Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน

สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน

Description: หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน

Search

Read the Text Version

1 หลักสตู รศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการพัฒนาหลกั สตู รและนวัตกรรมการสอน หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ.2560 ชื่อสถาบันอุดมศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวิชา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม ภาควิชาการศึกษา สาขาหลกั สตู รและการสอน หมวดที่ 1 ข้อมลู ท่ัวไป 1. รหัสและชื่อหลกั สตู ร ภาษาไทย: ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน ภาษาอังกฤษ: Master of Education Program in Curriculum Development and Instructional Innovation 2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ชอ่ื เตม็ (ไทย): ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (การพัฒนาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน) ช่ือย่อ (ไทย): ศษ.ม. (การพฒั นาหลกั สตู รและนวตั กรรมการสอน) ชอ่ื เตม็ (องั กฤษ): Master of Education (Curriculum Development and Instructional Innovation) ชื่อยอ่ (องั กฤษ): M.Ed. (Curriculum Development and Instructional Innovation) 3. วชิ าเอก การพัฒนาหลกั สูตรและนวตั กรรมการสอน 4. จานวนหน่วยกติ ที่เรียนตลอดหลกั สตู ร 36 หนว่ ยกติ 5. รปู แบบของหลักสูตร 5.1 รปู แบบ หลกั สตู รระดับปริญญาโท หลักสตู ร 2 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนกั ศึกษาไทย และนักศกึ ษาต่างประเทศทส่ี ามารถใชภ้ าษาไทยได้

2 5.4 ความรว่ มมือกบั สถาบันอนื่ เปน็ หลกั สูตรเฉพาะของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การใหป้ รญิ ญาแก่ผสู้ าเร็จการศึกษา ใหป้ รญิ ญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนมุ ตั /ิ เหน็ ชอบหลกั สูตร  หลักสตู รใหม่ พ.ศ.2559  หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ.2560 สภาวชิ าการ เห็นชอบในการนาเสนอหลกั สตู รตอ่ สภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชมุ ครัง้ ที่ 4/2560 วันท่ี 4 เมษายน 2560 สภามหาวทิ ยาลัย อนุมัตหิ ลกั สูตร ในการประชุม ครัง้ ที่ 5/2560 วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2560 เปดิ สอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2560 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สตู รคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท ในปี การศึกษา 2561 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สาเรจ็ การศึกษา 8.1 คณาจารยร์ ะดบั อุดมศกึ ษา ครใู นสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และระดับอาชวี ศกึ ษา 8.2 นกั วิชาการท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการพฒั นาหลกั สูตรและการสอนของหน่วยงานท้ังภาครฐั และเอกชน 8.3 ผู้บรหิ ารสถานศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับอาชีวศึกษา 8.4 นักวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การพัฒนาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน 8.5 นักฝึกอบรม/สัมมนา 9. ช่อื เลขประจาตวั ประชาชนตาแหน่ง และคณุ วฒุ ิการศกึ ษาของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร ลาดบั ชื่อ – นามสกุล ตาแหนง่ คุณวุฒิ- สาขาวชิ า ปที ี่จบ สาเร็จจาก วชิ าการ 1 ว่าที่ ร.ต.สุทธิพร ผ้ชู ว่ ย ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน) 2545 มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บญุ ส่ง* ศาสตราจารย์ ศษ.ม. (การสอนสังคมศกึ ษา) 2533 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ศษ.บ. (สงั คมศกึ ษา) 2525 มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2 นางสาวรินรดี อาจารย์ ค.ด. (หลักสตู รและการสอน) 2555 จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ปาปะใน ค.ม. (นเิ ทศการศึกษาและ 2546 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พัฒนาหลกั สตู ร) ค.บ. (วิทยาศาสตร์ท่วั ไป) 2541 สถาบนั ราชภฏั พระนคร 3 นายพรภริ มย์ อาจารย์ ปร.ด. (หลกั สตู รและการสอน) 2553 มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร หลงทรัพย์ ศษ.ม. (การวัดและประเมินผล 2547 มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง การศกึ ษา) 2542 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล พย.บ. (พยาบาลศาสตร)์ หมายเหตุ * ประธานหลกั สูตร

3 10. สถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาท่ีจาเป็นตอ้ งนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ ปัจจุบันโลกเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทั้งเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ วิถีชีวิต วัฒนธรรม รวมทั้งส่ิงแวดล้อมรอบตัว เป็นยุคที่ต้องสามารถสร้างเด็กไทยให้ยืนอยู่ในเวทีระดับชาติและระดับ นานาชาติได้อย่างมีความสุข ครูในศตวรรษท่ี 21 จึงเป็นหัวใจของการปฏิรูปการเรียนรู้และเป็นบุคคลท่ีมี ความสาคัญต่อการศึกษาของประเทศตลอดกาล ดังน้ัน ครูจึงต้องพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะของการเป็นครู ไทยมืออาชีพอันประกอบด้วยความมีจิตวิญญาณของความเป็นครูและสร้างแรงบันดาลใจพัฒนาตนเองให้มี ความเป็นครูที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์อย่างสม่าเสมอ ซึ่งเป็นเง่ือนไขสาคัญที่จะนาพาประเทศไปสู่ระบบ เศรษฐกิจฐานความรู้ที่พึงประสงค์ สอดคล้องกับการศึกษาไทยในยุค 4.0 ท่ีมุ่งเน้นให้การศึกษาเป็นการสร้าง ความรู้จากความสนใจรายบุคคลและจากการรวมตัวของคนที่มีแรงผลักดันเป็นทีม เช่น ทีมท่ีมีนวัตกรรมเป็น จุดเน้น โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ แหล่งสาคัญในการสร้างนวตั กรรม การเรียนการสอนตอ้ งขยายองค์ความรู้โดยการ ให้วงจรผลสะท้อนกลับจากการสร้างนวัตกรรมเชิงบวกท่ีว่า ความรู้เกิดทุกที่ ทุกเวลาท้ังในชีวติ ประจาวัน การ เรียนและการทางาน ท้ังน้ี สถานศึกษาต้องปรับเป็นห้องเรียนในโลกไร้พรมแดนท่ีมีการเช่ือมต่อเครือข่ายหรือ ที่ๆ มกี ารส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้อย่างต่อเน่ืองโดยนักเรยี น ครู ผู้ปกครอง ฯลฯ ครูคือแหล่งสรา้ ง นวัตกรรม ดังน้ัน การจัดการศึกษา 4.0 จึงเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพเพื่อสนองตามความต้องการ ใหม่ๆ ของเทคโนโลยโี ดยผสมผสานความก้าวหน้าใหม่ๆ เพื่อสรา้ งนวตั กรรมในการพัฒนาประเทศตอ่ ไป ครูเป็นปัจจัยสาคัญในระดับโรงเรียนท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมากท่ีสุด จากการทดสอบ ระดับนานาชาติ ประเทศที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้สูงจะมีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงกว่า ขณะเดียวกันประเทศที่มีประชากรมีการศึกษาดีมีคุณภาพจะมีความเป็นประชาธิปไตยและเสถียรภาพทางการ เมืองและสังคมสูงกว่า ท้ังนี้ การศึกษากับการพัฒนาเศรษฐกิจมีบทบาทและความสัมพันธ์แบบต่างฝ่ายต่างมี อิทธิพลต่อกัน การจัดการศึกษาเป็นการพัฒนาทุนมนุษย์และทุนทางสังคมท่ีเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดใน กระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม ประเทศต้องจัดการศึกษาให้ทั่วถึง อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณภาพ ทาให้ประชากรส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถมีทักษะ และเป็นพลเมืองท่ีรับผิดชอบ จึงจะสามารถแก้ไข ปัญหาและพฒั นาเศรษฐกิจสังคมให้ประสบความสาเร็จได้ และการพัฒนาทั้งสองด้านนต้ี ้องทาไปพรอ้ มๆ กันไม่ ทาแยกส่วนโดยให้ความสาคัญกับด้านใดด้านหนึ่งก่อนจึงจะเกิดประสิทธิภาพ ปัจจัยพื้นฐานสาคัญที่สุดในการ พัฒนาประเทศ คือ คนที่มีสติปัญญา ความรู้ โดยผ่านกระบวนการการเรียนรู้ ศึกษา และฝึกอบรม ยิ่งใน ระดับสูงขึ้นมากเท่าใด ย่อมก่อให้เกิดพลังอานาจในการพัฒนาประเทศมากข้ึนให้สามารถยืนหยัดต่อสู้อย่าง สมศกั ดศิ์ รีในประชาคมโลกมากข้ึนเท่านน้ั เศรษฐกจิ กบั การศึกษาตา่ งมคี วามสมั พนั ธเ์ ก่ียวเนอ่ื งกนั เปน็ เหตแุ ละ ผลซึ่งกันและกัน และเป็นความสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้น หากประเทศไทย และ หน่วยงานทางการศึกษาต้องการพฒั นาการศึกษาของชาตใิ ห้คนไทยมีคุณภาพ เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข จาเปน็ ต้องพัฒนาเศรษฐกจิ ควบคู่ไปกับการศึกษา

4 11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสงั คมและวัฒนธรรม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 หมวด 4 มาตรา 28 ระบวุ ่าหลักสูตรระดับอดุ มศึกษาต้องมุ่งท่ีจะพัฒนาวชิ าการวิชาชพี ชน้ั สูงและการค้นควา้ วิจัย หมวด 7 ท่ีว่าดว้ ยครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 52 ถึง 57 ได้กาหนดไวว้ ่าให้กระทรวงส่งเสริมให้ มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคุณภาพและมาตรฐานท่ี เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูง โดยกากับและประสานให้สถาบันท่ีทาหน้าที่ผลิตครู คณาจารย์ รวมทั้ง บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรประจาการอย่างต่อเนื่อง ซ่ึง การพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองของครูถือเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต อันเป็นกุญแจสาคัญที่จะนาไปสู่การจัดการ เรียนรสู้ าหรับเด็กในศตวรรษท่ี 21 ท่ีเน้นใหค้ นมีปัญญาเพราะปญั ญาของคนในชาติสาคัญกวา่ ทรพั ยากรแร่ธาตุ นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะแนวทางการพัฒนาการศึกษา ที่มีกรอบทิศทาง แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2574 ประกอบด้วยยทุ ธศาสตร์ 9 ด้าน คือ 1) ยทุ ธศาสตรก์ ารบริหารจดั การระบบขอ้ มลู และสารสนเทศเพ่อื การศกึ ษา 2) ยทุ ธศาสตรก์ ารเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการระดับสถานศกึ ษา 3) ยทุ ธศาสตร์การกระจายอานาจไปสู่สถานศึกษา 4) ยุทธศาสตรก์ ารส่งเสรมิ การมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคสว่ นของสังคม 5) ยุทธศาสตรก์ ารปรับระบบและกลไกการบริหารงานบคุ คล 6) ยุทธศาสตร์การปฏริ ปู ระบบทรพั ยากรและการเงินเพ่อื การศึกษา 7) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล ผูเ้ รียน 8) ยทุ ธศาสตรก์ ารผลติ และพฒั นากาลังคนเพ่อื สนองตอบตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ 9) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาคนตลอดชว่ งชีวติ จะเหน็ ไดว้ า่ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาหลกั สูตรกระบวนการจัดการเรียนการสอนการวดั และประเมนิ ผล ผู้เรียน จะเป็นยุทธศาสตร์หน่ึงท่ีสาคัญตามนโยบายรัฐบาลปัจจุบัน และเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์การผลิตและ พัฒนาครูภายใต้กรอบแนวคิดพลเมืองที่มีคุณภาพย่อมเกิดจากการจัดการเรียนการสอนของครูมืออาชีพท่ีมี สมรรถนะเปน็ เลศิ ในระดบั สากลซ่งึ สถาบนั ผลติ ครูมหี นา้ ท่สี าคญั ท่ตี ้องพฒั นาครูและ เสรมิ สรา้ งความพรอ้ มและ ความเข้มแข็งให้กับหลักสูตรเพ่ือพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถเป็นครูมืออาชีพมีสมรรถนะเป็นเลิศระดับ สากลตอ่ ไป การศึกษาในยุคปัจจุบันเน้นรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning community) เน้นการศึกษา ผ่านปวงชน (Education for all) เน้นการร่วมมือจากปวงชน (All for education) เป็นการศึกษาท่ีเน้นการ เรียนวิธีการเรียนรู้ (Learn how to learn) เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือและการเรียนรู้แบบรวมพลัง (Co- operative and collaborative learning) หลักการจัดการศึกษาเน้นพัฒนาคุณลักษณะของคนไทยที่พึง ประสงค์ท้ังในฐานะพลเมืองและพลโลก สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ครูและบุคลากรทุกฝ่ายในทุกระดับ การศึกษาและการศึกษาทุกประเภทจึงต้องเป็นนักเรียนรู้ (Learner) เพื่อทาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

5 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ และสังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นผู้นา (Leader) ตลอดจนเป็นนักนวัตกรรม (Innovator) ผสู้ ร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ หากสามารถพฒั นาศักยภาพครูให้มีลักษณะขา้ งต้น ครูก็สามารถผลิต เด็กไทยให้เป็นผ้มู ลี ักษณะเช่นเดียวกัน ภารกิจหลักของคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ภาควชิ าการศึกษา สาขาหลกั สูตรและการสอน คือการ จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาวชิ าการ วิชาชพี ของครูให้เปน็ ผู้มีความรู้ ความสามารถดา้ นการพฒั นาหลกั สูตรและการ จัดการเรียนการสอน โดยคณะมีความพร้อมที่จะสนองจุดมุ่งหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติตาม มาตราดังกล่าวข้างต้น ทั้งน้ีสอดคล้องกับความประสงค์ของประชาชนในท้องถ่ินโดยเฉพาะนักศึกษาและครู อาจารย์ที่แสดงความปรารถนาในการพัฒนาตนเอง คือ การศึกษาต่อในระดับขั้นท่ีสูงข้ึน ซึ่งครู อาจารย์จะนา ความรู้ไปพัฒนาเยาวชนของชาติให้ได้รับการพัฒนาชีวิตและสังคม อันเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประเทศ อยา่ งยง่ั ยนื สามารถพงึ่ ตนเองและพ่ึงกันเองได้ และสามารถแขง่ ขันไดใ้ นระดับนานาชาติ 12. ผลกระทบจากขอ้ 11 ต่อการพฒั นาหลักสูตรและความเกย่ี วข้องกับพันธกจิ ของมหาวทิ ยาลัย 12.1 การพัฒนาหลักสตู ร ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงบริบทสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสารปัจจบุ นั บนโลกไร้พรมแดนทเ่ี ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนือ่ ง รวดเรว็ และรนุ แรง การศกึ ษายังคง เป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์และการพัฒนาประเทศท่ีเช่ือมโยงกันท่ัวโลกให้สามารถ ดารงชีวิตท่ามกลางการเปล่ียนแปลงได้อย่างยั่งยืน การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีศักยภาพ เพิ่มขึ้นนั้น บุคคลท่ีสาคัญท่ีสุดในกระบวนการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้ก็คือ “ครู” ครูยังคง เป็นผู้ท่ีมีความสาคัญต่อคุณภาพการศึกษา ทั้งน้ีเพราะคุณภาพของผู้เรียนขึ้นอยู่กับคุณภาพของครู สอดคล้อง กับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 4 มาตรา 28 ระบุว่าหลักสูตรระดับอุดมศึกษาต้องมุ่งท่ีจะพัฒนาวิชาการวิชาชีพช้ันสูงและการค้นคว้าวิจัย ประกอบกับ สภาพสังคมของประเทศไทยในปัจจุบัน เป้าหมายของการศึกษาเน้นทักษะการคิดเพ่ือสร้างความรู้ ค้นหา ความรู้จากแหล่งต่างๆ มีความคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในการเลือก การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ อย่างถูกต้องและ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม การจัดการเรียนการสอนจึงเน้นให้ผู้เรียนใช้ปัญญาในการสร้างความรู้และผลผลิต ด้วยตนเองท่ีมีค่าต่อสังคม “ครู” คือ บุคคลสาคัญท่ีจะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะดังกล่าว ดังน้ัน จึง จาเป็นต้องพัฒนาศักยภาพครูให้มีทักษะการสร้างหลักสูตรรายวิชา ท้ังรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ตลอดจนสร้างหลักสูตรระดบั แผนประเภทต่างๆ คือ แผนระยะยาว แผนรายหน่วย และแผนการจัดการเรียนรู้ รายวันที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ มีความตระหนักและเจตคติเชิงบวกต่อการสร้างหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตร อนั เป็นพืน้ ฐานสาคัญก่อนการนาหลกั สูตรไปใช้ นอกจากนี้ ตอ้ งพฒั นาครูใหม้ ที ักษะดา้ นการจดั การเรยี นรใู้ นช้ัน เรียนท่ีเน้นให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตนเอง ครูต้องมีความชานาญในการใช้ความรู้ ความเข้าใจและทักษะที่มีอยู่ อยา่ งชานาญกบั การจดั การเรียนการสอน โดยใช้กลยุทธ์การสอนหลากหลาย รวมถึงการใช้สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ และมเี จตคติเชิงบวกตอ่ การจัดการเรยี นการสอน

6 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมในฐานะหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตทางการศึกษา จึงทา การพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและตอบสนองต่อการพัฒนาสังคมและประเทศ ตอ่ ไป 12.2 ความเกี่ยวข้องกบั พนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั 12.2.1 ดาเนินการสอนเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ ทักษะท่ีเชี่ยวชาญเทคโนโลยีในการพัฒนา หลกั สูตรและนวัตกรรมการสอนท่มี ีคณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและรับผิดชอบตอ่ สงั คม 12.2.2 ผลิตงานวจิ ัยระดบั มหาบัณฑติ ใหส้ อดคล้องกับพัฒนาการของสังคมและประเทศ 12.2.3 บริการความรู้ เผยแพร่วิชาการทางการพัฒนาหลักสูตรและการสอนสู่ชุมชน สังคมและ ประเทศ 12.2.4 พัฒนาการวิจัยค้นคว้าด้านการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอนที่ส่งเสริม ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมของชาติ 13. ความสมั พันธก์ บั หลกั สตู รทีเ่ ปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอ่นื ของมหาวิทยาลยั 13.1 กลุม่ วิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรนเ้ี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สูตรอืน่ ไมม่ ี 13.2 กลมุ่ วชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรท่ีเปดิ สอนให้ภาควชิ า/หลกั สูตรอนื่ ต้องมาเรียน ไมม่ ี 13.3 การบริหารจดั การ ไม่มี

7 หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 1.1 ปรัชญา มุ่งผลิตมหาบัณฑิตท่ีเป็นผู้นาในการออกแบบ พัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอนในสถานศึกษาทุก ระดับอย่างมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี เป็นท่ยี อมรบั ในระดบั ชาติและสากล 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน ให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณใ์ นวชิ าชีพดังต่อไปน้ี 1.2.1 มีความสามารถวิจัยด้านหลักสูตร และความสามารถด้านการออกแบบพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอนให้สอดคล้องกับสาระความรู้และลักษณะผู้เรียน โดยประยุกต์หลักการและทฤษฎีได้อย่าง เหมาะสมกบั สถานการณก์ ารเรียนรู้เป็นทีย่ อมในระดับชาตแิ ละสากล 1.2.2 มีความสามารถในการนานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศบริหารจัดการและพัฒนางาน วิชาการเก่ยี วกับการพัฒนาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน 1.2.3 มีความสามารถในการวิจัยเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนหรืองานท่ี เกย่ี วข้องไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1.2.4 มีความรู้ ความสามารถทางการศึกษา และวิชาชีพเฉพาะสาขา โดยเน้นการนาแนวคิดทฤษฎี ทางหลักสูตรและการสอนมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ แก้ปัญหาและพัฒนาการศึกษาทั้งในระดับท้องถ่ิน และระดบั ชาตไิ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ 1.2.5 มีความเป็นผู้นาทางการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพตาม มาตรฐานวิชาชพี ทางการศกึ ษา

8 2. แผนพัฒนาปรบั ปรุง แผนการพัฒนา/เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งชี้ 1. พฒั นาหลกั สูตรศกึ ษาศาสตร 1. พัฒนาหลักสูตรตามเกณฑ์ 1. เอกสารหลกั สตู ร มหาบณั ฑิตใหส้ อดคลอ้ งกับการ มาตรฐานของ สกอ. พัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม และ วฒั นธรรม 2. ปรับปรุงหลกั สตู รศึกษา 2. พัฒนาหลักสูตรโดยให้ 2. เอกสารหลกั สูตรฉบับ ศาสตรมหาบณั ฑติ ใหส้ อดคล้อง สอดคลอ้ งกบั การพฒั นา ปรบั ปรุง กบั การพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม เศรษฐกจิ สังคม และ และวัฒนธรรม วัฒนธรรม 3. พัฒนาศกั ยภาพของอาจารย์ 3. สง่ เสรมิ และเปิดโอกาสให้ 3. รายงานผลการประเมิน ด้านกลยุทธ์การสอน อาจารย์เขา้ ร่วมประชุมและ หลกั สูตร นวตั กรรมการศึกษา และการ สมั มนาทางวิชาการ วิจยั ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ 4. การประเมินหลักสตู ร 4. ส่งเสริมการทาวิจยั ของ 4. เอกสารแสดงการเข้าร่วม อาจารยเ์ พื่อสรา้ งความรแู้ ละ ประชมุ และสัมมนาทาง นวัตกรรมใหม่ ความสามารถใน วิชาการ การดแู ล นกั ศกึ ษา ความพึง 5. ผลงานวจิ ยั ที่เผยแพรห่ รือ พอใจของผู้ใช้มหาบณั ฑติ , ได้รบั การตีพิมพใ์ นวารสาร นกั ศกึ ษา วิชาการจานวน นกั ศกึ ษา ที่ สมคั รเขา้ เรยี น, สาเร็จ การศึกษาผลการสารวจความ คดิ เห็นของผูใ้ ชม้ หาบัณฑติ , นกั ศกึ ษา

9 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งหลักสตู ร 1. ระบบการจัดการศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหนึ่งจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซ่ึงเป็นภาค การศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ต่อหน่ึงภาคการศึกษา ท้ังนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการ สอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ว่าดว้ ยการศึกษา ระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดรู อ้ น มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดรู ้อน ท้ังนี้ขึน้ อยู่กบั การพิจารณาของคณะกรรมการประจา หลกั สตู ร 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค - 2. การดาเนนิ การหลกั สตู ร 2.1 วัน-เวลาในดาเนนิ การเรยี นการสอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดือนมถิ นุ ายน–กันยายน ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นพฤศจิกายน–กมุ ภาพันธ์ ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น เดอื นมีนาคม–พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบตั ิของผ้เู ขา้ ศกึ ษา 2.2.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางด้านการศึกษา แต่หากสาเร็จการศึกษาในสาขาวิชา อ่ืนๆ ให้อยู่ในดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร 2.2.2 มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ.2559 (ภาคผนวก ค) ***คุณสมบัติของแผน ก แบบ ก 1 ต้องคัดเลือกบุคคลท่ีมีความรู้และประสบการณ์การทาวิจัยด้านการพัฒนา หลักสูตรและนวตั กรรมการสอนมาแลว้ และหากตอ้ งเรียนรายวชิ าเพ่มิ ให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของคณะกรรมการ 2.3 ปญั หาของนักศึกษาแรกเขา้ ไมม่ ี 2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนินการเพ่อื แก้ไขปญั หา/ข้อจากดั ของนกั ศึกษาในขอ้ 2.3 ไม่มี

10 2.5 แผนการรับนกั ศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี แผน ก แบบ ก1 จานวนนกั ศกึ ษา จานวนนกั ศึกษาแต่ละปกี ารศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564 ชั้นปที ่ี 1 222 2 2 ชน้ั ปีที่ 2 -22 2 2 รวม 2 4 4 4 4 คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา -22 2 2 แผน ก แบบ ก2 จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564 ชั้นปที ี่ 1 13 13 13 13 13 ช้ันปที ี่ 2 - 13 13 13 13 รวม 13 26 26 26 26 คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา - 13 13 13 13 จานวนนกั ศึกษารวม (ท้งั 2 แผน) 15 30 30 30 30 คาดว่าจะสาเร็จการศกึ ษา (ท้ัง 2 แผน) - 15 15 15 15 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรบั 2560 ปงี บประมาณ 2564 2561 2562 2563 คา่ บารงุ การศกึ ษา 150,000 300,000 300,000 300,000 300,000 ค่าลงทะเบยี น 225,000 450,000 450,000 450,000 450,000 เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล 453,600 453,600 453,600 453,600 453,600 รวมรายรับ 828,600 1,053,600 1,053,600 1,053,600 1,053,600

11 2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย:บาท) หมวดเงิน ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 ก. งบดาเนินการ 1. คา่ ใช้จ่ายบุคลากร 96,000 96,000 96,000 96,000 96,000 2. ค่าใชจ้ า่ ยดาเนนิ งาน (ไม่ 134,550 251,100 251,100 251,100 251,100 รวม 3) 3. ทนุ การศกึ ษา ----- 4. รายจ่ายระดบั 450,000 658,800 658,800 658,800 658,800 มหาวิทยาลัย (รวม ก) 680,550 1,005,900 1,005,900 1,005,900 1,005,900 ข. งบลงทนุ ค่าครภุ ณั ฑ์ 39,000 56,700 56,700 56,700 56,700 (รวม ข) 39,000 56,700 56,700 56,700 56,700 รวม (ก) + (ข) 719,550 1,062,600 1,062,600 1,062,600 1,062,600 จานวนนักศึกษา 15 30 30 30 30 คา่ ใช้จา่ ยต่อหวั นักศกึ ษา 47,970 35,420 35,420 35,420 35,420 *หมายเหตุ จานวนนกั ศกึ ษารวมหลกั สตู รเกา่ และหลักสตู รปรับปรุง ค่าใชจ้ ่ายต่อหัวนกั ศึกษา 35,420 บาทต่อปี 2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็นแบบเข้าเรียนในช้ันตามตารางเรียนท่ีจัดไว้ให้ และเป็นไปตามข้อบังคับ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี วา่ ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค) 2.8 การเทยี บโอนหนว่ ยกิต รายวชิ า และการลงทะเบยี นเรยี นข้ามสถาบนั อุดมศึกษา การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา ให้เป็นไปตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค)

12 3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ ู้สอน 3.1 หลักสตู ร 3.1.1 จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกว่า 36 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสร้างหลกั สตู ร จัดการศกึ ษาแผน ก แบ่งเปน็ 2 แบบ ดังตอ่ ไปน้ี แผน ก หมวดวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 1. หมวดวิชาบงั คับรว่ ม -6 2. หมวดวชิ าเฉพาะสาขา - 18 2.1 วชิ าบงั คบั - 12 2.2 วชิ าเลือก -6 3. วทิ ยานิพนธ์ 36 12 รวมทง้ั สิ้น 36 36

13 3.1.3 รายวชิ า ความหมายของตัวเลขรหสั รายวชิ า การกาหนดรหัสรายวิชา ในหลกั สตู ร ประกอบด้วยตัวเลขทงั้ หมด 8 ตวั ซงึ่ จาแนกตามแผนภูมิต่อไปน้ี คณะ / วทิ ยาลยั ภาควิชา / สาขา สาขาวิชา / แขนง หมวดวิชา ปีทค่ี วรศกึ ษา ลาดับทขี่ องรายวิชา X X –X X X –X X X 12 3 4 5 6 7 8 ตาแหน่งท่ี 1 – 2 หมายถึง คณะ / วทิ ยาลยั ตาแหนง่ ท่ี 3 หมายถึง ภาควิชา/สาขา ตาแหนง่ ที่ 4 หมายถงึ สาขาวิชา/แขนง ตาแหนง่ ท่ี 5 หมายถึง หมวดวชิ า ตาแหน่งที่ 6 หมายถงึ ปีที่ควรศกึ ษา ตาแหน่งที่ ลาดบั ที่ของรายวิชา 7 – 8 หมายถงึ ความหมายของเลขรหัสการจดั ชั่วโมงเรียน หน่วยกติ ชัว่ โมงเรยี นทฤษฎี ชว่ั โมงเรยี นปฏิบัติ ช่วั โมงการศกึ ษานอกเวลา X (X - X - X)

14 3.1.4 รายวชิ า หมวดวิชาปรบั พน้ื ฐาน 3 หนว่ ยกติ 02-211-602 พ้นื ฐานทางการศึกษา 3(3-0-6) Foundations of Education หมายเหตุ รายวิชาปรับพ้ืนฐานสาหรับผู้ท่ีไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขา ที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางการศึกษาจะต้องเรียนปรับพื้นฐานโดยไม่นับหน่วยกิต และต้องมีผลการเรียนผ่าน เกณฑ์ ในระดบั S (1) หมวดวิชาบงั คับรว่ ม หลกั สูตรแผน ก แบบ ก 2 บงั คับเรียน 6 หนว่ ยกิต 02-132-602 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทางการศกึ ษา 3(2-2-5) 02-142-601 Educational Research Methodology 3(2-2-5) การจัดการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรียน Learning Management and Classroom Management (2) หมวดวิชาเฉพาะสาขา หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 บังคับเรียน 18 หนว่ ยกติ (2.1) วิชาบงั คบั หลกั สตู รแผน ก แบบ ก 2 บงั คับเรยี น 12 หนว่ ยกติ 02-141-603 ทฤษฎีหลกั สตู รและการพฒั นานวตั กรรมหลกั สตู ร 3(2-2-5) 02-142-602 02-141-704 Curriculum Theories and Curriculum 02-142-603 Innovation Development ศาสตร์และศลิ ปแ์ ห่งนวตั กรรมการสอน 3(3-0-6) Science and Art of Instructional Innovation สัมมนาการพฒั นาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน 3(2-2-5) Seminar in Curriculum Development and Instructional Innovation การออกแบบนวัตกรรมการเรียนการสอน 3(2-2-5) Instructional Innovation Design

15 (2.2) วิชาเลอื ก แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ 2.2.1 กลมุ่ นวตั กรรมหลกั สูตร โดยใหเ้ ลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 02-141-706 การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสตู รสถานศกึ ษาและ 3(2-2-5) 02-141-707 ฝึกอบรม 3(2-2-5) Development of Innovation in School Curriculum and Training Curriculum ปฏิบัติการพัฒนานวตั กรรมหลกั สตู รและการสอน Practice in Curriculum and Instructional Innovation Development 2.2.2 กล่มุ นวตั กรรมการสอน โดยให้เลอื กศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 02-142-702 นวัตกรรมการสอนสมยั ใหม่ 3(2-2-5) Modern Instructional Innovation 02-132-606 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ เพ่อื ความ 3(2-2-5) ยัง่ ยืน The Innovation of Life Long Learning Management for Sustainability 02-142-703 นวัตกรรมการจดั การเรียนรเู้ พ่อื ชุมชนแห่งการ 3(2-2-5) เรียนรทู้ างวิชาชีพ Learning Management Innovation for Professional Learning Community 02-143-701 การพัฒนาตาราและเอกสารวิชาการ 3(2-2-5) Text and Academic Papers Development (3) วิทยานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ (สาหรบั แผน ก1) 36(0-0-108) 02-223-603 Thesis 12(0-0-36) วิทยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก2) 02-223-602 Thesis

16 3.1.5 แสดงแผนการศกึ ษา หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง แผน ก แบบ ก 1 9 00 27 ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 02-223-603 วิทยานพิ นธ์ 9 00 27 รวม หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วยตนเอง ปีที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 9 00 27 02-223-603 วิทยานิพนธ์ 9 00 27 รวม หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 02-223-603 วทิ ยานิพนธ์ 9 00 27 รวม 9 00 27 ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ยตนเอง 02-223-603 วิทยานิพนธ์ 9 00 27 รวม 9 00 27

17 แผน ก แบบ ก 2 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ยตนเอง 02-142-601 การจดั การเรยี นรแู้ ละการจัดการชั้นเรยี น 3 22 5 02-132-602 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางการศกึ ษา 3 22 5 02-141-603 ทฤษฎีหลกั สูตรและการพฒั นานวตั กรรม 3 22 5 หลกั สูตร รวม 9 66 15 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง 02-142-603 การออกแบบนวัตกรรมการเรยี นการสอน 3 22 5 02-142-602 ศาสตรแ์ ละศิลปแ์ หง่ นวตั กรรมการสอน 3 30 6 02-xxx-xxx วิชาเลือก 3 22 5 รวม 9 74 16 ปีท่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง 02-141-704 สัมมนาการพัฒนาหลกั สูตรและ 3 22 5 นวตั กรรมการสอน 02-xxx-xxx วิชาเลือก 3 22 5 02-223-602 วิทยานิพนธ์ 3 00 9 9 44 19 รวม ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วยตนเอง 02-223-602 วิทยานิพนธ์ 9 00 27 รวม 9 00 27

18 3.1.6 คาอธิบายรายวิชา 02-211-602 พ้นื ฐานทางการศกึ ษา 3(3-0-6) Foundations of Education ปรัชญาการศึกษาและหลักการจัดการศึกษา จิตวิทยาการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน เทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผล มาบูรณาการในการ จดั การศึกษา Educational philosophy and principles of education, educational psychology, curriculum and instruction, technology, measurement and evaluation to integrated in educational management 02-132-602 ระเบียบวธิ ีวจิ ัยทางการศึกษา 3(2-2-5) Educational Research Methodology ประเภทของการวิจัยทางการศึกษา การวิเคราะห์ปัญหาเพื่อกาหนดหัวข้อวิจัยประชากร และกลุ่มตัวอย่าง การออกแบบการวิจัย การสร้างและหาคุณภาพของเคร่ืองมือวิจัย การ รวบรวมข้อมูล สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวจิ ัย การวเิ คราะห์ข้อมูล การสรุปผล การอภิปรายผล และ การจัดทารายงานการวิจัย Types of educational research, problems analysis to determine the research topic, population and sample, research design, building and determine the quality of research instruments, data collection, the statistics used in this study, data analysis and summary of discussion and preparation of research reports

19 02-142-601 การจัดการเรียนร้แู ละการจัดการชนั้ เรียน 3(2-2-5) Learning Management and Classroom Management หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาได้ การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนรวม การ จัดการช้ันเรียน การพัฒนาศูนย์การเรียนในสถานศึกษา การฝึกจัดทาแผนการเรียนรู้และ นาไปใช้จัดการเรียนรู้ให้เกิดผลจริง การสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นรู้ Principles, concepts, guidelines on drawing up the learning management plans; learning management and environment for learning; theories and learning management models for development of the learners’ analytical thinking, creative thinking and problems solving skills; inclusive learning integration; classroom management; learning center development; practice on drawing up the learning management plans and leading management atmosphere for learning 02-141-603 ทฤษฎีหลักสูตรและการพัฒนานวตั กรรมหลกั สูตร 3(2-2-5) Curriculum Theories and Curriculum Innovation Development แนวคิด หลักการ ทฤษฎีหลักสูตร และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ข้อมูล พื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบในการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการสร้างและ พัฒนาหลักสูตรในสถานศึกษาและสถานประกอบการ การนาหลักสูตรไปใช้ การประเมิน หลักสูตร การศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร ปัญหา แนวโน้มในการ พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและสถานประกอบการ นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรทั้งใน ประเทศและอาเซยี น Concepts and principles of curriculum theories and theories related to curriculum development, basic information for curriculum development, models for curriculum development, procedures for designing and developing curriculums for educational institutions and work places, curriculum implementation and evaluation, research related to curriculum development, issues and trends in developing curriculums for educational institutions and work places, curriculum innovations in Thailand and ASEAN

20 02-142-602 ศาสตร์และศลิ ปแ์ หง่ นวตั กรรมการสอน 3(3-0-6) Science and Art of Instructional Innovation แนวความเป็นศาสตร์ของนวัตกรรมการสอนและความเป็นศิลป์ของนวัตกรรมการสอน การบูรณาการหลักการของความเป็นศาสตร์และศิลป์ของนวัตกรรมการสอน เพื่อให้การ จัดการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์ Concept of instructional innovation science and concept of instructional innovation art, the integration of science and art of instructional innovation to learning management for the objective achievement 02-141-704 สมั มนาการพัฒนาหลกั สตู รและนวัตกรรมการสอน 3(2-2-5) Seminar in Curriculum Development and Instructional Innovation การจัดการสัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน การบริหารโครงการ สมั มนา อภิปราย วิพากษ์ และการสังเคราะห์ข้อมูลเพ่อื ใช้ในการออกแบบวจิ ยั เพ่อื พัฒนา หลักสูตรและนวัตกรรมการสอน Seminar management of curriculum development and instructional innovation, project management, seminars, discussion, critical and synthesis of data for using in research design to development of curriculum and Instructional innovation

21 02-142-603 การออกแบบนวตั กรรมการเรยี นการสอน 3(2-2-5) Instructional Innovation Design หลักและวธิ ีการจดั การเรียนรู้ เทคนิคการจัดการเรยี นรู้วิชาเฉพาะ วิเคราะห์แบบการเรียนรู้ ของผู้เรียน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หลักการและแนวคิดการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ท่ีมุ่งฝึกทักษะของต่างๆ ของผู้เรียน การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการ เรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน ประยุกต์และพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนท่ีทาให้เกิด การเรียนรู้และการพัฒ นาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญ โดยเน้นตามสาขา วชิ าเอก Principle and learning process management, techniques for learning process management of the majors, analysis of learner’s learning styles, design of learning activities, principles and ideas for learning process management planning on a focus of skill practice of the learner, lesson plan writing appropriate to learners, instructional application and Innovation development leading to learning and child-centered instructional development focusing on the majors subject 02-141-706 การพฒั นานวตั กรรมด้านหลกั สตู รสถานศกึ ษาและฝึกอบรม 3(2-2-5) Development of Innovation in School Curriculum and Training Curriculum หลักการพัฒนานวัตกรรมสาหรับการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรฝึกอบรม การกาหนดองค์ประกอบหลักสูตร เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านกลัดสูตรให้สอดคล้องกับ นโยบายรัฐ และสถานการณป์ ัจจบุ นั Principle of innovation development for prepare school curriculum and training curriculum, the determination of curriculum compositions for creating the innovation of curriculum according to government policies and current situation

22 02-141-707 ปฏิบัตกิ ารพฒั นานวตั กรรมหลักสตู รและการสอน 3(2-2-5) Practice in Curriculum and Instructional Innovation Development ฝึกปฏิบัติการออกแบบนวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับหลักสูตรและการสอน การวางแผน ดาเนินการสาหรับการสร้างนวตั กรรมดา้ นหลักสตู รและการสอน การทดสอบประสิทธภิ าพ ของนวัตกรรมดา้ นหลกั สูตรและการสอน Practice in innovation design according to curriculum and instruction, planning the process for creating curriculum and instructional innovation, the investigation of curriculum and Instruction Innovation efficiency 02-142-702 นวัตกรรมการสอนสมยั ใหม่ 3(2-2-5) Modern Instructional Innovation แนวคดิ ของนวัตกรรมการสอนสมยั ใหม่ ท่ปี รากฏในการจดั การเรียนการสอน ตามแนวโน้ม ของสังคมปัจจุบัน การจัดการนวัตกรรมการสอนท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพสังคม ปัจจุบัน ให้สามารถนาไปใช้เพือ่ เพิม่ สมั ฤทธิ์ผลในการจดั การเรยี นการสอน Concept of modern instructional innovation which appear in the instruction according to the trends of current social, the management of modern instructional innovation according to current social situation for the implementation to increase the instruction achievement 02-132-606 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ตลอดชีวติ เพือ่ ความยง่ั ยนื 3(2-2-5) The Innovation of Life Long Learning Management for Sustainability แนวคิดการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อความยั่งยืน รูปแบบของนวัตกรรมการจัดการ เรียนรู้ตลอดชีวติ การจัดการและการวางแผน เพื่อดาเนินงานการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต อยา่ งยั่งยืน Concept of life long learning management of sustainability, model of life long learning innovation, the management and planning for the process of sustainable life long learning

23 02-142-703 นวตั กรรมการจดั การเรียนรเู้ พือ่ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ 3(2-2-5) Learning Management Innovation for Professional Learning Community แนวคิดและหลักการของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ยุทธศาสตรส์ าหรับความร่วมมือ ของครู ผู้บริหารและบุคลากร ที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางสังคม เพื่อความเป็น ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพท่ีมีประสิทธิภาพ Concept and principle of Professional Learning Community ( PLC) , the strategy for the collaboration of teachers, administrators and staff according to the social change and for the efficiency of Professional Learning Community (PLC) 02-143-701 การพฒั นาตาราและเอกสารวชิ าการ 3(2-2-5) Text and Academic Papers Development แนวคดิ เกีย่ วกบั การพัฒนาตาราและเอกสารวชิ าการ รปู แบบและหลักการเขียนตาราและ เอกสารวิชาการดา้ นหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน การออกแบบรปู เลม่ ตารา การตพี ิมพ์ เผยแพร่ การฝึกปฏบิ ัตกิ ารเขียนตาราและเอกสารวิชาการดา้ นหลักสูตรและนวัตกรรมการ สอน Concept related to development of book and academic papers, types and writing principles of book and academic papers in curriculum and instructional innovation, books and academic papers design, publication, practicum in writing book and academic papers in curriculum and instructional innovation

24 02-223-603 วทิ ยานพิ นธ์ (สาหรบั แผน ก1) 36(0-0-108) Thesis การกาหนดประเด็นวิจัยด้านหลักสูตรและการสอน การเขียนและการนาเสนอโครงร่าง วิทยานิพนธ์ การวางแผนดาเนินการวิทยานิพนธ์ การศึกษาวรรณกรรมและเอกสารที่ เกี่ยวข้อง ระเบยี บวิธวี จิ ยั และสถิติ การพัฒนาเครือ่ งมือท่ีใชส้ าหรับการทาวิทยานพิ นธ์ การ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ แปลผล การนาเสนอวิทยานิพนธ์ โดยท่ีวิทยานิพนธ์จะ เน้นการวจิ ยั ด้านการพฒั นาหลกั สตู รและการสอนอย่างลกึ ซึง้ Identifying research problems in curriculum and Instruction, writing and presenting research proposal, thesis planning procedure, the related literature review, research methodology and statistic, developing instrument for thesis, data collection, data analysis, interpret, thesis presentation by emphasizing curriculum development and Instruction deeply 02-223-602 วทิ ยานพิ นธ์ (สาหรบั แผน ก2) 12(0-0-36) Thesis การกาหนดประเด็นวิจัยด้านหลักสูตรและการสอน การเขียนและการนาเสนอโครงร่าง วิทยานิพนธ์ การวางแผนดาเนินการวิทยานิพนธ์ การศึกษาวรรณกรรมและเอกสารที่ เก่ยี วข้อง ระเบียบวธิ ีวจิ ัยและสถิติ การพัฒนาเครือ่ งมอื ท่ีใช้สาหรับการทาวทิ ยานพิ นธ์ การ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ แปลผล การนาเสนอวิทยานิพนธ์ โดยท่ีวิทยานิพนธ์จะ เน้นการวิจัยดา้ นการพัฒนาหลกั สตู รและการสอน Identifying research problems in curriculum and Instruction, writing and presenting research proposal, thesis planning procedure, the related literature review, research methodology and statistic, developing instrument for thesis, data collection, data analysis, interpret, thesis presentation by emphasizing curriculum development and Instruction

25 3.2 ชือ่ สกลุ เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหนง่ และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสตู ร ลา ช่ือ – ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ- สาขาวิชา สาเรจ็ จาก ปที ่ี ภาระการสอน ชม./สัปดาห์/ปี ดบั นามสกุล วชิ าการ จบ การศกึ ษา 2560 2561 2562 2563 1 ว่ าท่ี ร.ต . ผู้ช่วย ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 2545 6 9 9 9 สุทธพิ ร ศาสตราจารย์ ศษ.ม. (การสอนสังคมศึกษา) มหาวทิ ยาลัยเกษตร 2533 บญุ สง่ * ศาสตร์ ศษ.บ. (สังคมศกึ ษา) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 2525 2 นางสาว อาจารย์ ค.ด. (หลกั สตู รและการสอน) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2555 6 9 9 9 รินรดี ค.ม. (นเิ ทศการศึกษาและ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2546 ปาปะใน พฒั นาหลกั สตู ร) ค.บ. (วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป) สถาบันราชภฏั พระนคร 2541 3 นาย อาจารย์ ปร.ด. (หลักสตู รและการสอน) มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 2553 6 9 9 9 พรภิรมย์ ศษ.ม. (การวัดและประเมินผล มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง 2547 หลงทรพั ย์ การศึกษา) พย.บ. (พยาบาลศาสตร)์ มหาวิทยาลยั มหิดล 2542 หมายเหตุ * ประธานหลักสูตร 3.2.2 อาจารยป์ ระจา ตาแหน่ง สาเรจ็ จาก ปที ่จี บ ภาระการสอน ชม./สัปดาห/์ วิชาการ ปกี ารศึกษา ลาดับ ชอ่ื - คณุ วฒุ ิ/สาขา นามสกลุ วิชาเอก 2559 2560 2561 2562 1 วา่ ท่ี ร.ต.สุทธพิ ร ผชู้ ว่ ย ศษ.ด. (หลกั สูตรและ มหาวิทยาลยั 2545 6 9 9 9 บญุ สง่ ศาสตราจารย์ การสอน) ขอนแกน่ ศษ.ม. (การสอนสงั คม มหาวิทยาลยั 2533 ศกึ ษา) เกษตรศาสตร์ ศษ.บ. (สงั คมศกึ ษา) มหาวิทยาลัย 2525 ศิลปากร 2 นางรสรนิ อาจารย์ ค.ด. (หลักสูตรและ จฬุ าลงกรณ์ 2555 6 9 9 9 เจิมไธสง การสอน) มหาวิทยาลัย ศษ.ม. (หลกั สูตรและ มหาวิทยาลัย 2541 การนเิ ทศ) ศลิ ปากร ศษ.บ. (การประถม มหาวทิ ยาลัย 2537 ศึกษา) ขอนแก่น 3 นางสาวรินรดี อาจารย์ ค.ด. (หลกั สูตรและ จุฬาลงกรณ์ 2555 6 9 9 9 ปาปะใน การสอน) มหาวทิ ยาลยั ค.ม. (นิเทศการศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์ 2546 และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั หลกั สูตร) ค.บ. (วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย 2541 ทว่ั ไป) ราชภัฏพระนคร

26 ลาดับ ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ/สาขา สาเรจ็ จาก ปที ่ี ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ วิชาการ วชิ าเอก จบ ปกี ารศกึ ษา 2559 2560 2561 2562 4 นายพรภิรมย์ อาจารย์ ปร.ด. (หลกั สตู รและ มหาวิทยาลยั 2553 6 9 9 9 หลงทรพั ย์ การสอน) ศลิ ปากร ศษ.ม. (การวดั และ มหาวิทยาลัย 2547 ประเมินผล รามคาแหง การศกึ ษา) มหาวิทยาลัย 2542 พย.บ. (พยาบาล มหดิ ล ศาสตร์) 5 นางสาวประนอม ผชู้ ่วย ค.ด. (การวดั และ จุฬาลงกรณ์ 2555 6 9 9 9 พันธไ์ สว ศาสตราจารย์ ประเมนิ ผล มหาวทิ ยาลยั การศึกษา) กศ.ม. (การวัดผล มหาวิทยาลยั ศรี 2530 การศึกษา) นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กศ.บ. (คณติ ศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั ศรี 2528 นครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร 6 นางสาวธัญญภรณ์ อาจารย์ ค.ด. (วิธีวิทยาการ จุฬาลงกรณ์ 2555 3 6 6 6 เลาหะเพ็ญแสง วิจยั ) มหาวทิ ยาลัย ศษ.ม. (วิจัยและสถติ ิ มหาวิทยาลยั 2546 การศึกษา) เชียงใหม่ ศษ.บ. (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลยั 2540 เชียงใหม่ 7 นางรุ่งอรุณ ผ้ชู ว่ ย ปร.ด. (การพฒั นา มหาวิทยาลยั 2557 3 6 6 6 รังรองรตั น์ ศาสตราจารย์ ทรพั ยากร รามคาแหง มนษุ ย์) ค.ม. (อุดมศึกษา) จฬุ าลงกรณ์ 2531 มหาวิทยาลัย กศ.บ. (การสอน มหาวิทยาลยั ศรี 2523 ภาษาไทย) นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 8 นางสาวตอ้ งลักษณ์ อาจารย์ ปร.ด. (การบรหิ าร มหาวทิ ยาลยั 2554 3 6 6 6 บญุ ธรรม การศึกษา) สยาม กศ.ม. (การบรหิ าร มหาวิทยาลัย 2547 การศกึ ษา) นเรศวร ค.บ. (การสอน จฬุ าลงกรณ์ 2541 วทิ ยาศาสตร์- มหาวทิ ยาลยั คณติ ศาสตร์)

27 3.2.3 อาจารย์พเิ ศษ ลาดับ ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ สถานทท่ี างาน 1 ดร.โกศล มคี ณุ รองศาสตราจารย์ ข้าราชการบานาญ 2 ดร.สุภาพร แพรวพนติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ขา้ ราชการบานาญ 3 ดร.ปริญญา ทองสอน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา 4 ดร.ชาตรี เกดิ ธรรม ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ 4. องคป์ ระกอบเก่ียวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรอื สหกจิ ศึกษา) ไมม่ ีการฝึกงาน หรือสหกจิ ศกึ ษา 5. ข้อกาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรอื งานวิจยั 5.1 คาอธบิ ายโดยย่อ นักศึกษาทาการวเิ คราะห์ข้อมูล และศึกษาผลการวจิ ัยในบริบทต่างๆ เพือ่ กาหนดหัวข้อการวิจัย ดาเนินการ วิจัย รายงานผลการวิจัย โดยการเรียบเรียงเพ่ือเผยแพร่หรือนาเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน 5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นกั ศกึ ษาสามารถประยุกต์ใช้และจัดการความรู้ เพื่อดาเนินการวิจัยให้ได้องค์ความรู้ใหม่และนวตั กรรมอย่าง เป็นระบบภายใต้การแนะนาของอาจารย์ท่ีปรึกษา และมีเจตคติต่อการวิจัยทางวิชาการและวิชาชีพเพ่ือพัฒนา การศึกษา โดยผลงานวจิ ยั จะต้องเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ของกระทรวงศกึ ษาธิการและ ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ วี า่ ดว้ ยการศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ.2559 5.3 ชว่ งเวลา แผน ก แบบ ก 1 ภาคเรยี นท่ี 1 และ ภาคเรยี นท่ี 2 ของปีการศึกษาที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 และ ภาคเรยี นท่ี 2 ของปีการศึกษาที่ 2 แผน ก แบบ ก 2 ภาคเรยี นที่ 1 และ ภาคเรยี นที่ 2 ของปกี ารศึกษาท่ี 2 5.4 จานวนหน่วยกิต สาหรบั แผน ก แบบ ก 1 จานวน 36 หนว่ ยกิต สาหรับแผน ก แบบ ก 2 จานวน 12 หน่วยกติ 5.5 การเตรียมการ 1. จัดให้มีอาจารย์ท่ีปรึกษางานวิจัย และคณะกรรมการสอบตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ว่า ดว้ ยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค)

28 2. จัดให้มีแหล่งเรียนรู้และส่ิงอานวยความสะดวกในการดาเนินการวจิ ัย เช่น หนังสือ งานวิจัย เครือข่าย อินเทอร์เนต็ เปน็ ตน้ 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล ประเมินผลจากการดาเนินการวิจัย โดยคณะกรรมการสอบโดยเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา ของกระทรวงศกึ ษาธิการและขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค)

29 หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมนิ ผล 1. การพฒั นาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนักศึกษา คุณลกั ษณะพเิ ศษ กลยุทธห์ รือกจิ กรรมของนักศึกษา เป็นผู้นาในการออกแบบ และพัฒนา - ศกึ ษาหลักการทฤษฏีแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรและ หลักสูตรและการสอนอย่างมีคุณธรรม นวตั กรรมการสอน จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชพี - สร้างจิตสานึกในการเป็นนักวิชาการรบั ผดิ ชอบต่อสังคม - สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในการ เรียนการสอน และงานวิจัยด้านการพัฒนาหลักสูตร และนวตั กรรมการสอนอยา่ งสมา่ เสมอ - แสดงออกทางวิชาการด้านการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน - สร้างเจตคติท่ีดีต่อการพัฒนาและงานวิจัยทางการ พัฒนาหลักสตู รและนวัตกรรมการสอน 2. การพัฒนาผลการเรียนรใู้ นแต่ละด้าน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนร้ดู า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1. เป็นผนู้ าในการส่งเสรมิ ใหม้ กี ารประพฤติปฏิบตั ติ ามหลกั คุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพของ ตนเอง 2. จัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพโดยคานึงถึง ผลกระทบต่อผ้อู ่ืน 3. ริเร่มิ ในการยกปญั หาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพ่ือการทบทวนและแก้ไข 2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้พัฒนาการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1. สอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในเนื้อหาวชิ าและการมสี ว่ นร่วมในการเรียนการสอน 2. จัดการเรยี นการสอน จดั กจิ กรรม และสอดแทรกเน้ือหาวิชาทเ่ี น้นการมีจรยิ ธรรมวิชาชีพ 3. จัดการเรียนการสอน จัดกิจกรรม และสอดแทรกเน้ือหาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนรู้ เก่ยี วกับคณุ ธรรมจริยธรรม 2.1.3 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรยี นรูด้ ้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1. สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมของนกั ศึกษา 2. ประเมินผลการเรยี นรู้จากผลงานของนักศกึ ษา

30 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักทางการหลักสูตรและนวัตกรรม การสอน ตลอดจนแนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่สาคัญและนามาประยุกต์ใช้ในการศึกษา ค้นควา้ 2. มคี วามเขา้ ใจในการพฒั นาความรูใ้ หม่ และประยกุ ต์ใช้ความรู้ใหม่โดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ สาขาวชิ าชพี สังคม สภาพแวดลอ้ มของระดับชาติ และนานาชาติในปัจจบุ ันและอนาคต 3. มคี วามเขา้ ใจในทฤษฎี การวิจยั ด้านการพฒั นาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน 2.2.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้พัฒนาการเรียนรดู้ ้านความรู้ 1. ใช้กลยทุ ธก์ ารสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ เชน่ กรณศี กึ ษา ปญั หาเปน็ ฐาน วจิ ยั เป็นฐาน เปน็ ต้น 2. การเรยี นจากประสบการณ์ เชน่ การเรียนรู้ในงาน การเข้ารว่ มงานวิชาการ 2.2.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. การประเมินผลระหวา่ งเรยี น เช่น การประเมนิ ผลงาน การประเมนิ กระบวนการเรียน 2. การประเมนิ ผลหลงั เรียน เชน่ การทดสอบ การประเมนิ ผลงาน 2.3 ทกั ษะทางปญั ญา 2.3.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา 1. จัดการต่อประเดน็ และปัญหาที่ซบั ซ้อนได้อยา่ งสร้างสรรค์และเปน็ ระบบ 2. รเิ รมิ่ และสรา้ งสรรคค์ วามรู้และนวตั กรรมใหม่ 3. สังเคราะหแ์ ละใช้ผลงานวิจัยเพอ่ื พัฒนาความคดิ ใหม่หรือเสนอความรใู้ หมไ่ ดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 4. วางแผนและดาเนนิ การโครงการสาคญั หรือโครงการวิจยั ทางวชิ าการไดด้ ้วยตนเอง 5. วางแผนและจดั การโครงการวิจยั เพ่ือขยายองคค์ วามรหู้ รือแนวทางปฏบิ ัติในวชิ าชีพท่มี อี ยู่ เดิมไดอ้ ย่างมีนยั สาคัญ 2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใชพ้ ฒั นาการเรียนรูด้ ้านทกั ษะทางปัญญา 1. การสอนทเ่ี น้นการวิจัยเปน็ ฐาน (Research Based) 2. การสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เช่น การเรยี นแบบสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง (Constructivism) การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) 3. การสอนที่เนน้ ผลงาน เช่น การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการ การพัฒนานวตั กรรม 2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1. ประเมนิ ผลพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมและการแสดงออก 2. ประเมินผลจากผลงาน

31 2.4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 2.4.1 ผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 1. จัดการปัญหาที่มีความซับซ้อน หรือยุ่งยากระดับสูงทางวชิ าชพี ด้วยการตดั สินใจดาเนินงาน และประเมนิ ดว้ ยตนเองได้ 2. วางแผนปรับปรุงการทางานใหม้ ีประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ านระดับสูงได้ 3. รับผิดชอบการดาเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี 4. เป็นผ้นู าไดใ้ นการทางานกลมุ่ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.4.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผดิ ชอบ 1. การสอนทเี่ นน้ ทักษะกระบวนการกลุ่ม เชน่ การเรยี นแบบรว่ มมอื กนั เรยี นรู้ (Cooperative Learning) การอภปิ รายเปน็ ทมี (Team Discussion) ฯลฯ 2. การสอนโดยใช้เครือข่ายสังคม เช่น เครือข่ายสังคม (Social Network) การศึกษาดูงาน องคก์ รต่างๆ ฯลฯ 2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1. การประเมนิ ตนเอง 2. การประเมนิ ผลงาน 3. การประเมินผลพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมและการแสดงออก 2.5 ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1. คดั กรองขอ้ มูลทางคณิตศาสตร์ และสถติ ิ ในการคน้ ควา้ สรปุ และเสนอแนะได้ 2. ส่อื สารในการพดู ฟัง อ่าน และเขยี นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกับกลมุ่ บุคคลใน วงการวิชาการและวชิ าชพี และชุมชน 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการตดิ ต่อสอ่ื สาร การทางานและการวจิ ัย เช่น เครือขา่ ยสังคม (Social Network) การใช้ฐานข้อมลู ในการวิจัย 2.5.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การสอนเนน้ ทักษะกระบวนการวิเคราะห์ 2. การสอนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นฐาน เชน่ เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต การใช้โปรแกรม คอมพวิ เตอรใ์ นการวิเคราะห์ และนาเสนอขอ้ มูล การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการเรยี นการสอน การเรยี นบนเว็บ การใช้เครอื ขา่ ยชุมชน 3. การสอนเน้นกระบวนการทักษะทางภาษาในการอ่าน เขยี น พดู และฟัง

32 2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ประเมนิ ผลจากผลงาน 2. ประเมนิ ผลทักษะทางภาษา 3. ประเมนิ ผลการสบื คน้ และวเิ คราะหข์ อ้ มูล 4. ประเมนิ ผลด้วยการทดสอบ 2.6 ทักษะการปฏบิ ัตกิ ารพฒั นาหลกั สตู รและนวตั กรรมการสอน 2.6.1 ผลการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะการปฏบิ ัติการพัฒนาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน 1. สารวจและวเิ คราะห์สภาพบริบทของสถานศกึ ษาหรือหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง 2. พฒั นาหลักสูตรและนวตั กรรมการสอนทส่ี อดคล้องกบั สภาพบรบิ ทของสถานศึกษาหรือ หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 3. นาหลักสูตรและนวตั กรรมการสอนทพี่ ัฒนาขึ้นไปใช้ในสถานศกึ ษาหรือหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 4. ประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตรและนวตั กรรมการสอน 2.6.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ช้พัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะการปฏิบตั กิ ารพัฒนาหลักสตู รและนวัตกรรม การสอน 1. การสอนท่เี น้นการวิจัยเปน็ ฐาน (Research Based) 2. การสอนทีเ่ นน้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based) 3. การสอนท่เี นน้ ผลงาน เช่น การพฒั นาหลักสตู รและนวัตกรรมการสอน 2.6.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ ้านทักษะทางปญั ญา 1. ประเมนิ ผลทกั ษะกระบวนการ 2. ประเมินผลการมสี ่วนรว่ มและการแสดงออก 3. ประเมินผลจากผลงาน 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรียนรใู้ นตารางมคี วามหมาย ดงั น้ี 3.1 คณุ ธรรม จริยธรรม 1. เปน็ ผ้นู าในการส่งเสรมิ ให้มีการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรมในวชิ าชพี ของตนเอง 2. จดั การปญั หาทางคุณธรรม จริยธรรมทซี่ บั ซ้อนเชิงวิชาการหรอื วชิ าชีพโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อผอู้ ื่น 3. ริเริม่ ในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณทีม่ อี ย่เู พอื่ การทบทวนและแกไ้ ข 3.2 ความรู้ 1. มคี วามรแู้ ละความเข้าใจอย่างถ่องแทใ้ นเนื้อหาสาระหลกั ทางการพัฒนาหลกั สตู รและนวัตกรรมการสอน ตลอดจนแนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่สาคญั และนามาประยุกต์ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ 2. มคี วามเขา้ ใจในการพฒั นาความรใู้ หม่ และประยุกต์ใชค้ วามร้ใู หมโ่ ดยคานงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ สาขาวิชาชีพ สงั คม สภาพแวดล้อมของระดบั ชาติ และนานาชาตใิ นปัจจุบันและอนาคต

33 3. มคี วามเขา้ ใจในทฤษฎี การวิจัยดา้ นทางการพัฒนาหลกั สตู รและนวัตกรรมการสอน 3.3 ทักษะทางปญั ญา 1. จัดการต่อประเดน็ และปัญหาทซี่ ับซอ้ นได้อย่างสร้างสรรค์และเปน็ ระบบ 2. รเิ รม่ิ และสรา้ งสรรคค์ วามรู้และนวัตกรรมใหม่ 3. สังเคราะหแ์ ละใชผ้ ลงานวิจัยเพอ่ื พัฒนาความคดิ ใหม่หรอื เสนอความรู้ใหม่ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ 4. วางแผนและดาเนินการโครงการสาคญั หรอื โครงการวิจัยทางวชิ าการได้ด้วยตนเอง 5. วางแผนและจัดการโครงการวจิ ัยเพือ่ ขยายองคค์ วามรหู้ รอื แนวทางปฏบิ ัตใิ นวชิ าชีพท่มี อี ย่เู ดมิ ได้ อยา่ งมีนยั สาคญั 3.4 ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1. จดั การปญั หาท่มี คี วามซบั ซอ้ น หรือย่งุ ยากระดบั สงู ทางวชิ าชีพดว้ ยการตัดสนิ ใจดาเนนิ งาน และ ประเมินด้วยตนเองได้ 2. วางแผนปรบั ปรงุ การทางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานระดบั สูงได้ 3. รับผดิ ชอบการดาเนนิ งานของตนเองและร่วมมอื กบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี 4. เปน็ ผูน้ าได้ในการทางานกลมุ่ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1. คดั กรองข้อมลู ทางคณิตศาสตร์ และสถติ ิ ในการคน้ คว้า สรุป และเสนอแนะได้ 2. ส่อื สารในการพูด ฟงั อา่ น และเขยี นอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลในวงการ วชิ าการและวิชาชีพ และชมุ ชน 3. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการติดต่อสอ่ื สาร การทางานและการวิจัย เช่น เครือข่ายสงั คม (Social Network) การใชฐ้ านข้อมูลในการวิจยั 3.6 ทักษะการปฏบิ ตั ิการพัฒนาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน 1. สารวจและวเิ คราะห์สภาพบรบิ ทของสถานศึกษาหรือหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง 2. พัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอนท่ีสอดคล้องกับสภาพบริบทของสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่ เกย่ี วขอ้ ง 3. นาหลกั สตู รและนวัตกรรมการสอนทพี่ ฒั นาข้นึ ไปใชใ้ นสถานศึกษาหรอื หน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง 4. ประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สูตรและนวตั กรรมการสอน

3 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการ  ความรับผดิ ชอบห รายวชิ า 1. คุณธรรม 2. ควา จรยิ ธรรม 02-211-602 พืน้ ฐานทางการศกึ ษา 12312 02-132-602 ระเบียบวธิ วี จิ ยั ทางการศึกษา  02-142-601 การจดั การเรียนรแู้ ละการจดั ช้ันเรียน 02-141-603 ทฤษฎีหลักสตู รและการพัฒนานวัตกรรมหลกั สตู ร  02-142-602 ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ นวตั กรรมการสอน    02-141-704 สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและนวตั กรรมการสอน     02-142-603 การออกแบบนวตั กรรมการเรยี นการสอน   02-141-706 การพัฒนานวัตกรรมดา้ นหลักสตู รสถานศกึ ษาและ        ฝึกอบรม   02-141-707 ปฏบิ ัติการพฒั นานวัตกรรมหลกั สตู รและการสอน 02-142-702 นวัตกรรมการสอนสมยั ใหม่    02-132-606 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ตลอดชีวิตเพอ่ื ความยัง่ ยืน       

4 รเรยี นร้จู ากหลกั สูตรสูร่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) หลกั  ความรบั ผดิ ชอบรอง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6.ทกั ษะการ ความสมั พนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชิง ปฏิบัตกิ ารพัฒนา ตวั เลข การ ามรู้ 3. ทักษะทางปัญญา ระหว่างบคุ คลและ สอ่ื สาร และการ หลักสูตรและ ความรบั ผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี นวตั กรรมการสอน สารสนเทศ 31234512341231234                                                                            

3 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ  ความรับผดิ ชอบห รายวิชา 1. คณุ ธรรม 2. ความรู้ จรยิ ธรรม 02-142-703 นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้เพ่ือชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ 123123 ทางวิชาชีพ      02-143-701 การพฒั นาตาราและเอกสารวิชาการ   02-223-603 วทิ ยานพิ นธ์ (สาหรับแผน ก1)  02-223-602 วทิ ยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก2)

5 รเรยี นร้จู ากหลักสตู รสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หลกั  ความรับผดิ ชอบรอง 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6.ทกั ษะการ ความสมั พนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข ปฏิบตั กิ ารพัฒนา ระหวา่ งบุคคลและ การสือ่ สาร และการ ความรับผดิ ชอบ หลกั สตู รและ ใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการสอน สารสนเทศ 3 1 2 345 1 23 4 1 2 3 1 23 4                                                    

36 หมวดท่ี 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนกั ศกึ ษา 1. กฎระเบียบหรอื หลกั เกณฑใ์ นการใหร้ ะดบั คะแนน (เกรด) ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ค) ข้อ 1 การประเมินผลการศึกษา ให้ผลการประเมินเป็นระดับคะแนน (Grade) ซึ่งระดับคะแนน ค่า ระดับคะแนน และผลการศึกษาเปน็ ดังนี้ ระดับคะแนน คา่ ระดบั คะแนน ผลการศกึ ษา A 4.0 ดีเยีย่ ม (Excellent) B+ 3.5 ดมี าก (Very Good) B 3.0 ดี (Good) C+ 2.5 ค่อนข้างดี (Fairly Good) C 2.0 พอใช้ (Fair) D+ 1.5 คอ่ นข้างพอใช้ (Poor) D 1.0 ออ่ น (Very Poor) F 0 ตก (Fail) S - สอบผา่ น (Satisfactory) U - สอบไม่ผา่ น (Unsatisfactory) I - การวดั ผลรายวชิ ายงั ไม่สมบูรณ์ (Incomplete) W - ขอถอนวิชาเรยี นหลังกาหนด (Withdrawal) AU - เขา้ รว่ มฟงั การบรรยาย (Audit) ข้อ 2 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบวัดมาตรฐานความรู้ ภาษาองั กฤษ การสอบดุษฎนี พิ นธ์ วิทยานิพนธ์และการคน้ ควา้ อิสระ 1.1 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ การสอบวัดมาตรฐาน ความรู้ภาษาอังกฤษ การสอบดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระให้ผลการประเมินเป็นระดับ คะแนน ดังน้ี ระดบั คะแนน ผลการศกึ ษา S สอบผ่าน (Satisfactory) U สอบไม่ผ่าน (Unsatisfactory)

37 1.2 การสอบดุษฎีนิพนธแ์ ละวิทยานพิ นธ์ ท่ไี ดร้ ับคะแนน S ในข้อ 2 ใหม้ ีเกณฑ์ประเมนิ คณุ ภาพดษุ ฎนี ิพนธ์และวทิ ยานพิ นธ์ ดงั นี้ 1.2.1 ดเี ย่ียม (Excellent) 1.2.2 ดี (Good) 1.2.3 ผา่ น (Pass) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนกั ศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ขณะนกั ศึกษายังไมส่ าเรจ็ การศึกษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของระบบการประกันคุณภาพ ภายในของมหาวิทยาลัยฯ ที่จะต้องทาความเข้าใจตรงกันทั้งมหาวิทยาลัยฯ และนาไปดาเนินการจน บรรลุผลสัมฤทธิ์ ซึ่งผู้ประเมินภายนอกจะต้องสามารถตรวจสอบได้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะทา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ดังน้ี การเรียนการสอนในระดบั รายวชิ า ประกอบดว้ ย 2 สว่ นคือ - ประเมนิ จากความคดิ เห็นของนกั ศึกษาตอ่ ประสิทธิภาพการสอนและการควบคมุ วิทยานพิ นธ์ - ประเมินจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยพิจารณาจากแผนการสอน เน้ือหาและความ ทันสมัย การประเมินข้อสอบ และผลสมั ฤทธ์ขิ องการเรยี นการสอน การเรียนการสอนในระดบั หลักสูตร ทาไดโ้ ดยใช้การประกันคุณภาพภายในดาเนินการทวนสอบ มาตรฐานผลการเรียนรแู้ ละรายงานผล 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังนกั ศกึ ษาสาเร็จการศกึ ษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรหู้ ลังนักศกึ ษาสาเร็จการศึกษานั้น ควรเนน้ การทาวิจยั อย่าง ต่อเนื่องในด้านสัมฤทธิผลของการประกอบอาชพี ของมหาบณั ฑิต และนาผลวิจัยที่ไดม้ าปรับปรุงการเรียน การสอนและหลักสตู ร รวมทงั้ การประเมินคณุ ภาพของหลกั สูตรและภาควิชา โดยการดาเนินการมีดงั นี้ 1. ศกึ ษาความพงึ พอใจของผ้ใู ชม้ หาบณั ฑติ เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมลู มาพัฒนามหาบัณฑติ ในสาขาวิชา 2. มกี ารติดตามข้อมลู ของมหาบัณฑิตตอ่ ภาวะการไดง้ านทาเพ่ือนามาพัฒนาและปรับปรุง หลักสตู ร 3. ความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหรืออาจารย์พิเศษต่อกระบวนการเรียนรู้และ ผลสมั ฤทธิ์ของนกั ศกึ ษา 3. เกณฑ์การสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559

38 หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 1.1 มกี ารอบรมความรทู้ ักษะกระบวนการโดยการสอนสาหรบั อาจารย์ใหมโ่ ดยมหาวทิ ยาลยั ฯ 1.2 มกี ารสอนแนะ (Coaching) ในเรอ่ื งทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับหลักสูตรและการเรยี นการสอน 1.3 จัดหาสิง่ อานวยความสะดวก และวัสดกุ ารสอน 2. การพัฒนาความรแู้ ละทักษะใหแ้ กอ่ าจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจดั การเรยี นการสอน การวัดและการประเมนิ ผล 2.1.1 อบรมเพื่อพฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลและการวจิ ยั 2.1.2 สง่ เสรมิ การเขา้ รว่ มแลกเปลยี่ นและเพิ่มทกั ษะจากผู้ทรงคณุ วุฒิ 2.1.3 ส่งเสริมและจดั หาสิง่ อานวยความสะดวกและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 2.1.4 สรา้ งความเข้าใจในหลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านตา่ ง ๆ 2.2.1 สง่ เสริมใหท้ าการวจิ ยั เสนอผลงานและเผยแพร่ผลงานวิจัย 2.2.2 ส่งเสรมิ ให้เขา้ รว่ มองคก์ รทางวชิ าการและวชิ าชีพ 2.2.3 ส่งเสริมการทาผลงานทางวิชาการ เพอ่ื กาหนดตาแหนง่ ทางวิชาการ 2.2.4 สง่ เสริมการเป็นผู้นาทางวชิ าการและวิชาชีพ เชน่ การเป็นวทิ ยากร การมีสว่ นรว่ มกบั มหาวิทยาลยั ช้นั นา

39 หมวดที่ 7 การประกนั คณุ ภาพหลกั สูตร 1. การกากับมาตรฐาน 1.1 จานวนอาจารย์ประจาหลักสตู ร มีทัง้ หมด 3 คน 1.2 คุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีอาจารย์ประจาหลักสูตร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ท่ีมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกในสาขาท่ีตรงหรือสัมพันธ์กันกับสาขาที่ เปิดสอน จานวน 3 คน ดารงตาแหนง่ ทางวชิ าการระดับ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ จานวน 1 คน 1.3 การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กาหนด หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรในปกี ารศึกษา 2549 และเร่ิมใช้ในปีการศึกษา 2549-2553 ครบรอบพัฒนาอีกครั้งในปีการศึกษา 2554 และเร่ิมใช้ในปีการศึกษา 2555-2559 และ ครบรอบพัฒนาอีกครั้งในปีการศึกษา 2560 ซ่ึงอยู่ในระหว่างดาเนินการ โดยคณะกรรมการพัฒนา หลกั สตู รฯ ได้ดาเนินการตามขน้ั ตอนเพื่อจดั ทากรอบแนวคดิ ในการพัฒนาหลกั สตู ร ดงั นี้ 1) วิเคราะห์ความต้องการใช้มหาบัณฑิต/ตลาดแรงงานจากเอกสารท่ีเก่ียวข้อง จากการสารวจ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ของผู้ต้องการเข้าศึกษาสาขาทางการศึกษา (จากการสอบถาม กลุ่มเป้าหมาย คือ ครูผู้สอนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในเขตจังหวัดปทุมธานี และใกล้เคียง ที่เป็น กลุ่มตวั อย่างจานวน700 คน โดยประมาณ) พบว่า มีผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวนประมาณ ร้อยละ 80 ของจานวนกลุ่มตัวอย่างท้งั หมด และกลุ่มตัวอย่างมคี วามต้องการศึกษาต่อในระดับปรญิ ญาโท มากกว่า ร้อยละ 90 และมีความต้องการศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน มากกว่าสาขาวิชาชีพอ่ืนๆ นอกจากนั้นพบว่า มหาวิทยาลัยอ่ืนๆ ท้ัง สถาบันของรัฐและเอกชน เปิดการ สอนระดับปริญญาโทสาขาหลักสูตรและการสอน เป็นระยะเวลาหลายปีการศึกษาแล้ว เพื่อสนองความ ต้องการของผู้ต้องการเพ่ิมคุณวุฒิทางการศึกษา โดยเฉพาะกลุ่มครูประจาการ ซ่ึงครูประจาการมีความ จาเปน็ ตอ้ งพฒั นาตนเองเพ่ือความกา้ วหนา้ ในหนา้ ท่กี ารงาน 2) ประเมินความพร้อมของคณะครุศาสตร์อุสาหกรรม พบว่าคณะมีความพร้อมท้ังด้านบุคลากร และสิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้ 3) ประเมินคู่แข่งพบว่า หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน ไม่มสี ถานศึกษาระดบั อดุ มศึกษาใดๆ ในละแวกใกลเ้ คยี งมีการจัดการศกึ ษาหลกั สูตรน้ี 4) วิเคราะห์จุดเด่นของหลักสูตร จากการดาเนินการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ซึ่งมีการพิจารณา ร่วมกันของคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรจะเห็นได้ว่าหลักสูตรมีความโดดเด่นท่ีจะมีการเน้นจัดการศึกษา เพอื่ ให้ผู้เข้าศึกษาที่ล้วนแต่เปน็ ครูประจาการให้มีความสามารถในการพัฒนาและออกแบบหลักสูตรและการ เรียนการสอน โดยการใช้นวัตกรรมต่างๆได้อย่างหลากหลาย ได้แก่ นวัตกรรมการสอนเพื่อการเรียนรู้แบบ บรู ณาการ นวตั กรรมการสอนในบรบิ ทปัจจบุ นั การพัฒนานวตั กรรมการสอนเพอื่ ความเป็นเลิศ ฯลฯ

40 2. บณั ฑิต หลักสูตรฯ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นมหาบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปญั ญา 4. ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความ 5. ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 6. ดา้ นทกั ษะการปฏิบัติการพฒั นาหลกั สูตรและนวัตกรรมการสอน 3. นกั ศกึ ษา 3.1 การรบั นักศกึ ษา มหาวิทยาลัยมีระบบการรับนักศึกษาโดยการประกาศรับสมัครผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ สมัครผ่านทางระบบออนไลน์ โดยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมจะดาเนินการแจ้งแผนการรับ จานวน นักศึกษาแรกเข้าและคุณสมบัติของนักศึกษาโดยประกาศสอบเป็นระบบการรับตรง จากการดาเนินงาน ดว้ ยวิธกี ารรับนักศึกษาดังกล่าว คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมแต่งตั้งคณะกรรมการหลักสูตรฯ ดาเนินงาน รบั นักศกึ ษา มกี ระบวนการรับนักศกึ ษา ดงั น้ี 1. การประกาศรับผ่านระบบมหาวิทยาลัยและของคณะ ทางเว็บไซต์และสอื่ โฆษณา 2. คุณสมบัติเบื้องต้นผ่านการพิจารณาใบสมัครและรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบข้อเขียนและสอบ สัมภาษณ์ 3. สอบขอ้ เขยี นโดยสอบความรู้ทางศาสตร์บรหิ ารการศกึ ษาและระเบยี บวธิ ีวิจัย 4. คณะกรรมการหลักสูตรฯ ท่ีได้รับการแต่งตั้ง พิจารณาคะแนนของการสอบข้อเขียน โดยการ กาหนดคะแนนผ่านร้อยละ 60 ท่ีใช้ในการพิจารณาคัดเลอื กเข้าสอบสมั ภาษณ์ 5. สอบสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ จานวน 3 คนต่อผู้เข้าสอบ 1 คน ประกอบด้วย อาจารย์ประจา ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจาหลักสูตร โดยมีการประชุมกรรมการ ช้ีแจงหลกั เกณฑ์การพิจารณาก่อนสอบ 6. คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ ส่งคะแนนสัมภาษณ์ต่อคณะกรรมการหลักสูตรฯ พิจารณา ประกาศรายชอื่ มีสทิ ธเิ์ ข้าศึกษาต่อ

41 3.2 การควบคุมระบบการดูแลการให้คาปรกึ ษาวทิ ยานิพนธใ์ นระดบั บณั ฑิตศึกษา 1. หลักสูตรมีการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษากลุ่มละ 1 ท่าน เพ่ือแนะนาเก่ียวกับเรื่องการเรียน เรื่อง ส่วนตัว และเร่ืองอื่นๆ โดยมีช่องทางการปรึกษาหลายช่องทาง ได้แก่ มาพบโดยตรงท่ีห้องพักอาจารย์ ปรกึ ษาผ่าน Line, Facebook, E-mail หรอื โทรศพั ท์ 2. หลักสูตรมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อแนะนาเก่ียวกับการทาวิทยานิพนธ์ ทัง้ นค้ี ณะกรรมการประจาหลกั สตู รไดก้ ากับติดตามให้อาจารยท์ ปี่ รึกษาทุกคนปฏิบัติหนา้ ทอ่ี ยา่ งเครง่ ครัด โดยคณะกรรมการหลักสูตร ฯ มีการควบคุม ดูแล การให้คาปรึกษา สาหรับการทา วทิ ยานิพนธเ์ ป็นไปตาม ระเบียบขอ้ บงั คบั และมคี ณุ ภาพ ดังนี้ 1) ประธานหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ คอยชี้แจงแนวทางให้นักศึกษาทุก คนทุกชั้นปี ทราบเกี่ยวกับการวางแผนทาวิทยานิพนธ์ให้เป็นไปตามกาหนด อย่าง ต่อเนือ่ งและมคี ุณภาพ 2) ตดิ ตามตรวจสอบและสนบั สนนุ สง่ เสริมนกั ศึกษา ในการเผยแพร่เอกสาร ตามข้อกาหนด ของหลักสูตร โดยสนับสนุน ให้เผยแพร่ในการลงวารสารทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับ ในฐานข้อมูลของ สกอ. และ การจัดประชุมทางวิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ เปน็ ต้น 4. อาจารย์ 4.1 การรบั อาจารย์ใหม่ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน มีระบบ การรบั อาจารย์ใหม่และแตง่ ต้ังอาจารย์ประจาหลักสตู ร ดงั น้ี 1.1 หลักสูตรฯ วางแผนระยะยาวด้านอัตรากาลังของอาจารย์ประจาหลักสูตร ให้สอดคล้องกับ แผนอัตรากาลังของภาควิชาการศึกษา ซึ่งการขออัตรากาลังจะเสนอมหาวิทยาลัยโดยผ่านคณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม 1.2 มหาวิทยาลัยอนุมัติแล้วกองบริหารงานบุคคลประกาศรับสมัครตามช่องทางต่างๆ สอบ คัดเลอื ก ประกาศผล และรับรายงานตวั 1.3 มหาวิทยาลัยจดั ปฐมนเิ ทศอาจารยใ์ หม่ สง่ ตวั ไปท่ีคณะและภาควิชา 1.4 หลักสูตรเสนอชื่อผู้ที่เหมาะสมกับการเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อคณะเพ่ือดาเนินการ แต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยพิจารณาจากการเป็นอาจารย์ประจา มีคุณวุฒิหรือตาแหน่งทาง วชิ าการทสี่ ัมพันธ์กับหลกั สตู รทเ่ี ปิดสอน 1.5 หลกั สตู รฯ จัดอาจารยป์ ระจาหลักสตู รท่ีมีประสบการณเ์ ปน็ อาจารยพ์ ่เี ล้ียงใหก้ ับอาจารย์ ประจาหลกั สูตรใหม่เพื่อใหค้ าแนะนา ปรกึ ษาเกย่ี วกับการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลการเรยี น รวมถงึ การปฏิบัติงานต่างๆ 1.6 หลักสูตรฯ ดาเนินการประชุมเพื่อกากับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์ ประจาหลกั สูตรอยา่ งนอ้ ยปกี ารศกึ ษาละ 3 ครั้ง

42 4.2 การแต่งตงั้ คณาจารยพ์ ิเศษ ขั้นตอนการเสนอขอแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ หลักสูตรฯ ดาเนินการตามข้ันตอนของมหาวิทยาลัย ดังนี้ 1. คณะ/วิทยาลัย จัดทาแบบสรุปรายนามและแบบขอแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ โดยผ่านท่ีประชุม คณะกรรมการบรหิ ารบณั ฑิตศึกษาระดับคณะ และที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะ 2. สานกั บณั ฑติ ศกึ ษา ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ดงั น้ี หลกั สตู รระดบั ปริญญาโท มีคุณวุฒิขั้นต่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของ รายวิชาที่สอนและต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการ 1 รายการ ในรอบ 5 ปี ย้อนหลัง ทั้งน้ี อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชาโดยมีอาจารย์ประจา หลกั สูตรเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบรายวิชานัน้ และเสนอท่ีประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารบัณฑิตศกึ ษา 4.3 การมีสว่ นรว่ มของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลกั สตู ร อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชมุ เพื่อวางแผน ติดตาม และ ทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร โดยกาหนดการประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสตู ร จานวน 3 ครั้ง/ภาคเรียน ดังน้ี ครั้งท่ี 1 ประชมุ ในช่วงก่อนเปดิ ภาคเรยี น เพือ่ วางแผนและเตรยี มการสาหรับการจัดการเรียนการ สอน ครั้งที่ 2 ระหว่างภาคเรียนเพ่ือติดตามการดาเนินการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ วตั ถปุ ระสงค์หลกั สตู ร ครั้งท่ี 3 หลังสอบปลายภาคเรียน เพื่อทบทวนการดาเนินงานหลักสูตรและพิจารณาผลการเรียน ของนกั ศึกษา 4.4 การบริหาร การสง่ เสรมิ และการพฒั นาอาจารย์ 4.4.1 การบริหารอาจารย์ หลักสูตรฯ ประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนและพิจารณาความเสี่ยงเก่ียวกับจานวนและ คุณสมบัติอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีคณาจารย์ของภาควิชาประจาในหลักสูตรต่างๆ เพ่ือป้องกันการไม่ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร โดยการสารวจจานวนอาจารย์ที่จะเกษียณอายุราชการในช่วง 5 ปี เพ่ือเตรียมความพร้อมในการขออัตรากาลังทดแทนอาจารย์ที่เกษียณอายุราชการ โดยอาจารย์ประจา หลักสูตรทุกคนจะได้รับทราบข้อกาหนดภาระงานเก่ียวกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ การ ปฏิบัติงานอยู่ภายใต้สังกัดภาควิชาและคณะ การบริหารงานเป็นไปตามลาดับ ทั้งน้ี อาจารย์ประจา หลกั สตู รจะได้รับการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามภาระงานดา้ นตา่ งๆ ตามรอบการประเมนิ โดยประธาน หลักสูตร ภาระงานเกี่ยวกับการเรียนการสอนจะใช้ผลการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษามา เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาร่วมด้วย เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาคณะกรรมการประจาหลักสูตรจะประชุมเพื่อ ประเมินกระบวนการ ผลท่ีได้ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางสาหรับการปรับปรุงเพ่ือใช้วางแผนสาหรับการ

43 บริหารอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรในปีการศึกษาถดั ไป 4.4.2 การส่งเสริม และการพฒั นาอาจารย์ หลักสตู รฯ จัดทาแผนงบประมาณร่วมกบั ภาควชิ าและคณะ เพื่อจัดสรรงบประมาณในการ พฒั นาศักยภาพทางวชิ าการ วิชาชีพของอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยมีการจัดสรรงบประมาณให้อาจารย์ ประจาหลักสูตรทุกคนเข้าร่วมการประชุมวชิ าการ การนาเสนอผลงาน การอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการฝังตัวในสถานประกอบการ ซ่ึงหลักสูตรฯ ได้กาหนดให้อาจารย์ ประจาหลักสูตรต้องมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถทางวิชาการและวชิ าชีพ อย่างนอ้ ย 1 ครั้งต่อคนต่อ ปี ซง่ึ การสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์มีการดาเนนิ การต่างๆ ดงั นี้ 1) การพัฒนาอาจารย์โดยคณะฯมีงบประมาณรายหัวๆ ละ 6,000 บาทต่อปี สาหรับให้ อาจารย์ไปอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน หรือฝังตัวในสถานประกอบการเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ สาหรับการไป เสนอผลงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา และคณะได้จัดสรรงบประมาณเพื่อการน้ีโดยเฉพาะ หากเป็น การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ มีการดาเนินการระดับคณะ มีการสนับสนุนให้อาจารย์ ประจาหลักสูตรเขา้ ร่วมประชมุ วิชาการทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ท้ังจากการประชาสัมพนั ธ์จาก งานวิจัยและประเมินผลของคณะ จากความสนใจของอาจารย์แต่ละท่านที่มีความประสงค์จะเข้าร่วม ประชุมวิชาการและการนาเสนอผลงานทางวิชาการ สาหรับการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับชาติมีงบ สนับสนุนในส่วนของงบพฒั นาบุคลากรไม่จากัดจานวน การนาเสนอผลงานวิชาการในตา่ งประเทศ คณะฯ ให้การสนับสนุนจานวน 30,000 บาทและสามารถขอรับการสนับสนุนจากกองทุนวจิ ัย มหาวิทยาลัยไดอ้ ีก จานวน 30,000 บาท โดยมีเงื่อนไขว่าผลงานวิชาการน้ันต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรายงานการ ประชมุ สืบเนื่อง (Proceeding) แบบ Full paper และการประชุมวิชาการ (Conference) ที่ไปต้องอยู่ใน ฐานข้อมูลท่ี สกอ. ประกาศยอมรับ และสามารถนาผลงานท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่มาขอรับเงินรางวัล สนับสนุนจากสถาบนั วจิ ยั และพฒั นาไดต้ ามอตั ราทก่ี าหนด 2) การส่งเสริม สนับสนนุ ให้อาจารย์ศกึ ษาต่อ อาจารย์ทต่ี อ้ งการไปศกึ ษาต่อจะตอ้ งไปศกึ ษา ในสาขาวิชาที่อยู่ในแผนพัฒนาอาจารย์ของคณะและมหาวิทยาลัย ซึ่งต้องดาเนินการตามขั้นตอนของ มหาวทิ ยาลยั โดยมหาวทิ ยาลัยให้การสนับสนนุ ทุนการศึกษา 3) การส่งเสริมใหอ้ าจารยท์ าผลงานเพ่อื เสนอขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ 5. หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผูเ้ รยี น 5.1 การพจิ ารณากาหนดผูส้ อน หลักสตู รฯไดก้ าหนดผูส้ อนตามเกณฑ์การจดั วางตวั ผสู้ อน โดยพจิ ารณาตามเกณฑ์ ดังนี้ 1) มคี ุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเท่าในสาขาท่ีตรงหรอื สอดคลอ้ งกบั รายวชิ าทสี่ อน 2) มีผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่เผยแพร่ในรอบ 5 ปี อย่างน้อย 1 เร่ือง และต้องมี ประสบการณ์สอนในระดบั บณั ฑติ ศึกษาอยา่ งน้อย 1 ปีการศึกษา 3) มีผลการประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษา (ค่าเฉล่ียมากกว่า 3.50 จาก คะแนน 5) ผ่านระบบออนไลนข์ องมหาวทิ ยาลยั และคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

44 5.2 การจัดทา มคอ.3 ของแตล่ ะรายวิชา หลักสูตรฯ กาหนดให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทา มคอ.3 โดยเป็นการพิจารณาร่วมกันของ อาจารย์ผู้สอนในรายวิชานั้นทุกคน กาหนดใหส้ ง่ กอ่ นเปิดภาคการศกึ ษาอยา่ งน้อย 30 วนั 5.3 การแตง่ ต้ังอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ เม่ือนักศึกษามีประเด็น/หัวข้อวิทยานิพนธ์ท่ีผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการประจา หลกั สตู ร โดยดาเนินการแตง่ ต้ังอาจารย์ประจาหลกั สูตร ดงั น้ี 1) นักศึกษาเสนอชื่ออาจารย์ที่คาดว่าจะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ต่อคณะกรรมการ ประจาหลกั สตู ร 2) คณะกรรมการประจาหลกั สตู รพจิ ารณาคณุ สมบตั ิของอาจารยท์ ่ีถกู เสนอชื่อ โดยพจิ ารณาจาก ความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ หรือมีผลงานวิชาการท่ีสอดคล้องหรือสัมพันธ์กับประเด็น/หัวข้อ วทิ ยานพิ นธ์ และมจี านวนนกั ศึกษาในความดูแลวิทยานิพนธไ์ มเ่ กนิ เกณฑท์ ก่ี าหนด (5 คน) 3) ดาเนินการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาโดยความเห็นชอบ ลงนามอนุมัติจากประธานหลักสูตรฯ เพ่ือเสนอชือ่ ผ่านงานบัณฑติ คณะในการแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ตอ่ ไป 5.4 การชว่ ยเหลือ กากับ ตดิ ตาม ในการทาวทิ ยานพิ นธ์ ดาเนินการดังน้ี 1) จัดหาฐานข้อมูลงานวิจัยระบบออนไลน์ท่ีเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมการสอน รวมถึงงานวิจัยทางการศึกษา ซึ่งนักศึกษาสามารถเข้าสืบค้น ใช้งานได้อย่างสะดวก ตลอดเวลา 2) จดั หอ้ งสาหรับการศกึ ษาสืบค้นขอ้ มลู ณ อาคารศกึ ษาศาสตร์ 2 3) ให้ข้อมูลนักศึกษาเกี่ยวกับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยท้ังในรูปแบบการนาเสนอในงาน ประชมุ วชิ าการระดับชาติ ระดบั นานาชาติ รวมถึงวารสารตา่ งๆ ทอ่ี ยใู่ นฐานข้อมลู 4) การกากับตดิ ตามวิทยานิพนธจ์ ะมีการตดิ ตามความกา้ วหน้าตลอดภาคการศึกษาโดยอาจารย์ท่ี ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ ซ่งึ จะมกี ารนดั หมายวนั เวลาสาหรับการเข้าพบเพอื่ ขอคาปรึกษา 5.5 การประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) ที่กาหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แหง่ ชาติ (TQF) ใน 6 ด้าน (Domain) ตาม มคอ.2 พิจารณาจากผลการเรยี นรรู้ ายวิชา ประกอบด้วย ผล การประเมินตนเองของนักศึกษาเพ่ือทวนสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากนั้นส่งผลการประเมินตนเอง ของนักศึกษาเพ่ือทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับอาจารย์ผู้สอน เพ่ือนาไปสู่การปรับปรุงและ พัฒนาผลการเรียนรู้ 6. บคุ ลากรและสิง่ สนบั สนุนการเรียนการสอน 6.1 บุคลากร คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มกี ารจดั สรรบคุ ลากรสายสนบั สนนุ เพือ่ ปฏิบัติงานในระดบั หลกั สูตร บัณฑติ ศกึ ษา สาขาวิชาการพฒั นาหลักสตู รและนวตั กรรมการสอน จานวน 1 คน

45 6.2 สงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ ภาควิชาการศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณ สาหรับการจัดซ้ือครุภัณฑ์สาหรับการจัดการ เรยี นการสอน จานวน 2 ชุด ได้แก่ 1) ชุดฝึกปฏิบัติการสอนภาควิชาการศึกษา จานวน 1 ชุด วงเงินท่ีได้รับอนุมัติ 440,000 บาท จากงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2558 งบลงทนุ (เบ้ืองตน้ ) 2) ชุดปฏิบัติการสอนแบบจุลภาค จานวน 2 ชุด วงเงินที่ได้รับอนุมัติ 200,000 บาท จาก งบประมาณรายได้ประจาปี 2558 งบลงทนุ 3) คณะดาเนินการติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wi-Fi) โดยมีจุดกระจายสัญญาณที่ ครอบคลุมท้ังอาคารศึกษาศาสตร์ 1 และอาคารศึกษาศาสตร์ 2 เพื่ออานวยความสะดวกในการเข้าถึง แหล่งข้อมลู ทางออนไลน์ 7. ตัวบง่ ช้ผี ลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลตุ ามเปา้ หมายตัวบง่ ชที้ ้ังหมดอยใู่ นเกณฑ์ดตี อ่ เนื่อง 2 ปี การศึกษาเพื่อติดตาม การดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนี้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ 1-5 และอย่าง นอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของตวั บ่งชีผ้ ลการดาเนินงานทรี่ ะบุไวใ้ นแต่ละปี

46 ดัชนบี ่งช้ีผลการดาเนนิ งาน ปีท่ี 1 ปที ่ี 2 ปที ี่ 3 ปที ่ี 4 ปที ่ี 5 1. อาจารยป์ ระจาหลักสูตรอยา่ งน้อยร้อยละ 80 มสี ว่ นรว่ มในการ X X X X X ประชมุ เพอื่ วางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดาเนนิ งานหลกั สูตร 2. มรี ายละเอยี ดของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.2 ที่ สอดคลอ้ งกับ XXXX X มาตรฐานคณุ วฒุ ิสาขา/สาขาวิชา 3. มรี ายละเอยี ดของรายวิชา และประสบการณภ์ าคสนาม ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยกอ่ นการ เปิดสอนในแต่ละภาค X X X X X การศึกษาใหค้ รบทกุ รายวชิ า 4. จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และประสบการณ์ ภาคสนาม ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ. 6 ภายใน 30 วนั หลงั X X X X X สนิ้ สดุ ภาคการศกึ ษาทเี่ ปิดสอนให้ครบทุกรายวชิ า 5. จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.7 X X X X X ภายใน 60 วันหลงั สน้ิ สดุ ปกี ารศกึ ษา 6. มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธ์ขิ องนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการ เรียนรู้ ทก่ี าหนดใน มคอ.3 และ มคอ. 4 อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 25 X X X X X ของรายวชิ าที่เปดิ สอนในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา 7. มกี ารพฒั นา/ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน กลยทุ ธก์ ารสอน หรอื การประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการ XXX X ดาเนนิ งานท่รี ายงานใน มคอ.7 ปที ผี่ า่ นมา 8. อาจารยใ์ หม่ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนิเทศหรอื คาแนะนาดา้ น การ X X X X X จดั การเรยี นการสอน 9. อาจารย์ประจาทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาทางวิชาการ และ/หรือ XXXX X วชิ าชพี อยา่ งน้อยปลี ะหน่งึ คร้งั 10. จานวนบุคลากรสนบั สนนุ การเรยี นการสอนได้รบั การพฒั นา XXXX X วิชาการ และ/หรือวิชาชพี ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 50 ตอ่ ปี 11. ระดบั ความพึงพอใจของนักศกึ ษาปสี ุดทา้ ย/บัณฑติ ใหม่ท่มี ีตอ่ XXX X คณุ ภาพหลกั สูตร เฉลีย่ ไมน่ อ้ ยกว่า 3.5 จาก คะแนน 5.0 12. ระดบั ความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ณั ฑิตท่มี ีตอ่ บัณฑติ ใหม่ที่มตี อ่ XX X บัณฑติ ใหม่ เฉลีย่ ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 รวมตัวบ่งช้ีบงั คบั ที่ต้องดาเนนิ การ (ข้อ 1-5)ในแตล่ ะปี 5555 5 รวมตวั บง่ ช้ีในแตล่ ะปี 9 11 12 12 12

47 หมวดท่ี 8 การประเมิน และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของหลักสตู ร 1. การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของการสอน 1.1 การประเมนิ กลยทุ ธ์การสอน 1. ประเมินกลยทุ ธ์การสอนโดยการประเมินการสอนของผสู้ อนจากนักศกึ ษา 2. ประเมินจากผลการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา 3. ประชุมรว่ มระหว่างผสู้ อนและกรรมการประจาหลกั สตู ร 1.2 การประเมินทกั ษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน ประเมินผลการสอนของอาจารยท์ ุกภาคการศกึ ษา 2. การประเมินหลกั สตู รในภาพรวม 1. ประเมินผลการจัดการศกึ ษาตามทก่ี าหนดไว้ทุกภาคการศึกษา 2. ประเมินความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาทีส่ าเร็จการศกึ ษา ผูใ้ ช้บณั ฑติ และผทู้ รงคุณวุฒภิ ายนอก 3. การประเมินผลการดาเนนิ งานตามรายละเอียดหลักสูตร ทาการประเมินคุณภาพในการดาเนินการตามดัชนีบ่งช้ีผลการดาเนินงานในหมวด 7 ข้อ 7 โดย คณะกรรมการการประเมินท่ไี ดร้ ับการแต่งตง้ั จากมหาวิทยาลยั ฯ และจากหนว่ ยงานภายนอก 4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรบั ปรงุ หลักสูตรและแผนกลยทุ ธ์การสอน 1. นาผลการประเมินมาพจิ ารณาวางแผนโดยคณะกรรมการประจาหลกั สูตรและปรบั ปรงุ แผนกลยทุ ธ์ การสอนทกุ ภาคการศึกษา 2. นาผลประเมินมาพจิ ารณาและพฒั นาหลักสตู รทกุ 3 ปี

48 ตารางเปรียบเทียบข้อแตกตา่ งระหว่างหลกั สูตรเดมิ และหลกั สตู รปรับปรงุ หัวข้อ หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2555 (เดมิ ) หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 (ใหม่) หมายเหตุ 1.ขอ้ มูล ท่ัวไป 1. ช่อื หลักสตู ร 1. ชอื่ หลักสตู ร เปล่ียนชื่อ การวจิ ยั และพัฒนาหลักสตู ร การพัฒนาหลกั สูตรและนวัตกรรมการสอน 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ 11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ เพิ่มเตมิ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ปัจจุบันโลกเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นสังคมที่มี รายละเอยี ด ฉบบั ท่ี 8 (พ.ศ.2555-2559) ยทุ ธศาสตร์การวิจัย การเปล่ียนแปลงท้ังเรื่องการเมือง เศรษฐกิจ วถิ ีชีวิต ที่ 3 การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อ วัฒนธรรม รวมทั้งสิ่งแวดล้อมรอบตัว เป็นยุคที่ต้อง การพัฒนานวัตกรรมและบุคลากรทางการวิจัย สามารถสร้างเด็กไทยให้ยืนอยู่ในเวทีระดับชาติและ มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร ทาให้ ระดับนานาชาติได้อย่างมีความสุข ครูในศตวรรษที่ สามารถสร้างองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญา 21 จึงเป็นหัวใจของการปฏิรูปการเรียนรู้และเป็น ของประเทศ ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพการ บุคคลที่มีความสาคัญต่อการศึกษาของประเทศ วิจัยของป ระเท ศ ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกับ ตลอดกาล ดังน้ัน ครูจึงต้องพัฒนาตนเองให้มี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ สมรรถนะของการเป็นครูไทยมืออาชีพอันกอปรด้วย 11 (พ.ศ.2555-2559) ที่กล่าวถึง การเพิ่ม ความมีจิตวิญญาณของความเป็นครูและสร้างแรง สมรรถนะของประเทศในกระแสโลกาภิวัฒน์ที่มี บันดาลใจพัฒนาตนเองให้มีความเป็นครูที่ทันสมัย การเปล่ียนแปลงและความก้าวหน้าด้าน ทันเหตุการณ์อย่างสม่าเสมอ ซ่ึงเป็นเง่ือนไขสาคัญท่ี วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมจะเป็นไป จะนาพาประเทศไปสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ท่ี อย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง และมีบทบาทสาคัญ พึงประสงค์ ใน การพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจและ การศึกษากับการพัฒนาเศรษฐกิจมีบทบาท การเมือง รวมทั้งเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้าง และความสัมพันธ์แบบต่างฝ่ายต่างมีอิทธิพลต่อกัน ความเจริญเติบโตทางปัญญาของคนไทย จึง การจัดการศึกษาเป็นการพัฒนาทุนมนุษย์และทุน จาเป็นต้องเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการ ท า ง สั ง ค ม ที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ส า คั ญ ที่ สุ ด ใ น จัดการความรู้ทั้งภูมิปัญญาไทยและความรู้ กระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกจิ สังคม ประเทศต้อง ปัจจุบันที่อยู่ในตัวคน ความรู้ในวิทยาการด้าน จัดการศึกษาให้ท่ัวถึง อย่างมีประสิทธิภาพ และมี ต่างๆ ให้เป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาสังคมและ คุ ณ ภ าพ ท าให้ ป ระช ากรส่วน ให ญ่ มี ค วาม รู้ เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อสามารถพัฒนา ความสามารถมีทักษะ และเป็นพลเมืองที่รับผิดชอบ กาลังคนให้รองรับความต้องการในเรื่องการวิจัย จึงจะสามารถแกไ้ ขปัญหาและพฒั นาเศรษฐกจิ สังคม และพัฒนาหลักสูตรท้ังในประเทศและอาเซียน ให้ประสบความสาเร็จได้และการพัฒนาทั้งสองด้าน โดยการบริหารจัดการพัฒนาหลักสูตรทั้งใน น้ีต้องทาไปพร้อมๆ กันไม่ทาแยกส่วนโดยให้ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและท่ีเป็นจุดเน้นของ ความสาคัญกับด้านใดด้านหน่ึงก่อนจึงจะเกิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีคือการ ประสิทธิภาพ ปัจจัยพื้นฐานสาคัญที่สดุ ในการพัฒนา พัฒนาหลักสูตรวิชาชีพที่นาไปใช้ได้จริงทั้งใน ประเทศ คือ คนท่ีมีสติปัญญา ความรู้ โดยผ่าน สถานศึกษาและสถานประกอบการบนพ้ืนฐาน กระบวนการการเรียนรู้ ศึกษา และฝึกอบรม ย่ิงใน ของการวิจยั ให้ไดป้ ระสิทธิภาพสงู สุด ระดับสูงข้ึนมากเท่าใด ย่อมก่อให้เกิดพลังอานาจใน การวิจัยและพัฒ นาหลักสูตรนับเป็น การพัฒนาประเทศมากข้ึนให้สามารถยืนหยัดต่อสู้ เคร่ืองมือสาคัญในการสร้างพลังให้ประเทศ อย่างสมศักดิ์ศรีในประชาคมโลกมากข้ึนเท่าน้ัน