกษาเพื่ออะไร เพ่ือ ใคร อยา่ งไร ประโยชน์ของการวางแผน 1. การวางแผนเป็นเคร่ืองช่วยใหม้ ีการตดั สินใจอยา่ งมีหลกั เกณฑ์ เพราะไดม้ ีการศึกษาสภาพเดิมใน ปัจจุบนั แลว้ กาหนดสภาพใหม่ในอนาคต ซ่ึงไดแ้ ก่การต้งั วตั ถุประสงค์ หรือเป้ าหมาย แลว้ หาลู่ทางท่ีจะทา ใหส้ าเร็จตามที่มุง่ หวงั นกั วางแผนมีหนา้ ท่ีจดั ทารายละเอียดของงานจดั ลาดบั ความสาคญั พร้อมท้งั ขอ้ เสนอแนะที่ควรจะเป็ นต่างๆ เพื่อใหผ้ มู้ ีหนา้ ท่ีตดั สินใจพจิ ารณา 2. การวางแผนเป็นศนู ยก์ ลางประสานงานเช่น ในการจดั การศึกษาเราสามารถใชก้ ารวางแผนเพื่อ ประสานงานการศึกษาทุกระดบั และทุกสาขาใหส้ อดคลอ้ งกนั ได้ 3. การวางแผนทาใหก้ ารปฏิบตั ิงานต่างๆเป็ นไปโดยประหยดั มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพราะ การวางแผนเป็นการคิดและคาดการณ์ไวล้ ่วงหนา้ และเสนอทางเลือกที่จะก่อใหเ้ กิดผลท่ีดีที่สุด 4. การวางแผนเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมงานของนกั บริหารเพ่ือติดตามตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน ของฝ่ ายตา่ งๆใหเ้ ป็นไปตามนโยบายและเป้ าหมายที่ตอ้ งการ

30 ประเภทของแผน แบง่ ตามระยะเวลา แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญๆ่ คือ 1. แผนพฒั นาระยะยาว (10 - 20 ปี ) กาหนดเคา้ โครงกวา้ งๆ วา่ ประเทศชาติของเราจะมีทิศทางพฒั นา ไปอยา่ งไร ถา้ จะดึงเอารัฐธรรมนูญ และ/หรือแผนการศึกษาแห่งชาติมาเป็นแผนประเภทน้ีก็พอไปได้ แต่ ความจริงแผนพฒั นาระยะยาวของเราไมม่ ี 2. แผนพฒั นาระยะกลาง (4 - 6 ปี ) แบง่ ช่วงของการพฒั นาออกเป็ น 4 ปี หรือ 5 ปี หรือ 6 ปี โดย คาดคะเนวา่ ในช่วง 4 - 6 ปี น้ี จะทาอะไรกนั บา้ ง จะมีโครงการพฒั นาอะไร จะใชง้ บประมาณทรัพยากรมาก นอ้ ยเพยี งไร แผนดงั กล่าวไดแ้ ก่แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินนั่ เองในส่วนของการศึกษากม็ ี แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ(ไม่ใช่แผนการศึกษาแห่งชาติ) ในเรื่องของการเกษตร ก็มีแผนพฒั นาเกษตร เป็น ตน้ 3. แผนพฒั นาประจาปี (1 ปี ) ความจริงในการจดั ทาแผนพฒั นาระยะกลาง เช่น แผนพฒั นาการศึกษา ไดม้ ีการหนดรายละเอียดไวเ้ ป็นรายปี อยแู่ ลว้ แตเ่ น่ืองจากการจดั ทาแผนพฒั นาระยะกลาง ไดจ้ ดั ทาไวล้ ่วงหนา้ ขอ้ มลู หรือความตอ้ งการท่ีเขียนไวอ้ าจไม่สอดคลอ้ งกบั สภาพที่แทจ้ ริงในปัจจุบนั จึงตอ้ งจดั ทาแผนพฒั นา ประจาปี ข้ึน นอกจากน้นั วธิ ีการงบประมาณของเราไม่ใชแ้ ผนพฒั นาระยะกลางขอต้งั งบประมาณประจาปี เพราะมีรายละเอียดนอ้ ยไป แตจ่ ะตอ้ งใชแ้ ผนพฒั นาประจาปี เป็นแผนขอเงิน 4. แผนปฏิบตั ิการประจาปี (1 ปี ) ในการขอต้งั งบประมาณตามแผนพฒั นาประจาปี ในขอ้ 3 ปกติมกั ไมไ่ ดต้ ามท่ีกระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆขอไป สานกั งบประมาณหรือคณะกรรมาธิการของรัฐสภามกั จะตดั ยอดเงินงบประมาณท่ีส่วนราชการตา่ งๆขอไปตามความเหมาะสมและจาเป็นและสภาวการณ์การเงิน งบประมาณของประเทศที่จะพงึ มีภายหลงั ทีส่วนราชการต่างๆ ไดร้ ับงบประมาณจริงๆแลว้ จาเป็นที่จะตอ้ ง ปรับแผนพฒั นาประจาปี ที่จดั ทาข้ึนเพอ่ื ขอเงินใหส้ อดคลอ้ งกบั เงินท่ีไดร้ ับอนุมตั ิ ซ่ึงเรียกวา่ แผนปฏิบตั ิการ ประจาปี ข้ึน แผนท่ีกล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ น้นั เป็นแผนท่ีใชใ้ นหน่วยงานราชการทวั่ ไป สาหรับแผนที่ใชใ้ นวงการ ธุรกิจ เรียกวา่ แผนธุรกิจ หรือ Business Plan ซ่ึงเป็ นแผนการดาเนินงานของธุรกิจ หรือโครงการหน่ึงๆ ที่จดั ทา ข้ึนเพอื่ เป็นแนวทางในการดาเนินธุรกิจท้งั ในระยะส้ัน 1‟3 ปี และในระยะยาว 3‟5 ปี อนั ประกอบไปดว้ ย การวเิ คราะห์ถึงผลกระทบต่อธุรกิจท้งั ทางดา้ นมหภาค (Macro Analysis) และจุลภาค (Micro Analysis) การวิเคราะห์ธุรกิจของโครงการในแง่มุมต่างๆ ท้งั ทางด้านการตลาด ทางดา้ นการดาเนินงาน ทีม ผบู้ ริหาร และทางดา้ นการเงิน เพ่อื เป็นการประเมินความเป็นไปไดข้ องโครงการ และเป็นกรอบในการ ดาเนินธุรกิจ แนวทางการพฒั นาธุรกิจในอนาคต การเขียนแผนธุรกิจ เป็ นส่ิงสาคญั อย่างหน่ึงและเป็ นมาตรฐานในการทาธุรกิจสมยั ใหม่ แมก้ ระทงั่ การขอกเู้ งินหรือการขอสินเชื่อจากธนาคารเพื่อนาเงินมาลงทุน การขอเงินจาก Venture Capital หรือการใช้เงินลงทุนของตนเองก็ดี เน่ืองจากจะทาใหเ้ จา้ ของกิจการ ผรู้ ่วมธุรกิจ หรือธนาคารไดเ้ ห็น ภาพรวมของโครงการ รวมถึงการประเมินความเป็นไปไดข้ องโครงการตา่ งๆ วา่ มีความเป็ นไปไดม้ ากนอ้ ย เพียงใด จะให้ผลคุม้ ทุนเม่ือใด มีความสามารถในการชาระหน้ีหรือไม่ ก่อนท่ีจะเร่ิมตน้ ลงทุนในโครงการ

31 น้นั ๆ จริง โดยแผนธุรกิจนอกจากจะเป็นการประเมินความเป็นไปไดข้ องโครงการแลว้ ยงั เป็นแผนงานและ แผนควบคุมการดาเนินงานของธุรกิจน้นั ๆ ไดอ้ ีกทางหน่ึง ลกั ษณะของแผนธุรกจิ ทด่ี ี ตอ้ งประกอบดว้ ยส่วนสาคญั ดงั น้ี 1. บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) เพื่อใหผ้ บู้ ริหารหรือผพู้ ิจารณาแผน ไดท้ ราบภาพรวม ท้งั หมดของโครงการ และผลตอบแทนที่ไดร้ ับจากการลงทุน 2. โครงสร้างอุตสาหกรรมของบริษัท (Industry Analysis) บอกถึงภาพรวมของอุตสาหกรรมของ โครงการ วสิ ัยทศั น์ ภารกิจ และวตั ถุประสงคข์ องโครงการ 3. การวเิ คราะห์ตลาด (Marketing Analysis) เป็นการวเิ คราะห์ถึงปัจจยั ภายนอก ปัจจยั ภายใน สภาพ การแข่งขนั ในตลาด การกาหนดตลาดเป้ าหมาย การวางตาแหน่งผลิตภณั ฑ์ พฤติกรรมผบู้ ริโภค และการ ประมาณการยอดขายสินคา้ และบริการ 4. แผนการตลาด (Marketing Plan) การกาหนดกลยทุ ธ์ทางการตลาด ท้งั ทางดา้ นสินคา้ และบริการ ราคา ช่องทางการจดั จาหน่าย การส่ือสารทางการตลาด การบริหารการขาย และการรับประกนั สินคา้ และ บริการ 5. แผนการพฒั นาในอนาคต (Improvement Plan) แผนงานการพฒั นาสินคา้ และบริการของบริษทั ในอนาคต 6. แผนการปฏิบัตงิ าน (Operation Plan) กลยทุ ธก์ ารดาเนินงาน สถานที่ต้งั แผนการดาเนินงาน 7. โครงสร้างองค์กร (Organization Plan) แผนผงั องคก์ ร ทีมงานหลกั ในการบริหาร และหนา้ ที่ ความ รับผดิ ชอบของหน่วยงานต่างๆ 8. ความสามารถในการทากาไรของธุรกจิ (Business Profit) นโยบายทางการเงิน สมมติฐานการเงิน งบกาไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เงินลงทุนและผลตอบแทน อตั ราส่วนทางการเงิน การวเิ คราะห์ ความอ่อนไหวของผลการดาเนินงาน การวเิ คราะห์จุดคุม้ ทุน นอกจากน้ีสถานประกอบการหรือผทู้ าธุรกิจจะตอ้ งจดั ทาแผนธุรกิจแลว้ ยงั จะตอ้ งมีแผนอ่ืนๆ ประกอบการดาเนินงานธุรกิจของตนเองอีกดว้ ย เพื่อสร้างความมน่ั ใจใหก้ บั ตนเอง และแหล่งเงินทุน แผน เหล่าน้นั ไดแ้ ก่ 1. แผนการดาเนินงาน (Gantt Chart) แผนภาพระยะเวลาของการดาเนินงานในช่วงเวลาต่างๆ (Time Frame) 2. แผนการควบคุม (Controlling Plan) แผนควบคุมการดาเนินการเพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามแผนงานที่วาง ไว้ 3. แผนฉุกเฉิน (Emergency Plan) แผนสารองหากการดาเนินงานไม่เป็ นไปตามแผนที่ไดว้ างไว้ หรือแผนการแกไ้ ขปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต

32 แบบโครงการอาชีพ 1. ช่ือโครงการอาชีพ 2. ชื่อผรู้ ับผิดชอบโครงการ (ลงช่ือ) 3. ที่ปรึกษา 1. 2. 4. หลกั การและเหตุผล. 5. วตั ถุประสงค์ 6. เป้ าหมาย ดา้ นปริมาณ ดา้ นคุณภาพ 7. ข้นั ตอนและแผนการดาเนินงาน การเตรียมการ การเตรียมสถานท่ี การดาเนินงาน

8. ระยะเวลาดาเนินโครงการ 33 9. สถานที่ประกอบการ 10. รูปแบบผลิตภณั ฑ/์ บริการ ลกั ษณะเด่น 1. ผลิตภณั ฑ/์ บริการ 2. 1. 3. 2. 3. 11. การวางแผนบริหารจดั การ แผนการตลาด แผนการผลิต แหล่งวตั ถุดิบ แผนบริหารจดั การ 12. ประมาณการตน้ ทุนการผลิตและการกาหนดราคาจดั จาหน่าย ผลิตภณั ฑ/์ บริการ ตน้ ทุน ราคาขาย ราคาขายของคู่แขง่ (ถา้ มี) 1. 1. 1. 1. 2. 3. 2. 2. 2. 3. 3. 3.

13. ประมาณการรายรับและรายจา่ ยในการประกอบอาชีพต่อเดือน 34 บาท รายรับ บาท ราคาจ่าย จากยอดขาย จากรายไดอ้ ื่น ค่าเช่าสถานที่ คา่ วตั ถุดิบ/วสั ดุเพือ่ ผลิต ค่าแรงงาน คา่ สาธารณูปโภค (คา่ น้า ค่าไฟ คา่ โทรศพั ท)์ ค่าใชจ้ า่ ยอื่น .... 14. ทรัพยากร/งบประมาณ ทรัพยากร งบประมาณ 15. แผนการปฏิบตั ิงาน กิจกรรมดาเนินงาน มค. กพ. มีค. เมย. พค. ปี พ.ศ. สค. กย. ตค. พย. ธค. หมายเหตุ มิย. กค. 16. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1) 2) 3) 4) 17. ปัญหา / อุปสรรค /ขอ้ เสนอแนะ

35 18. การประเมินผล (ตนเองของผเู้ รียน) (ลงช่ือ) ผเู้ สนอโครงการ ( ) พ.ศ. วนั ท่ี เดือน ความเห็นของอาจารยท์ ่ีปรึกษา (ลงชื่อ) อาจารยท์ ่ีปรึกษา ( ) พ.ศ. วนั ท่ี เดือน ความเห็นของการตรวจสอบโครงการ (ลงชื่อ) เดือน ผวู้ เิ คราะห์โครงการ ( ) พ.ศ. วนั ที่ ผลการพจิ ารณาโครงการ ( ) อนุมตั ิในหลกั การ ( ) อนุมตั ิใหด้ าเนินการได้ ลงชื่อ...........................................ผวู้ เิ คราะห์โครงการ ( .........................................) ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอ.....................................

36 ตัวอย่าง ร่างโครงการอาชีพ 1. ชื่อโครงการอาชีพ จาหน่ายอาหารสาเร็จรูป 2. ชื่อผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวอารียา ศิริมาลา 3. ทป่ี รึกษา 1. นายรอบรู้ สอนดี 2. นางสมศรี ดีพร้อมจริง 4. หลกั การและเหตุผล อาหารเป็ นส่ิงจาเป็ นสาหรับทุกคน คนทุกคนตอ้ งรับประทานอาหารทุกวนั โดยคนในชุมชนของ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพนอกบา้ น ไม่มีเวลาในการประกอบอาหารเอง นอกจากน้นั ชุมชนใกลเ้ คียงมี สานกั งานของเอกชนซ่ึงมีพนกั งานจานวนมาก แต่ในบริเวณชุมชนมีร้านจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปนอ้ ย ไม่ เพยี งพอต่อความตอ้ งการของลูกคา้ และบางร้านมีคุณภาพอาหารและการบริการไม่ค่อยดี ราคาขายปานกลาง ดงั น้นั จากความรู้และทกั ษะการฝึกทกั ษะอาชีพ การบริหารจดั การในอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูป และข้อมูลบริบทชุมชนดังกล่าว จึงได้มีความคิดเห็นว่า น่าจะมีส่วนแบ่งตลาดในการจาหน่ายอาหาร สาเร็จรูปได้อีก โดยมีความมน่ั ใจว่า จะประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปไดอ้ ย่างมีคุณภาพ และ ตอ่ เนื่อง 5. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื เป็ นช่องทางในการประกอบอาชีพ 2. เพอ่ื ประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปใหเ้ กิดรายได้ 3. เพื่อใหป้ ระชาชนในชุมชนไดร้ ับประทานอาหารสาเร็จรูปที่มีคุณภาพ หลากหลาย และราคา ยอ่ มเยาว์ 6. เป้ าหมาย ด้านปริมาณ 1. ปรุงและจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปทุกวนั วนั ละ 5 ‟ 10 อยา่ ง 2. มีรายไดห้ ลงั จากหกั ค่าใชจ้ ่ายแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 800 ‟ 1,000 บาท ตอ่ วนั ด้านคุณภาพ - ดาเนินงานอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และตอ่ เนื่อง

37 7. ข้นั ตอนและแผนการดาเนินงาน ข้นั ตอนการดาเนินงาน 7.1 การเตรียมการ - ศึกษาสารวจขอ้ มูล เช่น แหล่งและราคาวตั ถุดิบประเภทตา่ งๆที่ตอ้ งใช้ รวมท้งั ตรวจสอบ ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ท่ีตอ้ งใชใ้ นการปรุงและจาหน่ายอาหารสาเร็จรูป - สารวจตลาด และความนิยมประเภทอาหารสาเร็จรูป - กาหนดรายการอาหารท่ีจะจาหน่าย - กาหนดวนั เริ่มจาหน่าย - เขียนโครงการ - ขออนุมตั ิโครงการ - เตรียมหาทุน 7.2 การเตรียมสถานที่ - จดั ตกแต่งสถานที่ - เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ 7.3 การดาเนินงาน - ประชาสัมพนั ธ์กลุ่มลูกคา้ เป้ าหมาย - ดาเนินงานปรุงอาหารและจดั จาหน่าย - จดั ทาบญั ชี ประเมินการปฏิบตั ิงานเป็ นรายวนั / รายสปั ดาห์ /รายเดือน - ประเมินสรุปเม่ือปฏิบตั ิงานเสร็จสิ้นตามระยะเวลาท่ีกาหนด - เสนอแนวทางการพฒั นาอาชีพ 8. ระยะเวลาดาเนินโครงการ 1 มกราคม ‟ 30 กนั ยายน 2555 9. สถานทปี่ ระกอบการ บา้ นของนางสาวอารียา ศิริมาลา เลขท่ี 99 ชุมชนบา้ นล่าง ตาบลบางพระ อาเภอเมือง จงั หวดั ตราด 10. รูปแบบผลติ ภณั ฑ์/บริการ ลกั ษณะเด่น 1. สด ใหม่ สะอาด ผลติ ภัณฑ์/บริการ 2. ราคาไม่แพง 1. อาหารสาเร็จรูป 3. ทาจากวตั ถุดิบในทอ้ งถิ่น 2. อาหารป่ิ นโต 3. อาหารสาหรับงานเล้ียงเลก็ ๆ ตามเทศกาล

38 11. การวางแผนบริหารจัดการ 11.1 แผนการตลาด 1) ลูกคา้ กลุ่มเป้ าหมาย 1. ลูกคา้ ในชุมชนที่ทางานนอกบา้ น ไดแ้ ก่ พนกั งานบริษทั หา้ งร้าน ขา้ ราชการ ประชาชน ทวั่ ไป 2. กลุ่มจดั เล้ียง เช่น งานสงั สรรค์ งานวนั เกิด วนั สาคญั อื่นๆ 3. ลูกคา้ จากชุมชนอ่ืนๆ 2) การโฆษณา 1. แผน่ พบั ใบปลิว 2. ติดป้ ายโฆษณาตามสถานที่ตา่ ง ๆ ในตวั เมือง ตลาด และชุมชนใกลเ้ คียง 3. การบอกต่อ 3) ประชาสมั พนั ธ์ - ในวนั เปิ ดกิจการวนั แรก ทางร้านจะมีการแจกของชาร่วยใหล้ ูกคา้ ท่ีมารับประทานอาหารในร้าน และซ้ือกลบั บา้ น 4) การส่งเสริมการขาย - ซ้ืออาหาร 5 อยา่ ง/คร้ัง แถม น้าพริก 1 ถุง - บตั รสะสมแตม้ ซ้ืออาหารครบ 20 คร้ัง แถม แกง 1 ถุง 11.2 แผนการผลิต 1. เนน้ ความหลากหลายของอาหาร 2. เนน้ คุณภาพ สด ใหม่ รสชาติดี อร่อยคงท่ีสม่าเสมอ 3. มีการบริการจดั เล้ียงนอกสถานท่ี 11.3 แหล่งวตั ถุดิบ 1. วตั ถุดิบในทอ้ งถิ่น 2. วตั ถุดิบตามฤดูกาล 3. วตั ถุดิบท่ีเป็นอาหารสดตอ้ งจดั การหมุนเวยี นวนั ต่อวนั ส่วนอาหารแหง้ สัปดาห์ละ 1 คร้ัง 11.4 แผนบริหารจดั การ 1. เป็นธุรกิจในครัวเรือน 2. ลูกคา้ สะดวกสบาย มีท่ีจอดรถ

12. ประมาณการต้นทนุ การผลติ และการกาหนดราคาจัดจาหน่าย 39 ผลิตภณั ฑ/์ บริการ ตน้ ทุน (บาท) ราคาขาย (บาท) ราคาขายของคู่แขง่ (ถา้ มี) 1. แกง 20 บาท 25 บาท 30 บาท 2. ตม้ ยา 25 บาท 30 บาท 30 บาท 3. ผดั ผกั รวมมิตร 20 บาท 25 บาท 30 บาท 4. ตม้ จืด 20 บาท 25 บาท 30 บาท 5. น้าพริก 20 บาท 25 บาท 25 บาท 13. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพต่อเดอื น รายรับ บาท ราคาจา่ ย บาท จากยอดขาย 30,000 - ค่าเช่าสถานที่ ไม่มี จากรายไดอ้ ่ืน 3,000 - คา่ วตั ถุดิบ/วสั ดุเพ่อื ผลิต 15,000 - ค่าแรงงาน 5,000 - รวม 33,000- ค่าสาธารณูปโภค 800 - (คา่ น้า ค่าไฟ คา่ โทรศพั ท)์ 500 - ค่าใชจ้ า่ ยอ่ืน 21,000 - รวม 14. ทรัพยากร / งบประมาณ ทรัพยากร - ใชค้ นในครอบครัว - ใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์ เครื่องครัว ท่ีมีอยแู่ ลว้ งบประมาณ - จานวนเงินทุนที่ขอรับการสนบั สนุน เริ่มโครงการ 5,000 บาท

40 15. แผนการปฏบิ ัติงาน กจิ กรรมดาเนินงาน มค. กพ. มคี . ปี พ.ศ. 2555 กย. ตค. พย. ธค. หมายเหตุ เมย. พค. มยิ . กค. สค. การเตรียมการ - สารวจตลาด และ ความนิยมประเภท อาหารสาเร็จรูป - กาหนดรายการ กาหนดทุกวนั อาหารท่ีจะจาหน่าย เพื่อไมใ่ ห้ รายการอาหาร - เขียนโครงการ ช้า - ขออนุมตั ิโครงการ - เตรียมหาทุน - เขียน การเตรียมสถานที่ - จดั ตกแต่งสถานท่ี - เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ การดาเนินงาน - ประชาสัมพนั ธ์ ประชาสมั พนั ธ์ กลุ่มลูกคา้ เป้ าหมาย ไมใ่ ชเ้ วลานาน เพอื่ ไมใ่ หล้ ูกคา้ - ดาเนินงานปรุง ลืม อาหารและจดั จาหน่าย - จดั ทาบญั ชี ประเมินการ ปฏิบตั ิงานเป็นรายวนั / รายสัปดาห์ - ประเมินสรุปเม่ือ ปฏิบตั ิงานเสร็จสิ้นตาม ระยะเวลาท่ีกาหนด - เสนอแนวทางการ พฒั นาอาชีพ

41 16. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. สามารถประกอบอาชีพจาหน่ายอาหารสาเร็จรูปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง มีรายไดท้ ่ีสามารถนาไปใชใ้ น การดารงชีวติ และนาไปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง 2. การดารงชีวติ มีความมนั่ คงมากข้ึนเป็นลาดบั 17. ปัญหา / อปุ สรรค /ข้อเสนอแนะ - การหาเงินทุนจากแหล่งอื่น 18. การประเมินผล 1. ประเมินผลจากการจดั ทาบญั ชี 2. ประเมินผลจากขอ้ มูลสรุปผลเม่ือเสร็จสิ้นโครงการตามระยะเวลาท่ีกาหนด (ลงชื่อ) อารียา ศิริมาลา ผเู้ สนอโครงการ ( นางสาวอารียา ศิริมาลา ) วนั ที่ 30 เดือน มกราคม พ.ศ. 2555

42 (ตัวอย่าง) แบบประเมินโครงการ โครงการ................................................................. ตามหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทา คาช้ีแจง ใหพ้ ิจารณาเอกสารโครงการ พร้อมวเิ คราะห์ และประเมินตามประเด็นที่กาหนด โดยใหท้ าเครื่องหมาย / ลงใน ( ) หนา้ ขอ้ ความที่ตรงกบั ความคิดเห็น ............................................................................................................................................................. 1. องคป์ ระกอบในโครงการ ( ) มีครบ ( ) มีไม่ครบ ขาดหวั ขอ้ .............................. 2. ช่ือโครงการชดั เจน ครอบคลุมเน้ือหาสาระของโครงการ ( ) ชดั เจน ( ) ไมช่ ดั เจน 3. ระบุผรู้ ับผิดชอบโครงการ ( ) ชดั เจน ( ) ไม่ชดั เจน 4. ระบุที่ปรึกษาโครงการ ( ) ชดั เจน ( ) ไม่ชดั เจน 5. หลกั การและเหตุผล 5.1 ความสอดคลอ้ งกบั ปัญหาและความตอ้ งการ ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไม่สอดคลอ้ ง 5.2 ความชดั เจนของปัญหาและความตอ้ งการ ( ) ชดั เจน ( ) ไมช่ ดั เจน 6. วตั ถุประสงค์ 6.1 ความสอดคลอ้ งกบั หลกั การและเหตุผล ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไม่สอดคลอ้ ง 6.2 ความสอดคลอ้ งกบั เป้ าหมาย ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไมส่ อดคลอ้ ง 6.3 ความสอดคลอ้ งกบั ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไม่สอดคลอ้ ง 6.4 ความเป็นไปได้ ( ) มีความเป็ นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้

43 7. เป้ าหมาย 7.1 ความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไม่สอดคลอ้ ง 7.2 การระบุหน่วยนบั ( ) วดั ได้ ( ) วดั ไม่ได้ 7.3 ความเป็นไปได้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด 8. ข้นั ตอนและแผนการดาเนินงาน 8.1 การกาหนดข้นั ตอน ( ) ชดั เจน ( ) ไม่ชดั เจน 8.2 การกาหนดระยะเวลาตามแผนการดาเนินงาน ( ) ชดั เจน ( ) ไม่ชดั เจน 8.3 สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไมส่ อดคลอ้ ง 8.4 ความเป็นไปได้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด้ 9. ระยะเวลาดาเนินการ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด 10. สถานท่ีประกอบอาชีพ ( ) ชดั เจน ( ) ไมช่ ดั เจน 11. รูปแบบผลิตภณั ฑ/์ บริการ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด้ 12. การวางแผนบริหารจดั การ แผนการตลาด ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ การผลิต ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ แหล่งวตั ถุดิบ ( ) เพียงพอความตอ้ งการ ( ) ไมเ่ พียงพอความตอ้ งการ แผนการบริหารจดั การ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด้

44 13. ประมาณการตน้ ทุนการผลิตและการกาหนดราคาจดั จาหน่าย ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ 14. ประมาณการรายรับและรายจ่ายในการประกอบอาชีพตอ่ เดือน ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด้ 15. ทรัพยากร / งบประมาณ 15.1 ความเป็นไปไดข้ องทรัพยากรท่ีใช้ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไมไ่ ด้ 15.2 เปรียบเทียบงบประมาณกบั เป้ าหมาย ( ) คุม้ คา่ ( ) ไม่คุม้ ค่า 15.3 ความเป็นไปไดข้ องงบประมาณกบั งานอาชีพ ( ) เป็นไปได้ ( ) เป็นไปไม่ได้ 16. ผลท่ีไดร้ ับจากโครงการ 16.1 สอดคลอ้ งกบั หลกั การและเหตุผล ( ) สอดคลอ้ ง ( ) ไมส่ อดคลอ้ ง 16.2 ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ( ) ไมม่ ี ( ) มี คือ................................................ 17. ปัญหา / อุปสรรค /ขอ้ เสนอแนะ ( ) มี ( ) ไม่ได้ 18. การประเมินผล 18.1 ระบุวธิ ีการประเมินผล ( ) ชดั เจน ( ) ไมช่ ดั เจน 18.2 ระบุเคร่ืองมือหรือแหล่งขอ้ มูลที่ใชใ้ นการประเมินผล ( ) ชดั เจน ( ) ไมช่ ดั เจน (ลงชื่อ) ผปู้ ระเมินโครงการ ( ) วนั ท่ี เดือน พ.ศ.

45 ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ สรุปผลการวเิ คราะห์โครงการ ( ) อนุมตั ิในหลกั การ ( ) ปรับปรุงใหม่ ( ) อนุมตั ิใหด้ าเนินการได้ (ลงชื่อ) ผวู้ เิ คราะห์โครงการ ( ) หวั หนา้ กศน. ตาบล พ.ศ. วนั ท่ี เดือน ผลการพจิ ารณาโครงการ ( ) อนุมตั ิในหลกั การ ( ) อนุมตั ิใหด้ าเนินการได้ (ลงช่ือ) ผวู้ เิ คราะห์โครงการ ( ) ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอ พ.ศ. วนั ที่ เดือน

46 ใบงาน สาหรับการศึกษาดูงาน สถานท่ี วทิ ยากร อาชีพที่ศึกษาดูงาน ข้นั ตอนการประกอบอาชีพที่ศึกษาดูงาน 1) 2) 3) 4) 5) อุปกรณ์การประกอบอาชีพท่ีศึกษาดูงาน ระยะเวลาของการผลิต/บริการ เทคนิคการประกอบอาชีพ (เช่น เจียวไขฟ่ ู ตอ้ งใส่น้ามนั เยอะๆ ใส่มะนาวเลก็ นอ้ ย) แนวทางและวธิ ีการแกป้ ัญหา

47 การจดั สถานที่ของแหล่งเรียนรู้ การจดั จาหน่าย/บริการ รายได/้ คา่ ใชจ้ า่ ยในการประกอบอาชีพ การหาแหล่งเงินทุน ความเป็นไปไดท้ ่ีจะประกอบอาชีพท่ีไดศ้ ึกษาดูงาน (เส้นทางความกา้ วหนา้ หรือ ความเจริญเติบโต ของอาชีพที่ศึกษาดูงาน) อาชีพที่ศึกษาดูงานสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของท่าน หรือ ไม่ (ลงช่ือ) เดือน ผเู้ รียน/ผศู้ ึกษาดูงาน ( ) พ.ศ. วนั ท่ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook