Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

Published by special_lp, 2018-07-08 08:16:57

Description: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work manual)

Search

Read the Text Version

คูม ือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เรื่อง การประเมนิ ความสามารถพืน้ ฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจาํ วนั สําหรับเดก็ ทม่ี คี วามตอ งการจาํ เปน พิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปางเอกสารการปฏิบตั ิงานสําหรับครู และพีเ่ ลย้ี งเดก็ พิการ กิจกรรมพัฒนาหลกั สตู ร กลมุ บริหารงานวิชาการ ศูนยก ารศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง พ.ศ.๒๕๖๐

คาํ นาํ การจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑ ใหความสําคัญกับการพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะการเรียนรูทักษะชีวิต ความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ และคิดสรางสรรค การท่ีจะใหผูเรียนมีคุณลักษณะดังกลาวตองจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒แกไ ขเพิม่ เติม (ครงั้ ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๒๒ ระบุใหการจดั การศกึ ษาตอ งยึดหลักวา ผเู รียนทกุ คนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุดกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒ นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพซ่ึงครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งในการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิผลหากครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเพียงพอ มีความรูความเขาใจและนําไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานในหนาท่ียอมจะทําใหการพัฒนาผูเรียนบรรลุเปาหมาย ดังนั้นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนแนวทางหน่ึงของการสงเสริม สนับสนุนใหครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะพียงพอ และแนวคิดการพัฒนาคนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรูและรวมสรางสังคมแหงการเรียนรู การจดั ทําคมู อื การปฏิบัติงาน เร่ือง การประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐาน กลุมทักษะการดาํ รงชวี ิตประจําวัน สําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางถือเปนการสรางเสริมสมรรถนะใหกับครูผูสอนหรือพ่ีเลี้ยงเด็กพิการใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางเปนขั้นเปนตอน มีทิศทางการทํางานท่ีตรงกันของบุคลากรเกาและบุคลากรใหม ฝายบริหารสามารถติดตามงานไดอยางชัดเจน การใหบริการมีประสิทธิภาพมากข้ึน สงผลใหผูรับบริการมีความพงึ พอใจ ขอขอบคุณ ผูทรงคุณวุฒิ คณะทํางานท่ีไดรวมกันปรับปรุง พัฒนาคูมือการปฏิบัติงานเร่ือง การประเมินความสามารถพื้นฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางใหเหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลง หวังเปนอยางย่ิงวาคูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เร่ือง การประเมินความสามารถพื้นฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศนู ยก ารศกึ ษาพิเศษประจําจังหวดั ลาํ ปางไดอยางมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลตามเจตนารมณ (นางสรุ ญั จติ วรรณนวล) ผอู ํานวยการศนู ยการศกึ ษาพิเศษประจาํ จงั หวดั ลาํ ปาง ๑ กนั ยายน ๒๕๖๐

~ข~สารบญั หนาคาํ นาํ ...................................................................................................................................... กสารบัญ.................................................................................................................................... ขสารบญั ตาราง.......................................................................................................................... คสารบัญภาพ............................................................................................................................. งบทที่ ๑ บทนาํ ........................................................................................................................ ๑๑. ความเปนมาและความสาํ คัญ................................................................................. ๑๒. วตั ถุประสงค.......................................................................................................... ๒๓. ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั ..................................................................................... ๓๔. ขอบเขตของคูมอื ................................................................................................... ๓๕. คาํ จํากัดความเบ้ืองตน ........................................................................................... ๓๖. หลักเกณฑว ธิ ีการปฏบิ ัติงาน.................................................................................. ๖๗. คาํ อธิบายสญั ลกั ษณท ี่ใช. ....................................................................................... ๗บทท่ี ๒ โครงสรางและหนาทคี่ วามรบั ผิดชอบ..................................................................... ๙๑. โครงสรางองคกร (Organization chart)................................................................ ๑๑๒. โครงสรา งการปฏิบัติงาน (Activity chart) กลมุ บรหิ ารงานวิชาการ...................... ๑๕บทท่ี ๓ แผนผังการปฏบิ ัตงิ าน.................................................................................... ๒๐๑. แผนผังการปฏบิ ัตงิ านของผูปฏิบัติ : การประเมนิ ความสามารถพน้ื ฐานกลุม ทกั ษะการดาํ รงชวี ิตประจําวันสาํ หรับเด็กท่ีมคี วามตองการจําเปนพิเศษ......... ๒๑๒. แผนผงั การปฏิบตั งิ านตามขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน : การประเมินความสามารถพนื้ ฐานกลมุ ทักษะการดํารงชีวิตประจําวนั สาํ หรับเดก็ ทม่ี ีความตอ งการจําเปนพเิ ศษ...................................................................................................................... ๒๒๓. ขอควรระวงั ในการปฏบิ ตั ิงาน................................................................................. ๒๔บทท่ี ๔ ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการตดิ ตามประเมนิ ผล.......... ๒๕๑. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน............................................................................................ ๒๕๒. คําอธบิ าย................................................................................................................ ๔๕บทท่ี ๕ สรุปและขอเสนอแนะ............................................................................................... ๕๒๑. ปญหาอุปสรรค...................................................................................................... ๕๒๒. แนวทางการแกไ ขปญ หาอปุ สรรค.......................................................................... ๕๓๓. ขอเสนอแนะเพื่อการพฒั นา................................................................................... ๕๔บรรณานกุ รม.......................................................................................................................... ๕๕ภาคผนวก: แบบประเมนิ ความสามารถพนื้ ฐานกลุมทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ประจาํ วนัสําหรับเดก็ ทมี่ ีความตองการจําเปน พิเศษ............................................................ ๕๗คณะกรรมการผจู ัดทาํ ............................................................................................................ ๘๐

~ค~ สารบัญตาราง หนาตารางท่ี ๔.๑ แสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ การประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลมุ ทกั ษะ การดํารงชีวิตประจําวันสาํ หรับเด็กท่มี ีความตองการจําเปน พเิ ศษ.................. ๒๖

~ง~ สารบัญภาพภาพท่ี ๑.๑ แสดงคาํ อธิบายสัญลกั ษณทใี่ ชใ นการเขยี นแผนผงั ของกระบวนการ หนาภาพที่ ๒.๑ (Work Flow).................................................................................................... ๘ภาพท่ี ๒.๒ แสดงโครงสรางองคก ร (Organization chart)…………………………………………… ๑๑ภาพที่ ๓.๑ แสดงโครงสรา งการปฏิบัตงิ าน(Activity chart) กลุม บริหารงานวิชาการ......... ๑๕ภาพที่ ๓.๒ แสดงแผนผงั การปฏิบัตงิ านของผูปฏิบตั ิ : การประเมนิ ความสามารถพ้นื ฐาน ๒๑ภาพท่ี ๔.๑ กลุมทกั ษะการดํารงชีวติ ประจาํ วนั สําหรับเด็กที่มีความตอ งการจาํ เปนพเิ ศษ..... ๒๒ภาพท่ี ๔.๒ แสดงแผนผังการปฏิบัติงานตามขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน : การประเมนิ ๔๗ ความสามารถพนื้ ฐานกลุมทกั ษะการดํารงชีวิตประจําวนั สาํ หรบั เดก็ภาพท่ี ๔.๓ ทม่ี คี วามตองการจําเปน พิเศษ............................................................................. ๔๘ การบนั ทึกขอมูลทวั่ ไปในเครอื่ งมอื การประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลมุภาพที่ ๔.๔ ทักษะการดํารงชวี ติ ประจําวันสาํ หรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ๔๙ ของศูนยก ารศกึ ษาพิเศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง....................................................ภาพที่ ๔.๕ การบันทกึ ขอมูลผลการประเมนิ และขอ สังเกตในเครอื่ งมอื การประเมนิ ๕๐ ความสามารถพ้นื ฐานกลุมทักษะการดาํ รงชวี ิตประจาํ วันสําหรบั เดก็ ทม่ี คี วามตองการจาํ เปนพิเศษของศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง ๕๑ กรณีทาํ ไดเ อง...................................................................................................... การกรอกขอมลู ผลการประเมนิ และขอ สังเกตในเครื่องมอื การประเมิน ความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชวี ิตประจําวนั สําหรับเดก็ ทม่ี ีความตองการจาํ เปนพิเศษของศูนยก ารศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง กรณีทาํ ได แตไมครบทุกข้ันตอน......................................................................... การกรอกขอมลู ผลการประเมินและขอสังเกตในเครื่องมือการประเมิน ความสามารถพน้ื ฐานกลมุ ทักษะการดํารงชวี ติ ประจําวนั สาํ หรับเดก็ ที่มคี วามตองการจาํ เปน พเิ ศษของศนู ยก ารศึกษาพเิ ศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง กรณที าํ ไมได........................................................................................................ การกรอกขอมูลผลการประเมินและขอสงั เกตในเครอ่ื งมือการประเมิน ความสามารถพน้ื ฐานกลมุ ทักษะการดํารงชวี ิตประจาํ วนั สาํ หรับเด็ก ทม่ี ีความตองการจําเปนพเิ ศษของศนู ยการศึกษาพเิ ศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง กรณีไมมโี อกาสไดทาํ ...........................................................................................

บทท่ี ๑ บทนํา๑. ความเปน มาและความสําคัญ สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดจัดทําโปรแกรมพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กพิการ ของศูนยการศึกษาพิเศษ พุทธศักราช ๒๕๕๘ข้ึน เพ่ือใหศูนยการศึกษาพิเศษในสังกัดใชเปนโปรแกรมในการพัฒนาเด็กพิการในดานทักษะการดํารงชีวิต และปรับใชใหเหมาะสมกับบริบทของแตละพ้ืนที่ ตามประเภท ระดับความพิการและศักยภาพ เพื่อใหเด็กพิการสามารถพึ่งพาตนเองได และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ซึ่งมีองคประกอบในโปรแกรม ไดแ ก ชวงวัย ๐ - ๓ ป และตลอดชีวิตมที ักษะการดํารงชีวติ ประจาํ วัน ชวงวยั ๔ - ๖ ป และตลอดชีวติ มีทกั ษะการดํารงชวี ิตประจําวัน ทักษะวิชาการเพื่อการดํารงชีวิต และทักษะสวนบุคคลและสังคม ชวงวัย ๗ - ๑๐ ป และตลอดชีวิต มีทักษะวิชาการเพื่อดํารงชีวิต และทักษะการทํางานและอาชีพ และชว งวยั ๑๑ ป ข้นึ ไป จนถงึ ตลอดชีวิต มีทักษะการทาํ งานและอาชีพ ซ่ึงศนู ยการศึกษาพเิ ศษประจําจังหวัดลําปางเปนสถานศึกษาที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนสถานศึกษาทดลองนํารองใชในปการศึกษา ๒๕๕๙ จึงไดนําโปรแกรมดังกลาวมาจัดทําเปนหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางพุทธศักราช ๒๕๕๙ ซ่ึงการนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใชในการปฏิบัติจริง ครูผูสอนและพ่ีเล้ียงเด็กพิการจําเปนตองทําการประเมินความสามารถพื้นฐานกอนวางแผนการพัฒนาศักยภาพของเด็กท่ีมีความตองการจาํ เปนพเิ ศษตอไป หลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง พุทธศักราช ๒๕๕๙ ถือเปนเรื่องใหมท่ียังไมเคยใชมากอนรวมท้ังการประเมินความสามารถพื้นฐาน เด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษที่มารับบริการในศูนยการศึกษาพิเศษ รับบริการในศูนยการเรียนเฉพาะความพิการพิการและรับบริการท่ีบานมีหลายประเภทไดแก ๑) เด็กที่มีความบกพรองทางการเห็น ๒) เด็กที่มีความบกพรองทางการไดยิน๓) เด็กท่ีมีความบกพรองทางสติปญญา ๔) เด็กที่มีความบกพรองทางรางกาย หรือสุขภาพ หรือการเคล่ือนไหว ๕) เด็กที่มีความบกพรองทางการเรียนรู ๖) เด็กท่ีมีความบกพรองทางการพูดหรือภาษา ๗) เด็กท่ีมีความบกพรองทางพฤติกรรมหรืออารมณ ๘) เด็กออทิสติก และ ๙) เด็กพิการซอนซ่ึงครูผูสอน พ่ีเล้ียงเด็กพิการและผูปกครองควรมีองคความรูและทักษะในการประเมินความสามารถพ้ืนฐานทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนดังกลาว เพื่อจะไดประเมินความสามารถพื้นฐานไดอยางถูกตองและตรงตามศักยภาพของเด็กอยางแทจริง จะไดนํา

~๒~ผลการประเมินความสามารถพ้ืนฐานไปวางแผนการใหบริการตามหลักสูตรไดอยางตรงความตองการจาํ เปนพิเศษเฉพาะบุคคลของเด็กเปน รายบคุ คลและรายครอบครวั กอปรกับศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางกําลังเผชิญกับสภาวการณที่ครูสวนใหญเปนครูเขาทํางานใหมตลอดเวลา เน่ืองจากตําแหนงพนักงานราชการและครูอัตราจางไมมีความมั่นคงในชีวิต จึงแสวงหางานทม่ี ่ันคงกวา จากท่ีอืน่ ครใู หมสวนใหญไมเคยมีประสบการณในการใหบรกิ ารเด็กที่มีความตองการพิเศษในศูนยการศึกษาพิเศษใดมากอน ในขณะท่ีครูเกาก็ไมมีประสบการณในการประเมินทักษะดํารงชีวิตประจําวันมากอน ท้ังครูเกาและครูใหมจึงยังไมสามารถประเมินความสามารถพืน้ ฐานของเด็กทมี่ คี วามตอ งการพเิ ศษในทกั ษะดํารงชีวิตประจาํ วันตามหลักสตู รใหมไ ด ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางจึงไดสอบถามความตองการของครูและพี่เลี้ยงเด็กพิการโดยการจัดทําแบบสอบถามออนไลน พบวา มคี วามตองการพัฒนาตนเองเกี่ยวกบั ความเขา ใจแบบประเมินทักษะการดํารงชีวติ ประจําวันมากท่ีสุด ไดแก การวิเคราะหแบบประเมิน การออกแบบเกณฑการประเมิน และเห็นควรใหมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานเพ่ือใหครูเกาและครูใหมรูงานอยางยั่งยืนใชเวลานอย ใหไดงานท่ีมีคุณภาพเปนมาตรฐานเดยี วกัน ครทู ํางานอยางไมส ับสน รูวาตนเองจะตองทําอะไรกอนอะไรทําทีหลัง สามารถศึกษาเรียนรูงานไดดวยตนเอง ดังน้ัน “คูมือการปฏิบัติงาน (WorkManual) เรื่อง การประเมินความสามารถพ้ืนฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง” จะเปนแนวทางในการดําเนินงานใหกับครู พี่ล้ียงเด็กพิการและผูที่เกี่ยวของในการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ ไดอยางมีประสิทธิภาพและสามารถนาํ ไปวางแผนในการพัฒนาศกั ยภาพในทักษะดํารงชวี ิตประจาํ วนั ไดตอไป๒. วัตถุประสงค ๑) เพื่อเปนแนวทางในการใชแบบประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจาํ วันสาํ หรับเดก็ ที่มคี วามตอ งการจาํ เปนพิเศษในศูนยก ารศึกษาพิเศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง ๒) เพื่อเปนแนวทางแกฝายบรหิ ารในการกํากับ ติดตาม ดูแลการใชแบบประเมินความสามารถพื้ น ฐาน กลุมทั กษ ะการดํารงชีวิตป ระจําวัน สําห รับ เด็กที่ มี ความตองการจําเป น พิ เศษในศนู ยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง

~๓~๓. ประโยชนท ่ีคาดวา จะไดร บั ๑) ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางมีแนวทางในการใชแบบประเมินความสามารถพ้ื น ฐาน กลุมทั กษ ะการดํารงชีวิตป ระจําวัน สําห รับ เด็กที่ มี ความตองการจําเป น พิ เศษในศูนยการศึกษาพเิ ศษประจําจังหวัดลาํ ปาง ๒) ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางมีแนวทางในการกํากับ ติดตาม ดูแลการใชแบบประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพเิ ศษในศูนยการศกึ ษาพิเศษประจําจงั หวัดลาํ ปาง๔. ขอบเขตของคมู อื คูมือเลมน้ี เปนคูมือของครูผูสอน และพ่ีเล้ียงเด็กพิการ ที่มีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ใชในการประเมินความสามารถพื้นฐานทักษะการดํารงชีวิตในกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันของเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ในขั้นตอนการประเมนิ กอนพัฒนา เพ่ือนาํ ไปสูก ารวางแผนการจดั การศกึ ษาของเดก็ ท่ีมีความตองการจําเปนพเิ ศษเปนรายบคุ คลภายใน ๑ ปการศึกษา๕. คาํ จํากัดความเบ้ืองตน แบบประเมินกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน หมายถึง เอกสารสําหรับประเมินความสามารถพ้ืนฐานกอนการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษ ตามหลักสูตรสถานศึกษาสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษระยะแรกเร่ิมของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ และหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ประกอบดวย ๑) ทักษะการดูแลตนเองและการดูแลสุขอนามัยสว นบุคคล ๒) ทักษะการเขาสังคม การทํากิจกรรมนันทนาการและการทํางานอดิเรก (กิจกรรมยามวาง) ๓) ทักษะการเคลื่อนยายตนเองในบาน ๔) ทักษะการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตประจําวัน ๕) ทักษะการทํางานบาน และ ๖) ทักษะการมีสวนรวมในสงั คมและทักษะชีวิต ทักษะการดํารงชีวิต (Independent Living Skills) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติตนเพ่ือการดํารงชีวิตโดยอิสระ ซึ่งครอบคลุมกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน กลุมทักษะวิชาการเพ่ือการดาํ รงชวี ติ กลุม ทักษะสวนบุคคลและสงั คม และกลุมทักษะการทํางานและอาชีพ กลุ ม ทั กษ ะก ารดํ ารงชี วิต ป ระจําวัน (Functional Daily Living Skills) ห ม ายถึ งความสามารถของเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษในการดูแลตนเองและการดูแลสุขอนามัยสวน

~๔~บุคคล การดูแลท่ีอยูอาศัย การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตประจําวัน การเขาสังคม การทํากิจกรรมนันทนาการและการทํางานอดิเรก (กิจกรรมยามวาง) การเคล่ือนท่ีเคล่ือนยายตนเอง การมีสวนรว มในสังคมและทกั ษะชวี ติ (สํานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ. ๒๕๕๘. ๑๖) ทักษะการดูแลตนเองและการดูแลสุขอนามัยสวนบุคคล (Personal Care and HygieneSkills) หมายถึง การเลือกเคร่ืองแตงกาย การถอดและสวมใสเครื่องแตงกาย การใชหองน้ําในที่อยูอาศยั การใชห อ งนํ้าในท่สี าธารณะ อนามยั สว นบคุ คล และการปฏบิ ัตติ นและดแู ลบคุ ลกิ ภาพ ทั ก ษ ะ ก า ร เค ล่ื อ น ย า ย ต น เอ งใน บ า น (Functional mobility Skills) ห ม า ย ถึ งการเคลื่อนยายตนเองในบานเพ่ือใหผูเรียนมีพฤติกรรมที่คาดหวังคือ สามารถเคลื่อนยายตนเองจากท่ีหน่ึงไปยังอีกท่ีหนึ่ง รูจักสถานท่ี ตางๆ ภายในบาน รูจักการใชประโยชนจากสถานที่ หรืออุปกรณรวมท้งั สามารถเคล่ือนยา ยตนเองไปยงั ทต่ี างๆ ภายในบา นไดต ามความตอ งการ ทักษะการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตประจําวัน (Health and safety Skills)หมายถงึ การดูแลและการปองกนั สุขภาพ การปฐมพยาบาล และการแพอ าหารหรอื แพยา ทักษะการทํางานบาน (Home Living Skills) หมายถึง การดูแลเสื้อผา การเตรียมอาหารและเคร่ืองดื่ม การจัดและการทําความสะอาดโตะอาหาร การทําความสะอาดภาชนะตางๆ ทําหรือเปลยี่ นเคร่ืองทีน่ อน และทําความสะอาดและจัดหอง ทักษะการเขาสังคม การทํากิจกรรมนันทนาการ และ การทํางานอดิเรก(กิจกรรมยามวาง)(Socialization, Recreation and leisure Skills) หมายถึง มารยาทในการรับประทานอาหารรวมกนั และการใชเ วลาวา งท่ีบา น ทักษะการมีสวนรวมในสังคมและทักษะชีวิต (Community Participation and LivingSkills) หมายถึง การซือ้ ของ และการรับประทานอาหารนอกบา น เด็ กที่ มีค วามตองการจําเป น พิ เศ ษ ห มายถึง ผูเรียนท่ี ล งท ะเบี ยนเป น นั กเรียนของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางซ่ึงมารับบริการในศูนยการศึกษาพิเศษ รับบริการที่บานหรือรับบริการท่ีศูนยการเรียนเฉพาะความพิการ โดยมีประเภทความพิการเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กําหนดประเภทและหลักเกณฑของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๒ไดแก บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการเห็น บุคคลที่มีความบกพรองทางการไดยิน บุคคลที่มีความบกพรองทางสติปญญา บุคคลท่ีมีความบกพรองทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพบุคคลที่มีความบกพรองทางการเรียนรู บุคคลที่มีความบกพรองทางการพูดและภาษา บุคคลท่ีมีความบกพรอ งทางพฤตกิ รรมหรอื อารมณ บคุ คลออทิสติก และบคุ คลพิการซอน บุคคลที่มีความบกพรองทางการเห็น หมายถึง ผูเรียนท่ีสูญเสียการเห็นตั้งแตระดับเล็กนอยจนถงึ ตาบอดสนิท ซง่ึ แบงเปน ๒ ประเภท ดังน้ี

~๕~ ๑) คนตาบอด หมายถึง ผูเรียนท่ีสูญเสียการเห็นมากจนตองใชส่ือสัมผัสและส่ือเสียงหากตรวจวัดความชัดของสายตาขางดีเมื่อแกไขแลวอยูในระดับ ๖ สวน ๖๐ (๖/๖๐) หรือ ๒๐ สวน ๒๐๐(๒๐/๒๐๐) จนถงึ ไมส ามารถรับรเู รือ่ งแสง ๒) คนเห็นเลือนราง หมายถึง ผูเรียนที่สูญเสียการเห็นแตยังสามารถอานอักษรตัวพิมพขยายใหญดวยอุปกรณเครื่องชวยความพิการหรือเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวก หากวัดความชดั เจนของสายตาขางดีเม่อื แกไขแลว อยใู นระดบั ๖ สว น ๑๘ (๖/๑๘) หรือ ๒๐ สว น ๗๐ (๒๐/๗๐) บุคคลท่มี ีความบกพรองทางการไดยิน หมายถึง ผูเรียนท่ีสูญเสยี การไดยินตัง้ แตร ะดบั หตู ึงนอยจนถงึ หหู นวก ซงึ่ แบงเปน ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑) คนหูหนวก หมายถึง ผูเรียนที่สูญเสียการไดยินมากจนไมสามารถเขาใจการพูดผานทางการไดยินไมวา จะใสหรอื ไมใสเคร่ืองชว ยฟง ซ่ึงโดยทั่วไปหากตรวจการไดยินจะมีการสูญเสียการไดยิน ๙๐เดซเิ บลข้ึนไป ๒) คนหูตึง หมายถึง ผูเรียนท่ีมีการไดยินเหลืออยูเพียงพอท่ีจะไดยินการพูดผานทางการไดยินโดยทั่วไปจะใสเคร่ืองชวยฟง ซ่ึงหากตรวจวัดการไดยินจะมีการสูญเสียการไดยินนอยกวา ๙๐ เดซิเบลลงมาถงึ ๒๖ เดซิเบล บุคคลที่มีความบกพรองทางสติปญญา หมายถึง ผูเรียนที่มีความจํากัดอยางชัดเจนในการปฏิบัตติ น (Functioning) ในปจจุบันซึง่ มีลักษณะเฉพาะ คือ ความสามารถทางสติปญญาต่ํากวาเกณฑเฉลี่ยอยางมีนัยสําคัญรวมกับความจํากัดของทักษะการปรับตัวอีกอยางนอย ๒ ทักษะ จาก ๑๐ทักษะไดแก การส่ือความหมาย การดูแลตนเอง การดาํ รงชีวิตภายในบาน ทักษะทางสังคม/การมีปฏสิ ัมพันธกับผูอ่ืน การรูจักใชทรัพยากรในชุมชน การรูจักดูแลควบคุมตนเอง การนําความรูมาใชในชีวิตประจําวัน การทํางาน การใชเวลาวา ง การรักษาสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ทั้งนี้ไดแสดงอาการดังกลาวกอ นอายุ ๑๘ ป บุคคลที่มีความบกพรองทางรางกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ ซ่ึงแบงเปน๒ประเภทดงั น้ี ๑) บุคคลที่มีความบกพรองทางรางกายหรือการเคลื่อนไหว หมายถึง ผูเรียนที่มีอวัยวะไมสมสวนหรอื ขาดหายไป กระดกู หรือกลา มเนื้อผิดปกติ มีอุปสรรคในการเคลอ่ื นไหว ความบกพรองดังกลา วอาจเกิดจากโรคทางระบบประสาทโรคของระบบกลามเนอ้ื และกระดูก การไมสมประกอบมาแตกาํ เนิดอุบตั ิเหตุและโรคติดตอ ๒) บุคคลท่ีมีความบกพรองทางสุขภาพ หมายถึง ผูเรียนที่มีความเจ็บปวยเรื้อรังหรือมีโรคประจําตัว จําเปนตองไดรับการรักษาอยางตอเน่ืองและเปนอุปสรรคตอการศึกษา ซึ่งมีผลทําใหเกิดความจําเปนตองไดร บั การศึกษาพิเศษ บุคคลที่มีความบกพรองทางการเรียนรู หมายถึง ผูเรียนท่ีมีความผิดปกติในการทํางานของสมองบางสวนท่ีแสดงถึงความบกพรองในกระบวนการเรียนรูที่อาจเกิดขึ้นเฉพาะความสามารถดานใด

~๖~ดานหนึ่งหรือหลายดาน คือ การอาน การเขียน การคิดคํานวณ ซ่ึงไมสามารถเรียนรูในดานที่บกพรองไดท้ังที่มีระดับสติปญญาปกติ บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการพูดและภาษา หมายถึง ผูเรียนท่ีมีความบกพรองในการเปลงเสียงพูด เชน เสียงผิดปกติอัตราความเร็วและจังหวะการพูดผิดปกติ หรือผูเรียนที่มีความบกพรองในเร่ืองความเขาใจหรือการใชภาษาพูด การเขียน หรือระบบสัญลักษณอื่นที่ใชในการติดตอสื่อสาร ซึ่งอาจเกีย่ วกับรูปแบบเนื้อหาและหนา ทขี่ องภาษา บคุ คลที่มีความบกพรองทางพฤติกรรมหรอื อารมณ หมายถึง ผูเรียนท่ีมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติเปนอยางมากและปญหาทางพฤติกรรมน้ันเปนไปอยางตอเนื่อง ซ่ึงเปนผลจากความบกพรอ งหรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในสวนของการรับรูอารมณหรือความคิด เชน โรคจิตเภท โรคซึมเศรา โรคสมองเสือ่ ม เปน ตน บุคคลออทิสติก หมายถึง ผูเรียนที่มีความผิดปกติของระบบการทํางานของสมองบางสวนซ่ึงสงผลตอความบกพรองทางพัฒนาการดานภาษา ดานสังคมและการปฏิสัมพันธทางสังคมและมีขอจํากัดดานพฤติกรรม หรือมีความสนใจจํากัดเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยความผิดปกตินั้นคนพบไดกอ นอายุ ๓๐ เดอื น บุคคลพิการซอ น หมายถึง ผเู รียนทม่ี ีสภาพความบกพรองหรอื ความพกิ ารมากกวาหนง่ึ ประเภทในบคุ คลเดยี วกัน๖. หลักเกณฑวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน กระทรวงศึกษาธิการโดยสํานักงานคณ ะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดทําและประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงไดบรรจุส่ิงท่ีเปนประมวลความรูและประสบการณท่ีสําคัญและจําเปนสําหรับพลเมืองในชาติ เพ่ือใหสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐานไดใชเปนกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรูและทักษะท่ีจําเปนสําหรับใชเปนเคร่ืองมือในการดํารงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชวี ิต (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๕๒) เคร่ืองมือการประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ เปนแบบประเมินความสามารถข้ันพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นมาตามหลกั สูตรสถานศึกษาสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษระยะแรกเริ่มของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ และหลักสตู รสถานศึกษาการพัฒนาทกั ษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ ของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๐ ใชในการประเมินความสามารถพื้นฐานทักษะการดํารงชีวิตสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษ ซ่ึงมีท้ังหมด ๔ กลุมทักษะไดแก กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน กลุมทักษะ

~๗~วิชาการเพื่อการดํารงชีวิต กลุมทักษะสวนบุคคลและสังคม และกลุมทักษะการทํางานและอาชีพซ่ึงหลักสูตรดังกลาวเปนการชวยใหนักเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษทางการศึกษามีความรูและทกั ษะที่จาํ เปน สาํ หรบั ใชเ ปน เครอื่ งมอื ในการดํารงชีวิตในสงั คม กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน ถือเปนกลุมทักษะที่มีความจําเปนตอการดํารงชีวิตของเด็กพิการเปนอยางมาก เนื่องจากเก่ียวของกับ การดูแลตนเองและการดูแลสุขอนามัยสวนบุคคลการเขาสังคมการทํากิจกรรมนันทนาการและการทํางานอดิเรก (กิจกรรมยามวาง) การเคล่ือนยายตนเองในบาน การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตประจําวัน การทํางานบาน การมีสวนรวมในสงั คมและทักษะชวี ติ ซึง่ มคี วามจาํ เปนที่เด็กพกิ ารควรเรยี นรูเปนอันดบั แรก ครูผูสอน มีหนาท่ีหลักในการจัดการเรียนการสอน สงเสริมการเรียนรู บริหารจัดการช้ันเรียนพัฒนาผูเรียน อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคปฏิบัติงานทางวิชาการของสถานศึกษา ประสานความรวมมือกับผูปกครอง บุคคลในชุมชน และหรือสถานประกอบการเพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียน การประเมินความสามารถพื้นฐานของนักเรียนจึงเปนสิ่งสําคัญท่ีครูผูสอนจําเปนตองลงมือปฏิบัติเพ่ือใหทราบพัฒนาการหรือความสามารถท่ีแทจริงของนักเรียน เพ่อื ใหสามารถวางแผนการจดั การศึกษาใหกับนักเรียนไดอ ยางเหมาะสมตอไป๗. คําอธิบายสญั ลักษณท่ีใช การเขียนแผนผังของกระบวนการ (Work Flow) ในชุดคูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual)เร่ือง การประเมินความสามารถพื้นฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง น้ี มีสัญลักษณที่ใชเพ่ือแสดงถึงกิจกรรมท่ีดําเนินการ ทิศทางของการปฏิบัติ การตัดสินใจ ฐานขอมูลท่ีเก่ียวของ และรายงาน/เอกสารตา งๆ ซึ่งมคี ําอธิบายสญั ลกั ษณท ใี่ ช (เรืองชัย จรุงศริ วฒั น. ๒๕๕๔) ดงั ตอ ไปนี้

~๘~สัญลกั ษณ คาํ อธบิ าย จุดเร่ิมตน และส้นิ สุดของกระบวนการ กิจกรรมและการปฏบิ ัตงิ าน (Data Input / Output) เอกสาร / รายงาน (Document) เอกสาร รายงานหลายแบบ / ประเภท (Multi Document) ทศิ ทาง / การเคลื่อนไหวของงาน ทศิ ทางการนําเขา / สงออกของเอกสาร / รายงาน / ฐานขอ มูล ที่อาจจะเกดิ ขึน้ การตัดสนิ ใจ (Decision) จดุ เช่ือมตอ ระหวา งข้ันตอน / กระบวนการ (Connector)ภาพที่ ๑.๑ แสดงคาํ อธิบายสัญลักษณท่ใี ชในการเขียนแผนผังของกระบวนการ (Work Flow)ทมี่ า : เรอื งชยั จรุงศิรวฒั น (๒๕๕๔)

บทที่ ๒ โครงสรางและหนาท่ีความรบั ผิดชอบ คณะรัฐมนตรี ไดมีมติเมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒ เห็นชอบใหกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมสามัญศึกษาดําเนินการจัดต้ังศูนยการศึกษาพิเศษ ประจําจังหวัด เพื่อจัดการศึกษาในลักษณะศูนยบริการชวยเหลือระยะแรกเร่ิม และเตรียมความพรอมของคนพิการ สนับสนุนการเรียนการสอนการจัดสื่อ จัดส่ิงอํานวยความสะดวก การใหบริการและความชวยเหลือที่เก่ียวของ การจัดครูเดินสอนแกคนพิการและสถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๓) ปจจุบันศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปางเปนสถานศึกษาสังกัดสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร บทบาทหนาที่หลักของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง ตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑ (๒๕๕๑. ๒) กําหนดใหศูนยการศึกษาพิเศษจัดการศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัยแกคนพิการตั้งแตแรกเกิดหรือแรกพบความพิการจนตลอดชีวิตและจัดการศึกษาอบรมแกผูดูแลคนพิการครูบุคลากรและชุมชน รวมท้ังการจัดสื่อเทคโนโลยีส่ิงอํานวยความสะดวกบริการและความชวยเหลืออ่ืนใดตลอดจนปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามท่ีกําหนดในประกาศกระทรวง บทบาทหนาท่ีอื่น ของศูน ยการศึกษาพิ เศษ ประจําจังหวัดลําปาง ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การปฏิบัติหนาท่ีอื่นของศูนยการศึกษาพิเศษ พ.ศ.๒๕๕๓ (๒๕๕๓. ๒๓)ใหศูนยก ารศกึ ษาพิเศษปฏิบตั ิหนาทอ่ี ื่นดงั ตอไปนี้ ๑) สงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาใหแกคนพิการท่ีมีความบกพรองทางสุขภาพซึ่งเจ็บปวยเร้ือรังอยูในโรงพยาบาลหรือที่บานเปนระยะเวลานานจนไมสามารถไปเรียนในสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐานไดตามปกติ ๒) สงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการที่มีการเรียนรวมในสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานทง้ั ของรฐั และเอกชน ๓) จัดระบบสง ตอ และสงเสริมสนบั สนนุ ชวงเชือ่ มตอสําหรบั คนพิการ ๔) สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพดานอาชีพใหแกคนพิการและผูดูแลคนพิการตามความเหมาะสมจาํ เปน ๕) ประสานและสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรคนพิการ หนวยงานภาครัฐและเอกชน สามารถพัฒนา สนบั สนุนและจดั การศกึ ษาสําหรับคนพิการท่ีมีการเรยี นรวมท้ังของรัฐและเอกชน

~ ๑๐ ~ ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง แบงการบริหารงานตามโครงสรางขององคกรและโครงสรางการปฏิบัติงาน โดยมีการกําหนดบทบาทหนาท่ีตามโครงสราง (ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง. ๒๕๖๐) ดังนี้

~ ๑๑ ~๑. โครงสรางองคกร (Organization Chart) คณะกรรมการสถานศึกษา ผูอํานวยการ รองผูอ ํานวยการกลุม บริหารงานวิชาการ กลุมบริหารงานแผนงาน กลุม บรหิ ารงานบคุ คล กลุม บรหิ ารงานทว่ั ไป และงบประมาณ๑.งานทะเบยี นนกั เรียนและวดั ผล ๑.งานแผนงานและ ๑. งานทะเบียนประวัตแิ ละ ๑.งานประกนั คณุ ภาพ๒.งานชว ยเหลือระยะแรกเริม่ จัดตัง้ งบประมาณ งานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ ๒.งานธุรการ ๓.งานอาคารสถานที่ พัฒนาศักยภาพและ ๒.งานการเงิน ๒.งานสรรหาและบรรจแุ ตง ตั้ง ๔.งานประชาสมั พันธ เตรียมความพรอ ม ๓.งานบญั ชี ๓.งานพจิ ารณาความดี ๕.งานสารสนเทศ๓.งานศูนยการเรียน ๔.งานพสั ดุและสินทรพั ย ๖.งานโภชนาการ เฉพาะความพกิ าร ๕.งานการจัดระบบ ความชอบ ๗.งานอนามัย๔.งานกิจกรรมนักเรยี น ๔.งานรกั ษาความปลอดภยั ๘.งานหองสมดุ๕.งานผลติ จัดหาบริการ ควบคุมภายใน ๕.งานฝกอบรมและพัฒนา ๙.งานเลขานุการ ส่ิงอาํ นวยความสะดวก สอื่ ๖.งานระดมทรพั ยากร ๖.งานวนิ ัยและรกั ษาวนิ ยั บรกิ ารและความชวยเหลืออืน่ ๗.งานทนุ การศกึ ษา ๗.งานสวัสดิการ คณะกรรมการใด ๘.งานนิเทศ ติดตามกลมุ ๘.งานนเิ ทศ ติดตามกลมุ สถานศึกษา๖.งานสง เสริมการจัดเรยี นรว ม บริหารงานแผนงานและ บริหารงานบุคคล ๑๐.งานเลขานกุ าร๗.งานหองเรียนสอน งบประมาณ คณะอนุกรรมการสงเสรมิ เดก็ เจบ็ ปวยเร้อื รัง การจัดการศกึ ษาสาํ หรบั คนในโรงพยาบาล พิการจังหวดั ลําปาง๘.งานหอ งเรยี นคูข นานออทิสติก ๑๑.งานภูมิทัศน๙.งานวิจยั ในชัน้ เรยี น ๑๒.งานนเิ ทศ ติดตามกลุม๑๐.งานปรบั บานเปน หอ งเรียน บริหารงานทั่วไป เปลย่ี นพอ แมเ ปน ครู๑๑.งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา๑๒.งานนเิ ทศ ติดตามกลมุบริหารงานวชิ าการภาพท่ี ๒.๑ แสดงโครงสรางองคก ร (Organization Chart)ท่มี า : สารสนเทศ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ศนู ยก ารศกึ ษาพิเศษประจําจงั หวดั ลําปาง (๒๕๖๐, ๑๑๐)

~ ๑๒ ~ บทบาทหนาทีข่ องผรู บั ผิดชอบ ๑. ผูอํานวยการสถานศึกษา ปฏิบัตหิ นาท่ีผูอํานวยการสถานศึกษา บังคับบัญชาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา บริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม กํากับ ดูแลเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารทั่วไป งานอ่ืนที่เก่ยี วของและที่ไดรบั มอบหมาย ๒. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ทําหนาท่ีกํากับ สนับสนุนและสงเสริมกิจการของสถานศึกษา ภายใตกรอบของกฎหมายที่กําหนด เปนภารกิจหลักของการทํางานรวมกับสถานศึกษาในฐานะเปนผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการศึกษารว มกนั ใหเปนไปตามนโยบายมาตรฐานในการบรหิ ารจัดการทางการศกึ ษา ๓. รองผอู ํานวยการสถานศึกษา ปฏิบัติหนาที่รองผูอํานวยการสถานศึกษา บังคับบัญชาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา บริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม กํากับดูแลเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารทั่วไป งานอ่ืนที่เกย่ี วของและทไี่ ดร บั มอบหมาย ๔. ผูชวยผอู าํ นวยการกลุมบริหารงานวิชาการ รับแนวปฏิบัติจากผูอํานวยการสถานศึกษา เพื่อกํากับ ดูแล ติดตามในสายงานท่ีรับผิดชอบชวยกํากับดูแลงานในกลุมบริหารวิชาการใหเปนไปตามมาตรฐานข้ันพื้นฐาน การปฏิบัติงานวิชาการประสานงานกับกลุมบริหารตางๆ เพ่ือใหการดําเนินงานของกลุมบริหารวิชาการเปนไปดวยความเรยี บรอ ย มีประสทิ ธิภาพชวยกํากับติดตามการดําเนนิ งานกลุมบริหารวิชาการใหเปนไปตามแผนงานที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ การบริหารงานวิชาการ การกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบ การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา การคัดเลอื กหนังสือแบบเรยี นเพื่อใชในสถานศึกษา การจดั กลมุ การเรยี นของนักเรียน การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา การวัดผลประเมินผลและดําเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดการนิเทศการศึกษาท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาและสงเสริมทางดานวิชาการ การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนตามระบบการเรียนรู การจัดสอนซอ มเสริม การจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการเรียนการสอนตามหลกั สูตร จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียน การพัฒนาบุคลากรดานวิชาการ การพัฒนาและสงเสริมใหมีแหลงเรียนรู สรางบรรยากาศทางวิชาการในสถานศึกษา สงเสริมการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา การพัฒนาและใชส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา ประสานความรว มมือในการพัฒนาวชิ าการกับสถานศกึ ษา องคก ร หนวยงานและสถานประกอบการอ่ืน สงเสริมสนับสนุนงานวิชาการแกบุคคล องคกร หนวยงาน สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนที่จัดการศึกษา การวัดผลประเมินผลการเรียน /งานทะเบียนนักเรียน /การเทียบโอนผลการเรียน การดําเนินการวัดผลประเมินผลการเรียนและการเทียบโอนผลการเรียนการสรางและปรับปรุง เคร่ืองมือวัดผลการเรียน การจัดใหมีเอกสารและแนบฟอรมเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผลการเรียน การดําเนินการเกี่ยวกับหลักฐานการวัดผลประเมินผลการเรียน การจัดทํา GPAและการจัดทําหลักฐานผลการเรียนและการจบหลักสูตรของนักเรียน การจัดทําทะเบียนนักเรียนและ

~ ๑๓ ~ออกใบรับรองการเปนนักเรียน การประเมินผลการปฏิบัติงานในดานคุณภาพการจัดการเรียนการสอนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานขอครูตามมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของกลุมบริหารวิชาการ ปฏบิ ัติหนา ที่อน่ื ๆ ตามทไี่ ดรับมอบหมาย ๕. ผูช ว ยผอู ํานวยการกลมุ บรหิ ารงานแผนงานและงบประมาณ รับแนวปฏิบัติจากผูอํานวยการสถานศึกษา เพ่ือกํากับ ดูแล ติดตามในสายงานท่ีรับผิดชอบชวยกํากับดูแลงานในกลุมบริหารงบประมาณใหเปนไปตามมาตรฐานขั้นพื้นฐาน การปฏิบัติงานแผนงานและงบประมาณของสถานศึกษา ชวยกํากับติดตามการดําเนินงานกลุมบริหารแผนงานและงบประมาณใหเปนไปตามแผนงานท่ีกําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพจัดทํามาตรฐานข้ันพ้ืนฐานการปฏิบัติงาน ดานแผนงาน ดานการเงินและการพัสดุของสถานศึกษา จัดทําแผนกลยุทธของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป ปฏิทินดานแผนงานและงบประมาณของสถานศึกษา จัดทําระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานดานแผนงาน งบประมาณ การพัสดุและการเงินของสถานศึกษาชวยกํากับดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการการตรวจสอบหลักฐานการรับ-จายเงนิ ประจําวันของสถานศึกษาให ดําเนินการตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนําเงินสงคลังในหนาท่ีอยางเครงครัดโดยใหตรวจสอบใบเสร็จรับเงิน และลงลายมือชื่อกํากับหลังใบเสร็จรับเงินใบสุดทาย ชวยกํากับดูแลการปฏบิ ัติงานของหวั หนา เจาหนา ทพี่ ัสดุ ใหตรวจสอบเอกสารการจัดซื้อจดั จางของสถานศึกษา จัดทําทะเบียนคุมทรัพยสิน ลงนามในใบส่ังซื้อ/จาง ใบสั่งจาย ชวยกํากับดูแลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีพัสดุ ใหจัดทําเอกสารการจัดซ้ือจัดจางของสถานศึกษา จัดทําบัญชีวัสดุ จัดทําทะเบียนคุมใบสั่งซื้อ/จาง ดําเนินการตรวจสอบพัสดุประจําป ชวยกํากับการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีการเงิน ในการออกเอกสาร หลักฐานและใบสําคัญการรับและจายเงิน ชวยกํากับดูแลการปฏิบัติงานการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา การจัดการ การจัดหารายไดและผลประโยชนกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษารวมทั้งกองทุนสวัสดิการเพ่ือการศึกษาใหดําเนินไปไดดวยความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ นิเทศและสงเสริมพัฒนาบุคลากรกลุมบริหารงบประมาณ วางระบบขั้นตอน ในการจัดซื้อจัดจาง วัสดุและครุภัณฑตามโครงการของขาราชการครูใหชัดเจน โปรงใส เปนไปดวยความถูกตองรวดเร็ว ปฏิบัติหนา ทอี่ ืน่ ๆ ตามท่ีไดรบั มอบหมาย ๖. ผูชว ยผอู าํ นวยการกลมุ บรหิ ารงานบุคคล รับแนวปฏิบัติจากผูอํานวยการสถานศึกษา เพื่อกํากับ ดูแล ติดตามในสายงานที่รับผิดชอบชวย ดูแล การจัดทําระเบียบและแนวปฏิบัติ เก่ียวกบั งานดานบริหารบุคคลของสถานศึกษา ชวย ดูแลกํากบั ควบคมุ การปฏิบัติงานการบริหารงานบคุ คล การวางแผนอัตรากําลงั และการกําหนดตําแหนงการสรรหาและการบรรจุแตงตั้ง การเสริมสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติราชการเสริมสรางการมีวนิ ัยและการรกั ษาวินยั รวมถึงการออกจากงานหรือออกจากราชการ ใหดําเนินไปอยางมีมาตรฐานและคุณภาพของหนวยงาน ชวย ดูแล กํากับ ควบคุมการปฏิบัติงานของขาราชการครู พนักงานบริการ ลูกจางประจําและลูกจางช่ัวคราว ใหปฏิบัติหนาที่และมีความรับผิดชอบงานตามท่ีไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ มีคุณภาพและเกิดประโยชนกับสถานศึกษา ชวย ดูแลกํากับ ติดตาม ควบคุม ดูแล งานประเมินผล สารสนเทศในงานทุกงานของกลุมบริหารงานบุคคลเพื่อใหทราบขอมูลในจุดเดน จุดดอยท่ีจะตองพัฒนาและปรับปรุงในโอกาสตอไป ปฏิบัติหนาท่ีอื่น ๆตามทีไ่ ดรับมอบหมาย

~ ๑๔ ~ ๗. ผูช วยผูอาํ นวยการกลุมบริหารงานท่วั ไป รับแนวปฏิบตั จิ ากผูอ ํานวยการสถานศึกษา เพื่อกาํ กบั ดูแลงานในกลมุ บรหิ ารทั่วไป ใหเปนไปตามมาตรฐานสถานศึกษาของสํานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กํากับดูแลงานในกลุมบริหารท่ัวไปทุกงาน ใหเปนไปตามบทบาทหนาที่ท่ีรับผิดชอบประสานงานกับกลุมตาง ๆ เพ่ือใหการดําเนินงานของสถานศึกษาดําเนินไปดวยความเรียบรอยและมีประสทิ ธิภาพ ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามทไ่ี ดร ับมอบหมาย

~ ๑๕ ~๒. โครงสรา งการปฏิบัตงิ าน (Activity Chart) กลมุ บริหารงานวชิ าการ นางสุรญั จิต วรรณนวล คณะกรรมการสถานศึกษา ผูอํานวยการ (...............................) รองผูอ ํานวยการ นายนภสนิ ธุ ดวงประภา ผูชวยผอู ํานวยการ กลุมบรหิ ารงานวิชาการ น.ส.สพุ ตั รา นามวงค รองผชู ว ยผูอ าํ นวยการ กลมุ บรหิ ารงานวิชาการ น.ส.อรทัย อามาตย น.ส.อญั ชลี กาปญญา หัวหนางานทะเบยี นนกั เรยี น หวั หนา งานชวยเหลือระยะแรกเรมิ่ พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอ ม และวัดผล นายสมพร ผัดแกว น.ส.รกั ศิธร ศรแกว หวั หนา งานกจิ กรรมนกั เรียนหวั หนางานศนู ยก ารเรยี นเฉพาะความพกิ าร น.ส.สุพตั รา นามวงค นายธวชั ชัย อุตสาสาร หัวหนา งานสงเสรมิ การจดั เรยี นรว มหวั หนา งานผลติ จัดหา บรกิ ารส่ิงอํานวยความสะดวก น.ส.อุบลวรรณ เปงใส สื่อบรกิ ารและความชว ยเหลอื อน่ื ใด หวั หนางานหองเรยี นคขู นานออทสิ ตกิ นางตรีสุคนธ สุโท น.ส.อรทยั อามาตย หัวหนา งานหอ งเรยี นสอนเด็กเจบ็ ปว ยเรือ้ รัง หัวหนางานปรบั บา นเปน หองเรยี น ในโรงพยาบาล เปล่ียนพอแมเ ปน ครู นายเอกนรินทร สวา งกาย นายนภสินธุ ดวงประภา หวั หนา งานวจิ ยั ในชัน้ เรียน หัวหนา งานนิเทศ ติดตามกลุมบริหารงานวชิ าการ นายพิทักษ วงคฆ อ ง หวั หนา งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา นายธวัชชยั อุตสาสาร น.ส.กรรณิการ ตนุ แจโครงการพัฒนาระบบศูนยสาธิตสอื่ เทคโนโลยีและ โครงการพัฒนาระบบศูนยฝ กทักษะการดํารงชวี ติ นวตั กรรม หองเรียน CLC (Contemporary Living Centre) ครผู สู อน พ่ีเล้ยี งเดก็ พิการภาพที่ ๒.๒ แสดงโครงสรา งการปฏิบัตงิ าน (Activity Chart) กลุม บริหารงานวิชาการที่มา : สารสนเทศ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ศูนยก ารศกึ ษาพิเศษประจําจงั หวดั ลาํ ปาง (๒๕๖๐, ๑๑๑)

~ ๑๖ ~ หนา ที่ความรบั ผดิ ชอบของงานท่เี กีย่ วของ ๑. งานทะเบียนนักเรียนและวัดผล มีหนาท่ีจัดเก็บขอมูลประวัติของนักเรียนท่ีไดจากการรับสมัครนักเรียน มาจัดเก็บลงในสมุดทะเบียนนักเรียน และกรอกขอมูลประวัตินักเรียนลงในโปรแกรม Excel ใหเปนปจจุบันวดั ประเมนิ ผลของผูเ รยี น รวบรวมผลการพัฒนาผเู รยี น และปฏบิ ตั ิหนา ท่อี ื่น ๆ ทไ่ี ดร ับมอบหมาย ๒. งานชวยเหลือระยะแรกเริ่มพฒั นาศกั ยภาพและเตรียมความพรอ ม มีหนาที่ ดําเนินการตามข้ันตอนการใหบริการชวยเหลือระยะแรกเร่ิม พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพรอม ๖ ข้ันตอน โดยติดตามใหครูผูสอนดําเนินการการเก็บรวบรวมขอมูลท่ัวไปของเด็กพิการ ประเมินความสามารถพื้นฐาน การคัดกรองประเภทความพิการและการสงตอจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล / การจัดทําแผนการใหบริการเฉพาะครอบครัว ใหบริการดวยกจิ กรรมท่ีเหมาะสมประเมินความกาวหนา / ทบทวนแผน และนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินและการสงตอและปฏบิ ัติหนา ทอ่ี ื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย ๓. งานศูนยก ารเรยี นเฉพาะความพกิ าร มี ห น า ท่ี ให บ ริ ก า ร ช ว ย เห ลื อ ร ะ ย ะ แ ร ก เร่ิ ม พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ค น พิ ก า รผานกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือใหคนพกิ ารสามารถชวยเหลือตนเองได และดาํ เนนิ ชวี ิตอยใู นสังคมไมเปนภาระแกผูอ่ืน ตามศักยภาพ และประเภทความพิการ โดยสนับสนุนส่ือ สิ่งอํานวยความสะดวกปรับสภาพแวดลอมที่ลดอุปสรรค ทั้งภายใน และภายนอก สรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองชุมชน หนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ งและปฏบิ ัตหิ นาท่ีอนื่ ๆ ทไ่ี ดรบั มอบหมาย ๔. งานกิจกรรมนกั เรียน มีหนาท่ีจัดดําเนินการจัดกิจกรรมวันสําคัญของชาติ วันสําคัญทางศาสนา วันสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริย วันสําคัญทางประเพณีและวัฒนธรรม ทั้งน้ีเพื่อใหนักเรียนไดเขารวมกิจกรรมที่เหมาะสมกับศักยภาพตามแตละบุคคลของความพิการ สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข และมีพัฒนาการตามโปรแกรมการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตประจําวันที่กาํ หนดไวในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) และแผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว (IFSP)ตามศกั ยภาพ และปฏิบตั ิหนา ทอ่ี ื่น ๆ ที่ไดร บั มอบหมาย ๕. งานผลิต จดั หา บริการสงิ่ อาํ นวยความสะดวก สือ่ บรกิ ารและความชว ยเหลืออืน่ ใด มีหนาท่ี จัดหาเทคโนโลยีส่ิงอํานวยความสะดวก เพ่ือรองรับการใหบริการส่ิงอํานวยความสะดวก ส่ือ บริการ และใหความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษาสําหรับคนพิการ พรอมทั้งประชาสมั พันธการขอรับส่งิ อํานวยความสะดวก สื่อ บริการและความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ไปยังโรงเรียน จัดการประเมินศักยภาพครูสอนเสริมวิชาการ ตรวจสอบความถูกตองของแบบคําขอและเอกสารหลักฐานการขอรับเงินอุดหนุน จัดพิมพคปู องตามท่ีไดรบั การอนุมัติ จัดพิธีมอบคูปองการศึกษานักเรยี น และปฏบิ ตั ิหนา ทอี่ นื่ ๆ ท่ไี ดร บั มอบหมาย

~ ๑๗ ~ ๖. งานสง เสริมการจัดเรียนรว ม มีหนาท่ี ดําเนินการจัดประชุมวางแผนการนิเทศ กํากับติดตามผลการดําเนินงานของโรงเรียนเรียนรว มเรียนรวม และออกนเิ ทศตดิ ตามโรงเรียนเรียนรวมเรยี นรวมและรายงานผลการนิเทศติดตามโรงเรียนเรียนรวมเรยี นรวม และปฏบิ ัติหนา ท่ีอน่ื ๆ ทไี่ ดรบั มอบหมาย ๗. งานหองเรียนคูขนานสาํ หรับบคุ คลออทสิ ตกิ มีหนาที่ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนของเด็กออทิสติกโดยเฉพาะ และจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนในทุกเร่ืองที่เด็กตองไดรับการเรียนรูนอกเหนือจากการเรียนรวมกับเพ่ือนในหองเรียนปกติ สง เสริมพัฒนาการดานภาษาและการส่ือสาร ดานพฤตกิ รรมและอารมณ ดานสงั คม ดานการรับรูและการเคลื่อนไหว ดา นการดแู ลชว ยเหลือตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจําวนั พัฒนาทกั ษะวิชาการตามกลุมสาระการเรียนรูท้ัง ๘ กลุมสาระ ฝกสาระการเรียนรูท่ีเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพประกอบดวย การฝกใหทํางานบาน การฝกใหทํางานเกษตร การฝกใหทํางานประดิษฐ การฝกใหประกอบอาหาร รวมทั้งจัดกิจกรรมใหบุคคลออทิสติกไดเขารวมกับนักเรียนทั่วไป ซ่ึงมีรูปแบบกระบวนการ วิธีการท่ีหลากหลาย ในการพัฒนาผูเรียนทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ และสังคม มุงเสริมเจตคติปลูกฝงคุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงค สงเสริมใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเองปรับตัวและปฏิบัติตนใหเปนประโยชนตอสังคม และดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุขโดยไมเปนภาระของผอู ่ืน และปฏิบตั ิหนา ท่ีอ่ืน ๆ ทีไ่ ดรบั มอบหมาย ๘. งานหอ งเรียนสอนเด็กเจบ็ ปว ยเรื้อรงั ในโรงพยาบาล มีหนาที่ จัดการเรียนการสอนเปนรายบุคคลตามสภาพความเจ็บปวย ความพรอมทางการเรียน การจัดการเรียนการสอนเปนกลุมยอย เด็กหลายคนเรียนอยูช้ันระดับเดียวกันวิชาท่ีมีเนื้อหาใกลเคียงกันบูรณาการเขาดวยกัน และการจัดกิจกรรมรวมทุกระดับช้ันเรียนเขาดวยกัน จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเพิ่มเติมใหเด็กเจ็บปวยเรื้อรัง เพื่อใหนักเรียนไดรับการพัฒนาครอบคลุมท้ังดานความรูความคิด ทักษะ การะบวนการ ปฏิบัติ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม (เชน การจัดกิจกรรมนักเรียนในวันสําคัญตางๆ ทางศาสนา วันสําคัญของพระมหากษัตริย วันสําคัญตามประเพณี กิจกรรมวันเด็ก เปนตน) รวมท้ังจัดทําเอกสารท่ีเปนแหลงเก็บรวบรวมขอมลู นักเรียน ผลงาน ช้ินงาน หลักฐานการประเมินผลการเรียน และรายงานผลการเรียนของเด็กเจ็บปวยเรื้อรังในโรงพยาบาลที่รับบริการจากศนู ยการเรียนสําหรบั เด็กเจ็บปว ยเรอ้ื รังในโรงพยาบาล ๙. งานปรับบา นเปนหอ งเรยี นเปลี่ยนพอ แมเปนครู มีหนาที่ จัดใหเด็กพิการที่อยูที่บานไดรับการชวยเหลือตามแผนใหบริการชวยเหลือเฉพาะครอบครัว (IFSP) ไดรับส่ืออุปกรณสําหรับใชในการฟนฟูสมรรถภาพและเตรียมความพรอมที่บานรวมถึงไดรับการนิเทศ ติดตามการใหบริการชวยเหลือเด็กพิการท่ีรับบริการตามโครงการปรับบานเปนหองเรียนเปลย่ี นพอแมเปนครู และปฏิบัตหิ นา ทอ่ี ืน่ ๆ ท่ไี ดร บั มอบหมาย

~ ๑๘ ~ ๑๐. งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา มีหนาที่ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา จัดอบรมครูและบุคลากรเร่ืองการใชหลักสูตรเพ่ือใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา จัดใหมีการนิเทศการใชหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุนใหครูนําหลักสูตรไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมกับสภาพของผเู รียนและปฏิบัติหนา ท่ีอ่นื ๆ ทไ่ี ดร ับมอบหมาย ๑๑. โครงการพฒั นาระบบศนู ยส าธติ สอื่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม มีหนาท่ี สงเสริมใหครูมีการจัดกระบวนการเรียนรูตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลโดยใชเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวกส่ือการเรียนรู บริการและความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษาไดตรงตามความตองการจําเปนของผูเรียนและสงเสริมใหครูและบุคลากรผลิตส่ือการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนไดรับเทคโนโลยี สิ่งอํานวยความสะดวก ส่ือการเรียนรู บริการ และความชวยเหลืออื่นใดทางการศกึ ษาสําหรบั คนพิการเพยี งพอและปฏิบตั หิ นา ท่ีอนื่ ๆ ท่ไี ดรบั มอบหมาย ๑๒. โครงการพัฒนาระบบศูนยฝกทักษะการดํารงชีวิตหองเรียน CLC (ContemporaryLiving Centre) มีหนาท่ี จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักเรียนตามหลักสูตรการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิตจาํ ลองการใชชีวิตภายในบาน ฝกใหนักเรยี นเรียนรูเกี่ยวกับการทํางานและอาชีพเบื้องตน ทั้งน้ีเพ่ือเปนการเตรียมความพรอ มกอ นการเปลย่ี นผานสชู มุ ชนและปฏบิ ตั หิ นาที่อน่ื ๆ ท่ีไดร ับมอบหมาย ๑๓. ครูผูส อน ครูผูสอน ประกอบดว ย ขาราชการ พนักงานราชการ ครูอัตราจา ง และพ่ีเล้ียงเด็กพิการ ที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาท่ีสอน มีหนาที่และความรับผิดชอบหลักในการจัดการเรียนการสอนสงเสริมการเรียนรู บริหารจัดการช้ันเรียนพัฒนาผูเรียน อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีวินัย คุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค นําผลการวิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้ีวัดหรือผลการเรียนรู มาใชในการจัดทํารายวิชาและออกแบบหนวยการเรียนรู ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ทักษะ คุณลักษณะประจําวิชาคุณลักษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะที่สําคัญ ตามหลักสูตร จัดกิจกรรมการเรียนรู อํานวยความสะดวกในการเรียนรู และสง เสรมิ การเรียนรู ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เลือกและใชส่ือ เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู ท่ีสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู วัดและประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับตัวช้ีวัดและจุดประสงคการเรียนรูจัดบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู กระบวนการคิด ทักษะชีวิต และพัฒนาผูเรียน ดําเนินการตามระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน โดยมีการศึกษาและรวบรวมขอมูลผูเรียนรายบุคคลเพ่ือแกปญหาและพัฒนาผูเรียน อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานิยมที่ดีงามและปฏิบัติงานอ่ืนตามท่ไี ดร บั มอบหมาย

~ ๑๙ ~ ๑๔. พเ่ี ล้ียงเดก็ พิการ พ่ีเลี้ยงเด็กพิการ มีหนาที่ชวยครูผูสอน เตรียมการสอน จัดการเรียนการสอนและชวยครูผูสอนจดั เตรียมสื่อที่เหมาะสมแกนักเรียนประจําหองเรียน ปฏิบัติหนาที่เวรประจําวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ และปฏบิ ตั ิหนาท่ีอื่น ๆ ทไ่ี ดร ับมอบหมาย จากภาระหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายดังกลาวขางตน เนื่องจากทุกสวนขางตนมีหนาที่และมีสวนเกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะการดํารงชีวิต ซึ่งถือเปนเร่ืองใหมของศูนยการศกึ ษาพิเศษ ดังน้ันครูผูสอนและพ่ีเลี้ยงเด็กพิการ จึงอยูในชวงของการศึกษาและทดลองใชศูนยการศกึ ษาพิเศษประจาํ จังหวดั ลําปาง เหน็ ความสาํ คัญของการพฒั นาทกั ษะการดาํ รงชีวิตของเด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษ จึงไดจัดทําคูมือการดําเนินงาน เร่ือง การประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรับเด็กท่ีมีความตองการจําเปนพิเศษของศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดลําปาง เพ่ือใหครูผูสอนและพี่เลี้ยงสามารถประเมินทักษะการดํารงชีวิตประจําวันไดในมาตรฐานเดยี วกนั ซ่ึงไดก ําหนด Flow Chart ซง่ึ สามารถศึกษาข้ันตอนไดในบทท่ี ๓

บทท่ี ๓ แผนผงั การปฏิบัตงิ าน คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เร่ือง การประเมินความสามารถพื้นฐาน กลุมทักษะก า ร ดํ า ร ง ชี วิ ต ป ร ะ จํ า วั น สํ า ห รั บ เด็ ก ท่ี มี ค ว า ม ต อ ง ก า ร จํ า เป น พิ เศ ษ ข อ ง ศู น ย ก า ร ศึ ก ษ า พิ เศ ษประจําจังหวัดลําปาง ฉบับนี้ไดกําหนดแผนผังการปฏิบัติงาน (Flow Chart) ออกเปน ๒ ลักษณะกลาวคือ แผนผังการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติและแผนผังการปฏิบัติงานตามข้ันตอนการปฏิบัติงานและขอ ควรระวงั ในการปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้

~ ๒๑ ~๑. แผนผังการปฏิบตั ิงานของผูป ฏบิ ตั ิ : การประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทกั ษะการดํารงชวี ติ ประจําวันสําหรับเด็กที่มีความตอ งการจําเปนพิเศษ ผรู ับผดิ ชอบ งานทะเบยี นนักเรยี น คณะกรรมการ งานทะเบยี น สง ตอนักเรยี นเขา ครูประจาํ ชนั้นักเรยี นและวัดผล พเ่ี ลี้ยงเดก็ พกิ าร หองเรียนครปู ระจาํ ชั้น นดั หมายคณะกรรมการ ครปู ระจาํ ช้นัครปู ระจาํ ชั้น ประเมนิ ความสามารถ นักสหวิชาชีพครปู ระจําช้ัน ผปู กครองครูประจาํ ช้ัน พน้ื ฐานนกั เรยี น ครูประจําช้ัน นักสหวชิ าชีพ ประเมนิ ความสามารถ ผปู กครอง พ้นื ฐานของนักเรยี น พเ่ี ลย้ี งเดก็ พกิ าร ประชมุ สรุปขอ มลู ครูประจําชนั้ ความสามารถพนื้ ฐาน นกั สหวชิ าชีพ ผูปกครอง นกั เรียน ผอู ํานวยการ ผูปกครอง สง ขอมูลใหกบั คณะกรรมการ ครูประจาํ ชัน้ จัดทํา IEP/IFSP นักสหวิชาชพี เครือขายในชมุ ชน ผูม สี วนเกย่ี วของภาพที่ ๓.๑ แสดงแผนผงั การปฏิบัติงานของผูปฏิบัติ : การประเมินความสามารถพืน้ ฐาน กลมุ ทักษะการดาํ รงชีวติ ประจําวันสําหรับเด็กทีม่ คี วามตองการจาํ เปนพิเศษทม่ี า : พัฒนาโดย ศนู ยการศึกษาพิเศษประจาํ จงั หวดั ลาํ ปาง (๒๕๖๐)

~ ๒๒ ~๒. แผนผังการปฏิบัติงานตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน : การประเมินความสามารถพนื้ ฐานกลมุ ทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ประจาํ วันสาํ หรบั เด็กทีม่ ีความตอ งการจําเปนพเิ ศษ๑.บันทึกขอ ความสงนักเรยี นเขาหองเรียน งานทะเบยี นนกั เรยี น๒.ใบสมคั รนักเรียน สงตอนักเรียนเขา๓.ประวตั ินักเรยี น๔.เอกสารหลกั ฐานของเด็กและผปู กครอง หองเรยี น๕.แบบคัดกรอง๖.แบบประเมนิ แรกรับ กรณีการประเมิน ๑.แบบสมั ภาษณแ ผนการใหบ รกิ ารชว ยเหลอื ไมเ่ สร็จสนิ ้ นดั หมายใหม่ เฉพาะครอบครัว๑.บนั ทึกขอ ความเชญิ คณะกรรมการนกั สหวิชาชีพ นดั หมาย ๒.แบบคัดกรอง๒.หนงั สือเชญิ คณะกรรมการเครอื ขาย คณะกรรมการ ๓. สมุดบันทกึ พัฒนาการของผเู รยี น ประเมินความสามารถ ๔.กราฟแสดงอายุทางพัฒนาการของผูเรียน๑.แบบสมั ภาษณแผนการใหบริการชวยเหลือเฉพาะ พืน้ ฐานนกั เรียน ๕.สรุปและรายงานการประเมนิ ผลการพฒั นา ครอบครัว ๖.ตารางพัฒนาการตามวัย กรณีการประเมนิ เสร็จสนิ ้ ๗.แบบประเมินความสามารถพน้ื ฐาน (รายการท่ี๒.แบบคัดกรอง๓. สมดุ บันทกึ พฒั นาการของผูเรียน ประเมินความสามารถ ๓ – ๗ เฉพาะเด็กอายุ แรกเกดิ – ๖ ป)๔.กราฟแสดงอายทุ างพฒั นาการของผเู รยี น พน้ื ฐานของนักเรยี น ๘.เครื่องมือการประเมินความสามารถพน้ื ฐาน๕.สรุปและรายงานการประเมนิ ผลการพฒั นา๖.ตารางพฒั นาการตามวยั กลุม ทกั ษะการดํารงชีวติ ประจาํ วนั สาํ หรับเด็ก๗.แบบประเมินความสามารถพน้ื ฐาน (รายการท่ี ๓ – ๗ ท่ีมีความตองการจาํ เปน พเิ ศษของศนู ยการศกึ ษาพิเศษ ประจาํ จงั หวัดลําปาง เฉพาะเด็กอายุ แรกเกดิ – ๖ ป) ๙.แบบประเมินทักษะจาํ เปนพิเศษ๘.เครอ่ื งมอื การประเมินความสามารถพื้นฐานกลุมทกั ษะ ๑๐.แบบประเมินทางกจิ กรรมบาํ บัด ๑๑.การตรวจประเมนิ ทางกายภาพบาํ บัด การดาํ รงชวี ติ ประจําวันสาํ หรบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ งการ ๑๒.รายงานการประเมินพัฒนาการทางจติ วทิ ยา จาํ เปน พเิ ศษของศูนยก ารศึกษาพิเศษประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง ดว ยแบบประเมินพัฒนาการ Denver II (ฉบับ๙.แบบประเมินทกั ษะจาํ เปน พิเศษ ภาษาไทย)๑๐.แบบประเมินทางกิจกรรมบําบดั ๑๓.แบบประเมินกิจกรรมดนตรบี าํ บัด๑๑.การตรวจประเมนิ ทางกายภาพบําบดั ๑๔.แบบประเมนิ กิจกรรมศิลปะบําบดั๑๒.รายงานการประเมนิ พฒั นาการทางจติ วิทยาดว ย ๑๕.แบบประเมินกจิ กรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบประเมนิ พัฒนาการ Denver II (ฉบับภาษาไทย) และการสอ่ื สาร (ICT)๑๓.แบบประเมนิ กิจกรรมดนตรบี ําบดั ๑๖.แบบบนั ทึก – การประเมนิ รางวัล๑๔.แบบประเมินกิจกรรมศลิ ปะบําบดั ๑๗.แบบประเมนิ ความกา วหนา การใหบริการ๑๕.แบบประเมนิ กิจกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ชว ยเหลอื ครอบครัว : ดานเดก็ สือ่ สาร (ICT) ๑๘.แบบประเมินความกา วหนาการใหบ ริการ๑๖.แบบบนั ทึก – การประเมนิ รางวลั ชวยเหลือครอบครัว : ดานครอบครัว และ๑๗.แบบประเมนิ ความกาวหนา การใหบ ริการชวยเหลือ ส่งิ แวดลอม ครอบครัว : ดา นเดก็ ๑๙.แบบประเมินความกา วหนา การใหบ รกิ าร๑๘.แบบประเมนิ ความกา วหนาการใหบ ริการชว ยเหลือ ชวยเหลือครอบครวั : ดา นชุมชน ครอบครัว : ดา นครอบครวั และส่ิงแวดลอม (รายการที่ ๑ และ ๑๗ – ๑๙ เฉพาะ๑๙.แบบประเมนิ ความกาวหนา การใหบ ริการ กลมุ รับบริการ IFSP) ชว ยเหลือครอบครวั : ดานชมุ ชน (รายการท่ี ๑ และ ๑๗ – ๑๙ เฉพาะ กลมุ รบั บรกิ าร IFSP)

~ ๒๓ ~๑.แบบสัมภาษณแผนการใหบริการชว ยเหลอื เฉพาะ ประชมุ สรปุ ขอมลู ๑.สรุปผลการประเมินและ ครอบครวั ความสามารถพ้ืนฐาน พัฒนา ๒.ขอมลู ความสามารถพืน้ ฐาน๒.แบบคดั กรอง นกั เรยี น ๓.ผลการวเิ คราะหผ เู รยี น๓.สมุดบันทึกพัฒนาการของผเู รยี น๔.กราฟแสดงอายุทางพฒั นาการของผูเรยี น๕.สรุปและรายงานการประเมินผลการพฒั นา๖.ตารางพฒั นาการตามวัย๗.แบบประเมินความสามารถพื้นฐาน (รายการที่ ๓ – ๗เฉพาะเดก็ อายุ แรกเกิด – ๖ ป)๘.เครื่องมอื การประเมินความสามารถพื้นฐานกลมุ ทกั ษะการดํารงชวี ติ ประจาํ วันสําหรบั เดก็ ท่ีมคี วาม ตอ งการจําเปนพิเศษของศนู ยก ารศกึ ษาพิเศษประจาํ จังหวัดลาํ ปาง๙.แบบประเมนิ ทกั ษะจําเปน พิเศษ๑๐.แบบประเมินทางกจิ กรรมบาํ บดั๑๑.การตรวจประเมินทางกายภาพบาํ บดั๑๒.รายงานการประเมนิ พฒั นาการทางจิตวิทยาดว ย แบบประเมนิ พัฒนาการ Denver II(ฉบบั ภาษาไทย)๑๓.แบบประเมนิ กจิ กรรมดนตรบี ําบัด๑๔.แบบประเมนิ กจิ กรรมศลิ ปะบําบัด๑๕.แบบประเมนิ กิจกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สาร (ICT)๑๖.แบบบนั ทกึ – การประเมินรางวัล๑๗.แบบประเมินความกาวหนา การใหบรกิ าร ชว ยเหลือครอบครัว : ดานเดก็๑๘.แบบประเมินความกา วหนา การใหบริการ ชว ยเหลอื ครอบครัว : ดานครอบครัว และ ส่งิ แวดลอม๑๙.แบบประเมนิ ความกาวหนา การใหบรกิ าร ชว ยเหลอื ครอบครวั : ดา นชุมชน (รายการท่ี ๑ และ ๑๗ – ๑๙ เฉพาะ กลมุ รบั บรกิ าร IFSP)๒๐.สรปุ ผลการประเมนิ และพฒั นา๒๑.ขอ มลู ความสามารถพืน้ ฐาน๒๒.ผลการวิเคราะหผูเรียน๑.สรุปผลการประเมินและพัฒนา สงขอ มลู ใหกบั๒.ขอมูลความสามารถพน้ื ฐาน คณะกรรมการ๓.ผลการวเิ คราะหผ เู รียน จดั ทําแผน IEP / IFSP*หมายเหตุ * IEP หมายถึง แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล IFSP หมายถงึ แผนการใหบ รกิ ารชวยเหลอื เฉพาะครอบครัวภาพท่ี ๓.๒ แสดงแผนผังการปฏิบัติงานตามข้ันตอนการปฏิบัติงาน : การประเมินความสามารถ พนื้ ฐานกลมุ ทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ประจําวันสาํ หรับเด็กทีม่ ีความตองการจําเปน พิเศษท่มี า : พัฒนาโดย ศูนยก ารศกึ ษาพเิ ศษประจําจงั หวดั ลําปาง (๒๕๖๐)

~ ๒๔ ~ ท้งั นส้ี ามารถศึกษารายละเอยี ดข้นั ตอนการดาํ เนนิ งานพรอมทง้ั ผูปฏบิ ตั ิ ไดใ นบทที่ ๔๓. ขอควรระวงั ในการปฏิบัติงาน ๓.๑ คณะกรรมการควรศึกษาขอมูลพื้นฐาน เชน ใบสมัครเขารับบริการ ประวัตินักเรียน และขอมูลเก่ียวกับตัวนักเรียน เชน การใชภาษา บุคคลในครอบครัว ชีวิตและความเปนอยู รูปแบบการเลี้ยงดู เปนตน กอนทําการประเมนิ เพื่อใหไ ดผลการประเมนิ ทเี่ ปนจรงิ ๓.๒ คณะกรรมการควรดําเนินการประเมินความสามารถพื้นฐาน กลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวัน ในกรณีท่ีเปนพฤติกรรมที่เด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษเคยมีโอกาสไดทํา ดวยการสัมภาษณ ผูใกลชิด เชน ผูปกครอง ครูประจําช้ัน หรือพี่เล้ียงเด็กพิการ เปนตน แตในกรณีที่เด็กที่มีความตองการจําเปนพิเศษไมเคยไดมีโอกาสไดทํา อาจจะสังเกตจากการใหเด็กไดทํากับส่ือที่ครูเตรียมไวใ หใ นขณะประเมินก็ได ๓.๓ คณะกรรมการควรใหค วามสาํ คัญกับการส่ือสาร ในการประเมินรวมกบั เดก็ หากเด็กมีความคุนเคยในภาษาถน่ิ ควรใชภาษาถิน่ ในการสื่อสารกับเด็ก ๓.๔ คณะกรรมการควรประเมินกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันบางทกั ษะยอยโดยการสงั เกตภายใตส ถานการณจ รงิ ทีป่ ฏบิ ัตใิ นชวี ติ ประจําวนั และส่ิงแวดลอ มท่เี ด็กคุน เคย

~ ๒๗ ~ บทที่ ๔ ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตามประเมินผล๑. ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การประเมินความสามารถพ้ืนฐานกลุมทักษะการดํารงชีวิตประจําวันสําหรบั เดก็ ท่ีมีความตองการจาํ เปน พิเศษมที ้ังหมด ๕ ขั้นตอน ไดแก ๑.๑ งานทะเบยี นนักเรียนสงตอนกั เรยี นเขา หองเรยี น ๑.๒ นัดหมายคณะกรรมการประเมินความสามารถพน้ื ฐานนักเรยี น ๑.๓ ประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐาน ๑.๔ ประชมุ สรปุ ขอมลู ความสามารถพ้นื ฐาน ๑.๕ สง ขอมูลใหกับคณะกรรมการจดั ทํา IEP / IFSP ดังแสดงรายละเอยี ดในตารางตอ ไปนี้

ตารางที่ ๔.๑ แสดงขั้นตอนการปฏิบัติ การประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐานกลที่ ผงั การปฏบิ ตั ิงาน ระยะ รายละเอียด ม เวลา๑ ๑วัน ๑. เมอ่ื ผอู าํ นวยการ ๑.มงานทะเบยี น เกษียนใบสมัคร ขนักเรียนสงตอ นักเรียนมอบหมาย ตนักเรียนเขา ใหน ักเรียนเขา เข หองเรียนแลว ๒.ค หองเรียน ๒. งานทะเบียน ป นกั เรยี นรับทราบ น บันทึกขอความและ ร สงตอนักเรียนเขา ภ เรยี นในหอ งเรยี น ห ท

~ ๒๖ ~ลุมทกั ษะการดํารงชีวิตประจําวันสาํ หรับเด็กท่มี ีความตองการจําเปนพิเศษมาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผูรับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคณุ ภาพ ประเมนิ ผลมบี ันทกึ ๑. ผูอํานวยการ ๑. งาน ๑. บนั ทกึ ๑.บนั ทึกการขอความสง ๒. รอง ทะเบียน ขอความสง ประชมุ ผูอํานวยการ นกั เรียน ๒.รายงานการตอ นกั เรยี น ๓. ผูชว ย และวดั ผล นกั เรียนเขา ประชมุขา ช้ันเรียน ๒. ครูประจํา หองเรยี นครูประจาํ ช้ัน ผูอาํ นวยการ ชน้ั ๒. ใบสมัครประสาน กลุมงาน ๓. พเ่ี ล้ียงเด็ก นักเรยี น บริหารวิชาการนักเรยี นมา กาํ กับ ติดตาม พกิ าร ๓. ประวตั ิ ~ ๒๖ ~รับบริการ นกั เรียนภายใน ๗ วัน ๔. เอกสารหลังจาก หลกั ฐานทราบเร่ือง ของเด็ก และ ผปู กครอง ๕. แบบคดั กรอง ๖. แบบ ประเมนิ แรกรบั

ท่ี ผงั การปฏิบตั งิ าน ระยะ รายละเอียด ม เวลา๒ ๑ วัน ๑. ครปู ระจําชัน้ นดั ๑.ม หมายนกั สหวชิ าชพี ข ไดแ ก ครกู ารศึกษา อ พิเศษ ป กรณีการประเมิน นกั กิจกรรมบําบดั ปไมเ่ สร็จสนิ ้ นดั หมายใหม่ นักกายภาพบําบัด ค นกั จติ วิทยา ถ นดั หมาย ผูปกครอง ทางวาจา ๒.มคณะกรรมการประเมนิ เมือ่ ไดก าํ หนดการที่ ปความสามารถพนื้ ฐาน แนน อนแลว ป ๒. บันทึกขอ ความขอ ๓.ม นักเรียน อนุญาตประเมิน ป ความสามารถ ก พืน้ ฐานนกั เรยี น รกรณีการประเมนิ เสร็จสนิ ้ ๓. หากการประเมินไม น เสรจ็ สิ้นใหน ัดหมาย ทําการประเมินอีก ครัง้ หน่ึง (ทําซํ้า ขัน้ ตอนเดิม)

~ ๒๗ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผูร ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิ คณุ ภาพ ประเมินผล แฟม สะสมงานมบี นั ทึก ๑.หวั หนา งาน ๑.ครปู ระจํา ๑.บนั ทกึ นกั เรียนขอ ความขอ ชวยเหลือ ช้นั ขอความอนญุ าต ระยะ ๒.นักสห เชญิ คณะ ~ ๒๗ ~ประชุมเพ่ือ แรกเรมิ่ ฯ วิชาชพี กรรมประเมิน ๒.หัวหนา งาน ๓.ผปู กครอง การนักสหความสามาร ปรับบา น วิชาชีพถพื้นฐาน เปนมีการ หอ งเรยี น ๒.หนงั สือเชิญประเมนิ เชิง เปลีย่ นพอ คณะกรรมประจกั ษ แมเ ปนครู การมีการ ๓.หวั หนางาน เครอื ขายประเมนิ โดย ศูนยการเรียนการมสี วน เฉพาะความรว มของ พกิ ารนักสหวชิ าชีพ ๔.ผูชวย ผอู าํ นวยการ กลุมงาน บรหิ าร วชิ าการ กาํ กบั ติดตาม

ที่ ผงั การปฏิบัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา๓ ๑ วนั ๑. จดั เตรยี มแบบ ๑.ป ประเมินตา งๆเพ่ือใช ป สําหรบั การประเมิน ให ๒. จัดเตรียมสถานท่ี ป สภาพแวดลอม คประเมินความสามารถ ลดสิ่งเรา ทจี่ ะทาํ ให ส พนื้ ฐาน นกั เรยี นเสียสมาธิ จ ๓. จัดเตรียมสื่อสําหรบั ผ ใชในการประเมนิ ๒.ม ตามแบบประเมินให ผ พรอม ร ๔. ครปู ระจําชนั้ รวมกบั ป ทมี นักสหวชิ าชีพ ก ประเมิน ๓.บ ความสามารถ ข พืน้ ฐานดว ยแบบ เพ ประเมินตางๆ

~ ๒๘ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผูรบั ผิดชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคณุ ภาพ ประเมนิ ผล ๑.ครูประจํา แฟมสะสมงานประเมินเชิง ๑.หวั หนางาน ๑.แบบ นักเรียนประจักษโดย ชว ยเหลอื ช้นั สัมภาษณหนกั เรยี น ระยะ ๒.นกั สห แผนการปฏบิ ัตติ าม แรกเร่มิ ฯ ใหบ ริการคําสัง่ และการ ๒.หัวหนา งาน วชิ าชพี ชว ยเหลือสัมภาษณ ปรับบา น ๓.ผูปกครอง เฉพาะ ครอบครวัจาก เปนผูป กครอง หองเรยี น ๒.แบบคดัมกี ารบันทกึ เปลย่ี นพอ กรอง ~ ๒๘ ~ผลทนั ที แมเปนครูระหวา งการ ๓.หัวหนา งาน ๓. สมดุ บนั ทึกประเมนิ หรอื ศนู ยการ พัฒนาการการสมั ภาษณ เรยี นเฉพาะ ของผเู รียนบันทกึ ความพิการขอคิดเหน็ ๔.ผูช ว ย ๔.กราฟแสดงพ่ิมเติม ผูอาํ นวยกา อายุทาง รกลุมงาน พัฒนาการ บรหิ าร ของผเู รยี น วชิ าการ กํากบั ติดตาม

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๒๙ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิคุณภาพ ประเมินผล ๕.สรปุ และ รายงานการ ~ ๒๙ ~ ประเมนิ ผล การพฒั นา ๖.พฒั นาการ ตามวยั ๗.แบบ ประเมิน ความสามาร ถพน้ื ฐาน (รายการที่ ๓–๗ เฉพาะเด็ก อายุ แรก เกดิ – ๖ ป) ๘.เคร่อื งมือ การประเมิน ความ

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๐ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอางองิคุณภาพ ประเมนิ ผล สามารถ พื้นฐานกลุม ~ ๓๐ ~ ทกั ษะการ ดาํ รงชีวิต ประจาํ วัน สําหรบั เดก็ ที่มคี วาม ตองการ จาํ เปน พเิ ศษ ของศูนย การศกึ ษา พิเศษ ประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง ๙.แบบ ประเมิน ทักษะ จําเปนพเิ ศษ

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๑ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผูรบั ผิดชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคุณภาพ ประเมินผล ๑๐.แบบ ประเมนิ ทาง ~ ๓๑ ~ กิจกรรมบาํ บดั ๑๑.การตรวจ ประเมินทาง กายภาพบาํ บัด ๑๒.รายงาน การประเมนิ พัฒนาการ ทาง จิตวิทยา ดว ยแบบ ประเมิน พฒั นาการ Denver II (ฉบับ ภาษาไทย)

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๒ ~มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคุณภาพ ประเมนิ ผล ๑๓.แบบ ประเมนิ ~ ๓๒ ~ กจิ กรรม ดนตรบี าํ บัด ๑๔.แบบ ประเมิน กจิ กรรม ศิลปะบาํ บดั ๑๕.แบบ ประเมนิ กิจกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศ และการ สอ่ื สาร (ICT) ๑๖.แบบ บนั ทึก – การประเมนิ รางวลั

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๓ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งอิงคุณภาพ ประเมินผล ๑๗.แบบ ประเมนิ ~ ๓๓ ~ ความกา วห นา การ ใหบ ริการ ชว ยเหลอื ครอบครัว : ดา นเด็ก ๑๘.แบบ ประเมนิ ความกา วห นาการ ใหบ รกิ าร ชวยเหลอื ครอบครวั : ดาน ครอบครัว และ สง่ิ แวดลอ ม

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา

~ ๓๔ ~มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู ับผดิ ชอบ แบบฟอรม เอกสารอา งองิคุณภาพ ประเมินผล ๑๙.แบบ ประเมิน ~ ๓๔ ~ ความกา วห นา การ ใหบ รกิ าร ชว ยเหลือ ครอบครัว : ดา นชมุ ชน (รายการที่ ๑ และ ๑๗ – ๑๙ เฉพาะกลมุ รับบรกิ าร IFSP)

ท่ี ผังการปฏบิ ัตงิ าน ระยะ รายละเอยี ด ม เวลา๔ ๑ วัน ครปู ระจําชั้นรว มกับ มกี า นักสหวชิ าชพี สรุปขอมูล ของ ความสามารถพื้นฐาน มาสประชมุ สรปุ ขอมลู ตามแบบประเมินของ และความสามารถพน้ื ฐาน แตละวชิ าชีพ เพ่อื แผน การ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook