Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูผู้มองเห็นสภาวะ การเรียนรู้ของเด็ก

ครูผู้มองเห็นสภาวะ การเรียนรู้ของเด็ก

Description: ทำไมพูดแล้วเด็กไม่ฟัง?
ทำไมเด็กชอบวิ่งเล่นเวลาครูสอน?
ทำไมเด็กเรียนรู้ไม่ได้?
คำถามที่มักเกิดขึ้นในใจแม่ครูปฐมวัยเวลาจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กเล็ก แต่ถ้ามองให้ลึกลงไปถึงความเข้าใจในพัฒนาการและธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กวัยนี้ ครูจะพบว่าธรรมชาติ
ของเด็กวัยนี้ยังฟังได้น้อย และยังมีคลังคำไม่มากพอ

Keywords: การเรียนรู้,เด็กปฐมวัย

Search

Read the Text Version

หนังสอื ชุด ครูปฐมวัยหวั ใจใหม

ครูผมŒู องเหน็ LสVภeาiวsaะกibrาnรleiเnรย�gนรŒขู องเดก็

ครผู ูม องเห็นสภาวะการเรยี นรขู องเด็ก (Visible Learning) จดั ทำโดย มลู นธิ ิโรงเรยี นรุง อรุณ ที่ปรกึ ษา รศ.ประภาภทั ร นยิ ม อาจารยสวุ รรณา ชีวพฤกษ อาจารยส นุ สิ า ช่นื เจรญิ สุข อาจารยสกุณี บุญญะบญั ชา ขอ มูล ครูเรวดี ดงุ ศรแี กว ครจู ินตนา นำศริ โิ ยธนิ ครวู รรณพา แกวมณฑา ครปู ย ะดา พชิ ิตกุศลาชยั ครูณัฎฐนชิ ศิโรดม เขียน นนั ทยิ า ตนั ศรีเจริญ ภาพถาย สหรฐั ขัตติ ณชิ ากร มณีวเิ ศษเจริญ ภาพประกอบ ณิชากร มณวี ิเศษเจรญิ ออกแบบปก ขวัญชยั จักรววิ ฒั นากลุ ออกแบบจดั รูปเลม สโรชบ ล การถาวร พิสจู นอักษร ฐติ ินันท ศรสี ถติ พิมพคร้ังท่ี 1 มกราคม 2564 พมิ พท ี่ บรษิ ทั แปลน พริ้นทตงิ้ จำกัด โทร 0 2277 2222 หนงั สือชดุ ครปู ฐมวยั หัวใจใหม โครงการส่อื สรา งสรรคเ พ่ือการเรียนรอู ยางเปนองครวม ระยะที่ 2 (แมค รหู ัวใจใหม) โครงการความรว มมอื ระหวางกองทุนพฒั นาส่ือปลอดภัยและสรา งสรรค สถาบนั อาศรมศลิ ป และมลู นธิ โิ รงเรยี นรุงอรณุ เวบ็ ไซต : www.holisticteacher.net สงวนลขิ สทิ ธต์ิ ามพระราชบัญญตั ิ โดย กองทนุ พัฒนาสื่อปลอดภยั และสรางสรรค และมูลนธิ โิ รงเรยี นรงุ อรุณ

คำนำ ปฐมวัย ชว งวยั แหง การวางรากฐานสำคญั ของชวี ิต ท้งั กาย ใจ สติปญ ญา และสังคม ชวงวัยที่สมองพรอมเรียนรูมากที่สุดครบทุกมิติ ทั้งความรู (Head) ทักษะ (Hand) และ จติ สำนกึ ทีด่ ี (Heart) ชวงวัยแหงการเรยี นรผู า นการเลน การลงมอื ทำ และการสื่อดวยภาษาพูด ชวงวัยแหงความดี เรียนรูความกตัญูกตเวทีตอผูมีพระคุณ อันเปนคุณธรรมสำคัญที่เกื้อหนุน การเรียนรขู องวยั เดก็ โครงการสอ่ื สรา งสรรคเ พอ่ื การเรยี นรอู ยา งเปน องคร วม ระยะท่ี 2 (แมค รหู วั ใจใหม) จงึ เกดิ ขน้ึ โดยความรวมมือระหวางกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค สถาบันอาศรมศิลป และมูลนิธิ โรงเรยี นรงุ อรณุ เพอ่ื สกัดองคความรูที่สำคัญตอการจดั การเรียนรสู ำหรับเด็กปฐมวยั แลว จดั ทำเปน สื่อวีดิทัศนและหนังสือชุด ครูปฐมวัยหัวใจใหม เพื่อเปนคูมือสำหรับครูปฐมวัย พอแม ผูปกครอง ในการจัดการเรียนรเู พือ่ พัฒนาเดก็ อยางเปนองคร วม หนงั สอื ชุด ครูปฐมวัยหัวใจใหม ประกอบดว ยหนังสอื 3 เลม ไดแก เลมที่ 1 ครนู กั สรางสรรค พื้นท่ีการเรียนรู (Learning Space) เลมท่ี 2 ครนู กั ออกแบบการเรยี นรู (Teacher as a Learning Designer) และเลม ท่ี 3 ครูผูม องเหน็ สภาวะการเรียนรูของเด็ก (Visible Learning) ขอขอบพระคุณ คณาจารย ผูเชี่ยวชาญ และครูปฐมวัยหัวใจแมทุกทาน ที่ถายทอดองคความรู จากประสบการณจนออกมาเปน หนังสือชุดน้ี ขอบคุณภาคเี ครอื ขายทรี่ ว มแรงรวมใจผลติ งานอนั เปน ประโยชนต อ การพฒั นาเดก็ และเยาวชนทจ่ี ะเตบิ โตเปน กำลงั สำคญั ของประเทศไทยและโลกใบนต้ี อ ไป กองทนุ พฒั นาส่อื ปลอดภยั และสรา งสรรค

สารบญั 05 07 บทนำ 13 Visible Learning การเร�ยนรูŒท่มี องเห็นไดŒ 17 ทําไมครูตอŒ งมองเหน็ สภาวะการเรย� นรขŒู องเด็ก 23 ทําอยา‹ งไรครูจะมองเหน็ สภาวะการเรย� นรูขŒ องเดก็ 29 เมอ่ื ครูมองเห็นสภาวะการเรย� นรขูŒ องเดก็ 30 36 เม่อื การเรย� นรไŒู ม‹เปšนไปตามแผน 44 อ‹านเด็กใหอŒ อก 51 เปดโอกาสใหŒเด็กคิดและลงมือทำ 57 อ‹านสถานการณใหŒออก 64 รอเปนš จบั ประเด็นพาเด็กเรย� นรŒรู ว‹ มกัน วางใจใหŒเดก็ ทำเอง พาเด็กสรปุ การเร�ยนรูรŒ ‹วมกนั

บทนำ ทำไมพูดแลวเด็กไมฟ ง? ทำไมเดก็ ชอบว่ิงเลนเวลาครสู อน? ทำไมเดก็ เรียนรไู มได? คำถามที่มักเกิดขึ้นในใจแมครูปฐมวัยเวลาจัดการเรียนรูใหกับเด็กเล็ก แตถามองให ลกึ ลงไปถงึ ความเขา ใจในพฒั นาการและธรรมชาตกิ ารเรยี นรขู องเดก็ วยั น้ี ครจู ะพบวา ธรรมชาติ ของเด็กวัยนย้ี ังฟง ไดน อย และยังมคี ลงั คำไมมากพอ แมแตการรับรูค ำส่ังก็ยงั ไมไดค รบถว น ดังนั้นเพื่อเปนการชวยเติมเต็มและตอยอดการเรียนรูที่ยังไมครบวงจรของเด็กเล็กนี้ แมครู ปฐมวยั จงึ แทบจะตอ งเขา ไปนง่ั ในใจเดก็ แตล ะคน มองใหเ หน็ สภาวะการเรยี นรขู องเดก็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ (Visible Learning) อานใหออกวาสีหนา แววตา ทาทาง หรือถอยคำที่เด็กเอยออกมานั้น สะทอ นความรสู กึ อะไร เดก็ กำลงั สนใจใครร หู รอื ตดิ ขดั ในเรอ่ื งใด เพอ่ื ทค่ี รจู ะสามารถตง้ั คำถาม ทส่ี รา งแรงบนั ดาลใจและทา ทายใหเ ดก็ ตอ ยอดการเรยี นรดู ว ยความกระหายใครร ขู องเขาตอ ไป รศ.ประภาภัทร นิยม ไดกลาววา “Visible Learning ถือเปนกุญแจสำคัญที่จะไขสู จกั รวาลการเรยี นรขู องเดก็ ” สะทอ นใหเ หน็ วา สมรรถนะของความเปน ครหู วั ใจใหมผ มู องเหน็ สภาวะการเรียนรูของเด็กนั้นมีความสำคัญตอการยกระดับการเรียนรูของเด็กและการสอน ของครู เพราะโดยแทจ รงิ แลว เดก็ แตล ะคนมลี ลี าในการเรยี นรู (Learning Style) ทแ่ี ตกตา งกนั หากครมู องเหน็ และสามารถตง้ั คำถามตอ กบั เดก็ ไดถ กู จดุ หรอื เชอ่ื มโยงกบั เรอ่ื งใกลต วั จะเปน การขยายขอบเขตการเรยี นรขู องเด็กไดเปนอยา งดี 5

หวั ใจสำคญั ทชี่ ว ยใหค รูมองเหน็ สภาวะการเรยี นรูของเดก็ คือ การออกแบบการจดั การ เรียนรูแ บบเปด ทเ่ี ปน การเรียนแบบใฝรู สามารถสรางพน้ื การเรยี นรูก ับเด็กรว มกนั เด็กจะมี ดวงตาเปนประกายอยากเรียนรูทุกอยางที่เปนโอกาส สามารถเขาถึงการเรียนรูนั้นได โดยเปนผูดำเนินการเรียนรูเอง (Active Learning) ไมถูกกำกับใหเปนผูรอรับความรู (Passive Learning) ทำใหเด็กไดใชศักยภาพของตนอยางเต็มที่ และจะทำใหครูสามารถ สงั เกตสภาวะการเรียนรูของผูเ รยี นไดอยางชัดเจน ชดุ หนงั สอื เลม นไ้ี ดถ อดจากประสบการณค วามเชย่ี วชาญของทมี ครอู นบุ าลโรงเรยี นรงุ อรณุ ทม่ี ีเปาหมายของการจดั การศกึ ษามุงพฒั นามนษุ ยใหสมบรู ณอยางเปนองครวม ท้ังทางดาน จติ ใจ (Heart) พฤตกิ รรม (Hand) และสตปิ ญ ญา (Head) เพอ่ื สง เสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ ดวยจิตวิญญาณความเปนครูที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับศาสตรทางการศึกษาปฐมวัย โดยเฉพาะ มสี ายตามองเหน็ สภาวะการเรยี นรขู องเดก็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ นำพาตนเองเขา ไปเปน หนุ สว น ของการจัดการเรียนรูของเด็ก เขาใจธรรมชาติและการปรับตัว 4 มิติ คือ กาย ใจ ทักษะ การเรยี นรู และทกั ษะความเปน มนษุ ย อา นโลกออก อา นตนเองเปน สามารถพฒั นาคณุ คา ภายในตนอยา งมสี ตสิ มั ปชญั ญะ เทา ทนั ตอ ความรสู กึ นกึ คดิ เทา ทนั การเปลย่ี นแปลง พรอ มทำ หนา ท่ี “แมค ร”ู ผใู หค วามรกั ความเมตตา ความอบอนุ และความเขา ใจธรรมชาตกิ ารเรยี นรู ของเดก็ ดว ยการบรู ณาการความรสู ชู วี ติ เตรยี มความพรอ มและปพู น้ื ฐานทกั ษะชวี ติ ทจ่ี ำเปน ใหแกศ ษิ ย และเปน ผทู ่ีสามารถปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของบรบิ ทสงั คมไทย อาจารยส ืบศกั ดิ์ นอ ยดดั ผูด แู ลโครงการพัฒนาศนู ยเด็กเลก็ ตามแนวทางการเล้ียงลูกดว ยความรักของสมเด็จยา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั สถาบันอาศรมศิลป 6

VLeisaibrnleing การเร�ยนรŒู ทีม่ องเห็นไดŒ 7

ขณะที่เด็กคนอนื่ ๆ กำลงั วิ่งเลนขึน้ ลงเนนิ ดิน สนกุ กับการทำอาหาร สารพัดเมนูอยูในบอทรายใตตนไม อีกกลุมกำลังปนปายตาขายเชือก ปนหนาผาจำลอง บางประลองกำลังแขนอยูที่ราวโหน ครูสังเกตเห็น เดก็ อนบุ าลคนหนง่ึ ยนื รรี ออยรู มิ บอ ทราย เหมอื นไมร วู า จะเลน อะไรดี บอ ทรายน้ีเปน พนื้ ทเี่ ลน ใหมท ค่ี ุณครอู นุบาลทำไวใ หเดก็ ๆ ไดเลนใน เทอมนีท้ ย่ี า งเขาสูฤดฝู น ใกลๆ กนั มแี ทน กดน้ำพแุ ละลำธารเลก็ ๆ เปน พื้นทเ่ี ลนใหเ ดก็ ๆ ไดเรยี นรฤู ดกู าลผา นการเลน ฝนเพิ่งตกไปเมื่อวาน บอทรายจึงชื้นแฉะและมีน้ำขังอยูบางแหง เดก็ ชายคนหนง่ึ กำลงั เอาหมอ ขดุ ทรายขน้ึ มาใหเ ปน แอง นำ้ เลก็ ๆ เดก็ หญงิ อกี คนใชต ะหลวิ ตกั โคลนทรายใสห มอ บนขอบบอ เดก็ ๆ กลมุ หนง่ึ กำลงั วงิ่ หลบน้ำพทุ ี่เพอ่ื นคอยกดอยอู ยางสนกุ สนาน ครูสังเกตเด็กคนดังกลาวอยูเงียบๆ เพราะรูดีวาเรื่องเลนกับเด็ก เปนของคูกัน ไมมีเด็กคนไหนหรอกที่เลนไมเปน ไมจำเปนเลยที่ครู จะตองพาเดก็ ๆ เลน 1สังเกต 2ตั้งสมมตฐิ าน 8

หลงั จากรรี ออยพู กั ใหญ จนเดก็ ๆ กลมุ ทเ่ี ลน นำ้ พอุ ยยู า ยไปเลน ทอ่ี น่ื เด็กคนนี้ก็เดินไปลองกดน้ำพุ พอเขากด น้ำก็พุงออกมา กดอีกที น้ำก็ พุงออกมา เขากดๆ หยุดๆ อยูหลายครั้ง จนคุณครูสงสัญญาณวา หมดเวลาเลน แลวใหเ ตรียมตัวไปรับประทานอาหารวาง วันตอมาเด็กคนนี้กลับมาที่น้ำพุอีกครั้ง แตคราวนี้เขาไปหากอนหิน มาวางไวบ นปลายทอ นำ้ แลว วง่ิ ไปกดนำ้ พุ พอเขากด นำ้ พพุ งุ ขน้ึ พรอ มกบั ดนั กอ นหนิ ทเ่ี ขาวางไวล อยขน้ึ ไปดว ย เดก็ คนอน่ื ทอ่ี ยแู ถวนน้ั พากนั เขา มา รมุ ลอ มและตน่ื เตน กบั การเลน ใหมน ้ี เดก็ ๆ ชว ยกนั เอากอ นหนิ ไปวางบน ทอ นำ้ พใุ หม เขาออกแรงกด แลว เฝา มองดกู อ นหนิ ลอยขน้ึ ตามแรงดนั นำ้ ดวยดวงตาเปนประกาย ใบหนายิ้มแยม ครูที่คอยสังเกตตั้งแตเมื่อวานเขาใจไดทันทีวา ทาทีรีรอเมื่อวานนี้ แทจริงแลวเขากำลังสังเกตการเลนของเพื่อนๆ อยู สังเกตจนพอใจแลว จึงเขาไปทดลองเลน เลนทดลองซ้ำๆ จนเกิดความเขาใจบางอยาง และ วนั นีเ้ ขากม็ าทดสอบความเขาใจนน้ั วาเปน จริงตามทีเ่ ขาคดิ ไวไ หม เขากำลังเรียนวิทยาศาสตรเรื่องแรงดัน โดยใชการสังเกต การตง้ั สมมตฐิ าน การทดลอง และการสรปุ ความรู ซง่ึ เปน ทกั ษะและ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 3ทดลอง 4สรปุ ความรŒู 9

10

จากตวั อยางขางตน Visible Learning หรอื การเรยี นรทู มี่ องเหน็ ไดข องผูเ รยี นน้ัน เกิดขึ้นจากการที่ครูใชสื่อและเปดพื้นที่เลนที่ทาทายศักยภาพแหงวัยของผูเรียน เปน การเปด โอกาสใหเ ดก็ ไดใ ชศ กั ยภาพทกุ ดา นในการเลน เพราะเดก็ ปฐมวยั เรยี นรู ตนและโลกผา นการเลน ทดลอง ลงมอื ทำ ใหเ กดิ ประสบการณต รง เกดิ พฒั นาการ ทางภาษา และเกิดชุดความรูความเขา ใจตอ เร่อื งราวนน้ั ๆ ของตวั เขาเอง เราลองจินตนาการดูวา ขณะที่เด็กคนนี้มีทาทีรีรอ ไมออกไปเลนเหมือนเพื่อนๆ จังหวะนั้นถาครูไมรอ คิดวาเด็กเลนไมเปน แลวรีบเขาไปพาเลน ครูจะไมรูเลยวา ตนเองไดเขาไปตัดโอกาสการเรียนรูของเด็กเสียแลว แตถาครูเปลี่ยนมุมมองและ เชื่อมั่นวาเด็กเรียนรูไดดวยตนเอง ครูจะวางใจ ไมดวนสอน และที่สำคัญคือ มีเวลา สังเกตเด็ก มองออกวาเด็กกำลังเลือก กำลังตัดสินใจ จนเด็กไปถึงจุดที่เขาตัดสินใจ ดวยตนเอง วาเขาจะเขาไปหาอะไร ไปเลนอะไร ไปสนใจอะไร แลวใหโอกาสเขาได ลงมือเรียนรูดวยตัวเอง Visible Learning หรือแววการเรียนรูเฉพาะตัวของเด็ก จะคอ ยๆ ปรากฏใหเ ราเหน็ หวั ใจสำคญั อยทู ว่ี า ขณะทเ่ี ดก็ กำลงั เลน เขากำลงั เรยี นรอู ยนู น้ั ครมู องเหน็ ไหม วาเดก็ กำลังเรยี นรูอะไร มองออกไหมวาภาพตรงหนา คอื ทักษะและกระบวนการทาง วิทยาศาสตร หรือเขากำลังประลองความรูบางอยาง แลวครูจะหยิบฉวยเหตุการณ ตรงหนาพาเด็กตอยอดและพัฒนาการเรียนรู จนเกิดเปนความรูความเขาใจของ ตัวเด็กเองไดอ ยางไร นบั เปน ความทา ทายย่ิงของแมครปู ฐมวยั ทกุ คน 11

VLeisaibrnleing คสือภาวะการเรย� นรูŒ ของผูŒเรย� นทม่ี องเห็นไดŒ เกดิ ขน้� ขณะทผ่ี เŒู รย� นกำลงั เรย� นรŒูในเรอ่� งทส่ี นใจ ดŒวยว�ธ�การเร�ยนรูŒต‹างๆ (Learning Style) สังเกต ลงมือทำ ประเมิน ลองผิดลองถูก เพื่อทำความเขŒาใจในเร�่องนั้นๆ ดŒวยตัวเอง 12

คทสำภรไมาตู วอŒ ะงกมาอรงเเรห�ยน็ นรูŒ ของเด็ก 13

ครูเมื่อ มองเหน็ สภาวะการเร�ยนรขŒู องผŒเู รย� น ?ดกี ับเด็กอยา‹ งไร ปกติเด็กมฉี ันทะ กระตือรือรน อยากเรียนอยูแลว หากเปน เรอื่ งที่เขาสนใจและมีความหมายกบั เขาโดยตรง ครจู ึงสามารถชวยเดก็ ขยาย/ตอยอดการเรยี นรู ทำสิง่ ท่ีรใู หช ดั ขน้ึ ทำไปจนสุด สรางความรจู ากความเขาใจ พัฒนาทักษะ เหน็ คุณคา‹ ของการเรย� นรŒู รวูŒ า‹ ตนเองทำอะไรไดŒ มนั่ ใจในความสามารถของตัวเอง (Self-Esteem) 14

?ดีกับครูอย‹างไร ครูมแี ว‹นขยาย มองเหน็ การเรยี นรูข องเด็ก รวูŒ า‹ เด็กคดิ อะไร รอู ะไร และครูจะต‹อยอดการเรยี นรกู ับเดก็ ไดอ ยา งมีความสุข สนกุ กับการจดั การเรย� นรูŒ อย‹างเช่อ� มนั่ และวางใจว‹า เด็กทุกคนเร�ยนรŒูไดŒ 15

จะมองเหน็ Visible Learning ของผเู รียนได ครตู องมีทกั ษะการสงั เกตอยางลกึ ซ้ึง ถงึ ความสามารถในการเรียนรูของผเู รยี น ซึง่ เปน นามธรรมท่ีเกดิ ขึ้น ขณะผเู รียนกำลงั เรียนรู รองศาสตราจารยประภาภัทร นิยม อธกิ ารบดีสถาบันอาศรมศลิ ป และผกู อ ต้ังโรงเรียนรงุ อรณุ 16

คทสำภรอาจู ยวะ‹ามะงกอไรงาเรหเ็นรย� นรูŒ ของเด็ก 17

เด็กปฐมวัยเรียนรูอยูตลอดเวลา โลกการเรียนรูของเด็กไมเคยหยุดนิ่ง เพราะใน ทุกการเลนและการลงมือทำของเด็กมีความรูเกิดขึ้นเสมอ แลวปจจัยอะไรที่จะชวยใหแมครู ปฐมวัยมีสายตามองเห็นสภาวะการเรียนรูของเด็กที่เกิดขึ้น แลวพาเด็กขยายการเรียนรูไปสู ความเขา ใจในเรื่องทีเ่ ขากำลังสนใจได เช�อ่ ม่นั ในศักยภาพ การเร�ยน1รŒขู องเดก็ จัดการเรย� นรูŒแบบเปด ครมู องเห็นพาเด็กถอดความรŒู และ Active Learning 7 2 ใชสŒ ื่อและพ้นื ทก่ี ารเร�ยนรŒู และบันทึกความรŒู ป˜จจยั ทท่ี ำใหŒ ท่ีทŒาทาย ต้งั คำถามเพ่อื ขยาย 6 สภาวะการเร�ยนรูŒ 3 มคี วามรูแŒ ละความเขŒาใจ การเรย� นรŒูของเดก็ ของเด็ก เก่ยี วกับเดก็ ยืดหย‹ุนไปตาม 5 4 สงั เกต และอา‹ นเดก็ ออก กระบวนการเร�ยนรูŒ ของเด็ก 18

1เกชาอ่�รเรม�ยัน่ นใรนศูŒขักอยงภาเดพก็ เชอ่ื ม่นั วา เดก็ ทุกคนเรยี นรูได วางใจวาการเรียนรูเ ปน ของผูเรียน การวางใจเชนน้ีจะทำ ใหค รเู ปด โอกาสใหเ ดก็ ไดล งมอื ทำดว ยตวั เอง และรอเปน ไมร บี เขา ไปชว ย เพราะวางใจ วานี่เปนพื้นที่เรียนรูของเด็ก มากกวาเปนพื้นที่สอนของครู เปดโอกาสใหเด็กได ประลองความรู ลงมือแกไขปญหา ทำจนสุด ครูจะคอยสังเกต รอจังหวะที่เหมาะสม แลวเขา ไปชวนคยุ หรอื ต้งั คำถามเพ่ือขยายการเรยี นรขู องเด็กตอไป 2จดั การเร�ยนรแŒู บบเปด และ Active Learning เปนการเรียนรูที่เปดพื้นที่ เปดโอกาส ใชสถานการณโจทยปลายเปดทาทายให เด็กไดใชศักยภาพทุกดาน โดยการเลือกใชสื่อและจัดพื้นที่การเรียนรูที่ทาทาย ดึงดูดความสนใจของเด็ก เพื่อใหเด็กเอาตัวเองเขาไปเรียนรูรวมกับเพื่อนและครู ไดคิด ไดทำ นำเสนอความคิด ลงมือทดลองความคิด แลวเกิดประสบการณตรง ในเรื่องนั้นๆ ดว ยตัวเอง 19

มคี วามรŒูและความเขาŒ ใจ 3 เกย่ี วกับเด็ก เปน ความรแู ละความเขา ใจในเรอ่ื งพฒั นาการตามวยั ของเดก็ วยั น้ี รวู า เดก็ ทำอะไร ไดแ คไ หน ใชภ าษาไดม ากนอยเทาใด เขามวี ิธกี ารเรียนรอู ยา งไร และความรูใน เร่อื งที่เดก็ จะเรยี น เชน วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร สุขภาพ ภาษา ทจี่ ะชวยใน การออกแบบสภาพแวดลอ มใหเ ดก็ อยากเขา ไปคน หา เรยี นรู และสามารถพาเดก็ ขยายการเรยี นรูใ นเร่อื งทเี่ ขาสนใจได 4และอ‹านเดสก็ ังอเอกตก จากสถานการณก ารเรยี นรตู รงหนา เดก็ กำลงั สนใจหรอื ทำความเขา ใจเรอ่ื งอะไรอยู ในวยั อนบุ าลสามารถสงั เกตไดจ ากสหี นา เเววตา ทา ทาง และถอ ยคำทเ่ี ดก็ พดู ออกมา เชน แววตาทม่ี งุ มน่ั จดจอ สนใจใครร ู ทา ทางการเขา ไปสงั เกต สมั ผสั สำรวจ ลองทำ ประลองความสามารถซำ้ แลว ซำ้ เลา ทำได จนกระทง่ั บรรลเุ ปา หมายของตนเองได แมค รปู ฐมวยั ทม่ี ที กั ษะการสงั เกตอยา งลกึ ซง้ึ ฟง เดก็ เปน และมปี ระเดน็ การสงั เกต ในใจ จะอานอาการเหลานี้ของเด็ก แลวรอจังหวะเขาไปชวยขยายการเรียนรูได 20

ยดื หย‹นุ 5 ไปตามกระบวนการเรย� นรูขŒ องเดก็ ขณะที่เด็กๆ กำลังเรียนรู โดยเฉพาะในพื้นที่การเรียนรูแบบเปดที่เปนธรรมชาติ นอกหองเรียน หรือในมุมการเรียนรูในหองเรียน อาจมีสถานการณอื่นเกิดขึ้น ซึ่งทาทายความสนใจของเด็กมากกวาโจทยเดิมที่ครูวางแผนไว เพราะเปนเรื่องที่ “สด” และ “จริง” กวาสำหรับเด็ก ในสถานการณเชนนี้แมครูปฐมวัยจะตอง ยดื หยนุ ใหสอดคลองกบั กระบวนการเรียนรทู ก่ี ำลังดำเนินไปของเขา แลว ฉวยสถานการณต รงหนา เปนโอกาสในการเรียนรขู องเด็ก ตง้ั คำถาม 6เพื่อขยายการเร�ยนรขูŒ องเดก็ บทบาทหนึ่งของแมครูปฐมวัยคือการเปนนักตั้งคำถาม ในบรรยากาศการสนทนา อยางเปนธรรมชาติ มากกวาการจงใจตั้งคำถามเพื่อใหเด็กตอบตามคำตอบที่ครู เตรียมไว แตชวนคิดชวนคุย บนความสัมพันธอันดีระหวางกัน จะทำใหเด็กเกิด ความเชอ่ื มน่ั วา มผี รู บั ฟง ความคดิ ของเขาอยา งแทจ รงิ เดก็ จะเกดิ ความวางใจในตัวครู เขาจะพยายามคดิ และพยายามสือ่ สารดว ยภาษาตามความเขา ใจของเขา ทำใหการ เรียนรูดำเนินไปอยางเปนธรรมชาติ โดยครูอาจจะชวนพูดคุยถึงสิ่งที่เด็กกำลังทำ ตั้งคำถามใหเด็กสังเกตหรือขยายความคิด ใหสิ่งที่เขากำลังคิดอยูเปนจริงไดดวย การลองทำ ชว ยกนั ทำ จนเกิดเปน ความรคู วามเขาใจใหมของตวั เดก็ เอง 21

7 แพลาะเบด็กันถทอกึ ดคคววาามมรรŒู Œู ขณะที่เด็กกำลังเลนหรือทำกิจกรรมการเรียนรู แมครูตองบันทึก ถอ ยคำของเดก็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว พาเดก็ ถอดความรจู ากถอ ยคำของเดก็ เอง ซึ่งทำไดทั้งในพื้นที่เรียนรู และกลับมาลอมวงสะทอนสิ่งที่ไดเรียนรู รว มกนั ทห่ี อ ง โดยแมค รจู ะเขยี นคำตอบของเดก็ ขน้ึ กระดาน เขยี นเปน หมวดหมู และจัดเรียงอยางเปนลำดับ ในรูปแบบของผังความคิด พรอ มวาดภาพประกอบคำของเดก็ เพราะเดก็ วยั นจ้ี ะเรยี นรดู ว ยภาพ และเขา ใจความหมายของคำผา นภาพ กระบวนการนี้เปนสวนสำคัญที่ทำใหครบวงจรของการเรียนรู เด็กได ย้ำทวนความเขาใจของตนเองโดยการพูดระบุออกมา แลวครูใช กระบวนการเรยี บเรยี งบนั ทกึ ความรอู ยา งเปน ระบบ (Documentation) ทั้งภาษาพูด แลวเห็นภาษาเขียนและภาษาภาพบนกระดานไปเปน สวนประกอบเดียวกัน จึงสรางบรรยากาศการเรียนรูรวมกัน ระหวางเด็กๆ จนเกิดเปนความรูเฉพาะของเด็กแตละคนตอไปได 22

ครูเมื่อ มองเห็น สภาวะการเรย� นรูŒ ของเด็ก 23

เม่ือการเรย� นรูŒ ไม‹เปšนไปตามแผน ตอนนน้ั เรากต็ กใจ กเ็ รม่ิ คดิ วา เอะ แลว เราจะทำอยา งไร เราจะไปดูสตั วก ันตอ หรอื จะทำเรือ่ งนี้ใหเปนเรื่องเรยี น ของเดก็ ๆ ไปทันทีเลย ครูกิ่ง-วรรณพา แกว มณฑา เลา ถงึ ความคดิ ในใจครู เมอ่ื เกิดเหตไุ มค าดฝน ขณะพาเด็กๆ อนุบาลหองสายลมออกไปเรยี นรู เรอื่ งสตั วใ นฤดรู อ นบริเวณสวนปา ในโรงเรียน 24

รูจŒ กั สตั วในฤดรู อŒ น จ�ดประสงค กระบวนการ ความรูŒ - รูชีวติ สตั วท ีส่ นใจ เชน อาหาร ทอ่ี ยู ขนั้ นำ 1. ครชู วนเด็กพดู คยุ - จะไปสำรวจสตั วอ ะไร (Head) - รูวา ตองทำตวั อยางไรเมื่ออยกู ับสตั ว ทไี่ หน ทกั ษะ - การตง้ั สมมตฐิ านและหาคำตอบ - เดก็ ๆ คดิ วา เราจะได พบสัตวชนดิ ใดบา ง (Hand) - การเตรยี มตวั “จะไปสำรวจสตั วตองทำตวั อยางไร” - สตั วแ ตล ะชนดิ อยทู ไ่ี หน - การแสดงความเห็นและการรับฟง กนั - ตอ งทำตวั อยางไร เพราะอะไร เชน - การสงั เกต (ตามดูสัตว) เดินเบาๆ ไมพ ดู เสยี งดัง - การดแู ลตนเองเม่ือไปในท่ีตางๆ - การใชอปุ กรณ เชน แวน ขยาย เดีย๋ วสัตวตกใจ คุณค‹า เดก็ เหน็ ถึงการอยรู ว มกัน ขน้ั ปฏบิ ัติ 2. ออกไปสำรวจชวี ิตสตั ว ในโรงเรยี น (Heart) และการพ่งึ พากนั ข้ันทบทวน 3. กลบั มาสรุปรว มกนั 25

วันนั้นครูกิ่งและเด็กๆ วางแผนรวมกันวาจะออกไปสำรวจสัตวในโรงเรียน จะไปดูสัตวอะไร ดูที่ไหน ตองเตรียมอุปกรณอะไรไปบาง แลวจะไปดูสัตวตอง ทำตัวอยางไร เปนโจทยท ค่ี รใู หเ ด็กๆ ลอมวงคิดวางแผนรวมกนั กอนออกไปสำรวจ อปุ กรณหนง่ึ ทเี่ ด็กๆ เหน็ ตรงกันวา ตอ งเตรียมไปคอื แวน ขยาย เพราะจะไดสอ ง เห็นมดและหนอน ซงึ่ เปนสัตวท ี่เด็กบางคนในกลุมบอกวา อยากจะไปดู เสน ทางสำรวจสตั วใ นโรงเรยี นเรม่ิ ตน ขน้ึ ตง้ั แตบ รเิ วณลานอฐิ หนา ทางเขา อาคาร เรียนที่รมรื่นไปดวยตนโพธิ์และตนไทร เด็กๆ ชี้ชวนกันดูนกที่กำลังจิกหาของกิน บรเิ วณใตร มไม อกี คนเอาแวน ขยายไปสองมดแดงบนใบไมทีร่ ว งอยบู นพ้ืน “เบาๆ อยาเสียงดัง” “คอยๆ ยองนะ” เสียงเตือนกันเองในกลุมเด็กๆ ดังขึ้นเปนครั้งคราวเวลาที่มีใครเผลอสงเสียงดัง เพราะตกลงกันไววาเวลามาสำรวจสัตวจะตองไมทำเสียงดัง เดี๋ยวสัตวตกใจกลัว จากลานอิฐ เด็กๆ เดินตอไปบนสะพานไมริมบึงซึ่งเปนทางผานไปสูสวนปา สถานที่เปาหมายที่เด็กๆ วางแผนไววาจะไปดูนก มด และหนอน ระหวางทางก็ หยุดชะโงกดูปลาในบึงเปน คร้งั คราว และชวงน้ีเองทเี่ กดิ เหตไุ มคาดฝน ขนึ้ เด็กคนหน่งึ ทำแวน ขยายตกลงไปในบงึ ! 26

ทักษะการคิด การวางแผน การคาดการณ พูดเสนอความคิดเห็น มีจินตนาการ ดึงเอาประสบการณ และรับฟงกัน ความเขาใจเดิมมานำเสนอ ทักษะการทำงานกลุ‹ม ตกลงรวมกัน à´Ô¹à§ÕÂºæ ¨Ðä»´Ê٠ѵǏ àËÁÍ× ¹àÊ×Í·Õè‹ͧÁÒ àÃÒµŒÍ§·ÓµÇÑ Í‹ҧäÃ? à´¹Ô àºÒæ äÁµ‹ ÍŒ §àËÂÕº¡è§Ô äÁŒ 27

ทนั ทที ร่ี ูวา แวน ขยายตกน้ำ ความสนใจของเด็กๆ ทงั้ 6 คน ก็พุงเปาไปที่แวนขยายในบึงโดยพรอมเพรียง ทำอยางไรจึงจะ เอาแวนขยายขึ้นมาได? แตละคนตางชวยกันเสนอวิธีการ ณ เวลานัน้ ไมม ีใครพดู ถงึ นก มด หรอื หนอนอกี ตอ ไป 28

ครู ควรทำอย‹างไร กับเหตกุ ารณน ี้ ชวนเดก็ หาว�ธ�เก็บแว‹นขยาย หรอ� พาเดก็ ๆ ไปดสู ตั วก นั ต‹อ ตามแผนทีว่ างไวŒ 29

อ‹านเดก็ ใหŒออก ในสถานการณเชนนี้ ครูที่มองเห็นเด็กตรงหนาและรูจักยืดหยุน ไมยึดติด อยูกับแผนการเรียนรูที่วางไว จะฉวยเรื่องราวตรงหนาที่เด็กๆ กำลังสนใจ เปนโอกาสใหเดก็ ๆ ไดเ รียนรทู ันที 30

ตอนนัน้ กเ็ รม่ิ คดิ วา เอะ แลว เราจะทำอยางไร เราจะเปน แคคนทว่ี า ไมเ ปน ไร เดย๋ี วกลบั มาเก็บ หรอื เราจะทำเรอ่ื งนใ้ี หเปนเรื่องเรียนของเดก็ ๆ ไปเลย เพราะเรารูสกึ วาเด็กทกุ คนอยากจะเอาแว‹นขยายข้�นมา เขากำลงั อยากแกŒปญ˜ หารว‹ มกัน ก็เลยคิดวา ถา ทกุ คนอยากจะเอาขนึ้ มา กต็ องชวยกันหาวิธี มันไมใชเ ร่ืองท่เี ราจะเรยี นตั้งแตแ รกหรอก แตเราปลอ ยไมได ครูกง่ิ อธิบายความคดิ ในใจครู เมอื่ รวู า เด็กๆ กำลังสนใจโจทยใหมท ี่ทา ทายกวา 31

แแลผวŒ นการเร�ยนรูŒ ?ท่วี างไวŒ ครูกิ่งอธิบายวา การจัดการเรียนรูใหกับเด็กปฐมวัย ครูจำเปนตองออกแบบ แผนการเรียนรูที่ระบุเปาหมายไวชัดเจน แตออกแบบกระบวนการเรียนรู เปนแบบเปด และมีพื้นที่ใหกับสิ่งที่ไมไดคาดการณไวดวย ดังนั้นถาระหวาง ทางการเรียนรูเกิดเรื่องอื่นขึ้นมา แลวเปนเรื่องที่เด็กสนใจมากกวาแผนเดิม ทว่ี างไว ครตู อ งเอาเดก็ เปน ตวั ตง้ั เพราะการไปเรยี นเรอ่ื งสตั วท ว่ี างไวต อนแรกนน้ั ไมไดมีเปาหมายเพื่อจะไปดูสัตวอยางเดียว ครูเพียงใชสัตวเปนสื่อเพื่อใหเด็ก ไดเรียนรูและพัฒนาทักษะดานตางๆ เชน การคาดเดาและคนหาคำตอบ การแสดงความคิดเห็นและการรับฟงกัน การสังเกต การดูแลตนเองเวลาไป ในท่ีตา งๆ ซึ่งเดก็ จะไดเรยี นรูจากการเกบ็ แวนขยายเชนกัน 32

กโอากราลสงใมนอืกทารำเครือย� นรูŒของเดก็ ดังนั้นครูตองไมกลัวและตองยืดหยุนได มองวาทุกอยางเปนโอกาสใน การเรียนรู เรื่องสัตวจะเรียนวันไหนก็ได ไมเปนไร ถาครูรอเขาได แตถา ความสนใจที่จะเรียนรูของเด็กเกิดขึ้นตรงหนาแลวครูมองขามไป ครูจะตัด โอกาสการเรียนรูของเด็กทันที แมวาเด็กไมไดเรียนเรื่องสัตว แตเขาก็เรียน เรอื่ งอ่นื อยู เด็กสามารถเรยี นรไู ดท กุ เรอ่ื ง ถาครมู องวาทกุ อยา งเปน เร่ืองเรยี น 33

เวลาเกิดเหตกุ ารณแบบน้ี ในใจครูตองชัง่ นำ้ หนกั เรอ่ื งไหนเรารอกอนได เรอ่ื งไหนทีต่ องทำเลย ซึ่งเราคดิ วา การจะสรŒางนสิ ัยอะไรบางอย‹างใหŒกบั เด็ก เปนš งานทคี่ รตู Œองทำ และตองทำทันที ไมอ ยา งน้ันวันหนงึ่ เขาจะเตบิ โตไป เปนเด็กท่ีทำอะไรไปแลว ก็ ‘ไมเ ปนไรหรอก’ เดยี๋ วไปเรียกคนอื่นมาชวยเก็บก็ได เพราะคิดวาตวั เขาเองทำไมได แตจ รงิ ๆ ตัวเขาทำได กงิ่ อยากใหเŒ ขารŒวู ‹าเขาทำไดŒ แลวแวน ขยายอนั น้ีเปน ของสว นรวมทเ่ี ขาตองใชก บั คนอื่นๆ ไมใ ชข องเขาคนเดียว กิ่งดีใจนะทเ่ี ด็กๆ เขาอยากเกบ็ มนั ขน้ึ มา 34

ครู คิดวิเคราะหการเรียนรู ของเด็กตลอดเวลา ?ทำอะไร มองไปขางหนา แตไมปลอย ยังคงกลับมาทำเรื่องที่สำคัญกับ การเรียนรูของเด็ก ขยับเปาหมายการเรียนรูใหใหญขึ้น เดก็ ฝกแกปญหา ดวยวิธีการที่หลากหลาย ?เรย� นรŒอู ะไร ฝกทักษะทางคณิตศาสตร การกะประมาณ ฝกความมุงมั่น ไมยอมทอถอย (GRIT) เรียนรูการทำเพื่อสวนรวม ไมใชแคเพื่อตนเอง 35

ใเแหปลŒเะดลดก็ งคโอมิดกอื าทสำ ในวันนั้นครกู ง่ิ ใหเ ดก็ ๆ ชวยกนั คิดหาวิธีวาจะเอาแวนขยายขึ้นมา ไดอยางไร โดยครูคอยฟง สังเกต และพรอมชวยเหลือเมื่อเด็กรองขอ จุดที่แวนขยายตกลงไปในนั้น เปนบริเวณริมบึงที่น้ำคอนขางตื้น เด็กๆ สามารถมองเห็นแวนขยาย ไดจ ากบนสะพาน เดก็ คนหนง่ึ เสนอวา ตอ งหาไมม าเขย่ี แตล ะคนจงึ ชว ยกนั หากิ่งไมในบริเวณนั้นมาลองเขี่ย แวนขยายจากบนสะพาน 36

ทักษะทางว�ทยาศาสตร ทักษะทางคณิตศาสตร คิด ทดลอง ประเมิน การกะประมาณ ลองใหม การเปรียบเทียบ 2 มิติ 37

“มันสั้นไป” เสียงเด็กคนหนึ่งพูดบอกเพื่อนๆ หลังจากหาไมมาลองเขี่ยแวนขยายในบึง แลว พบวาไมส ั้นเกินไป เด็กอีกคนเลยไปหาไมที่ยาวกวาเดิม แตก็ดูเหมือนจะยังยาวไมพอ จึงหันมาขอ ความชว ยเหลอื จากครกู ง่ิ เพราะคดิ วา ครกู ง่ิ แขนยาวกวา เดก็ ๆ เมอ่ื รวมกบั ไมแ ลว นา จะยาวพอ ãˤŒ á٠è§Ô ªÇ‹  การเทียบเคียง ¤Ã¡Ù §èÔ á¢¹ÂÒÇ ทักษะทางคณิตศาสตร (ทำทาทางแสดงความหมาย เรื่องความยาวเทียบกับ ความลึก/สูง) อยางไรก็ตามแมครูกิ่งที่แขนยาวกวามาชวย แตดูเหมือนไมจะยังยาวไมพอ 38

39

“เรารูแลว เอามาวัดดกี วาไหม เอามาวดั วาไมย าวแคไหน เอามาวดั ดกี วา” นองเล็กอนบุ าล 1 พดู ขึน้ พรอ มกางแขนทั้งสองขางออกกวา ง ประกอบการอธิบาย ดวยวัยที่คลังคำยังนอย ภาษาพูดสื่อสาร ความคิดยังไมเพียงพอ เขาจึงใชทาทางพยายามอธิบายสิ่งที่เขา กำลังคิดอยู เพื่อสื่อสารบอกครูและเพื่อนๆ วาเรานาจะหาอะไร มาวัดความสูงจากบนสะพานถึงในบึงที่แวนขยายตกอยู เพื่อจะ ไดรูวาตองใชไมยาวแคไหน ซึ่งเปนความเขาใจเรื่องความยาว ในมติ ิของความลึกและความสงู นี่คือทักษะการคิดแกปญหา ทักษะการสื่อสาร และทักษะ คณิตศาสตร ถาครูไมเปดโอกาสใหเด็กชวยกันเก็บแวนขยาย ซึ่งเปน เรื่องจริงตรงหนาที่สดใหมและทาทายในมุมมองของเด็กๆ เราคงไมเหน็ การเรียนรูทีผ่ ลบิ านเชนน้ี 40

41

ครู ไมรีบชวยแกปญหา แตใชสถานการณโจทยปลายเปด ?ทำอะไร ใหเด็กคิดและนำเสนอวิธีการ แกปญหารวมกัน เปดโอกาสใหเด็กลงมือทดลองความคิด ประเมินวาไดหรือไมไดอยางไร เพื่อหาทางที่จะทำใหไดตอไป อยูเปนเพื่อนคอยชวยในยามที่เด็กตองการ 42

เดก็ คณิตศาสตร ประเมินการวัดดวยรางกายของตนเอง ?เรย� นรอูŒ ะไร ซึ่งเปนพื้นฐานความเขาใจคณิตศาสตร (การกะประมาณ ความสั้น ความยาว ในมิติแนวนอน และความยาวในมิติ แนวตั้ง หรือความลึก/สูง) ภาษา หาคำพูดที่จะมาอธิบายความยาวของ ไมที่ตองยาวเทากับความลึก/สูงจาก สะพานถึงในบึง (“ไม” “ยาว” “ไมยาวๆ” “สูง” “วัด” “เขี่ย”) ทักษะ การคิดแกปญหาเพื่อเก็บแวนขยาย ขึ้นมาใหได การคิดวางแผนวิธีการเก็บแวนขยาย (หาไมลองเขี่ย ประเมินความยาวไม ขอใหครูชวยเพราะครูแขนยาว) คุณค‹า ความรวมใจกันแกปญหา ความรับผิดชอบตอของสวนรวม 43

สอถา‹ นานการณใหอŒ อก หลังจากพยายามหาไมที่พอหาไดในบริเวณนั้นมาชวยกันเขี่ยเก็บแวนขยาย อยูพักใหญ แตก็ยังเก็บไมได ครูกิ่งสังเกตเห็นวาเด็กบางคนเริ่มเดินไปมา บางคนชี้ชวนกันดูนกที่อยูอีกฝงของบึง ดูเหมือนวาภารกิจเก็บแวนขยาย จะยากเกินไป และไมอยูในความสนใจของเด็กๆ เสียแลว มีเพียงนองเล็ก คนที่เสนอใหวัดความยาวไม ยังคงงวนอยูกับการหาไมขนาดตางๆ บางชวง เขามุดลงไปใตสะพานแลวใชไมสั้นที่หาไดพยายามเขี่ยแวนขยายจากตรงนั้น 44

?โจทยเดิมเริ่มไมนาสนใจ ภารกิจยังไมสำเร็จ และมีเด็กคนหนึ่ง ยังคงมุงมั่น ใคนสรถูจานะทกาำรเณชเ‹นช‹นไนรี้ 45

แมใจครูกิ่งจะอยากใหเด็กๆ ทำงานจนสำเร็จ และเห็นวาในบริเวณนั้นมีไมที่ยาวพอจะใช เกบ็ แวน ขยายได แตเ ปา หมายในใจครไู มใ ชก ารเกบ็ แวน ขยายขน้ึ มาใหไ ด หากคอื การเรยี นรู เพื่อแกปญหาของเด็กๆ ในเมื่อตอนนี้ผูเรียนไมสนใจเสียแลว การเรียนรูก็คงจะเกิดไดยาก ระหวา งกำลงั คิดวา จะจดั การกบั สถานการณนี้อยา งไร เด็กคนหน่ึงในกลุมทกี่ ำลงั ช้ชี วนกัน ดนู กอกี ฟากฝง ของบงึ หนั มาเรยี กครใู หด นู กดว ยกนั ครกู ง่ิ จงึ อาศยั จงั หวะนถ้ี ามความเหน็ ของเดก็ ๆ ÁãÕ ¤ÃÂѧÍÂÒ¡ ˹ÍÙ ÂÒ¡ä»´Ù¹¡ ä»´Ê٠ѵÇ͏ ÂäÙ‹ ËÁ? ˹٠˹¡Ù ç¨Ð ä»´Ù¹¡ 46

ตอนน้นั กระบวนการยาวมาก ใชเวลาคอนขางนาน ทำอยา งไรกไ็ มไดส ักที เราเร่�มอา‹ นความรŒสู กึ เด็กบางคนวา ฉันเร่ิมเซง็ แลว นะ มนั เร่ิมมีความรสู ึกทำนองวา มนั คงเอาขน้ึ มาไมไดหรอกมง้ั เลยถามเขาวา จะเอาอยา งไรกนั ดี ยังมใี ครอยากไปดูสัตวอยูไ หม เดก็ หลายคนบอกวา เขาอยากไปดนู ก เลยสรุปกันวา ถาอยางนั้นเราไปดสู ตั วกันกอ นไหม แลวคอยกลับมาเก็บแวน ขยายทหี ลัง 47

แลŒวเดก็ คนท่ยี ังสนใจ ?จะเก็บแวน‹ ขยายละ‹ ครูกิ่งมองเห็นอาการเรียนรูของนองเล็กคนนี้อยูตลอด แตใจครูอยากใหเด็กๆ เรียนรูไปดวยกัน และเมื่อไดยินพี่ๆ ในกลุมบอกวาอยากไปดูนก เขาก็อยาก จะไปดูนกดวย อยางไรก็ตามครูกิ่งคาดเดาไววานองเล็กคนนี้นาจะไมปลอย เรื่องแวน ขยายไปงา ยๆ ซง่ึ ตรงกบั ใจครูท่วี างแผนไวใ นใจวาจะตอ งหาวธิ ีพูดคยุ ใหเด็กๆ กลบั มาสนใจทีจ่ ะเก็บแวนขยายในภายหลงั 48

เราไมอ ยากเปน ครทู ่ี ใส‹ใจเดก็ คนหนง่ึ แลŒวลืมคนทีเ่ หลอื เพราะคนอน่ื ๆ ไมไ ดสนใจเรือ่ งน้ีแลว เขาอาจตอ งการเวลาพกั นดิ หนึ่ง แลวเดีย๋ วกลบั มาใหม เราอยากใหเขาทำเรอื่ งเดยี วกัน ดวยความรูสกึ ท่ีอยากทำไปดวยกัน 49