Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563

Description: การสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์
วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic)
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชั้นปีที่ 1
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร

Search

Read the Text Version

การสรางและหาประสทิ ธิภาพส่ือการจัดการเรยี นรูออนไลน วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ สูง(ปวส.) ชั้นป6ท่ี 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล วิทยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชินีมุกดาหาร ครูประเสริฐศรี สทุ ธพิ นั ธ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธรุ กิจ รายงานผลการศกึ ษาวจิ ัยน้ี เปน? ส@วนหนงึ่ ของการจดั การเรยี นรู สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธรุ กิจ วทิ ยาลยั การอาชีพนวมินทราชินมี กุ ดาหาร สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๒ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ภาคเรยี นท่ี 1 ปก6 ารศกึ ษา ๒๕๖3

การสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วชิ าพ้นื ฐานธรุ กิจดิจิทลั (Business Digital Basic) ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ช้นั ป6ที่ 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมกุ ดาหาร นางประเสรฐิ ศรี สุทธพิ นั ธ รายงานผลการศกึ ษาวจิ ยั น้ี เปน? ส@วนหน่งึ ของการจดั การเรยี นรู สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกจิ วทิ ยาลยั การอาชพี นวมนิ ทราชนิ ีมุกดาหาร สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ๒ สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ภาคเรียนท่ี 1 ป6การศกึ ษา ๒๕๖3

ข ชื่อเรื่อง : การสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ฝ!กทักษะดวยตนเอง วิชาพ้ืนฐาน ธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นป:ที่ 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ทิ ลั วิทยาลัยการอาชพี นวมินทราชินมี ุกดาหาร ชอ่ื ผวู จิ ัย : นางประเสริฐศรี สุทธิพนั ธ หนว# ยงาน : วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินมี กุ ดาหาร ป-ท่ีดาํ เนนิ การ : ภาคเรยี นที่ 1 ป:การศึกษา ๒๕๖3 ประเภทผลงานวิชาการ : ผลงานวิจยั บทคัดยอ# การสรางและหาประสทิ ธิภาพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ช้ันป:ที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยการอาชีพ นวมินทราชินีมุกดาหาร มีวัตถุประสงค ๑)เพื่อสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ ๗๕/๗๕ ๒) เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการเรียนรูดวยส่ือออนไลนที่สรางข้ึน ๓) เพื่อศึกษาความพึง พอใจของผูเรียนรูท่ีมีตMอการจัดการเรียนรู กลMุมตัวอยMางที่ใชในการศึกษาไดมาแบบเจาะจงคือผูเรียนรูระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ช้ันป:ท่ี 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัยการอาชีพ นวมินทราชินมี กุ ดาหาร ทลี่ งทะเบียนเรียนวิชาพ้นื ฐานธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั (Business Digital Basic) ในภาคเรยี นท่ี 1 ป:การศกึ ษา ๒๕๖3 จาํ นวน 35 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย สื่อการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ใบสังเกตและสัมภาษณประเมินผลงานการเรียนรู ใบประเมินพฤติกรรม จริยธรรม คุณธรรม และคMานิยมที่ตองการเนน แบบทดสอบประจําหนMวยการเรียนรู แบบสอบถาม ความพงึ พอใจของผูเรียน การวิเคราะหขอมลู ใชคาM เฉล่ีย ( X ) คาM เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) คMาประสิทธิภาพ ของสื่อการจดั การเรยี นรูออนไลน (E๑/E๒) และคMาที (t-test) แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว#า ๑. คุณภาพของสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ที่ผูศึกษาวจิ ยั สรางข้ึนมีคุณภาพความเหมาะสมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู อยูMในระดับคุณภาพ มากทส่ี ุด มคี Mาเฉล่ีย ( X ) เทาM กับ ๔.82 และมคี Mาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เทMากบั ๐.16 ๒. ประสิทธิภาพของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มคี าM เทMากับ ๘๓.๙๔/๘๒.๗๓ สงู กวาM เกณฑท่กี าํ หนดไว ๗๕/๗๕ ๓. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของคะแนนทดสอบกMอนเรียนกับหลังเรียนของผูเรียนหลังจากท่ี เรียนรดู วยสื่อการจดั การเรียนรูออนไลน สูงกวาM กMอนเรยี น อยMางมีนัยสาํ คัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ ๐.๐๕ ๔. ความพึงพอใจของผูเรียนรูท่ีมีตMอการจัดการเรียนรู อยูMในระดับมากที่สุด ( X = 4.75, S.D. = ๐.๔5)

ค กิตติกรรมประกาศ งานการวิจัยฉบับน้ีสําเร็จอยMางสมบูรณไดดวยความชMวยเหลืออยMางดียิ่งจากทMานผูบริหาร คณะกรรมการวเิ คราะหหลักสตู รของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ท่ีไดกรุณาใหคําแนะนํา ปรึกษา ติดตาม และตรวจสอบการจัดการเรียนรูโดยใชสื่อการเรียนการสอนออนไลน แผนการจัดการ เรียนรูมMุงเนนสมรรถนะรายวิชา และรายงานผลการศึกษาวิจัยในครั้งน้ีอยMางใกลชิดตลอดมานับตั้งแตM เร่ิมตนจนสาํ เรจ็ เรียบรอยสมบูรณ ผูศึกษารูสึกซาบซึ้งในความกรุณาของทMาน ขอกราบขอบพระคุณเปgน อยาM งสงู ยง่ิ ไว ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ กลุMมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สังกัด วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําตลอดจนตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใชใน การวิจยั ครงั้ นี้ คุณคMาและประโยชนอันพึงมีจากการศึกษาวิจัยน้ี ผูวิจัยขอนอมบูชาพระคุณบิดามารดา บูรพาจารยและผูรMวมงานทุกทMานที่ไดใหความเมตตา ความรMวมมือ เปgนกําลังใจแกMผูวิจัยมาโดยตลอด อนั ทําใหการศึกษาวิจัยฉบบั น้สี ําเรจ็ ลุลMวงไดดวยดี นางประเสรฐิ ศรี สทุ ธิพันธ

ง สารบญั หัวเรอ่ื ง หนา หนาอนมุ ัต.ิ ............................................................................................................................. ก บทคดั ยMอ................................................................................................................................ ข กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ค สารบญั ตาราง......................................................................................................................... ฉ สารบญั ภาพ........................................................................................................................... ช บทที่ ๑ บทนํา..................................................................................................................... ๑ ๑ ความเปgนมาและความสาํ คัญของปkญหา................................................................ ๑ วตั ถุประสงคของการศึกษา.................................................................................... ๒ สมมตฐิ านของการศึกษา........................................................................................ ๒ ขอบเขตของการศึกษา........................................................................................... ๒ คําจํากัดความท่ีใชในการศึกษา.............................................................................. ๓ ประโยชนทค่ี าดวMาจะไดรับจากการศึกษาวิจยั ....................................................... ๔ บทที่ ๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วของ............................................................................. ๔ หลักสูตรรายวชิ าพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล ๕ องคประกอบของส่ือการจัดการเรยี นรูออนไลน การประเมนิ ประสทิ ธิภาพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ๑0 งานวจิ ัยทีเ่ ก่ียวของ................................................................................................. ๑๓ บทที่ ๓ วิธดี ําเนินการศกึ ษาวจิ ยั ......................................................................................... ๑๗ ประชากรและกลMุมตัวอยMาง.................................................................................... ๑๗ เครอื่ งมือที่ใชในการศกึ ษาวจิ ยั ............................................................................... ๑๗ ขัน้ ตอนการสราง และหาคณุ ภาพเคร่อื งมือที่ใชในการศึกษาวจิ ัย.......................... ๑๗ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู ....................................................................................... ๒๑ การวิเคราะหขอมลู ................................................................................................ ๒๑ สถติ ทิ ีใ่ ชในการวิเคราะหขอมูล.............................................................................. ๒๒ บทท่ี ๔ ผลการวเิ คราะหขอมูล............................................................................................ ๒๔ วิเคราะหหาคะแนนเฉลย่ี คุณภาพความเหมาะสมสอดคลองของเอกสารที่สรางขนึ้ ๒๔ วเิ คราะหหาประสิทธิภาพของเอกสารทสี่ รางขึน้ ....................................................... ๒๕ เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของคะแนนทดสอบกอM นเรียนกบั หลังเรยี น... ๒๖ การวเิ คราะหหาคะแนนเฉลี่ยความพงึ พอใจของผูเรียนรู ที่มตี Mอการจดั การเรยี นรู. ๒๖ บทท่ี ๕ สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ....................................................................... ๒๘ สรุปผลการศึกษาวจิ ัย............................................................................................. ๒๘ อภิปรายผลการศึกษาวิจยั ..................................................................................... ๒๘ ขอเสนอแนะทวั่ ไปที่ไดจากการศึกษาวิจยั ............................................................. ๓๐ ขอเสนอแนะเพ่ือการศึกษาวจิ ัยครัง้ ตMอไป.............................................................. ๓0

จ สารบญั (ต#อ) หัวเรื่อง หนา บรรณานกุ รม............................................................................................................................ ๓1 ภาคผนวก ................................................................................................................................ ๓4

ฉ สารบญั ตาราง ตารางท่ี ๔.๑ แสดงผลการวิเคราะหหาคะแนนเฉล่ียความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ท่ีมีตMอ หนา คุณภาพ ความเหมาะสมสอดคลองของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลนดวย ตารางท่ี ๔.๒ ตนเอง ๒๕ ตารางที่ ๔.๓ แสดงการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของสื่อการจัดการเรียนรูออนไลนดวย ตารางที่ ๔.๔ ตนเอง ๒๕ แสดงผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของคะแนนทดสอบกMอนเรยี น กับหลังเรียน.... แสดงคMาสถิติความพึงพอใจของผูเรียนรู ท่ีมีตMอการจัดการเรียนรูในแตMละ ๒๖ ประเดน็ คําถาม................................................................................................ ๒๖

ช สารบญั ภาพ ภาพที่ ๓.๑ แสดงขนั้ ตอนการสรางและหาคุณภาพเครอื่ งมือท่ใี ชในการวิจัย........................ หนา ภาพท่ี ๓.๒ แสดงข้ันตอนการสรางสื่อการจัดการเรียนรูออนไลนฝ!กทักษะดวยตนเอง ๑๘ ภาพที่ ๓.๓ แสดงขน้ั ตอนการเกบ็ รวบรวมขอมูล.................................................................. ๑๘ ๒๑

บทท่ี ๑ บทนํา ๑. ความเปนมาและความสาํ คญั ของปญหา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 เปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนให& สอดคล&องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห-งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ และความเจริญก&าวหน&าทางเทคโนโลยี เพื่อผลิตกําลังคนระดับฝ:มือที่มีสมรรถนะวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถนําไปใช&ในการประกอบอาชีพได&ตรงตามความต&องการของ ตลาดแรงงานในลกั ษณะผู&ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพอิสระได&สอดคล&องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห-งชาติ และแผนการศึกษาแห-งชาติ เปนหลักสูตรที่เป@ดโอกาสให&เลือกเรียนได&อย-างกว&างขวาง เน&นสมรรถนะเฉพาะด&านด&วยการปฏิบัติจริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของ ผเ&ู รียน โดยกําหนดจุดหมายของหลักสูตรในข&อที่ ๑ เพื่อให&มีความรู& ทักษะและประสบการณCในงานอาชีพ สอดคล&องกับมาตรฐานวิชาชีพสามารถนําความรู& ทักษะและประสบการณCในงานอาชีพไปปฏิบัติงาน อาชีพได&อย-างมีประสิทธิภาพเลือกวิถีการดํารงชีวิติ การประกอบอาชีพได&อย-างเหมาะสมกับตน สร&างสรรคCความเจริญต-อชุมชน ท&องถิ่นและประเทศชาติ (สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ๒๕๕๖) ซึ่งจุดประสงคCหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ได&กําหนดจุดประสงคCสาขาวิชา ข&อที่ 3. เพ่ือให&มีความ เข&าใจในหลักการและกระบวนการการทํางานในกลุ-มงานพ้ืนฐานด&านเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล โดยกําหนด มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ คุณภาพของผ&ูสําเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตร วชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ด&านสมรรถนะวิชาชีพ ข&อที่ 3.16 หลักการพ้ืนฐานด&านธุรกิจดิจิทัล และเทคโนโลยีเกี่ยวข&องกับธุรกิจดิจิทัล (สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, ๒๕63) สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนCเปนส่ือการเรียนร&ูประเภทหนึ่งท่ีช-วยให&ผู&เรียนได&มีโอกาส เรยี นร&ดู &วยตนเอง โดยครูใช&ประกอบการสอน (วิชัย, ๒๕๕๗) ในส-วนของการจัดการเรียนรู&ท่ีสาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ยังขาดแคลนสื่อการจัดการเรียนรู& ออนไลนC ท่ีจะช-วยให&ผ&ูเรียนได&เรียนร&ูฝLกทักษะปฏิบัติด&วยตนเองโดยใช&กระบวนการวิจัยมาช-วยให&เกิด การสร&างหรือเกิดการพัฒนา เพื่อให&มีส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนCท่ีได&มาตรฐานผ-าน กระบวนการวิจยั ทดลอง จากความสําคัญและความเปนมาดังกล-าวข&างต&น ผ&ูวิจัยในฐานะผ&ูจัดการเรียนรู&จึงคิดสร&าง และหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนC วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ในรายวิชารหัสวิชา 30204-2001 เพ่ือใช&พัฒนาการเรียนร&ูของผู&เรียนให&บรรลุจุดประสงคC รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคําอธบิ ายรายวิชาที่หลกั สูตรรายวิชากําหนดไว&

๒ ๒. วัตถุประสงคข! องการวิจยั ๒.๑ เพอ่ื สรา& งสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนC วชิ าพื้นฐานธุรกิจดจิ ทิ ัล (Business Digital Basic) ใหม& ีคณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพตามเกณฑC ๗๕/๗๕ ๒.๒ เพ่อื ศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นจากการเรียนรด&ู &วยเอกสารทส่ี ร&างขน้ึ ๒.๓ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู&เรยี นรู&ที่มตี -อการจัดการเรยี นรู& ๓. สมมติฐานของการวิจัย ๓.๑ สอ่ื การจดั การเรียนการสอนออนไลนC วชิ าพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มีคณุ ภาพ และประสิทธภิ าพตามเกณฑC ๗๕/๗๕ ๓.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนรู&ด&วยสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนCฝLก ทกั ษะดว& ยตนเองทส่ี ร&างขึน้ สงู กวา- ก-อนเรียน ๓.๓ ผ&เู รยี นมีความพึงพอใจต-อการจดั การเรยี นร&ูในระดบั มาก ๔. ขอบเขตของการวิจัย ๔.๑ สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน!ฝ-กทักษะด/วยตนเอง ที่สร&างขึ้นเปนส่ือการ จัดการเรียนการสอนออนไลนCสําหรับผ&ูเรียนและครู รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชาพื้นฐานธุรกิจ ดิจิทัล หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ๔.๒ ประชากร คือ ผเ&ู รียนร&รู ะดบั หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) สาขาวิชา เทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั ๔.๓ กล1ุมตัวอย1าง ที่ใช&ในการศึกษาวิจัยเปนการส-ุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คอื ผู&เรียนระดบั หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) ช้นั ปท: ี่ 1 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ที่ลงทะเบียนเรียน รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชา พ้นื ฐานธุรกิจดจิ ทิ ลั ในภาคเรยี นท่ี 1 ปก: ารศึกษา 2563 จํานวน 35 คน ๔.๔ ตัวแปรท่ศี ึกษาในการวิจัยนี้ ๔.๔.๑ ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได&แก- ส่ือการจัดการเรียนการสอน ออนไลนC วิชาพน้ื ฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ๔.๔.๒ ตวั แปรตาม (dependent Variables) ไดแ& ก- ๑) ประสิทธิภาพของส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนC วิชาพื้นฐานธุรกิจ ดิจทิ ลั (Business Digital Basic) ๒) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการใช&สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนC วชิ าพ้ืนฐานธุรกิจดจิ ิทัล (Business Digital Basic) ๓) ความพึงพอใจของผ&ูเรียนรท&ู ี่มีการจดั การเรียนร&ู ๔.๕ ระยะเวลาศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 ป:การศกึ ษา ๒๕๖3

๓ ๕. คําจํากดั ความทีใ่ ชใ/ นการวจิ ยั ๕.๑ สื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน! หมายถึง ส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนC ผ&ูศึกษาวิจัยสร&างขึ้นเพื่อให&ผ&ูเรียนรู&และครูได&ศึกษาเรียนร&ู รหัสวิชา 30204-2001 ชื่อวิชาพ้ืนฐาน ธุรกิจดจิ ิทัล หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ซึ่งประกอบด&วย แผนการจัดการเรียนรู& ใบสังเกตและสัมภาษณCประเมินผลงานการ เรียนรู& ใบประเมินพฤติกรรม จริยธรรม คุณธรรม และค-านิยมที่ต&องการเน&น ใบความร&ู แบบฝLกทักษะ ประจําหน-วยการเรียนร&ู แบบทดสอบประจําหน-วยการเรียนร&ู เฉลยแบบฝLกทักษะประจําหน-วยการ เรียนร&ู และเฉลยแบบทดสอบประจําหนว- ยการเรยี นรู& ๕.๒ ประสิทธิภาพ ของส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนC วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) หมายถึง คุณภาพของบทเรียนที่สร&างขึ้นท่ีได&ประเมิน ตามเกณฑCท่ีกําหนด ๗๕/ ๗๕ ๕.๓ เกณฑ!กําหนดร/อยละ ๗๕/๗๕ ๕.๓.๑ ค-า ๗๕ ตัวแรก (E๑ ) หมายถึง ค-าเฉล่ียเปนร&อยละ ๗๕ ของคะแนนระหว-าง เรียนที่ผู&เรียนรู&ทําได&จากการประเมินผลงานการเรียนร&ู ประเมินพฤติกรรมบ-งชี้ และทําแบบฝLกทักษะ จากการเรียนรู&ด&วยเอกสารที่สร&างขึ้น ๕.๓.๒ คา- ๗๕ ตัวหลัง (E๒ ) หมายถึง คา- เฉล่ียเปนร&อยละ ๗๕ ของคะแนนที่ผู&เรียนรู& ทําได&จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจํานวน ๑๐ คะแนน หลังจากเรียนร&ูด&วยเอกสารที่ สร&างขึ้น ๕.๔ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง ค-าร&อยละของคะแนนที่ผู&เรียนร&ูทําได&จากแบบทดสอบ เปนแบบอัตนัยหลังจากการเรียนรู&ด&วยเอกสารที่สร&างขึ้น มีค-าหลังเรียนสูงกว-าก-อนเรียน อย-างมี นยั สําคัญ ๐.๐๕ ๕.๕ ความพงึ พอใจของผู/เรียนรู/ ที่มีต1อการจัดการเรียนร/ู หมายถึง ค-าเฉลี่ยของความคิดเห็น จากผ&ูเรียนร&ูที่มีต-อกระบวนการจัดการเรียนร&ู โดยใช&แบบประเมินความพึงพอใจเปนแบบมาตราส-วน ประมาณค-า ๕ ระดับ จากประเด็นคําถาม ๑๐ ข&อ มีระดับการประเมิน คือ น&อยมาก น&อย ปลานกลาง มาก และมากท่ีสดุ ๖. ประโยชนท! ่ีคาดวา1 จะไดร/ ับจากการศึกษาวจิ ัย เมื่องานวจิ ัยนดี้ ําเนินการเสร็จสิ้นแล&ว จะนําไปสู-แนวทางในการสร&าง พัฒนา ปรับปรุงส่ือการ จัดการเรียนการสอนออนไลนC รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล ซึ่งเปนหมวด สมรรถนะวชิ าชพี สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) พุทธศักราช 2563 ท่ีจะใช&ในการจัดการเรียนร&ูให&แก-ผ&ูเรียนร&ูของสาขาวิชา เทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ัล วทิ ยาลยั การอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร การสร&างสื่อการจัดการเรียนการสอน ออนไลนC วชิ าพ้นื ฐานธรุ กิจดิจทิ ลั (Business Digital Basic) มีผลต-อการพัฒนาการจัดการเรียนร&ู และ ช-วยส-งเสริมให&การจัดการเรียนรู&มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน อันเปนส-วนหน่ึงในการพัฒนาการเรียนรู&ของ ผูเ& รยี นให&บรรลุจุดประสงคCรายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และคาํ อธิบายรายวชิ าที่หลกั สตู รรายวิชากาํ หนดไว&

บทท่ี ๒ เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วของ ในการศึกษาวจิ ัยครงั้ นี้ มีวัตถปุ ระสงคเพื่อการสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนการ สอนออนไลน วิชาพน้ื ฐานธุรกจิ ดิจิทัล (Business Digital Basic) สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยผูวจิ ยั ไดคนควาเอกสารและงานวิจัยอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วของ เพ่อื ประกอบการศกึ ษา ดังนี้ ๑. หลักสูตรรายวชิ า รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวชิ าพืน้ ฐานธุรกิจดจิ ิทัล (Business Digital Basic) สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ลั ๒. องคประกอบของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน ๓. การประเมนิ ประสิทธิภาพสอ่ื การจัดการเรียนการสอนออนไลน ๔. งานวิจยั ที่เกย่ี วของ ๑. หลักสูตรรายวิชารหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) 2-2-3 สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั จุดประสงค=รายวชิ า เพื่อให 1. เขาใจเกย่ี วกบั ความรูพน้ื ฐานทางธุรกจิ ดิจทิ ลั โครงสรางพืน้ ฐานธุรกิจดจิ ทิ ลั นวตั กรรม สาํ หรบั ธุรกจิ ดจิ ิทัล ธรุ กรรมในธุรกิจดิจทิ ลั สือ่ สงั คมออนไลน ความปลอดภัยในการทาํ ธุรกรรมดจิ ิทัล 2. มที กั ษะในการวิเคราะหกรณีศึกษาทางธุรกจิ ดิจทิ ัล 3. มเี จตคติและกิจนสิ ัยทด่ี ใี นการปฏิบัตงิ านดวยความรับผิดชอบ ซื่อสตั ย ละเอียดรอบคอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเกี่ยวกับธรุ กิจดิจิทลั และเทคโนโลยีท่เี กย่ี วของกบั ธุรกิจดิจิทลั 2. วเิ คราะหกรณศี ึกษาธรุ กิจดจิ ิทลั 3. ประยุกตใชหลักการเพิ่มประสิทธิภาพและการบริหารงานคุณภาพเพอ่ื พฒั นาองคการ คาํ อธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบตั ิเก่ยี วกับธรุ กิจดิจิทลั และโครงสรางพน้ื ฐานธรุ กิจดจิ ิทัล นวตั กรรมสาํ หรับธรุ กิจ ดิจิทลั ระบบการทาํ ธรุ กรรมในธุรกิจดจิ ิทัล สอ่ื สังคมออนไลนกับธุรกจิ ดจิ ทิ ลั ธุรกจิ ดจิ ิทลั โมบายความ ม่ันคงปลอดภัยในการทําธรุ กรรมดิจิทัล กฎหมายและจริยธรรมและการทําธุรกรรมดจิ ิทัล กรณศี ึกษา ธุรกิจดิจทิ ลั การพัฒนาหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (รวC มกบั สถานประกอบการ) หนRวยท่ี 1 งานศึกษาความรูพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ธุรกจิ ดจิ ทิ ลั หนRวยที่ 2 งานศึกษาโครงสรางพ้ืนฐานเกี่ยวกับธรุ กจิ ดจิ ิทัล หนRวยที่ 3 งานศึกษานวตั กรรมสาํ หรับธรุ กจิ ดิจทิ ัล หนวR ยท่ี 4 ปฏบิ ตั ิการออกแบบและพฒั นาผลิตภัณฑดิจิทลั หนวR ยท่ี 5 งานปฏิบตั กิ ารทาํ ธุรกิจดจิ ิทัลคอมเมริ ซ หนRวยท่ี 6 งานศึกษาสื่อสังคมออนไลนกับธรุ กิจดจิ ิทัล หนRวยท่ี 7 งานปฏิบัตกิ ารสรางธุรกจิ ดจิ ิทัลกบั โซเซียลมีเดีย Line หนRวยที่ 8 งานปฏบิ ตั กิ ารสรางส่ือสังคมออนไลนกับธรุ กิจดิจิทัล Facebook

๕ หนวR ยท่ี 9 งานปฏบิ ตั กิ ารสรางสือ่ สงั คมออนไลนกบั ธุรกจิ ดิจทิ ัล Instagram หนRวยท่ี 10 งานปฏิบตั กิ ารสรางสอ่ื สังคมออนไลนกับธุรกจิ ดจิ ิทัล twitter หนRวยที่ 11 งานปฏบิ ัติการสรางสื่อสังคมออนไลนกับธุรกิจดจิ ิทลั YouTube หนวR ยที่ 12 งานศึกษาธรุ กจิ ดจิ ทิ ัลโมบาย หนRวยที่ 13 งานปฏbบัติการธุรกิจดจิ ทิ ลั โมบาย หนวR ยท่ี 14 ความม่นั คงปลอดภยั ในการทําธรุ กรรมดิจิทัล หนRวยที่ 15 กฏหมายและจรยิ ธรรมในการทําธรุ กรรมดิจทิ ัล หนวR ยที่ 16 กรณีศกึ ษา ๒. องคป= ระกอบของสอื่ การจัดการเรียนรูออนไลน= จากการศึกษาเอกสารตRาง ๆ ไดมผี ูใหความหมาย ความสําคัญ สRวนประกอบ และขั้นตอนการ สรางสอื่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน หรือส่ือการจดั การเรยี นรูออนไลน ดงั นี้ ๒.๑ ความหมายของสื่อการจัดการเรยี นรอู อนไลน= เฉลิมศักดิ์ นามเชียงใต (๒๕๔๔ : ๒๔) ใหความหมายของเอกสารประกอบการเรียน หรือ สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน คือ เอกสารท่ีครูจัดทําขึ้นเพ่ือใหผูเรียนนําไปประกอบการเรียนการ สอนตามหลักสูตรโดยการนาํ เนอ้ื หาสาระของรายวชิ ามาเรียงลําดับอยRางตRอเนื่องพรอมกับเพ่ิมเติมส่ิงใหมR ๆ เขาไป เพ่อื ใหเหมาะสมกับการที่ครูหรือผฝู กi อบรมจะนาํ ไปใช ประคองศรี สายทอง (๒๔๔๕ : ๒๒) ไดใหความหมายของเอกสารประกอบการเรียน หมายถงึ สื่อการเรยี นที่จัดขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนของผูเรียนในวิชาหนึง่ วชิ าใด สุชาติ ศิริสุขไพบูลย (๒๕๕๐ : ๖) ไดใหความหมายของเอกสารประกอบการเรียนไว หมายถึง เอกสารท่ีผูสอนจัดทําข้ึนเพื่อใชประกอบการเรียนรูของผูเรียน เปlนลักษณะเอกสารท่ีจัดทํา เปlนรูปเลRม มีเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมครบถวนตามจุดประสงคการเรียนรู มีคําอธิบายถึงรายละเอียด ของเน้ือหาที่ถูกตองตามหลักวิชาการ และมีรูปภาพประกอบตามคําบรรยายอยRางเหมาะสม เน้ือหามี การแยกยRอยและเรียงตามลําดับขั้นตอนอยRางตRอเน่ืองกัน สาระถูกตอง รูปแบบการพิมพท่ีดี ความ ชดั เจนและเปlนสาระทเ่ี ขียนขึน้ ดวยความรูของผูสอนเอง ไมRไดลอกของผูอืน่ มา สุวิทย มูลคํา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (๒๕๕๐ : ๔๑) บอกความหมายของสื่อ การจัดการเรียนการสอนออนไลน คือ เอกสารท่ีจัดทําข้ึนเพื่อใชประกอบการสอนของครู หรือ ประกอบการเรียนของนกั เรียนในวชิ าใดวิชาหนง่ึ ควรมหี วั เรือ่ ง เนือ้ หาสาระ และกิจกรรมเพ่ือสRงเสริมให ผูเรียนไดเกดิ การเรยี นรตู ามหลักสตู ร จากความหมายของส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนท่ีกลRาวมา สรุปไดวRาสื่อการ จัดการเรยี นการสอนออนไลน หรอื ส่อื การจดั การเรียนรูออนไลน หมายถึง เอกสารท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือใหครู และผูเรียนนําไปใชประกอบการเรียนรูตามหลักสูตร โดยจัดทําเปlนรูปเลRมและมีเนื้อหาสาระสมบูรณ ไดแกR หนังสือเรียน ชุดการเรียน บทเรียนสําเร็จรูป เอกสาร คําบรรยายแบบฝiกหัด แบบฝiกทักษะ ชดุ สอนซRอมเสริม โดยส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน มีหัวขอและเน้ือหาครอบคลุมและครบถวน ตามรายละเอียดของวิชาท่ีกําหนดไวในหลักสูตร มีเน้ือหาครอบคลุมจุดประสงคการเรียนรู เพ่ือให ผูเรยี นรูมผี ลการเรียนอยRางมีประสทิ ธภิ าพตามที่กาํ หนดไว

๖ ๒.๒ ความสาํ คญั ของส่ือการจดั การเรยี นรอู อนไลน= ๑) เปนl ผลงานทางวชิ าการท่ีเปnดโอกาสใหผสู อนไดมีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการพัฒนา สง่ิ ตาR ง ๆ ท่จี ะชRวยในการเรียนการสอน ๒) เปlนแนวทางใหผูสอนจัดกิจกรรมและประสบการณสาํ หรับผูเรียน เพื่อใหบรรลุ จดุ ประสงคทว่ี างไว ๓) ชRวยแกปoญหาการขาดแคลนตาํ ราของผูเรียน ๔) ชRวยใหผูเรียนมีเอกสารสําหรับศึกษาทําความเขาใจบทเรียนและฝiกปฏิบัติกิจกรรม การเรยี น ๕) ชRวยสรางแรงจูงใจใหผูเรียนมีความสนใจใครRรูและศึกษาคนควาเพ่ิมเติม ๖) ชRวยใหผูเรียนบรรลุจุดประสงคการเรียนและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นทั้งภาค ทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ สุชาติ ศริ สิ ขุ ไพบูลย (๒๕๕๐ : ๖) ไดกลRาวถึงประโยชนของเอกสารประกอบการเรียนไว ดังนี้ ๑) ใหนกั ศกึ ษานําไปใชในการศกึ ษาทบทวนทัง้ ในระหวRางเรียนและหลงั เรียน ๒) ใชเพื่อแสดงถึงความสามารถหรือความเช่ียวชาญทางวิชาการของผูสอน (จึงตอง เปนl ผลงานของตนเอง ไมRไดลอกใครมา) จากการศึกษาความสาํ คัญหรอื ประโยชนของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน จึงพอที่จะ สรุปไดดังน้ี ๑. ส่อื การจดั การเรยี นรอู อนไลน เปนl คูRมอื ทีใ่ ชในการเรียนรูสําหรับผูเรียนและครูทําให การจัดการเรียนรูดําเนินไปอยRางตRอเนื่อง เนื้อหาครบถวนตามหลักสูตร สอดคลองกับเวลาท่ีกําหนดใน แตลR ะภาคการเรียน ๒. ส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ชRวยใหผูเรียนไดทําการศึกษาในระหวRางเรียนและหลัง เลิกเรยี นเพ่อื ใหผูเรยี นบรรลุวตั ถปุ ระสงคของการเรยี นรูตามท่คี าดหวงั ๓. สRงเสริมใหครูสนใจ ใฝqศึกษา คนควาหาความรูในเนื้อหาที่สอน เปlนผลงานทาง วิชาการของครู ๔. ผูเรียนมีเอกสารสําหรับศึกษาทําความเขาใจและฝiกทักษะปฏิบัติงาน ทําใหผูเรียน บรรลุจุดประสงคของการเรียนรู มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนและผูเรียนสามารถศึกษาเพ่ิมเติมได ดวยตนเอง ๒.๓ สวC นประกอบของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน= สื่อการจัดการเรียนรูออนไลนไมRมีรูปแบบที่จําเพาะเจาะจง ทั้งนี้ข้ึนอยูRกับดุลพินิจของ ผูผลติ ที่จะคํานึงถึงลักษณะการนาํ ไปใช และกลุมR ผเู รยี นเปlนสาํ คัญ โดย สุวิทย มลู คํา และสนุ นั ทา สุนทรประเสรฐิ (๒๕๕๐ : ๔๒) ไดกลRาวถึงสRวนประกอบ ของสอื่ การจัดการเรียนการสอนออนไลนไววRา มีสRวนประกอบดงั ตRอไปนี้ ๑. สRวนนํา ควรมีสวR นประกอบ ดังน้ี ๑.๑ ปกนอก ๑.๒ ปกใน

๗ ๑.๓ คาํ นาํ ๑.๔ สารบญั ๑.๕ คําช้ีแจง หรือแนะนาํ ในการใช ๑.๖ จุดประสงคหลัก ๒. สRวนเนื้อหา อาจแบRงเปlนเร่ืองยRอย หรือเปlนตอนตามลักษณะของเนื้อหา ควรมี สวR นประกอบ ดังน้ี ๒.๑ ชอ่ื บทเรยี น หรือชือ่ หนวR ยกิต หรือชอื่ เร่ือง ๒.๒ หัวเรือ่ งยอR ย ๒.๓ จดุ ประสงคการเรียนรู ๒.๔ กจิ กรรมหลกั ๒.๕ เน้อื หาโดยละเอยี ด ๒.๖ กิจกรรมฝiกปฏิบัติ หรอื แบบฝiก หรือใบงาน ๒.๗ บทสรปุ (ถามี) ควรมีขอทดสอบกRอนเรียนและหลังเรียน ใชวัดและประเมินผลการเรียน เพื่อ ทราบผลการพฒั นาของผูเรียน ๓. สRวนอางอิง อาจอยRูทายสRวนเน้ือหาในแตRละตอน หรืออยูRทายเลRมเอกสาร ควรมี สวR นประกอบ ดงั นี้ ๓.๑ เอกสารอางอิงประจําบท หรอื บรรณานุกรม ๓.๒ ภาคผนวก (ถาม)ี เชRน เฉลยแบบฝiกปฏิบตั ิ ประภาพรรณ เสง็ วงศ (๒๕๕๐ : ๔๕) กลRาวถึง สRวนประกอบของเอกสารประกอบการเรยี น การสอน มีดงั น้ี คือ ๑. สRวนนาํ ควรมสี วR นประกอบ ดังน้ี ๑.๑ ปกนอก ๑.๒ ปกใน ๑.๓ คํานํา ๑.๔ สารบญั ๑.๕ จุดประสงคเอกสารประกอบการเรยี นการสอน ๑.๖ คาํ แนะนาํ การใชเอกสารประกอบ การเรียนการสอน ประกอบ ดงั น้ี ๒. สRวนเนื้อหา อาจแบRงเปlนเร่ืองยRอย หรือเปlนตอน ตามลักษณะของเน้ือหา ควร ๒.๑ ช่ือบท หรือชอื่ หนRวย หรอื ชอ่ื เรือ่ ง ๒.๒ หวั ขอเร่ืองยRอย ๒.๓ แบบทดสอบกอR นเรยี น ๒.๔ กจิ กรรมหลัก ๒.๕ เนือ้ หาโดยละเอียด ๒.๖ แบบฝiก หรือใบงาน ๒.๗ บทสรปุ (ถามี)

๘ ๒.๘ แบบทดสอบหลังเรยี น ๓. บรรณานุกรมหรือสRวนอางอิง อาจอยูRสRวนทายเน้ือหาในแตRละตอน หรืออยRูทายเลRม ของเอกสารประกอบการเรยี นการสอน ๔. ภาคผนวก (ถาม)ี ๔.๑ กระดาษคําตอบแบบทดสอบกRอนเรียนและหลงั เรียน ๔.๒ กระดาษคําตอบกจิ กรรม ๔.๓ เฉลยแบบทดสอบกRอนเรยี น ๔.๔ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๔.๕ เฉลยกจิ กรรม ๔.๖ แบบสรุปผลการเรียน ประคองศรี สายทอง (๒๕๔๕ : ๒๕) กลาR วถึง สวR นประกอบของเอกสารประกอบการเรียน การสอน ไวดงั น้ี ๑. สวR นนําเร่ือง ประกอบดวย ๑.๑ ปกนอก ๑.๒ ปกใน ๑.๓ คาํ นาํ ๑.๔ สารบญั ๒. สRวนเนื้อเร่อื ง ๒.๑ จุดประสงค ๒.๒ เนื้อหา ๒.๓ กิจกรรมการเรียน ๒.๔ แบบฝiกหดั ๓. สวR นทายเรอ่ื ง ๓.๑ บรรณานกุ รม ๓.๒ ภาคผนวก จากการศึกษาสRวนประกอบของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน พอท่ีจะสรุปไดวRา สRวนประกอบของสื่อการจัดการเรียนรูออนไลนฝiกทักษะดวยตนเอง ที่ผูศึกษาจะสรางควรมี สRวนประกอบดงั น้ี ๑. สRวนนาํ ประกอบไปดวย ปกนอก ปกใน คํานํา สารบัญ และคําแนะนําในการใช ๒. สวR นแผนการจัดการเรยี นรู ประกอบไปดวย ๒.๑ ชอ่ื หนRวยการเรยี นรู ๒.๒ หัวของาน/หัวขอเร่ือง ๒.๓ สมรรถนะประจาํ หนRวย ๒.๔ สาระสาํ คญั ๒.๕ จดุ ประสงคการเรยี นรเู ชิงพฤติกรรม ๒.๖ พฤตกิ รรมบงR ชี้ที่ตองการเนน ๒.๗ เนื้อหาสาระการเรยี นรู ๒.๘ กลยุทธในการจัดการเรียนรู

๙ ๒.๙ วสั ดุ-อุปกรณ/เครื่องมือ/เคร่ืองจักร ๒.๑๐ กิจกรรมการเรียนรู ๒.๑๑ งานทีม่ อบหมาย/กิจกรรม ๒.๑๒ ขอควรระวงั ๒.๑๓ หลกั ฐานการเรียนรู ๒.๑๔ สอื่ การเรียนรู ๒.๑๕ วัดผล/ประเมินผล ๓. สRวนแบบวัดผลประเมินผลงานการเรียนรู และแบบประเมนิ พฤติกรรมบงR ชี้ ๔. สRวนใบความรู เนื้อหาสาระประจาํ หนRวย ใบงาน ใบฝกi ทักษะ ๕. สวR นแบบฝiกทกั ษะ ๖. สวR นแบบทดสอบประจําหนRวย ๗. สวR นเฉลยแบบฝกi ทักษะ และเฉลยแบบทดสอบประจําหนวR ย ๒.๔ ขัน้ ตอนการจดั ทําสอื่ การจดั การเรยี นรอู อนไลน= สุวิทย มลู คาํ และสนุ ันทา สนุ ทรประเสริฐ (๒๕๕๐ : ๔๔) ไดกลRาวถึงข้ันตอนการผลิต เอกสารประกอบการเรียนการสอนไววRา จะเหมือนกับขั้นตอนการผลิตสื่อและนวัตกรรมการเรียน การสอนท่ัว ๆ ไป ซ่งึ มีขน้ั ตอนดงั นี้ ๑. วเิ คราะหปoญหาและสาเหตุจากการเรียนการสอน ซง่ึ อาจไดมาจาก ๑.๑ การสงั เกตปญo หาท่ีเกิดข้ึนขณะทาํ การสอน ๑.๒ การบนั ทกึ ปoญหาและขอมูลระหวาR งสอน ๑.๓ การศึกษาและวเิ คราะหผลการเรียนของผเู รียน ๒. ศึกษารายละเอียดในหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือวิเคราะหเน้ือหาสาระและผลการเรียนรู ทค่ี าดหวัง หรอื จุดประสงคและกจิ กรรมทเี่ ปนl ปญo หา ๓. เลือกเนื้อหาทเ่ี หมาะสมแบRงเปนl บทเปนl ตอน หรือเปlนเรือ่ ง เพื่อแกปญo หาทพ่ี บ ๔. ศึกษารูปแบบของการเขียนเอกสารประกอบการเรียนการสอน และกําหนดสRวนประกอบ ภายในของสื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน ๕. ศึกษาคนควาและรวบรวมขอมูล เพื่อนํามากําหนดเปlนจุดประสงค เนื้อหา วิธีการ และสื่อประกอบเอกสารในแตRละบทหรือแตลR ะตอน ๖. เขียนเน้ือหาในแตRละตอน รวมทั้งภาพประกอบแผนภูมิ และขอทดสอบให สอดคลองกบั จดุ ประสงคท่กี ําหนดไว ๗. สRงใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ ๘. นําไปทดลองใชในหองเรยี น และเกบ็ บันทึกผลการใช ๙. นําผลท่ีไดมาใชพิจารณาเพ่ือปรับปรุงแกไขสRวนท่ีบกพรRอง (อาจทดลองใชมากกวRา ๑ คร้ังเพือ่ ปรบั ปรงุ สอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลนนนั้ ใหสมบูรณ และมคี ณุ ภาพมากทส่ี ดุ ) ๑๐. นําไปใชจรงิ เพ่อื แกปoญหาทพ่ี บจากขอ ๑

๑๐ สุราษฎร พรหมจันทร (๒๕๕๒ : ๘๐-๘๒) ไดกลRาวถึง การสรางแบบฝiกหรือ แบบฝกi หดั เปนl สิ่งสําคัญทช่ี Rวยใหผูเรยี นเกดิ การไดอยRางตอR เนือ่ งจากศึกษา เนอ้ื หา เพราะการฝiกฝนหรือ การฝiกหัดน้ันจะทําใหผูเรียนมีสRวนรRวมในกิจกรรมได เกิดการเรียนรูดวย ตนเองและรูผลความกาวหนา ของตนเอง ดงั น้นั การสรางแบบฝกi หรือแบบฝiกหัดจึงควรคาํ นึงถงึ หลกั เกณฑ ดงั นี้ ๑. ผเู รยี นจะเกิดการเรียนรูใหมR จากการสRงเสริมใหเกิดการฝiกฝนอยRางสม่ําเสมอ โดย การทาํ แบบฝกi หดั บRอย ๒. การรักษาความรู และทักษะเดิมของผูเรียน ตองมีโอกาสฝiกฝนและทบทวนความรู เดิม จงึ คงรูปอยไRู ด ๓. การฝiกปฏบิ ัตจิ ะชRวยทรงความรูเดิม และเพิ่มพนู ทกั ษะไดเปนl อยRางดี ๔. การฝiกหลงั จากการเรยี นรูขนั้ แรกเปlนระยะ ๆ จะไดผลดกี วาR ๕. การฝiกฝนท่ีจะไดผลแบบฝiกหัดนั้นตองสอดคลองและครอบคลุมเนื้อหาในบทเรียนน้ัน ๖. การรผู ลการเรยี นจะทาํ ใหผูเรียนเกิดความภูมใิ จ ใครRรู ใครRศกึ ษาตRอไป ๗. การสรางแบบฝiกหรอื แบบฝiกหดั ควรมีรปู แบบท่ีนRาสนใจไมRซ้ําซาก เพราะจะทําให ผูเรียนเกิดความเบ่ือหนRาย จึงควรใชรูปแบบสลับสับเปลี่ยนกันไปบาง เชRน แบบถูกผิด แบบจับคูR แบบ เติมคํา แบบเลือกตอบ และแบบเรยี งลาํ ดบั ขอความ เปนl ตน จากการศึกษาขั้นตอนการสรางสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน พอท่ีจะสรุปไดวRามี ข้ันตอนในการดาํ เนินการสรางดงั น้ี ๑. ศึกษาสาเหตขุ องการเกิดปญo หาในการเรยี นการเรียนรู ซึ่งอาจไดมาจากการสังเกต ปoญหาทเี่ กิดขนึ้ ในขณะดาํ เนินการเรยี นการสอน การบันทึกปญo หา การศึกษาวิเคราะหผลการเรียนของ นกั เรียนดูจากผลสัมฤทธิแ์ ละอ่นื ๆ ๒. ศึกษารายละเอียดในหลกั สูตร วเิ คราะหจดุ ประสงค เนื้อหา กิจกรรม การวัดผล ๓. ทาํ โครงสรางกระบวนการแกปoญหาในเนื้อหาวิชานั้น ๆ เปlนบท ๆ หรอื เปlนตอน ๆ ๔. ศึกษารูปแบบของการเขียนสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน และกําหนด สวR นประกอบภายในของส่ือการจัดการเรยี นรอู อนไลน ๕. รวบรวมขอมูลเพื่อนํามาเขียนเปlนทฤษฎี หลักการ เน้ือหา วิธีการ ภาพ หรือ แผนภมู ิประกอบ ๖. ลงมือเขยี นแตRละเน้ือหาสาระ/หนRวยการเรยี นรู ๗. ปรึกษาผูทรงคุณวฒุ ิ ชRวยพฒั นาปรับปรงุ แกไข ๘. นําไปทดลองใชสอนจรงิ ในหองเรียน รวมทงั้ ประเมนิ ผลการใช ๙. ปรับปรงุ แกไขในสวR นทบ่ี กพรRองใหมคี วามสมบูรณย่งิ ขนึ้ ๓. การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพสอ่ื การจัดการเรียนรูออนไลน= การผลิตส่ือหรือชุดการสอนนั้น กRอนนําไปใชจริงจะตองนําสื่อหรือชุดการสอนท่ีผลิตขึ้นไป ทดสอบประสทิ ธิภาพ เพอื่ ดูวาR สื่อหรือชุดการสอนทําใหผูเรียนมีความรูเพิ่มข้ึนหรือไมR มีประสิทธิภาพใน การชRวยใหกระบวนการเรียนการสอนดําเนินไปอยRางมีประสิทธิภาพเพียงใด มีความสัมพันธกับผลลัพธ หรือไมRและผูเรียนมีความพงึ พอใจตRอการเรียนจากส่ือหรือชุดการสอนในระดับใด ดังนั้น ผูผลิตส่ือการสอน จาํ เปนl จะตองนาํ สอื่ หรอื ชดุ การสอนไปหาคุณภาพ เรยี กวRา การทดสอบประสิทธิภาพ สําหรับการผลิตสื่อ

๑๑ และชุดการสอนการทดสอบประสิทธิภาพ หมายถึง การนําส่ือหรือชุดการสอนไปทดสอบดวยกระบวนการ สองข้นั ตอน คอื การทดสอบประสิทธิภาพใชเบอ้ื งตน (Try Out) และทดสอบประสิทธิภาพสอนจริง (Trial Run) เพือ่ หาคณุ ภาพของสื่อตามขั้นตอนท่ีกําหนดใน ๓ ประเด็น คือ การทําใหผูเรียนมีความรูเพ่ิมขึ้น การชRวยให ผูเรียนผRานกระบวนการเรียนและทําแบบประเมนิ สุดทายไดดี และการทําใหผูเรียนมีความพึงพอใจ นําผล ทไี่ ดมาปรับปรุงแกไข กRอนที่จะผลติ ออกมาเผยแพรRเปนl จาํ นวนมาก (ชยั ยงค พรหมวงศ ๒๕๕๖ : ๗) การประเมินประสิทธิภาพของเอกสารทจี่ ะนํามาใชในการจัดการเรียนรูมีความสําคัญ เพราะ ในการสรางสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน กRอนที่จะนําไปใชงานควรมีการทดลองใชเพ่ือปรับปรุงแกไข เพื่อใหเอกสารไดมาตรฐานเสียกRอน และเพื่อจะไดทราบวRาเอกสารท่ีสรางขึ้นมีคุณภาพเพียงใด มี ขอบกพรRองใดที่สมควรแกไขปรับปรุง ดังนั้นการประเมินผลขั้นนี้ จึงเปlนการประเมินผลเพ่ือหา ประสทิ ธิภาพของเอกสารโดยตรง โดยการกําหนดคRาประสิทธิภาพจะกําหนดเปlน ๙๐/๙๐ หรือ ๘๐/๘๐ หรือ ๗๕/๗๕ ตามลักษณะวิชา ซ่ึงในการกําหนดวRาประสิทธิภาพของชุดการสอนมิใชRตั้งขึ้นตามความ พอใจของผูสราง แตRจะพิจารณาตามลักษณะวิชา ซึ่งโดยปกติวิชาที่เปlนความรูขอเท็จจริงมักตั้งเกณฑ ๙๐/๙๐ หรอื ๘๐/๘๐ หากเปlนวชิ าทกั ษะอาจตง้ั ตํ่ากวRานไี้ ด (ชยั ยงค พรหมวงศ ๒๕๔๕ : ๘๘) การหาประสิทธิภาพของส่ือเอกสารประกอบการเรียนการสอน จะชRวยใหผูใชสื่อบังเกิดความ มั่นใจตRอการใชส่ือน้ันวRาจะเกิดประโยชนแกRผูเรียนอยRางแทจริง โดยตองผRานการตรวจสอบวิเคราะห คุณลกั ษณะที่เปlนเกณฑประสิทธิภาพของสอ่ื การสอนแตRละประเภท การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการ สอนมี ๒ ลักษณะคือ (กิดานนั ท มลิทอง ๒๕๔๓ : ๙๗-๙๙) ๑. การประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ เปlนการนําส่ือการสอนไปใหผูเชี่ยวชาญเก่ียวกับส่ือการ สอนและผูเช่ียวชาญงานเนื้อหาสาระเปlนผูประเมิน ผูเชี่ยวชาญท่ีประเมินประกอบดวยผูเชี่ยวชาญดาน เน้ือหาในงานทัศนศิลปy ผูเช่ียวชาญดานเทคโนโลยีทางการศึกษา ผูเช่ียวชาญในการวัดผลและ ประเมินผล ซ่ึงการประเมินมักจะเปlนคุณลักษณะทางกายภาพ เชRน ความถูกตองเชิงเน้ือหา คุณภาพ ท่ัวไปของสือ่ การผลติ การใช การออกแบบ เปlนตน ๒. การประเมินประสิทธิภาพการเรียนรู ส่ือการสอนจะมีคุณคRาก็ตRอเมื่อนําไปสอน ผูเรียนแลวผูเรียนเกิดการเรียนรูสูงขึ้นตามเกณฑประสิทธิภาพท่ีกําหนด ดังนั้นการประเมิน ประสทิ ธิภาพลักษณะนี้จึงตองนาํ สื่อการสอนไปทดลองใชกับผูเรียน ซ่ึงควรทําการทดลองหลาย ๆ คร้ัง และผเู รยี นควรมีจาํ นวนและสภาพแวดลอมตามจริง จึงจะเกิดผลเปนl มาตรฐาน การประเมนิ ประสิทธิภาพสื่อการสอน ถาเปlนส่ือเดียวผูผลิตส่ือการสอนน้ัน ๆ จะตอง สรางแบบทดสอบระหวRางเรียน (แบบฝiกปฏิบัติ) แบบทดสอบกRอนและหลังเรียน เพื่อที่จะไดเปlน เคร่ืองมือในการตรวจสอบหาประสิทธิภาพดวย สRวนสื่อการสอนท่ีเปlนสื่อประสมซึ่งมีแบบทดสอบอยูR แลว เมอ่ื นําไปทดลองใชจะนําผลของการทาํ แบบทดสอบตRาง ๆ มาคาํ นวณหาประสิทธภิ าพไดเลย การหาประสทิ ธิภาพของสื่อการสอน ผูผลิตจะตองกําหนดระดับประสิทธิภาพ ของส่ือ การสอนท่ีชRวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเปlนระดับท่ีผูผลิตสื่อการสอนจะพึงพอใจหากเอกสารประกอบ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแลว ก็มีคุณคRาที่จะนําไปสอนผูเรียน และคRุมคRาแกRการลงทุน ผลิตออกมาเปlนจาํ นวนมาก ในการกาํ หนดเกณฑประสทิ ธิภาพกระทาํ ไดโดยการประเมนิ ผลพฤติกรรมของผูเรียน ๒ ประเภท คือ พฤติกรรมตRอเน่ือง (กระบวนการ) และพฤติกรรมขั้นสุดทาย (ผลลัพธ) โดยกําหนดคRา ประสทิ ธิภาพเปlนรอยละของคะแนนเฉลีย่ มีคาR เปนl E๑/E๒

๑๒ E๑ คือ คRาประสิทธิภาพของกระบวนการ คิดเปlนรอยละของคะแนนเฉลี่ยจากการ ทําแบบฝiกหัด และการประกอบกิจกรรมระหวาR งเรยี นหรือระหวาR งศึกษา E๒ คือ คRาประสิทธิภาพของผลลัพธ (พฤติกรรมท่ีเปลี่ยนในตัวผูเรียนภายหลังเรียน) คิด เปlนรอยละของคะแนนทดสอบหลงั เรียน การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ E๑/E๒ ใหมีคRาเทRาใดน้ัน ข้ึนอยูRกับผูผลิตส่ือจะ พิจารณาตามความเหมาะสม โดยปกติสําหรับวิชาทฤษฎี ความรู ความจํา มักจะต้ังไว ๘๐/๘๐ ถึง ๙๐/๙๐ แตRสําหรบั วิชาทักษะหรอื เจตคติ อาจต้งั ไว ๗๕/๗๕ แตRไมRควรตง้ั เกณฑต่าํ เกนิ ไป ขน้ั ตอนการประเมินประสิทธิภาพสอื่ การสอน เพ่อื ปรบั ปรงุ การผลิตส่ือนั้น ผูผลิตควร ดําเนนิ การทดลองส่ือเปlน ๓ ขัน้ ตอน ไดแกR ๑. แบบเดียว (๑ : ๑) เปlนการนําสื่อการสอนไปทดลองกับผูเรียนรายบุคคลเพ่ือหา ขอบกพรอR งการทดลองน้ีควรกระทํากับผูเรียนที่มีระดับการเรียนเกRงปานกลางและอRอนเพ่ือหาขอมูลในการ ปรบั ปรงุ ส่ือการสอนใหดยี ง่ิ ขนึ้ ๒. แบบกลRุมยRอย (๑ : ๑๐) เปlนการนําสื่อการสอนท่ีไดรับการปรับปรุงจากการ ทดลองครั้งแรกมาใชทดลองกับผูเรียน ๖-๑๐ คน ท่ีมีความสามารถแตกตRางกัน เพ่ือหาขอมูลในการ ปรับปรุงสื่อใหสมบรู ณย่ิงข้ึน ๓. แบบภาคสนาม (๑ : ๔๐) เปlนการนําสื่อการสอนที่ไดรับการปรับปรุงครั้งที่ ๒ แลวไปทดลองในชนั้ เรยี นที่มีผูเรยี นตง้ั แตR ๓๐ คนขึน้ ไป และหาประสิทธิภาพ (E๑/E๒) ถาไมRถึงเกณฑ ทก่ี ําหนดไวจะตองดําเนนิ การปรับปรงุ สอื่ การสอนทดลองหาประสิทธภิ าพซาํ้ อีก การหาประสิทธิภาพของสื่อการสอน อาจไดไมRถึงเกณฑท่ีกําหนดไว เน่ืองจากมีตัว แปรที่ควบคุมไมRได เชRน ความพรอมของผูเรียน สภาพหองเรียน ฯลฯ จึงอนุโลมใหมีระดับความ ผิดพลาดไดเทRาที่กําหนดไว ประมาณรอยละ ๒.๕-๕ เชRนตั้งเกณฑประสิทธิภาพไว ๘๐/๘๐ เปlนการ ทดลองแบบ ๑ : ๔๐ แลวสือ่ การสอนน้ันมีประสิทธิภาพ ๗๒.๕/๗๒.๕ ก็สามารถยอมรับวRาส่ือการสอน นัน้ มีประสทิ ธภิ าพโดยการยอมรับประสิทธภิ าพของสือ่ การสอนมี ๓ ระดับ คอื ๑. สูงกวRาเกณฑ เม่ือประสิทธิภาพของสื่อการสอนสูงกวRาเกณฑที่ตั้งไวเกินรอยละ ๒.๕ ขึน้ ไป ๒. เทRาเกณฑ เมื่อประสิทธิภาพของส่ือการสอนเทRากับเกณฑท่ีตั้งไว แตRไมRเกินรอยละ ๒.๕ หรือ ไมRต่าํ กวาR รอยละ ๒.๕ ๓. ต่ํากวRาเกณฑ เม่ือประสิทธิภาพของสื่อตํ่ากวRาเกณฑที่ต้ังไว แตRไมRตํ่ากวRารอยละ ๒.๕ ถอื วRาสอ่ื การสอนมีประสทิ ธิภาพท่ียอมรบั ได จากการศึกษา การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนหรือสื่อ การจดั การเรียนรูออนไลน การกําหนดเกณฑประสิทธิภาพ E๑/E๒ ใหมีคRาเทRาใดน้ันข้ึนอยูRกับผูจัดทํา ส่อื การจดั การเรียนรอู อนไลนเปนl ผูกําหนด โดยพิจารณาจากลักษณะวิชา ซ่ึงโดยปกติวิชาที่เปlนความรู ขอเท็จจริงมักจะต้ังเกณฑ ๙๐/๙๐ หรือ ๘๐/๘๐ หากเปlนวิชาท่ีมRุงเนนทักษะดังเชRนรายวิชารหัสวิชา 30204-2001 ชอ่ื วชิ าเทคนิคการสรางภาพเคล่อื นไหวคอมพิวเตอร อาจตงั้ ตา่ํ กวRานีไ้ ด

๑๓ ๔. งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วของ ณรงค นวลเอียด (๒๕๕๘ : บทคัดยRอ) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการสรางและหาประสิทธิภาพส่ือ การจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ สาขาวิชาชRางอิเล็กทรอนิกสR หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ การวิจัยครั้งน้ีมี วตั ถุประสงค ๑)เพือ่ สรางส่อื การจดั การเรียนการสอนออนไลน วชิ าการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัส วิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ๒) เพ่ือหาประสิทธิภาพของ ส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรรหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ ที่ สรางขึน้ ๓) เพอ่ื ศึกษาและเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน ท่ีเรียนโดยใชสื่อการจัดการ เรยี นการสอนออนไลนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ ระหวRางกRอนเรียน กับหลังเรียน และ ๔) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเรียน ที่เรียนโดยใชสื่อการจัดการเรียนการสอน ออนไลน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรรหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ กลุRมตัวอยRาง คือ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันป{ท่ี ๑ ในภาคเรียนที่ ๒ ป{การศึกษา ๒๕๕๗ สาขาวิชาชRางอิเล็กทรอนิกส วิทยาลัยเทคนิคพังงา ท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรรหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ จํานวน ๒๖ คน โดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ สื่อการจัดการเรียนการ สอนออนไลน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ แบบประเมินคุณภาพส่ือ การจัดการเรียนการสอนออนไลน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึง พอใจของผูเรียน การวิเคราะหขอมูลการวิจัยใชสถิติคRารอยละ คRาเฉลี่ย คRาเบ่ียงเบนมาตรฐานคRา ประสิทธิภาพ E๑/E๒ และสถิติ t-test จากผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ ๑. การสรางสื่อการจัดการเรียน การสอนออนไลนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ประกอบดวย ๑๐ หนRวยการเรียน ผูเช่ียวชาญประเมิน คุณภาพของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน มีคRาเฉล่ีย = ๔.๘๗ คRาเบ่ียงเบนมาตรฐาน S.D. = ๐.๓๒ ระดับความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ อยRูในระดับดีมาก ๒. ประสิทธิภาพของส่ือการจัดการเรียน การสอนออนไลน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ มีประสิทธิภาพเทRากับ ๘๑.๐๖/๘๑.๑๒ ซ่ึงสูงกวRาเกณฑที่กําหนด ๘๐/๘๐ ๓. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียน ที่เรียนโดย ใชเอกสารประกอบ การสอน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ คะแนน เฉล่ียจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกRอนเรียน ทุกหนRวยการเรียน คิดเปlนรอยละ ๓๑.๘๐ และมคี ะแนนเฉลีย่ จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรียน ทุกหนRวยการเรียน คิดเปlนรอย ละ ๘๑.๑๒ คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น คิดเปlนรอยละ ๔๙.๓๒ แตกตRางกันอยRางมีนัยสําคัญที่ระดับ .๐๑ ๔. ความพึงพอใจของผูเรียน ท่ีเรียนโดยใชส่ือการ จัดการเรียนการสอนออนไลน วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ มีคRาเฉล่ีย = ๔.๖๓ คาR เบ่ยี งเบนมาตรฐาน S.D. = ๐.๒๑ระดับความพงึ พอใจอยใRู นระดบั มากท่สี ดุ ทองพูน เบ็ญเจิด (๒๕๕๘ : บทคัดยRอ) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการสรางและหาประสิทธิภาพสื่อการ จัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ มีวัตถุประสงคตRอไปนี้ ๑) เพ่ือสรางและหา ประสทิ ธิภาพเอกสารประกอบ การสอน วชิ างานเครื่องมอื กลเบอ้ื งตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ โดยกําหนดเกณฑประสิทธิภาพไว ๘๐/๘๐ ๒) เพ่ือ หาคRาดัชนีประสิทธิผลของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเครื่องมือกลเบื้องตน รหัสวิชา

๑๔ ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม มี คRาดัชนปี ระสทิ ธิผล ๐.๐๕ ๓) เพอ่ื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกRอนและหลังการเรียนโดยใชสื่อ การจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเครื่องมือกลเบื้องตนรหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ โดยใช t – test ๔) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ นักศึกษาตRอการเรียนดวยส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเครื่องมือกลเบื้องตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ ประชากรท่ีใชในการวิจัย ไดแกR นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงป{ที่ ๑ สาขางานแมRพิมพพลาสติก วิทยาลัยเทคนิค สุรินทร ภาคเรียนท่ี ๑ ป{การศึกษา ๒๕๕๘ เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแกR แบบฝiกหัดและใบงาน แบบ วดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบ กอR นเรยี น/หลงั เรยี น แบบประเมินความพึงพอใจสถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูล คือ คRารอยละ คRาเฉลี่ยสRวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีคRาความสอดคลอง คRาอํานาจ จําแนกคRาสัมประสิทธ์ิความเช่ือม่ันและ t - test ผลการวิจัย พบวRา ๑. ส่ือการจัดการเรียนการสอน ออนไลนวิชางานเครื่องมือกลเบ้ืองตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ มีประสิทธิภาพ ๘๒.๑๔/๘๑.๐๓ สูงกวRาเกณฑท่ีกําหนดไว ๘๐/๘๐ ๒. ดัชนี ประสิทธิผลของส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเครื่องมือกลเบื้องตน รหัสวิชา ๓๑๐๐- ๐๐๐๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ มีคRาดัชนีประสิทธิผล ๐.๖๘๗๖ ซ่ึง หมายความวRานกั ศกึ ษา มีความรูเพมิ่ ขึ้นรอยละ ๖๘.๗๖ ๓. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชางานเครื่องมือกลเบ้ืองตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ พบวRา นักศึกษามีคะแนนเฉล่ียจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรยี นสงู กวRากอR นเรียนอยาR งมนี ัยสําคญั ท่ีระดับ .๐๕ ๔. นักศกึ ษามีความพงึ พอใจตRอการเรยี นดวยสื่อการ จัดการเรียนการสอนออนไลน วิชางานเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สงู พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ พบวRา อยRใู นระดบั มาก ธวัชชัย เศวตปวิช (๒๕๕๙ : บทคัดยRอ) ไดรายงานผลการใชส่ือการจัดการเรียนการสอน ออนไลน รหัสวิชา ๒๑๐๖ - ๑๐๐๔ วิชาความปลอดภัยในงานกRอสราง มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) สราง และหาประสิทธิภาพของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน ๒) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของคะแนนทดสอบกRอนเรียนกับหลังเรียน ๓) วิเคราะหคะแนนเฉล่ียความคิดเห็นของครูผูสอนที่มีตRอ คุณภาพของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนที่ผูศึกษาสรางขึ้น กลRุมตัวอยRางท่ีใชในการศึกษาเปlนผู เรียนรูระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ช้ันป{ที่ ๑ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัยการ อาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ท่ีลงทะเบียนเรียนรหัสวิชา ๒๑๐๖ – ๑๐๐๔ วิชาความปลอดภัยในงาน กRอสราง ในภาคเรียนที่ ๑ ป{การศึกษา ๒๕๕๙ จํานวน ๒๕ คนซึ่งไดกลRุมตัวอยRางมาแบบเจาะจง การศึกษาครั้งนี้เปlนการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบ One-Group pretest- Posttest Design โดยมีขั้นตอนดังนี้ วิเคราะหหลักสูตรรายวิชากําหนดกลRุมตัวอยRาง สรางเครื่องมือท่ี ใชในการศึกษา สรางส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน นําไปทดลองใชเก็บรวบรวมขอมูลและ วิเคราะหขอมูล ผลของการศึกษาพบวRา ๑) สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน รหัสวิชา ๒๑๐๖ – ๑๐๐๔ วิชาความปลอดภัยในงานกRอสราง ที่สรางข้ึนน้ีมีประสิทธิภาพ ๗๕.๐๗/๗๖.๐๔ ซึ่งสูงกวRา เกณฑท่ีต้ังไว คือ ๗๕/๗๕ ๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนทดสอบกRอนเรียนกับหลังเรียนของ ผูเรียนหลังจากที่เรียนดวยส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน วิชาความปลอดภัยในงานกRอสรางแลว หลังเรยี นมคี Rาเพิม่ ขนึ้ ๑๘.๓๒๘ อยRางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ๓) คะแนนเฉล่ียความคิดเห็น ของครูผูสอนท่ีมีตRอคุณภาพของสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนที่ผูศึกษาสรางข้ึนอยRูในระดับ

๑๕ คุณภาพถกู ตองเหมาะสมในระดบั มากที่สดุ มีคาR เฉล่ยี เทาR กบั ๔.๖๙ คาR เบยี่ งเบนมาตรฐานเทRากับ ๐.๕๒ ซึ่งสรุปไดวRา ส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน รหัสวิชา ๒๑๐๖ - ๑๐๐๔ วิชาความปลอดภัยใน งานกRอสราง ท่ีสรางข้ึนเปlนสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนท่ีมีคุณภาพสามารถนําไปใชในการ จดั การเรยี นการสอนไดอยาR งดยี ง่ิ นราวธุ สีหะวงษ (๒๕๖๑ : บทคัดยRอ) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการ จัดการเรียนรูออนไลนฝiกทักษะดวยตนเอง เร่ือง “งานหาระดับพ้ืนท่ีกRอสราง” ระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี ช้ันปท{ ี่ ๒ สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัลจุดมุRงหมายของการวิจยั น้ี ๑) เพื่อสรางส่อื การจัดการเรียนรู ออนไลนฝiกทกั ษะดวยตนเอง เรื่อง “งานหาระดับพ้ืนที่กRอสราง” ๒) เพ่ือหาประสิทธิภาพของเอกสารที่ สรางข้ึน ๓) เพอ่ื ศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรจู ากการเรียนรูดวยเอกสารท่ีสรางขึ้น และ ๔) เพ่ือศึกษา ความพึงพอใจของผูเรียนรูที่มีตRอการจัดการเรียนรู การศึกษาคร้ังน้ีเปlนการศึกษาเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบ One-Group pretest-Posttest Design โดยดําเนินการกับ กลRุมเป‡าหมายเปlนผูเรียนรูระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ท่ี ๒ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจ ดิจิทลั ของวทิ ยาลยั การอาชีพนวมนิ ทราชินีมกุ ดาหาร ท่ีลงทะเบียนเรียนในรหัสวิชา ๒๑๒๑-๒๐๐๑ ชื่อ วิชาการสํารวจเพ่ือการกRอสราง (Construction Surveying) ในภาคเรียนท่ี ๒ ป{การศึกษา ๒๕๖๑ จํานวน ๒๕ คน ซึ่งไดกลุRมตัวอยRางมาแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาไดแกR ส่ือการจัดการ เรยี นรอู อนไลนฝกi ทกั ษะดวยตนเอง เรื่อง “งานหาระดับพื้นที่กRอสราง” วิเคราะหขอมูลโดยหาคRาเฉลี่ย (Mean) และคRาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบคRาที (t-test แบบ one sample) ผลการศึกษาพบวาR ๑) ผลการสรางไดสื่อการจัดการเรียนรูออนไลนฝiกทักษะดวยตนเอง เรื่อง “งานหาระดับพนื้ ทีก่ อR สราง” ท่ปี ระกอบดวย แผนการจัดการเรยี นรู ใบสังเกตและสัมภาษณประเมินผล งานการเรียนรู ใบประเมินพฤติกรรม จริยธรรม คุณธรรม และคRานิยมที่ตองการเนน เอกสารประกอบ การเรียนรูฝiกทักษะดวยตนเอง (ใบความรู, ใบปฏิบัติงาน) แบบทดสอบ และเฉลยแบบทดสอบ ๒) ผล การใชเอกสารท่สี รางขนึ้ มีประสทิ ธภิ าพ ๗๗.๓๓/๗๖.๔๐ ซึง่ สงู กวาR เกณฑท่ีตง้ั ไว คือ ๗๕/๗๕ ๓) ผูเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนดวยเอกสารท่ีสรางข้ึนสูงกวRากRอนเรียนอยRางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .๐๕ ๔) ความพึงพอใจของผเู รยี นทีม่ ตี Rอการจัดการเรยี นรู อยใRู นระดบั มากท่สี ุด วันโชค บุญยอง (๒๕๕๘ : บทคัดยRอ) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการสรางและหาประสิทธิภาพเอกสาร ประกอบการเรียนวิชางานปูน (๒๑๒๑-๒๑๐๒) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ วิทยาลัยเทคนิคตรัง ประเภทวิชาชRางอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การวิจัย ครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ ๑) เพ่ือสรางเอกสารประกอบการเรียนวิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ ที่ ๑ สาขาวิชาโยธา ๒) เพื่อหาคุณภาพเอกสารประกอบ การเรียนวิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ท่ี ๑ สาขาวิชา โยธา ๓) เพ่ือหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรูวิชางานปูนรหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ที่ ๑ สาขาวิชาโยธา ๔) เพื่อศึกษาหาความกาวหนาในการเรียน วิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ท่ี ๑ สาขาวิชาโยธา ๕) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนวิชางานปูนรหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ชั้นป{ที่ ๑ สาขาวิชาโยธา ประชากรเปlนนักเรียนระดับช้ัน ปวช. ๑ สาขาวิชาโยธา ท่ี ลงทะเบียนเรียนวิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ภาคเรียนที่ ๑ ป{การศึกษา ๒๕๕๘ วิทยาลัย เทคนิคตรัง จาํ นวน ๒๑ คน เคร่อื งมือที่ใชในการวจิ ยั คือ ๑) เอกสารประกอบการเรียน ๒) แบบทดสอบ กRอนเรียนและหลังเรียน ๓) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนท้ังรายวิชา จํานวน ๙๐ ขอ และ

๑๖ ๔) แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่เรียนวิชางานปูน สถิติที่ใชในการวิเคราะห ขอมลู ไดแกR คRารอยละคRาเฉล่ยี คRาความเบยี่ งเบนมาตรฐาน คRาประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบวRา ๑) เอกสาร ประกอบการเรียนวิชางานปูนรหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) ที่สรางประกอบดวย หนRวยการเรียนรู ๙ หนRวย ประกอบดวย หลักการและข้ันตอนการปฏิบัติงานแบบฝiกหัด ใบงาน ใบปฏิบัติงาน ใบประเมินการ ปฏิบตั งิ าน ๒) คุณภาพเอกสารประกอบการเรียน วิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) มีความคิดเห็น จากผูเชี่ยวชาญระดับเห็นดวยมาก โดยมีคRาเฉลี่ย = ๔.๔๑ และคRาเบ่ียงเบนมาตรฐาน S.D. = ๐.๖๖๕ ๓) เอกสารประกอบการเรียนวิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) มีประสิทธิภาพ E๑/E๒= ๘๔.๐๔/๘๐.๔๘ ๔) ความกาวหนาของนักเรียนท่ีเรียนวิชางานปูนพัฒนาข้ึนคิดเปlนรอยละของคะแนน เฉลี่ยเพ่ิมขึ้น = ๔๒.๒๗ ๕) ความพึงพอใจของผูเรียนตRอการใชเอกสารประกอบ การเรียนวิชางานปูน อยใRู นระดบั เหน็ ดวยมาก โดยมีคาR เฉลย่ี µ = ๔.๕๒ และคาR เบ่ยี งเบนมาตรฐาน  = ๐.๕๖ จากเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของจึงสรุปไดวRา สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลนหรือ เอกสารประกอบ การเรียนรู เปlนนวตั กรรมทางการศกึ ษาทมี่ ปี ระโยชนและคุณคRาทางการศึกษาสามารถ พัฒนาผูเรียนรูใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะ และเจตคติ ดังจะเห็นได จากงานวิจัยท่ีกลRาวมาขางตน ผูศึกษาจึงเห็นวRา การนําส่ือการจัดการเรียนรูออนไลนฝiกทักษะดวยตนเอง เร่ือง “งานการวาดรูป” รายวิชารหัสวิชา 30204-2001 ชื่อวิชาเทคนิคการสรางภาพเคล่ือนไหว คอมพิวเตอร สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาใชในการจัดการเรียนรู จะทําให การจัดการเรยี นรูมปี ระสิทธภิ าพ ผูเรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเพม่ิ ข้ึน

บทท่ี ๓ วิธีดําเนนิ การศึกษาวิจยั การศึกษาในครั้งน้ี เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบ One-Group pretest-Posttest Design เพื่อการสร:างและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยผ:วู ิจยั ไดด: าํ เนนิ การดงั ตอQ ไปนี้ ๑. ประชากรและกลQุมตวั อยาQ ง ๒. เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ: นการศึกษา ๓. ขั้นตอนการสร:าง ๔. วธิ กี ารเก็บรวบรวมข:อมลู ๕. การวิเคราะหข@ อ: มูล ๖. สถติ ิทใี่ ช: ๑. ประชากรและกลุมตัวอยาง ๑.๑ ประชากร คอื ผู:เรียนรู:ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดจิ ิทลั ๑.๒ กลุมตัวอยาง ท่ีใช:ในการศึกษาวิจัยเปนการสุQมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ ผ:ูเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นป\\ที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัย การอาชพี นวมินทราชินีมุกดาหาร ท่ีลงทะเบียนเรียน รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือวิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ในภาคเรียนท่ี 1 ป\\การศึกษา ๒๕๖3 จํานวน 35 คน ๒. เครื่องมือท่ใี ช(ในการศกึ ษาวิจยั ๒.๑ สอ่ื การจดั กาเรยี นการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐานธุรกจิ ดจิ ทิ ลั (Business Digital Basic) ๒.๒ ใบสังเกตและสมั ภาษณ@ประเมนิ ผลงานการเรียนรู: ๒.๓ ใบประเมนิ พฤติกรรม จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคQานิยมท่ตี :องการเนน: ๒.๔ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ๒.๓ แบบสอบถามความพงึ พอใจของผ:ูเรียนทม่ี ตี Qอการจดั การเรยี นรู:มQุงเน:นสมรรถนะรายวิชา พน้ื ฐานธรุ กิจดิจทิ ัล (Business Digital Basic) สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิทลั ๓. ขน้ั ตอนการสรา( งและหาคณุ ภาพเคร่อื งมือท่ใี ชใ( นการศึกษาวิจยั การสร:างและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผ:ูวิจัยได:กําหนดขั้นตอนการสร:างและหา คุณภาพเครื่องมือที่ใช:ในการศึกษาวิจัย ตามขั้นตอนดังท่ีแสดงในรูปท่ี ๓.๑ แสดงข้ันตอนการสร:างและหา คุณภาพเคร่ืองมือท่ีใชใ: นการศึกษาวจิ ยั ดังน้ี

๑๘ จดุ ประสงคการเรียนรูเชิงพฤตกิ รรม สรางสอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน สรางแบบประเมินสื่อฯ สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สรางแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน ผา\" น ผเู ชี่ยวชาญประเมิน (กล\"ุม PLC) ไม\"ผา\" น ปรบั ปรงุ เครอ่ื งมอื ท่ใี ชในการวิจยั รูปที่ ๓.๑ แสดงขน้ั ตอนการสรางและหาคณุ ภาพเครื่องมือทใ่ี ชในการวิจัย ซงึ่ ขั้นตอนการสร:างและหาคุณภาพเคร่ืองมือทใ่ี ช:ในการศึกษาวจิ ยั มีรายละเอยี ดดังตQอไปน้ี ๓.๑ การสร(างส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน1 วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มีขัน้ ตอนการสร:างดังน้ี ๓.๑.๓ ศกึ ษาหลกั สตู ร เอกสาร ตํารา ขอบขQาย เน้ือหาสาระกลุมQ พน้ื ฐานธรุ กิจดิจทิ ัล ๓.๑.๒ สร:างแผนการจัดการเรียนรู:ที่ใช:จัดการเรียนร:ูด:วยสื่อการจัดกาเรียนการสอน ออนไลน@ วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) กําหนดจุดประสงค@การเรียนร:ูเชิง พฤติกรรม ให:สอดคล:องกับจุดประสงค@รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคําอธิบายรายวิชาท่ีหลักสูตร รายวชิ ากําหนด ๓.๑.๓ ดําเนินการสร:างส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ ตามขั้นตอนการสร:างดัง แสดงในรปู ที่ ๓.๒ แสดงขัน้ ตอนการสร:างส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน@ ดงั นี้ จุดประสงคการเรยี นรเู ชิงพฤตกิ รรม สรางเอกสารประกอบการเรียนรู ปรบั ปรงุ แกไข ไม\"ผา\" น ผเู ชยี่ วชาญประเมิน (กลุ\"ม PLC) ผ\"าน สื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน รูปที่ ๓.๒ แสดงข้ันตอนการสรางเอกสารประกอบการเรยี นรฝู ก7 ทักษะดวยตนเอง ๓.๑.๔ นํารQางส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business

๑๙ Digital Basic) ท่ีสร:างขึ้นเสนอตQอกลQุมชุมชนการเรียนรู:ทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชาคอมพิวเตอร@ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ซ่ึงเปนผ:ูเช่ียวชาญทางวิชาชีพ จํานวน ๕ ทQาน เพ่ือขอ คาํ แนะนํา แลว: นํามาปรบั ปรุงแก:ไขในสวQ นท่บี กพรอQ ง ๓.๑.๕ ดําเนนิ การสร:างและปรับปรุงส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐาน ธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ตามที่ได:รับการชี้แนะนํา เมื่อสร:างเสร็จแล:วนําไปให:กลุQม ชุมชนการเรียนร:ูทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชาคอมพิวเตอร@ธุรกิจ ทําการประเมินคุณภาพโดยใช:แบบ ประเมินคุณภาพของเอกสารผลปรากฏวQา คุณภาพของเอกสารทางด:านเนื้อหา และด:านสQงเสริมการ เรยี นร:ู มคี าQ เฉลี่ยโดยรวมเทQากบั ๔.๘๒ อยQูในระดับคุณภาพมากท่ีสุด (ชูศรี วงศ@รัตนะ ๒๕๔๖ : ๘๗- ๙๑) แสดงวาQ สือ่ การจัดกาเรยี นการสอนออนไลน@ วิชาพนื้ ฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มี คุณภาพเหมาะสมสอดคล:องกับจุดประสงค@การเรียนร:ู สามารถนําไปใช:ในการจัดการเรียนรู:ได: (รายละเอยี ดดูในภาคผนวก จ ) ๓.๒ สร(างแบบประเมินส่ือการจดั การเรียนการสอนออนไลน1 มขี น้ั ตอนการสร:างดังน้ี ๓.๒.๑ ศกึ ษาเกณฑใ@ นการสร:างแบบประเมินสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน@จาก เอกสารตาQ ง ๆ แล:วสรา: งแบบประเมนิ สือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน@ทจี่ ัดสร:างข้นึ ๓.๒.๒ นาํ แบบประเมนิ สือ่ การจดั การเรียนการสอนออนไลน@มาสร:างเปนแบบประเมิน ความตรงของแบบประเมนิ คุณภาพสือ่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลน@ ๓.๒.๓ นาํ แบบประเมินความตรงของแบบประเมินคุณภาพสื่อการจัดการเรียนการสอน ออนไลน@ท่ีสร:างขึ้นเรียบร:อยแล:วไปให:กลQุมชุมชนการเรียนรู:ทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชาคอมพิวเตอร@ ธุรกิจ ทําการประเมินตรวจสอบความสอดคล:องด:วยดัชนีความสอดคล:อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) ของแบบประเมินสอื่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน@ ๓.๒.๔ นําข:อมูลท่ีรวบรวมจากความคิดเห็นของผู:เชี่ยวชาญมาวิเคราะห@ข:อมูลหาคQา ความเหมาะสมสอดคล:องของแบบประเมินส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน@ โดยใช:สูตรหาคQาดัชนีความ สอดคลอ: ง (IOC) ได:คาQ ดัชนคี วามสอดคลอ: งของแบบประเมินสื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน@เทQากับ ๐.๙๒ แสดงวQาแบบประเมินส่ือการจัดการเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มีความเหมาะสมสอดคล:องกับจุดประสงค@การเรียนร:ูสามารถนําไปใช:ในการประเมินสื่อ การจดั การเรยี นการสอนออนไลนไ@ ด: (รายละเอยี ดดใู นภาคผนวก ง) ๓.๓ สรา( งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน มขี ั้นตอนการสร:างดังนี้ ๓.๓.๑ ศกึ ษาเกณฑ@ในการสร:างแบบทดสอบจากเอกสารการวัดและประเมนิ ผลตาQ ง ๆ ๓.๓.๒ สร:างแบบทดสอบให:สอดคล:องกับจุดประสงค@การเรียนรู:เชิงพฤติกรรมที่ตั้งไว: ซง่ึ มีลักษณะเปนแบบประเมินทักษะปฏิบัติ คQาคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน กําหนดการให:คQาคะแนนตอบ ถกู ได: ๑ คะแนน และตอบผิดได: ๐ คะแนน ๓.๓.๓ นาํ แบบทดสอบที่สรา: งข้ึนเรียบร:อยแล:วให:กลุQมชุมชนการเรียนรู:ทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชาคอมพิวเตอร@ธุรกิจ ทําการประเมินตรวจสอบความสอดคล:องด:วยดัชนีความสอดคล:อง (Index of Item Objectives Congruence : IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นร:ู ๓.๓.๔ นําข:อมูลท่ีรวบรวมจากความคิดเห็นของผ:ูเชี่ยวชาญมาวิเคราะห@ข:อมูลความ เหมาะสมสอดคล:องของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ โดยใช:สูตรหาคQาดัชนีความสอดคล:องได:คQาดัชนี ความสอดคล:อง (IOC) ของแบบทดสอบเทQากับ ๐.๙๐ แสดงวQาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู:

๒๐ เรอื่ ง “งานหาระดับพน้ื ทกี่ อQ สรา: ง” มีความเหมาะสมสอดคล:องกับจดุ ประสงค@การเรียนรู:สามารถนําไปใช: ในการวัดผลทางการเรยี น เพือ่ นาํ ไปเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นได: (รายละเอียดดูในภาคผนวก ฉ ) ๓.๓.๕ นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไปใช:วัดผลสัมฤทธ์ิของผ:ูเรียนรู: กQอนเรียน (Pre-test) และหลงั เรียน (Post-test) ในการจัดกิจกรรมการเรียนร:ู วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ๓.๔ สรา( งแบบสอบถามความพึงพอใจของผู(เรียน ที่มีตQอการจัดการเรียนรู:ฝwกทักษะด:วยตนเอง มขี ้ันตอนการสร:างดังน้ี ๓.๔.๑ ศึกษาการสร:างแบบสอบถามความคิดเห็นจากเอกสาร ตํารา รายงานวิจัยท่ี เกยี่ วขอ: งตQาง ๆ ๓.๔.๒ สร:างแบบสอบถามความพงึ พอใจ/ความคดิ เห็น มีลักษณะเปนแบบมาตราสQวน ประมาณคQา (Rating Scale) ๕ ระดับ จากประเด็นคําถาม ๑๐ ข:อ กําหนดคQาระดับความคิดเห็นแตQละ ชQวงคะแนนและความหมาย ดงั นี้ ระดบั ๑ หมายถึง ถกู ตอ: ง เหมาะสมในระดบั น:อยท่สี ดุ ระดบั ๒ หมายถึง ถูกต:อง เหมาะสมในระดับน:อย ระดบั ๓ หมายถงึ ถูกต:อง เหมาะสมในระดับปานกลาง ระดบั ๔ หมายถงึ ถูกตอ: ง เหมาะสมในระดบั มาก ระดบั ๕ หมายถึง ถูกต:อง เหมาะสมในระดับมากทสี่ ดุ สาํ หรบั การให:ความหมายของคQาท่ีวัดได: ผู:วิจัยได:กําหนดเกณฑ@ท่ีใช:ในการให:ความหมาย คาQ เฉลย่ี เปนรายด:านและรายขอ: ดังนี้ (ชศู รี วงศร@ ตั นะ ๒๕๔๖ : ๘๗-๙๑) ระดับความเหมาะสม ชวQ งคะแนน มากท่สี ดุ ๔.๕๑-๕.๐๐ มาก ๓.๕๑-๔.๕๐ ปานกลาง ๒.๕๑-๓.๕๐ น:อย ๑.๕๑-๒.๕๐ น:อยที่สดุ ๐.๐-๑.๕๐ ๓.๔.๓ นาํ แบบสอบถามความคิดเห็นของผ:ูเรียนที่มีตQอการจัดการเรียนร:ูฝwกทักษะด:วย ตนเอง วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ท่ีสร:างแล:วไปให:กลQุมชุมชนการเรียนร:ูทาง วชิ าชพี (PLC) สาขาวิชาคอมพวิ เตอร@ธุรกิจ เพื่อตรวจสอบคณุ ภาพและความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (IOC : Index of Item Objective Congruence) ของแบบสอบถามความพงึ พอใจ ๓.๔.๔ นําขอ: มลู ทร่ี วบรวมจากความคิดเห็นของผู:เชี่ยวชาญมาคํานวณหาคQา IOC โดย ใช:ดัชนีความสอดคล:อง (Index of Item Objective Congruence) คํานวณคQาดัชนีความเหมาะสม สอดคล:องของแบบสอบถามความพึงพอใจของผ:ูเรียน โดยได:คQาดัชนีความสอดคล:องเฉลี่ยเทQากับ ๑.๐๐ แสดงวQาแบบสอบถามความพึงพอใจของผู:เรียน มีความเหมาะสมสอดคล:องกับจุดประสงค@การจัด การเรยี นร:ูสามารถนําไปใช:ในการเก็บขอ: มูลรวบรวมได: (รายละเอียดดใู นภาคผนวก ซ )

๒๑ ๔. วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข(อมูล การศึกษาในครั้งนี้ ผ:ูศึกษาวิจัยใช:วิธีการเก็บรวบรวมข:อมูลกับกลุQมตัวอยQางท่ีเปนผู:เรียนร:ูระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ช้ันป\\ที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัยการ อาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ท่ีลงทะเบียนเรียนรหัสวิชา 30204-2001 ชื่อพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล ในภาคเรียนท่ี 1 ป\\การศึกษา ๒๕๖3 จํานวน 35 คน ตามลําดับข้ันตอนซึ่งแสดงในรูปที่ ๓.๓ แสดง ขนั้ ตอนการเก็บรวบรวมข:อมูล ซ่งึ สามารถอธิบายรายละเอยี ดได: ดงั นี้ ทดสอบก1อนเรียน (Pre-test) คะแนนทดสอบกอ1 นเรยี น ใชสอ่ื การจดั การเรยี นการสอนออนไลน ประเมนิ ผลงานการเรยี นรู ประเมินพฤติกรรมบง1 ชี้ คะแนนระหวา1 งเรียน ทดสอบหลังเรียน (Post-test) คะแนนทดสอบหลังเรียน เกบ็ รวบรวมขอมูล รูปท่ี ๓.๓ แสดงขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล ๔.๑ ทดสอบกอQ นเรียน (Pre-test) ๔.๒ จัดการเรียนการสอนโดยใช:ส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล ที่สร:างขึ้น ให:ผู:เรียนรู:ศึกษาเนื้อหาทําแบบฝwกทักษะ แล:วประเมินผลงานการเรียนร:ู ประเมิน พฤตกิ รรมบงQ ช้ี และประเมินช้ินงานตามท่ีกําหนด ๔.๓ ทดสอบความร:หู ลงั การเรยี นร:ูด:วยแบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) ๔.๔ นําผลคะแนนที่ได:จากแบบประเมินผลงานการเรียนร:ู แบบประเมินพฤติกรรมบQงช้ี ประเมินชิ้นงาน และทําแบบทดสอบหลังเรียนรู: มาวิเคราะห@หาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบ การเรียนรฝ:ู กw ทกั ษะด:วยตนเอง วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) อันเปนการประเมิน ประสิทธิภาพสื่อการจดั กาเรยี นการสอนออนไลน@หลังการใชง: านแล:ว ๕. การวเิ คราะหข1 อ( มลู ๕.๑ หาประสิทธิภาพของสื่อการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) โดยทดลองใช:กับผู:เรียนร:ูระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นป\\ท่ี 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ของวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ที่ลงทะเบียนเรียน รหัสวิชา 30204-2001 ช่ือพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล ในภาคเรียนท่ี 1 ป\\การศึกษา 2563 จํานวน 35 คน หาคาQ E๑ และคQา E๒ โดยกาํ หนดเกณฑ@ร:อยละ ๗๕/๗๕ ๗๕ ตวั แรก (E๑) หมายถงึ คQาเฉลี่ยเปนร:อยละ ๗๕ ของคะแนนระหวQางเรียนท่ีผู:เรียนรู: ทําได:จากการประเมินผลงานการเรียนร:ู ประเมินพฤติกรรมบQงช้ี ทําแบบฝwกทักษะ และทําแบบทดสอบ จากการเรยี นรูด: :วยเอกสารที่สรา: งขึ้น

๒๒ ๗๕ ตัวหลัง (E๒ ) หมายถึง คQาเฉล่ียเปนร:อยละ ๗๕ ของคะแนนที่ผู:เรียนรู:ทําได:จาก การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร:ูจํานวน ๑๐ คะแนน หลงั จากเรยี นรู:ด:วยเอกสารที่สร:างข้ึน ๕.๒ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนที่เรียนด:วยสื่อการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชา พ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) โดยใช:คQาร:อยละ คQาเฉล่ีย คQาเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ สถิติทดสอบคาQ ที (t-test) แบบ Dependent ๕.๓ สอบถามความพึงพอใจของผู:เรียนร:ู ท่ีมีตQอการจัดการเรียนร:ู โดยใช:คQาร:อยละ คQาเฉล่ีย คาQ เบ่ียงเบนมาตรฐาน ๖. สถิติทใี่ ชใ( นการวิเคราะหข1 (อมูล ๖.๑ หาความเหมาะสมของเครื่องมือ ใช:คQาดัชนีความสอดคล:องหาคQาความเที่ยงตรง ความสอดคลอ: ง และความเหมาะสมของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร:ู การประเมินคุณภาพ ของสอื่ การจัดกาเรยี นการสอนออนไลนว@ ิชาพื้นฐานธรุ กิจดิจิทัล (Business Digital Basic) รายวิชารหัส วิชา 30204-2001 สาํ หรบั ประเด็นคําถามใช:คาQ สถิติ (ชูศรี วงศร@ ัตนะ ๒๕๔๖ : ๘๗-๙๑) ดงั น้ี R คา IOC = n เม่ือ IOC แทน ดัชนีความสอดคล:องระหวQางจุดประสงค@ในแบบประเมินคุณภาพ กบั เนอื้ หาท่ีวดั R แทน คะแนนรวมความคดิ เหน็ ของผูเ: ชยี่ วชาญ n แทน จาํ นวนผเ:ู ช่ยี วชาญทง้ั หมด ๖.๒ หาประสิทธิภาพของในการเรียนรู( ดว: ยส่ือการจัดกาเรียนการสอนออนไลน@ วิชาพื้นฐาน ธุรกิจดจิ ิทลั (Business Digital Basic) รายวิชารหัสวิชา 30204-2001 ด:วยคQาสถิติโดยใช:สูตร E๑/ E๒ (ชยั ยงค@ พรหมวงศ@ ๒๕๕๖ : ๑๐) ตามเกณฑ@ ๗๕/๗๕ ดงั น้ี ∑X N X คา E๑ = A × ๑๐๐ หรอื A × ๑๐๐ เม่ือ E๑ คอื ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ ∑ X คือ คะแนนรวมของแบบฝwกปฏิบัติกิจกรรมหรืองานท่ีทําระหวQางเรียน ท้ังท่เี ปนกจิ กรรมในห:องเรียน นอกห:องเรยี นหรือออนไลน@ A คือ คะแนนเต็มของแบบฝwกปฏบิ ตั ิ ทุกชน้ิ รวมกนั N คอื จํานวนผู:เรยี น ∑F คา E๒ = NB × ๑๐๐ หรือ BF × ๑๐๐ เมอื่ E๒ คอื ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ@ ∑ F คอื คะแนนรวมของผลลพั ธ@ของการประเมินหลงั เรียน B คือ คะแนนเต็มของการประเมินสุดท:ายของแตQละหนQวย ประกอบด:วย ผลการสอบหลังเรียนและคะแนนจากการประเมนิ งานสุดทา: ย N คือ จํานวนผเ:ู รียน

๒๓ ๖.๓ หาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรู( ดว: ยสื่อการจัดกาเรยี นการสอนออนไลน@ วชิ าพ้ืนฐานธุรกิจ ดิจิทัล (Business Digital Basic) รายวชิ ารหัสวชิ า 30204-2001 ชอ่ื พ้นื ฐานธรุ กิจดิจทิ ัล ดังนี้ ๖.๓.๑ คาร(อยละ สูตรหาคาQ คะแนนร:อยละ (บญุ ชม ศรีสะอาด ๒๕๔๕ : ๑๐๔) คา p  f x ๑๐๐ N เมอื่ P แทน รอ: ยละ F แทน ความถท่ี ่ีต:องการแปลงใหเ: ปนรอ: ยละ N แทน จํานวนความถ่ที ้งั หมด ๖.๓.๒ คาเฉลีย่ การหาระดบั ความคดิ เหน็ ทีม่ ีตQอคุณภาพของเอกสารประกอบการสอน โดยหาคQาคะแนนเฉลยี่ ( X ) (ชศู รี วงศ@รตั นะ ๒๕๔๖ : ๘๗-๙๑) ∑X คา X  N เมื่อ X แทน คะแนน เฉลยี่ ระดบั ความพงึ พอใจของผู:ประเมิน X แทน ผลรวมคะแนน ทัง้ หมด N แทน จาํ นวนผป:ู ระเมินท้งั หมด ๖.๓.๓ คาเบย่ี งเบนมาตรฐาน การหาสQวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ระดับความคิดเห็น ที่มตี Qอคุณภาพของเอกสารประกอบการสอน (ชศู รี วงศ@รัตนะ ๒๕๔๖ : ๘๗-๙๑) คา S.D.  N∑ X ๒ - (∑ X) ๒ N(N - ๑) เม่อื S.D. แทน สQวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑ X๒ แทน ผลรวมของคะแนนแตQละตัวยกกาํ ลงั สอง (∑ X)๒ แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมดยกกําลังสอง N แทน จํานวนผปู: ระเมินท้งั หมดท่ีแสดงความคดิ เหน็ ๖.๓.๔ สถิติทดสอบคาที โดยการหาคQาที (t – test) (ประภาพรรณ เส็งวงศ@ ๒๕๕๐ : ๓๐) ดังน้ี D n ( D 2 )  ( D) 2 คา t = (n  1) เม่ือ D แทน ผลตQางของคะแนนครง้ั หลังกบั คร้งั แรก n แทน จํานวนคนทง้ั หมด D แทน การนาํ ผลตาQ งของคะแนนครง้ั หลงั กับครง้ั แรกของแตลQ ะคน บวกกนั D2 แทน การนาํ ผลตQางของคะแนนคร้ังหลงั กบั คร้ังแรกของแตQละคนยก กาํ ลงั สองแล:วนาํ มาบวกกัน

บทท่ี ๔ ผลการวเิ คราะหขอมูล การวิจัยคร้งั น้ี ผูศึกษาวิจยั ไดสรางและหาประสิทธิภาพส่ือสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน% วิชา พ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยผู ศึกษาวจิ ัยไดดาํ เนนิ การวิเคราะห%ขอมลู ตามลําดบั ดังตอB ไปน้ี ๑. วิเคราะหห% าคะแนนเฉล่ยี คณุ ภาพความเหมาะสมสอดคลองของสอื่ สื่อการจดั การเรยี นรู ออนไลน%ทสี่ รางขึ้น ๒. วิเคราะห%หาประสทิ ธิภาพของสื่อสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน%ทส่ี รางขน้ึ ๓. เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรูจากการเรยี นรดู วยเอกสารทส่ี รางข้ึน ๔. วิเคราะห%หาคะแนนเฉลย่ี ความพงึ พอใจของผเู รยี นรูทีม่ ีตอB การจัดการเรียนรู ๑. วเิ คราะหหาคะแนนเฉล่ยี คณุ ภาพความเหมาะสมสอดคลองของสือ่ สอ่ื การจดั การ เรียนรูออนไลนท่ีสรางข้ึน เมื่อดําเนินการสรางส่ือส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน% วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) เสร็จเรียบรอยแลวนําเสนอตBอกลBุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชา คอมพิวเตอร%ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหาร ซึ่งเปQนผูเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ จํานวน ๕ ทBานทําการประเมินคุณภาพความเหมาะสมสอดคลอง โดยใชแบบประเมินคุณภาพความเหมาะสม สอดคลองของส่ือสือ่ การจดั การเรียนรูออนไลน%ท่สี รางขน้ึ ปรากฏผลดังทไ่ี ดแสดงรายละเอยี ดในตารางท่ี๔.๑ ตารางท่ี ๔.๑ แสดงผลการวิเคราะหหาคะแนนเฉล่ียความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ ที่มีต/อคุณภาพ ความเหมาะสมสอดคลองของสือ่ ส่อื การจัดการเรียนรูออนไลนประกอบการเรียนรู รายการประเมินความคิดเห็น X S.D. ระดับ ดานเนอื้ หา ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากที่สุด ๑ ครอบคลุมจุดประสงค%รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และ คาํ อธิบายรายวชิ า ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากที่สุด ๒ โครงสรางของเนื้อหาชดั เจน ๔.๘๐ ๐.๔๕ มากทส่ี ดุ ๓ การเรียงลาํ ดับเน้ือหาเขาใจงาB ย ๔.๘๐ ๐.๔๕ มากท่ีสดุ ๔ ใชภาษาไดเหมาะสมกบั ผูเรยี นรู ๔.๖๐ ๐.๕๕ มากที่สุด ๕ มีภาพประกอบชวB ยใหส่ือความหมายชดั เจน ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากทส่ี ุด ๖ เนื้อหาสามารถใชฝกZ ทักษะปฏิบตั ิงานไดดวยตนเองจรงิ ๔.๘๗ ๐.๒๔ มากที่สดุ เฉลี่ย

๒๕ ตารางท่ี ๔.๑ แสดงผลการวิเคราะหหาคะแนนเฉลี่ยความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ท่ีมีต/อคุณภาพ ความเหมาะสมสอดคลองของส่ือส่ือการจัดการเรียนรูออนไลนประกอบการเรียนรู (ตอ/ ) รายการประเมนิ ความคดิ เห็น X S.D. ระดับ ดานการส/งเสริมการเรยี นรู ๕.๐๐ ๐.๐๐ มากที่สุด ๗ กระตนุ ใหเกดิ การเรียนรู ๔.๘๐ ๐.๔๕ มากที่สุด ๘ สงB เสริมกระบวนการคดิ วเิ คราะห% ๔.๘๐ ๐.๔๕ มากทีส่ ุด ๙ สงB เสรมิ ใหมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๔.๔๐ ๐.๕๕ มาก ๑๐ สBงเสรมิ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช ๔.๗๕ ๐.๓๖ มากท่ีสดุ ๔.๘๒ ๐.๑๖ มากท่สี ดุ เฉลี่ย รวมท้ัง ๒ ดานเฉลย่ี ผลปรากฏวBา คุณภาพความเหมาะสมสอดคลองของส่ือส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน% ทางดานเนื้อหา และดานสBงเสริมการเรียนรู มีคBาเฉล่ียเทBากับ ๔.๘๗ และ ๔.๗๕ โดยมีคุณภาพความ เหมาะสมอยBูในระดับคุณภาพมากท่ีสุดทั้ง ๒ ดาน มีคBาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทBากับ ๐.๒๔ และ ๐.๓๖ ตามลําดับ ซ่ึงเม่ือพิจารณาในภาพรวมแสดงใหเห็นวBา ผูเช่ียวชาญมีความคิดเห็นตBอคุณภาพความ เหมาะสมของสื่อสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน%ประกอบการเรียนรูดวยตนเองที่สรางข้ึน ท้ัง ๒ ดาน มีคBาเฉลี่ย (X) โดยรวมเทBากับ ๔.๘๒ และมีคBาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทBากับ ๐.๖๑ อยูBในระดับ คุณภาพมากท่ีสุด แสดงวBาส่ือสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน% ฝZกทักษะดวยตนเอง มีคุณภาพเหมาะสม สอดคลองกับจุดประสงค%การเรียนรู สามารถนําไปใชในการจัดการเรียนรูได ดังรายละเอียดใน ภาคผนวก จ ๒. วิเคราะหหาประสทิ ธภิ าพของสอื่ สือ่ การจดั การเรียนรูออนไลนทีส่ รางข้ึน จากการนําสื่อส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน% วชิ าพ้ืนฐานธรุ กิจดิจิทลั (Business Digital Basic) ไปทดลองใชกบั กลมBุ ตัวอยาB งปรากฏผลดังทไ่ี ดแสดงรายละเอียดในตารางที่ ๔.๒ ตารางท่ี ๔.๒ แสดงการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของส่ือส่อื การจัดการเรียนรูออนไลนประกอบการ เรียนรู รายการ N X คา/ คะแนน คะแนน ค/าคะแนน เฉลีย่ เต็ม เฉล่ยี รอยละ คะแนนทาํ แบบฝZกทักษะ ๑1 78 7.09 10 70.91 คะแนนสงั เกตและสัมภาษณ%ประเมนิ ผลงาน 11 44 4.0 5 40.0 คะแนนคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค% 11 42.5 3.86 5 3.86 คะแนนทดสอบหลงั เรียนรู 11 94 8.54 10 85.45 คะแนนจากการทําแบบทดสอบหลังเรยี น ๑1 91 8.27 ๑๐ 82.73 ผลการวิเคราะห%จากตารางที่ ๔.๒ แสดงใหเห็นวBา ผูเรียนท่ีเปQนกลBุมตัวอยBางในการทดลอง จํานวน 35 คน ทําแบบฝZกทักษะ สังเกตและสัมภาษณ%ประเมินผลงาน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค% และ ทดสอบหลังเรียนรูไดคะแนน คิดเปQนรอยละ ๘๒.73 ของคะแนนรวมทั้งหมด ซ่ึงสูงกวBาเกณฑ%

๒๖ ประสิทธิภาพท่ีกําหนดรอยละ ๗๕ ตัวแรกที่ตั้งไว และทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได ถกู ตองคดิ เปนQ คBาคะแนนเฉลี่ยรอยละ ๘๑.๗๖ ของคะแนนรวมทั้งหมด ซ่ึงสูงกวBาเกณฑ%ประสิทธิภาพท่ี กาํ หนดรอยละ ๗๕ ตัวหลงั ท่ีต้งั ไว ดงั ทไ่ี ดแสดงรายละเอียดในภาคผนวก ช ๓. เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของคะแนนทดสอบกอ/ นเรียนกับหลงั เรียน ผลของคะแนนการทดสอบกBอนเรียน (Pre-test) และคะแนนการทดสอบหลังเรียน (Post- test) ของผูเรียนรูกลุมB ตวั อยาB งจาํ นวน 35 คน ดวยการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย นํามาวิเคราะห%หาคBาความแตกตBางระหวBางคะแนนทดสอบกBอนเรียน และหลังเรียน ดังท่ีไดแสดง รายละเอยี ดในตารางท่ี ๔.๓ ตารางท่ี ๔.๓ แสดงผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของคะแนนทดสอบก/อนเรียน กบั หลังเรียน รายการ N ผลรวมของคะแนน D D2 t คะแนนทดสอบกอB นเรียน ๑1 40 51.00 273.00 8.04 * คะแนนทดสอบหลังเรียน ๑1 91 * นยั สาํ คญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .๐๕, df = ๑๖, t = ๑.81 (One-tailed) จากตารางท่ี ๔.๓ แสดงใหเห็นวBา ผูเรียนกลBุมตัวอยBางจํานวน 35 คน ทําแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกBอนเรียนและหลังเรียนแลว ผลของคะแนนจากกการทดสอบกBอนเรียน (Pre-test) และหลงั เรยี น (Post-test) แตกตBางกันอยBางมนี ยั สําคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .๐๕ คาB t จากการเปoดตาราง เทาB กับ ๑.81 และคาB t จากการคาํ นวณ เทBากับ 8.04 ซ่ึงคBา t ที่ไดจากการคํานวณมากกวBาคBา t จาก การเปoดตาราง แสดงวBาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรูของกลุBมตัวอยBางหลังเรียนรูดวยส่ือการจัดการเรียนรู ออนไลน% การเรียนรูฝZกทักษะดวยตนเองที่ผูศึกษาสรางขึ้นสูงกวBาผลสัมฤทธิ์ของกลBุมตัวอยBางกBอนเรียน แสดงวาB เม่อื กลมุB ตัวอยBางไดเรยี นโดยใชสอ่ื สอื่ การจัดการเรียนรูออนไลน% แลว ทําใหมีผลการเรียนสูงข้ึนจริง เชื่อถือไดรอยละ๙๕ ดังที่ไดแสดงรายละเอยี ดในภาคผนวก ช ๔. การวิเคราะหหาคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผูเรยี นรู ทีม่ ตี /อการจัดการเรียนรู ตารางที่ ๔.๔ แสดงคา/ สถิตคิ วามพึงพอใจของผูเรียนรู ที่มตี /อการจัดการเรยี นรูในแต/ละประเด็นคาํ ถาม ที่ ประเดน็ การประเมินการจัดการเรยี นรู X S.D. ระดับคณุ ภาพ ๑ ครแู จงวัตถุประสงค% และเน้อื หาการเรียนรขู องรายวชิ าอยาB งชดั เจน 4.73 0.47 มากที่สดุ ๒ ครแู จงวธิ แี ละเกณฑ%การวดั ประเมินผลของรายวชิ าอยBางชดั เจน 4.91 0.30 มากที่สุด ๓ ครอู ธบิ ายเน้อื หาสาระการเรยี นรูที่เขาใจงBาย 4.73 0.47 มากทสี่ ดุ ๔ ครูใชสือ่ ประกอบการเรียนการสอนทเี่ หมาะสมและหลากหลาย 4.64 0.50 มากที่สุด ๕ ครจู ดั เนือ้ หาสาระ และกจิ กรรมการเรยี นรทู ีด่ งึ ดดู ความสนใจของผเู รียน 4.73 0.47 มากทส่ี ดุ ๖ ครใู หผูเรียนฝZกกระบวนการคิด คิดวิเคราะห% คิดสรางสรรค% 4.82 0.40 มากที่สุด ๗ ครูใหผูเรียนไดฝกZ ทักษะปฏิบัติจริง มีการจัดการ และการแกปpญหาในงาน 4.73 0.47 มากทส่ี ดุ ๘ ครูสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.73 0.47 มากทส่ี ดุ ๙ ครูสงB เสรมิ ใหนกั เรียนทํางานรBวมกนั ท้ังเปนQ กลBมุ และรายบคุ คล 4.73 0.47 มากที่สดุ ๑๐ ครใู หผูเรียนมสี BวนรวB มในการวัดและประเมินผลการเรยี น 4.73 0.47 มากทสี่ ดุ

๒๗ เฉล่ยี 4.75 0.45 มากทส่ี ดุ ผลการวิเคราะหจ% ากตารางที่ ๔.๔ แสดงใหเห็นวBาผูเรียนรูมีความพึงพอใจตBอการจัดการเรียนรู ในประเด็นครูใหผูเรียนฝZกกระบวนการคิด คิดวิเคราะห% คิดสรางสรรค% มีคBาเฉล่ียสูงสุดเทBากับ ๔.๘๒ และประเดน็ ครูใชสอ่ื ประกอบการเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมและหลากหลาย คBาเฉลี่ยต่ําสุดเทBากับ ๔.๖4 มีคุณภาพอยูBในระดับมากท่ีสุด ทั้ง ๒ ประเด็น ซ่ึงเม่ือพิจารณาในภาพรวมแสดงใหเห็นวBา ผูเรียนรูมี ความพึงพอใจตBอการจัดการเรียนรู อยูBในระดับมากท่ีสุด มีคBาเฉล่ีย ( X ) เทBากับ ๔.๗5 และมีคBา เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เทBากบั ๐.๔5 ดงั ทีไ่ ดแสดงรายละเอยี ดในภาคผนวก ฌ

บทที่ ๕ สรปุ อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาวิจยั เรื่อง ส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วชิ าพ้นื ฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ชั้นป4ท่ี 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ครั้งน้ีกําหนด วัตถปุ ระสงคของการวิจัย ดงั น้ี ๑. เพอ่ื สรางสอ่ื การจดั การเรียนรูออนไลน วิชาพ้นื ฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ใหมคี ณุ ภาพ และประสิทธิภาพตามเกณฑ ๗๕/๗๕ ๒. เพ่อื ศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนจากการเรียนรูดวยสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ท่ีสราง ข้นึ ๓. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของผูเรยี นรูที่มีตKอการจัดการเรียนรู ๑. สรปุ ผลการวิจัย มีประเด็นสาํ คญั สรุปผลไดดงั น้ี ๑. ส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ที่สราง ข้นึ มคี ณุ ภาพความเหมาะสมสอดคลองกับจดุ ประสงคการเรยี นรู อยใKู นระดับคุณภาพมากท่ีสุด มีคKาเฉลี่ย ( X ) เทาK กับ ๔.82 และมีคKาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทาK กบั ๐.๐6 ๒. ผลการหาประสิทธิภาพของส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ท่ีสรางข้ึน พบวKาประสิทธิภาพ ของสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบ การเรียนรูฝVกทักษะดวยตนเอง ชุดน้ีมีคKาเทKากับ ๘๓.๙๔/ ๘๒.๗๓ สงู กวาK เกณฑที่กําหนดไว ๗๕/๗๕ ๓. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูหลังเรียนดวยสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนรู ฝกV ทักษะดวยตนเอง ชุดนี้ สูงกวาK กอK นเรียนนอยKางมีนยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .๐๕ ๔. ความพงึ พอใจของผูเรียนรูท่ีมีตKอการจัดการเรียนรู โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยKู ในระดับมากท่ีสุด มีคาK เฉลยี่ เทKากบั 4.75 และมคี าK เบ่ียงเบนมาตรฐานเทKากับ ๐.๔5 ๒. อภิปรายผลการวิจยั จากการส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นป4ท่ี 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ครั้งนี้ พบวKา มีคุณภาพ ความเหมาะสมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู มีประสิทธิภาพตามท่ีกําหนด ทั้งน้ีเพราะผูวิจัยได จัดทาํ แผนการสรางส่ือ และดาํ เนินการตามท่กี าํ หนดในแผน โดยการศึกษาสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน และงานวิจัยที่เก่ียวของกับการจัดทําส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนรูฝVกทักษะดวย ตนเอง และเครื่องมือที่ใชในการประเมินการสราง พัฒนาสื่อ ตลอดทั้งได วิเคราะหจุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) แลวนํามา กําหนดแผนจัดการเรียนรูแตKละหนKวยการเรียนรูที่มี ๗ สKวนประกอบดวย สKวนแผนการจัดการเรียนรู ไดแกK ช่ือหนKวยการเรียนรู, หัวของาน/หัวขอเรื่อง, สมรรถนะประจําหนKวย, สาระสําคัญ, จุดประสงค การเรียนรูเชิงพฤติกรรม, พฤติกรรมบKงชี้ที่ตองการเนน, เนื้อหาสาระการเรียนรู, กลยุทธในการจัดการ เรียนรู, วัสดุ-อุปกรณ/เครื่องมือ/เครื่องจักร, กิจกรรมการเรียนรู, งานท่ีมอบหมาย/กิจกรรม ขอควร ระวัง, หลักฐานการเรยี นรู, ส่อื การเรยี นรู, วดั ผล/ประเมนิ ผล, สวK นแบบวัดผลประเมินผลงานการเรียนรู และแบบประเมินพฤติกรรมบKงชี้ สKวนใบความรู เนื้อหาสาระประจําหนKวย ใบงาน ใบฝVกทักษะ สKวน แบบฝVกทักษะ สKวนแบบทดสอบประจําหนKวย สKวนเฉลยแบบฝVกทักษะ และสKวนเฉลยแบบทดสอบ

๒๙ ประจําหนKวย อีกยังไดรับความอนุเคราะหจากกลุKมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชา คอมพวิ เตอรธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชนิ ีมุกดาหาร ซึ่งเปdนผูเช่ียวชาญทางวิชาชีพ จํานวน ๕ ทKาน ที่ชKวยตรวจสอบส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ท่ีสรางข้ึน นอกจากนั้นผูวิจัยไดทําการตรวจสอบ และหาคุณภาพของเคร่ืองมือ แลวทําการปรับปรุงแกไขจนไดเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สามารถนาํ ไปใชในการจดั การเรียนรูใหมปี ระสทิ ธภิ าพ พฒั นาผเู รยี นจนไดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน บรรลุ จุดมKุงหมายท่ีกําหนด นอกจากนั้นผูเรียนยังมีความพึงพอใจตKอการเรียนรู สามารถปรับเปล่ียนผูเรียน ดานพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัยใหสูงขึ้น โดยมีผลการศึกษาละผลการเทียบเคียงกับงานวิจัยคน อืน่ ๆ ดงั นี้ ๑. การสรางสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนรูฝVกทักษะดวยตนเองเรื่อง “งาน การวาดรูป” ผูเช่ียวชาญประเมินคุณภาพความเหมาะสมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู อยKูในระดับ คุณภาพมากท่ีสุด มีคKาเฉล่ีย ( X ) เทKากับ ๔.82 และมีคKาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทKากับ ๐.๐6 ซึ่ง สอดคลองกับงานวิจัยของ ณรงค นวลเอียด (๒๕๕๘) ที่สรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรู ออนไลน ประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร รหัสวิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ สาขาวิชาชKาง อิเลก็ ทรอนิกสK หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ พบวKาคุณภาพของสื่อการจัดการ เรียนรูออนไลน ประกอบการสอน มีคKาเฉล่ีย = ๔.๘๗ คKาเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = ๐.๓๒ ระดับความ คิดเห็นของผูเช่ียวชาญ อยูKในระดับดีมาก และสอดคลองกับงานวิจัยของ วันโชค บุญยอง (๒๕๕๘) ท่ี สรางและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนวิชางานปูน (๒๑๒๑-๒๑๐๒) หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ วิทยาลยั เทคนิคตรัง ประเภทวิชาชKางอุตสาหกรรม สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบวKา คุณภาพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการ เรียน วิชางานปูน รหัสวิชา (๒๑๒๑-๒๑๐๒) มีความคิดเห็นจากผูเช่ียวชาญระดับเห็นดวยมาก โดยมี คKาเฉลีย่ = ๔.๔๑ และคKาเบยี่ งเบนมาตรฐาน S.D. = ๐.๖๖๕ ๒. การท่ีประสิทธิภาพของสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน วิชาพื้นฐานธุรกิจดิจิทัล (Business Digital Basic) มีประสิทธิภาพเทKากับ ๘๓.๙๔/๘๒.๗๓ สูงกวKาเกณฑที่กําหนดไว ๗๕/๗๕ ทั้งนี้เปdน เพราะการสรางส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ดังกลKาว ผKานกระบวนการสรางที่เปdนระบบ ตามขั้นตอน โดยผูสรางไดศึกษาส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน และงานวิจัยที่เกี่ยวของกKอนท่ีจะสรางใหมี ประสิทธิภาพสามารถพฒั นาผูเรียนใหบรรลุจุดประสงคการเรียนรูเชิงพฤติกรรมท่ีกําหนด โดยไดรับการ ตรวจสอบ แนะนําจากผูเชี่ยวชาญ แลวนํามาแกไขปรับปรุง ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของในรายงานบทที่ ๒ ของรายงานเลKมน้ี ๓. การที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรูของผเู รยี น มคี วามแตกตKางกันที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ โดยกKอนเรียน มีคะแนนเฉลี่ย 4.36 ภายหลังจากเรียนดวยส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน มี คะแนนเพมิ่ ขึ้นเฉล่ยี 8.27 ทงั้ นเ้ี ปนd เพราะการจัด การเรียนรูไดกําหนดกลยุทธการเรียนรู โดยใหผูเรียน ศกึ ษาใบความรู เตรยี มเครือ่ งมือ เครือ่ งคอมพิวเตอร สงK ใน Google Classroom และแฟpมสะสมผลงาน ของนักศึกษา ปฏิบัติทําความสะอาดดูแลบํารุงรักษาหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร รKวมกันสรุปอภิปราย วิจารณผลในการปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ทองพูน เบ็ญเจิด (๒๕๕๘) ท่ีไดศึกษาวิจัย เรื่องการสรางและหาประสิทธิภาพส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการสอน วิชางานเคร่ืองมือกล เบื้องตน รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ พบวKา นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวKากKอนเรียนอยKางมี นัยสําคัญที่ระดับ .๐๕ และสอดคลองกับงานวิจัยของ วิชัย แหวนเพชร (๒๕๕๗) ท่ีทําการวิจัยเรื่อง

๓๐ การพัฒนาและหาประสิทธิภาพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน คําสอนวิชาการจัดการการผลิตและการ ดําเนินการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี อุสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พบวKา ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกKอนเรียน มีคะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลงั เรียนสงู กวาK กKอนเรยี นอยาK งมนี ัยสําคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .๐๕ ๔. การท่ีผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนรูที่มีตKอการจัดการเรียนรู โดยภาพรวมมี ระดับความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด มีคKาเฉล่ยี ( X ) เทาK กบั ๔.75 และมีคาK เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เทKากับ ๐.๔5 โดยมีประเด็นคําถามท่ีมีคKาคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผูเรียนสูงท่ีสุด คือ ครูให ผูเรียนไดฝVกทักษะปฏิบัติจริง มีการจัดการ และครูจัดเน้ือหาสาระ และครูใชสื่อประกอบการเรียนการ สอนที่เหมาะสมและหลากหลาย ซ่ึงมีคKาเฉลี่ย ( X ) เทKากับ ๔.64 ตามลําดับ มีคKาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทKากับ 0.50 ตามลําดับ ทั้งนี้เปdนเพราะผูจัดการเรียนรูไดสรางสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนรูฝVกทักษะดวยตนเอง ซึ่งมีสKวนประกอบ ไดแกK สKวนใหความรู (ใบความรู) สKวน ปฏิบตั ิงาน (ใบงาน) ผูเรียนไดลงมือปฏิบัติงานชิ้นงานจริงในชั่วโมงเรียน ผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับเพื่อน ไดชKวยเหลือกันในการทําระดับ เกิดความภาคภูมิใจตKอช้ินงานของตนเองที่สรางข้ึน นอกจากน้ีแลวยัง เพ่มิ ชอK งทางการเรียนรูใหกับผเู รียนรู คือ ผูวิจัยไดอัพไฟลขอมูลสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ที่สรางขึ้น ในระบบอินเทอรเน็ตท่ี http://gg.gg/ 30204-2001 เพ่ือใหผูเรียนรูสามารถทบทวน ความรู ฝVก ทักษะไดทุกที่ทุกเวลาตามความตองการและนKาสนใจมากยิ่งข้ึน ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของ งานวิจัยท่ีเก่ียวของในรายงานบทท่ี ๒ ของรายงานเลมK นี้ ๓. ขอเสนอแนะท่วั ไปที่ไดจากการวิจัย ๓.๑ จากผลการวิจัย พบวKา สื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบการเรียนรูฝVกทักษะดวย ตนเอง ทีส่ รางขึ้น มปี ระสิทธิภาพสูงกวาK เกณฑท่ีกําหนด และเมื่อนําไปใชกลุKมตัวอยKางสามารถพัฒนาผูเรียน ใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงมากกวKาเกณฑ (๗๕) ท่ีระดับความเช่ือม่ันรอยละ ๙๕ น่ันคือ ถานําไปใชกับ ประชากรท่เี ปdนผเู รียนรูระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ก็จะ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงมากกวKาเกณฑ (๗๕) เชKนเดียวกัน เนื่องจากผKานการทดสอบคKา t ที่ระดับ ๐.๐๕ จึงสามารถนําไปใชอางอิงกับประชากรได ดังน้ันผูวิจัยจึงมีความประสงคเผยแพรKให ครูผูจัดการเรียนรู รายวิชาที่เกี่ยวของดานสมรรถนะวิชาชีพขอที่ ๓.5 ประยุกตใชสารสนเทศในงานธุรกิจ ตามโครงสราง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕7 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ ในสถานศึกษาอ่ืน ๆ นําส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ที่สรางข้ึนน้ีไปใชพัฒนาผูเรียน เพื่อประโยชนแกKผูเรียนรู ผูจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดเผยแพรKส่ือการจัดการเรียนรูออนไลน ดังกลKาวบน เครือขาK ยอนิ เทอรเน็ตท่ี gg.gg/ 30204-2001 ๓.๒ ควรนําผลการวิจัยไปใชเปdนขอมูลในการปรับปรุง แกไข สื่อการจัดการเรียนรูออนไลน ประกอบรายวิชาดานสมรรถนะวิชาชีพ ประยุกตใชสารสนเทศในงานดานธุรกิจ โดยเฉพาะในประเด็นที่มี คะแนนความพึงพอใจเฉล่ียนอย คือจดั เนื้อหาสาระ และกจิ กรรมการเรยี นรทู ีด่ ึงดูดความสนใจของผูเรียน ๔. ขอเสนอแนะเพ่อื การทําวิจัยครงั้ ตอ* ไป ควรทําการศึกษาวิจัย เพื่อคนหากลยุทธในการจัดการเรียนรู ท่ีจะทําใหเน้ือหาสาระ และ กิจกรรมการเรยี นรูใหดึงดูดความสนใจของผเู รยี น

บรรณานกุ รม

๓๒ บรรณานุกรม กดิ านันท มลิทอง (๒๕๔๓) เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวตั กรรม พิมพครั้งท่ี ๒ กรุงเทพมหานคร อรุณการพมิ พ เขียน วนั ทนียตระกูล (๒๕๕๑) หลกั การและวิธกี ารสอน มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วิทยา เขตล'านนา เชียงใหม) เฉลิมศักด์ิ นามเชยี งใต' (๒๕๔๔) หลักการ ทฤษฎแี ละนโยบายการปฏิรปู การศึกษา กรุงเทพมหานคร สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ชูศรี วงศรัตนะ (๒๕๔๖) เทคนิคการใช#สถิติเพ่อื การวจิ ยั พิมพคร้งั ท่ี ๙ กรงุ เทพมหานคร เทพเนรมิต การพิมพ ชยั ยงค พรหมวงศ (๒๕๕๖) “การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน” วารสารศิลปกร ศกึ ษาศาสตร)วจิ ัย ๕, ๑ (มกราคม-มถิ นุ ายน) : ๑๐ ชัยยงค พรหมวงศ (๒๕๔๕) มติ ิท่ี ๓ ทางการศกึ ษา สานฝ-นสู.ความเป/นจรงิ กรุงเทพมหานคร โรงพมิ พ บ.เอส.อาร.พริน้ ติ้ง แมสโปรดักส จํากดั ณรงค นวลเอยี ด (๒๕๕๘) การสร#างและหาประสทิ ธภิ าพเอกสารประกอบการสอน วิชาการเขียน โปรแกรมคอมพวิ เตอร) รหสั วิชา ๒๑๐๕-๒๑๑๘ สาขาวิชาชา) งอิเลก็ ทรอนกิ ส) หลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ วิทยาลยั เทคนิคพังงา ทองพูน เบ็ญเจิด (๒๕๕๘) การสรา# งและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอนงานเคร่ืองมอื กล เบอื้ งตน# รหัสวิชา ๓๑๐๐-๐๐๐๙ หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ สงู พุทธศักราช ๒๕๕๗ วทิ ยาลยั เทคนคิ สุรินทร ธวชั ชยั เศวตปวชิ (๒๕๕๙) รายงานผลการใช#เอกสารประกอบการสอน รหสั วชิ า 2106-1004 วชิ า ความปลอดภัยในงานก.อสรา# ง หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ สาขาวชิ าชา) งก)อสร'าง วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินมี กุ ดาหาร นราวธุ สีหะวงษ (๒๕๖๑) การสร#างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการเรยี นร#ูฝกA ทกั ษะด#วย ตนเอง เรอ่ื ง “งานหาระดับพื้นทก่ี อ. สรา# ง” ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันปทD ่ี ๒ สาขาวชิ าช.างกอ. สร#าง หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศักราช ๒๕๕๖ สาขาวิชาช)าง กอ) สร'าง วทิ ยาลัยการอาชพี นวมนิ ทราชินมี กุ ดาหาร บุญชม ศรสี ะอาด (๒๕๔๕) การวิจัยสําหรับครู กรุงเทพมหานคร สวุ รี ยิ าสาสน ประคองศรี สายทอง (๒๕๔๕) “การพัฒนาเอกสารประกอบการเรยี นภาษาอังกฤษเกีย่ วกบั สถานท่ี ทอ. งเทีย่ วสาํ หรับนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปทD ี่ ๖ ในจงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ)” วิทยานิพนธ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาศกึ ษาสาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช ประภาพรรณ เส็งวงศ (๒๕๕๐) การพฒั นานวตั กรรมการเรียนร#ดู ว# ยวธิ ีการวิจยั ในชน้ั เรียน กรงุ เทพมหานคร อี เค บกุH ส

ภาคผนวก

๓๕ ภาคผนวก ก รายนามผูเช่ยี วชาญท่ีรวมประเมิน การสรางและหาประสิทธิภาพส่อื การจดั การเรยี นรอู อนไลน$ วิชาพ้นื ฐานธรุ กิจดจิ ิทลั (Business Digital Basic)

๓๖ รายนามผูเชยี่ วชาญ ผเู ช่ียวชาญทที่ ําการประเมนิ การสรางและหาประสทิ ธภิ าพสื่อการจัดการเรียนรูออนไลน$วิชา พื้นฐานธรุ กิจดิจทิ ัล (Business Digital Basic) เป7นกลุมชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) สาขาวิชา คอมพิวเตอร$ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชนิ มี กุ ดาหาร ประกอบดวย ลําดบั ช่อื , สกลุ ตําแหนง วทิ ยฐานะ ความเชี่ยวชาญดาน หัวหนาสาขาวิชา ๑. ครสู ุดารัตน วงศคาํ พา ครู ครชู าํ นาญการ คอมพวิ เตอร$ คอมพิวเตอร$ ๒. ครปู ระภาพร ผิวเรอื งนนท ครู ครูชาํ นาญการ คอมพิวเตอร$ คอมพิวเตอร$ ๓. ครโู กศล โสดา ครู ครู ๔. ครูณฏั ฐาวรยี เสอื แก'ว ครู พนังานราชการ ๕ ครวู ัชรนิ ทร พนั ธสําโรง ครู ครูพิเศษ

ภาคผนวก ข แผนการจัดการเรียนรูหนวยเรียนรู เรอ่ื ง “งานการวาดรปู ” รายวิชารหสั วิชา 3204-2102 ช่อื วชิ าเทคนิคการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร+

แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๔ รหสั วิชา วิชาการสรางภาพเคลื่อนไหว เรียนรคู รงั้ ท่ี 7 หน,วยท่ี ๔ 3204-2102 คอมพิวเตอร) เวลาเรียนรู ๔ ชว่ั โมง ชอ่ื หน,วยเรียนรู งานการวาดรูป หัวของาน/หัวขอเร่อื ง. งานการวาดรูป เคร่อื งมือที่ใชในการวาดรูป วาดรปู ทรงพน้ื ฐาน การเลอื กวัตถุ ซิมโบลและอนิ สแตนซ+ สมรรถนะประจาํ หน,วยการเรยี นรู วาดรูปโดยใชโปรแกรม Adobe Flash สาระสําคัญ การวาดภาพจากโปรแกรม Flash สามารถแบงเป:น 2 รูปแบบ คือ 1. การวาดแบบ Merger Drawing รูปทรางท่ีวาดจะมีผลตอรูปทรงอื่น เชนเม่ือรูปทรงที่มีพ้ืนที่เป:นสีเดียวมาซอนทับ ก็จะถูกรวม เป:นชิ้นเดียวกัน แตหากมีสีแตกตางเม่ือเคล่ือนยายสวนท่ีถูกซอนทับก็จะหายไปอัตโนมัติ 2. การวาด แบบ Object Drawing ซึ่งรูปทรงท้ังในสวนของเสนและพ้ืนผิมมากลางเป:นช้ินเดียวกัน หากนํามา ซอนทับก็จะไมสงผลใหรูปทรงเปลี่ยนแปลงรูปรางไปแตอยางใด การเลือกวัตถุเป:นข้ันตอนในการ ปรับเปล่ียนแกไข แปลงวัตถุในรูปแบบตางๆ การสรางวาดรูปจําเป:นตองกําหนด Symbol วาคืออะไร ตามวตั ถปุ ระสงคข+ องวตั ถุท่ีตองการ จดุ ประสงคก) ารเรียนรูเชิงพฤตกิ รรม หลังจากศึกษาหนวยนแี้ ลว ผูเรยี นรสู ามารถ ดานความรู ๑. อธบิ ายความรปู แบบการวาดรูปไดถูกตอง ๒. อธบิ ายลําดบั ข้นั ตอนการวาดรปู ไดถกู ตอง ดานทกั ษะ ๑. สามารถวาดรปู ไดถกู ตอง “มีความพอประมาณ” ๒. สามารถบันทึกขอมูลไดถูกตอง “เกดิ ภูมิคมุ กนั ตนเอง” ๓. สามารถเพ่ิมผลงานในแฟYมสะสมผลงานไดถกู ตอง “มีเหตผุ ล” ดานคุณลักษณะที่พึงประสงค# กิจนิสัยในการทํางานอยางมีวินัย ความละเอียด รอบคอบความปลอดภยั พฤติกรรมบ,งช้ีทตี่ องการเนน ในขณะศกึ ษาหนวยน้ี ผเู รยี นรตู องมีพฤติกรรมบงช้ี ดังน้ี ๑. มกี ารเตรยี มความพรอมในการเรยี นและปฏบิ ตั ิงาน ๒. ซกั ถามปญ] หาขอสงสัย ๓. ปฏบิ ตั งิ านดวยความละเอียดรอบคอบ ๔. ปฏบิ ตั งิ านโดยคํานึงถงึ ความปลอดภัย ๕. สามารถแกไขปญ] หาไดดวยตนเอง

เนือ้ หาสาระการเรยี นรู 1. เคร่อื งมือท่ีใชในการวาดรปู 2. วาดรูปทรงพ้นื ฐาน 3. การเลอื กวัตถุ 4. ซมิ โบลและอนิ สแตนซ+ กลยุทธ)ในการจดั การเรยี นรู ในขณะศึกษาหนวยน้ี ผูเรียนรูตองปฏิบตั ิงานตามขัน้ ตอน ดังน้ี ๑. แบบทดสอบกอนเรียนรู ๒. ศกึ ษาใบความรูงานการวาดรูป ๕. ปฏิบัติงานการวาดรูปดวยโปรแกรม Adobe Flash ๙. บันทึกขอมูลใน Folder ของนักศกึ ษาที่ Drive D: ในรูปแบบไฟลน+ ามสกลุ .fla และ นามสกุล .jpg สงใน Google Classroom และแฟYมสะสมผลงานของนักศึกษา ๑0. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ๑1. ประเมินพฤติกรรมบงช้ี ๑2. ทําแบบทดสอบหลงั เรยี นรู วัสด-ุ อุปกรณ/) เครอ่ื งมอื /เครือ่ งจกั ร ๑. เครื่องคอมพิวเตอร+ 2. เครอื่ งโปรเจคเตอร+ กจิ กรรมการเรียนรู ๑. เตรียมการเขาสู,บทเรียน ๑.๑ เตรยี มแบบทดสอบกอน-หลังเรยี นรู ๑.๒ เตรยี มเอกสารประกอบการเรยี น เรื่องงานทําระดับแบบตอเน่อื ง ๑.๓ เตรียม power point เรอ่ื งงานทําระดับแบบตอเน่ือง ๑.๔ เตรยี มแบบวดั ผลประเมินผล แบบประเมนิ พฤตกิ รรมบงชี้ ๒. การเรียนรู ๒.๑ กลยุทธ#การเรียนรู ใหผูเรียนศึกษาใบความรู ปฏิบัติงานการวาดรูป ดวย โปรแกรม Adobe Flash บันทึกขอมูลใน Folder ของนักศึกษาท่ี Drive D: ในรูปแบบไฟล+นามสกุล .fla และนามสกลุ .jpg สงใน Google Classroom และแฟYมสะสมผลงานของนักศึกษา ปฏิบัติทําความ สะอาดดแู ลบาํ รงุ รักษาหองปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร+ รวมกนั สรุปอภปิ รายวจิ ารณผ+ ลในการปฏิบตั ิงาน ๒.๒ กจิ กรรมการเรียนรู ๑) ทบทวนหนวยการเรียนรูท่ี 7 ๒) ตรวจสอบความกาวหนาทางการเรียน (Progress Chart ) ๓) แจกเอกสารประกอบการเรียนรูใหแตละคนศึกษา ฉาย power point อธิบาย ชแี้ นะ แนะนํา ขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั งิ านฝqกทกั ษะ ๔) สรางหัวขอเรือ่ งงานการวาดรปู ในแฟYมสะสมผลงานของนักศึกษา ๕) อธิบาย ชแ้ี นะ แนะนํา ปฏบิ ัตสิ าธิตขนั้ ตอนในการปฏิบัตงิ าน ตอบขอซักถาม ๘) กาํ หนดภาพตัวอยางเพ่ือใหนกั ศกึ ษาวาดภาพ ๙) ปฏบิ ตั กิ ารวาดภาพดวยโปรแกรม Adobe Flash

๑1) บันทึกขอมูลใน Folder ของนักศึกษาที่ Drive D: ในรูปแบบไฟล+นามสกลุ .fla และนามสกุล .jpg สงใน Google Classroom และแฟYมสะสมผลงาน ของนักศึกษา ๑2) ควบคุม สงั เกต รวมกนั ตรวจสอบผลงาน ๑3) ปฏบิ ตั ิทําความสะอาดดูแลหองปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร+ ๑4) ประเมินการปฏบิ ตั งิ าน ประเมนิ พฤติกรรมบงชี้ ประเมนิ ผลการเรียนรู ๓. สรุปการเรียนรู รวมกันสรุปอภิปรายวิจารณ+ผลในการปฏิบัติงาน ช้ีแนะขอควรปรับปรุง กบั ผเู รียน ๔. การวัดผลประเมินผล ๔.๑ แจกแบบทดสอบกอนการเรยี นรู ๔.๒ แจกแบบประเมินผลงาน ประเมินพฤติกรรมบงช้ี ๔.๓ แจกแบบทดสอบประจาํ หนวย ๔.๔ ประเมินผล ๔.๕ ทดสอบผไู มผานเกณฑ+ใหม งานที่มอบหมาย/กิจกรรม ใหผูเรียนรูแตละคนศึกษาขอมูลจากเอกสารประกอบการเรียนรู ปฏิบัติงานการวาดรูป ตาม รูปแบบที่กําหนด บันทึกขอมูลใน Folder ของนักศึกษาท่ี Drive D: ในรูปแบบไฟล+นามสกุล .fla และ นามสกุล .jpg สงใน Google Classroom และแฟYมสะสมผลงานของนักศึกษา ขอควรระวงั หามนําอาหารและเครื่องด่ืมเขามารับปทานในหองเรียน ในการวาดรูป เสน กับพ้ืน จะแยก ออกจากกัน ใหทําการวาดและจัดกลุม เป:นสวนๆ ไป เชน กลุมแขน กลุมลูกตาดํา กลุมลูกตาขาว กลุม ใบหนา ฯลฯ และคอยจัดเรยี งประกอบเป:นรปู ภาพ หลกั ฐานการเรียนรู ๓. ใบประเมนิ พฤติกรรมบงช้ี ๔. คะแนนทดสอบประจําหนวย ๑. แบบฝqกทกั ษะ ๒. ใบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน สือ่ การเรียนรู ๑. เอกสารประกอบการเรยี น เร่ืองงานการวาดรูป ๒. power point เรอ่ื งงานการวาดรปู ๓. ใบงาน เร่ืองงานการวาดรูป 4. สอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน+ (gg.gg/k-bon) วัดผล/ประเมินผล หนวยนี้วดั ผลโดยวธิ ีการ ดังน้ี ๑. ก,อนเรยี นรู ใชแบบทดสอบกอนเรียนรู สังเกต สัมภาษณ+ ตรวจสอบความพรอมในการเรียนรู ปฏบิ ัตงิ านฝกq ทักษะ ๒. ขณะเรยี นรู สังเกต สมั ภาษณ+ ตรวจสอบการใชกลองระดบั ประเมินผลงาน ๓. หลังการเรยี นรู ใชแบบทดสอบประจาํ หนวย

ประเมนิ ผล ๑. ประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินพฤติกรรมบงช้ี โดยถือเกณฑ+ผานสําหรับผูที่ได คะแนนจากการประเมนิ ๓ คะแนนขึ้นไป ๒. ประเมินผลความรู โดยถือเกณฑ+ผานสําหรับผูท่ีไดคะแนนจากการวัดผลรอยละ ๖๐ ขน้ึ ไป

๓๓ พิชิต ฤทธิ์จรญู (๒๕๕๔) รายงานการวจิ ยั : เขยี นอยา. งไรใหม# คี ณุ ภาพ กรงุ เทพมหานคร บรษิ ทั ทเี อส อนิ เตอรปริ้น จาํ กัด วันโชค บุญยอง (๒๕๕๘) การสรา# งและหาประสทิ ธภิ าพเอกสารประกอบการเรียนวชิ างานปนู (๒๑๒๑-๒๑๐๒) หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ วิทยาลัยเทคนิคตรัง สมเดช สีแสดง และสุนันทา สนุ ทรประเสรฐิ (๒๕๕๐) ปฏิรปู การเรยี นรู#ส.กู ารพัฒนาวิชาชีพครู นครสวรรค รมิ ปงK การพิมพ สชุ าติ ศิริสขุ ไพบลู ย (๒๕๕๐) เอกสารประกอบการฝAกอบรมการเล่ือนวทิ ยฐานะ กรุงเทพมหานคร สาขาวิชาเคร่ืองกล ภาควชิ าครุศาสตรเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา' พระนครเหนือ (อดั สาํ เนา) สุวิทย มลู คํา และสุนนั ทา สนุ ทรประเสริฐ (๒๕๕๐) ผลงานทางวชิ าการ ส.ูการเล่อื นวิทฐานะ กรงุ เทพมหานคร ห'างห'ุนสว) นจาํ กัดภาพพิมพ สทิ ธ์ิ สายหลา' (๒๕๔๑) ศาสตรแ) ละศลิ ปOการเปน/ ครู พิมพคร้งั ที่ ๒ นครราชสีมา ศูนยนิเทศอาชวี ศึกษา ภาคตะวันออกเฉลยี งเหนือ หน)วยศึกษานเิ ทศก กรมอาชวี ศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (๒๕๕๖) หลกั สูตรประกาศนียบตั ร วิชาชพี พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม เลม. ท่ี ๓ กรงุ เทพมหานคร สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๖๑) คู.มือ การเขยี นรายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอน อาชวี ศึกษา กรุงเทพมหานคร สุราษฎร พรมจนั ทร (๒๕๕๐) ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค กรุงเทพมหานคร ภาควิชาครุศาสตร เครอ่ื งกล คณะครศุ าสตรอตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล'าพระนครเหนือ สุราษฎร พรหมจนั ทร (๒๕๕๒) การพัฒนาหลกั สูตรรายวิชา Course Development. พมิ พครงั้ ที่ ๒ กรุงเทพมหานคร ภาควิชาครุศาสตรเคร่อื งกล คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล'าพระนครเหนือ ศนู ยสง) เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคกลาง (๒๕๕๘) คู.มือการเขียนแผนการจัดการเรยี นร#ู หน)วยศึกษานเิ ทศก สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

ภาคผนวก ค เอกสารประกอบการเรียนรฝู กทักษะดวยตนเอง เรื่อง “งานการวาดรปู ” รายวชิ ารหัสวิชา 3204-2102 ช่ือวชิ าเทคนิคการสรางภาพเคลอื่ นไหวคอมพิวเตอร, (Computer Animation)