Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

Description: หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

47 02-221-107 วงจรไฟฟา้ 3(2-3-5) Electric Circuits องค์ประกอบวงจรไฟฟ้า ความสัมพันธข์ องความต้านทานกับอณุ หภมู ิ กฎของโอห์ม และเคอร์ชอฟฟ์ การวเิ คราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยวธิ ีโหนด เมซ และทฤษฎวี งจรไฟฟ้า ตา่ งๆ ภาวะสูงสุดของการถา่ ยทอดกาลงั ไฟฟ้า สัญญาณแบบซายนูซอยดลั และเฟส เซอร์ การวิเคราะห์ในวงจรสัญญาณซายน์แบบสถานะคงตัว วงจรเรโซแนนซ์ วงจรไฟฟ้าสามเฟส กาลังไฟฟ้าในวงจรกระแสสลับและ การปรับปรุงตัวประกอบ กาลังไฟฟา้ และปฏิบตั ิการสอดคล้องกบั เนอื้ หาการสอน Circuit elements, resistance and temperature relationship, Ohm's law and Kirchhoff’s law, node and mesh analysis, electric circuit theories, maximum power transfer theorem, sinusoidal and phasor waveforms, steady-state sinusoidal analysis, resonant circuits, three-phase circuits, ac circuits power and power factor improvements and laboratory practice related theory 02-200-101 คณติ ศาสตร์พน้ื ฐานทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) Fundamental of Engineering Mathematics ฟังชั่นตรีโกณมิติ ลิมิต ความต่อเนื่อง ความน่าจะเป็น อนุพันธ์ อนุพันธ์ย่อย ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ ปริพันธ์จากัดเขต ปริพันธ์หลายช้ัน และการ ประยุกต์สมการเชิงอนุพันธ์ เมทริกซ์ และการประยุกต์ทางวิศวกรรม Trigonometry function, limits, continuous, probability, derivatives, partial derivatives, integrations and techniques of integrations, definite integral, partial derivatives and applications, differential equations, matrix, and engineering applications

48 02-221-209 การวเิ คราะหว์ งจรไฟฟ้า 3(2-3-5) Electric Circuits Analysis วชิ าบงั คับก่อน : 02-221-107 วงจรไฟฟา้ หรอื เรียนควบคู่กัน Prerequisite : 02-221-107 Electric Circuits or concurrent enrollment องค์ประกอบสะสมพลังงาน วงจรอันดบั 1 อนั ดับ 2 และการวเิ คราะหผ์ ลตอบสนอง เชิงเวลาของวงจรด้วยสัญญาณแบบตา่ ง ๆ การวิเคราะห์วงจรข่ายสองทาง ความถ่ี เชิงซ้อน ผลตอบสนองเชิงเวลา การวิเคราะห์ตัวแปรสภาวะ ฟังก์ชันวงจรข่าย เบ้ืองต้น การใช้ลาปลาซ์เพื่อวิเคราะห์และประยุกต์กับวงจรไฟฟ้าแบบต่างๆ และ ปฏิบัตกิ ารจาลองวงจรไฟฟา้ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Energy storage devices, first-order and second-order circuits, time domain response with various signals, two-ports networks, complex frequency, time domain response, state variables analysis, network functions, Laplace for electrical circuits analysis and laboratory practice on circuits analysis used program computer 02-221-114 เครือ่ งจักรกลไฟฟ้า 1 3(2-3-5) Electrical Machines 1 วิชาบังคับก่อน : 02-221-107 วงจรไฟฟา้ Prerequisite : 02-221-107 Electric Circuits วงจรแม่เหล็กไฟฟ้า พลังงานสนามแม่เหล็ก การสูญเสียในแกนเหล็ก การทางาน และส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรสมมูล เฟสเซอร์ไดอะแกรมและ สมรรถภาพหม้อแปลงไฟฟ้า ส่วนประกอบหม้อแปลงกาลัง หม้อแปลงหลายเฟส และกลุ่มเวกเตอร์ โครงสร้างและคุณลักษณะท่ัวไปของเครื่องจักรกลไฟฟ้า กระแสตรง หลักการการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์กระแสตรง และ ปฏิบัตกิ ารสอดคลอ้ งกับเนื้อหาการสอน Magnetic circuits, magnetic field energy, iron core losses, transformer principles and components, equivalent circuits, transformer phasor diagrams and performances, power transformers components, polyphase transformers and vector, structure and general characteristics of dc machines, dc motors speed control principles and laboratory practice related theory

49 02-221-216 เครือ่ งจกั รกลไฟฟ้า 2 3(2-3-5) Electrical Machines 2 วิชาบงั คับก่อน : 02-221-114 เครือ่ งจกั รกลไฟฟา้ 1 Prerequisite : 02-221-114 Electrical Machines 1 โครงสร้างของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรสมมูล และคุณลักษณะรวมท้ัง สมรรถภาพของเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ แบบเหนี่ยวนาท้ัง เฟสเดียวและสามเฟส การวิเคราะห์เครื่องจักรกลไฟฟ้าท้ังแบบอซิงโครนัสและแบบ ซิงโครนัส หลักการควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ และการป้องกัน เคร่ืองจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับชนิดพิเศษเช่น สเต็ปปิงมอเตอร์และเซอร์โวมอเตอร์ และปฏบิ ตั ิการสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาการสอน Mechanical structure of ac machines, equivalent circuits and characteristics, including the generator, single phase and three phase induction motors, analysis of ac asynchronous and ac synchronous machines, control principles, and protections, special ac machines such as stepping motor and servo motor and laboratory practice related theory 02-221-123 คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรมไฟฟา้ 3(3-0-6) Electrical Engineering Mathematics ทฤษฎีและการนามาใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน ทฤษฎีและการนามาใช้งานของการ วิเคราะห์เวกเตอร์ อนุกรมฟูเรียร์และการนามาใช้ในการวิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า การแปลงฟูเรียร์ การแปลงลาปลาซ์และการนามาใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า Complex variables theorem and applications, vector analysis theorem and applications, Fourier series and applications in electrical waveform analysis, Fourier transform, Laplace transform theorem and applications in electrical circuit analysis

50 02-221-227 อิเล็กทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Electronics คุณสมบัติและการประยุกต์ใช้งานของอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ไดโอด ทรานซิสเตอร์ ไทริสเตอร์ ออปแอมป์ ออพโตคัพเปลอร์ เซ็นเซอร์ วงจรควบคุม แรงดันไฟฟ้า วงจรเรียงกระแส วงจรกรอง วงจรขยาย วงจรเปรียบเทียบ วงจร กาเนิดสัญญาณ และโซลดิ สเตตรีเลย์ และปฏบิ ัติการสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาการสอน Characteristics and application of diodes, transitors, thysistors,op-amps, opto-couplers, sensors, voltage regulators, rectifiers, filters, amplifiers, comparators, signal generators and solid-state relays and laboratory practice related theory 02-221-238 วศิ วกรรมแสงสวา่ ง 3(3-0-6) Illumination Engineering หน่วยและคาศัพท์เฉพาะของแสง ตาและการมองเห็น สีและการจาแนกสี หลอด ไฟฟ้า ดวงโคม แสงสว่างภายในอาคารและสภาวะแวดล้อม เทคนิคการออกแบบ แสงสว่างภายในอาคาร แสงสว่างและการอนุรักษ์พลังงาน การออกแบบแสงสว่าง ภายนอกอาคาร แสงธรรมชาตแิ ละการประยกุ ต์ใช้ Unit and terminology of light, eye vision and visibility, colors, color classifications, light sources, luminaires, interior lighting and the luminous environment, interior lighting design techniques, lighting and energy conservations, outdoor lighting design, daylighting and application

51 02-221-341 อิเลก็ ทรอนิกสก์ าลัง 3(2-3-5) Power Electronics ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับหลักการวัด มาตรฐาน ระบบของการวดั ปริมาณและหนวย นิยามศัพทมาตรวิทยา วิธีการวัด คาความผิดพลาดในการวัด การใชสถิติในการวัด และตรวจสอบ การหาคาความไมแนนอน มาตรฐาน ISO/IEC 17025 สาหรับหอง ปฏิบัติการ การสอบเทียบเคร่ืองมือวัด ตลอดจนการบารุงรักษาเคร่ืองมือวัด ปฎิบัติ การวัดพิกัดงานสวม ผิวความหยาบ ชิ้นส่วนเคร่ืองกล และงานสวมประกอบช้ินเข้า ด้วยกนั Study and practice on concept of metrology, measurement system and standard, definition of metrology, errors of the measurement, statistic for metrology, uncertainty, ISO/ IEC 17025 standard, calibrations and measuring instrument maintenance, Practice on measuring of roughness and tolerances of fitting parts include mounting and dismounting procedure 02-221-365 การเตรยี มโครงการ 1(1-0-2) Pre-Project ขั้นตอนและระเบียบการเสนอหัวข้อโครงการทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ด้านระบบ ควบคุม การทบทวนวรรณกรรม การวิเคราะห์ปัญหาและความเป็นไปได้ของ โครงการ การวางแผนและออกแบบข้ันตอนของการทาโครงการ การนาเสนอและ อภปิ รายในด้านวชิ าชีพเฉพาะ การเขยี นรายงานและวิธีการนาเสนอปริญญานิพนธ์ Proposal topic regulations and procedures of the electrical power or control system, literature review, problem definition and project feasibility, designing and planning of the project, presentation and discussion in field, report writing and project presented method

52 02-221-366 โครงการ 3(1-6-4) Projects วิชาบงั คบั กอ่ น : 02-221-365 การเตรียมโครงการ Prerequisite : 02-221-365 Pre-Project การวางแผนการสร้างโครงการเฉพาะด้านวศิ วกรรมไฟฟ้า ด้านระบบควบคุม ค้นควา้ หัวข้อท่ีมีความสัมพันธ์กับโครงการ วิเคราะห์ ออกแบบและสร้างโครงการ การ เลือกใช้เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการสร้าง อันเกิดประโยชน์ต่อสายวิชาท่ีเรียนมาโดยตรง หรือต่อสังคม สว่ นรวม Projects planning in specific electrical power or control system, project related topics researching, analysis designs and project implementations, using efficiency tools and equipments, as well as applied to implementation technology usefulness on their fields or public societies 02-221-230 การออกแบบระบบไฟฟา้ 3(3-0-6) Electrical Systems Design มาตรฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า การป้องกันและอุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้าการ วางแผนออกแบบระบบไฟฟ้า การกาหนดขนาดสายประธานไฟฟ้าสายปอ้ นและวงจร ยอ่ ย การออกแบบระบบไฟฟ้า สาหรับบา้ นพักอาศัย อาคารชดุ อาคารพาณชิ ยแ์ ละ โรงงานอุตสาหกรรม เทคนิคการปรับปรุงเพาเวอร์แฟคเตอร์ ระบบการต่อลงดิน และระบบปอ้ งกันฟา้ ผ่าสาหรบั อาคาร Electrical systems design standard, protection and devices, electrical design planning, sizing and wiring of service entrance, feeder, branch circuit, electrical design for residential, condominium, commercial and industrial, power factor correction techniques, grounding and lightning protection for building

53 02-222-101 การวัดและเครือ่ งมอื วัดทางไฟฟ้า 2(1-3-3) Electrical Measurements and Instrumentations การวัดและค่าผิดพลาด หลักการของเครื่องมือวัดแบบอนาลอก แอมป์มิเตอร์และ โวลต์มิเตอร์ การขยายย่านการวัด วงจรบริดจ์ไฟตรงและไฟสลับ การวัดความ ต้านทาน ความเหน่ียวนา ความจุ กาลังไฟฟ้า เพาเวอร์แฟคเตอร์ พลังงานไฟฟ้า ความถ่ีและเฟส โอห์มมิเตอร์และวัตตม์ ิเตอร์ หม้อแปลงเครื่องมือวัด เคร่ืองกาเนิด สัญญาณ ออสซิลโลสโคป และหลักการของเคร่ืองมือวัดแบบดิจิทัล และปฏิบัติการ สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาการบรรยาย Measurements and errors, analog instrument principles, ammeter and voltmeter, measurement range expansions, dc and ac bridges, measurement of resistance, inductance, capacitance, power, power factor, electrical energy, frequency and phase, ohmmeter and wattmeter, instrument transformers, function generators, oscilloscopes, and digital instrument principles and laboratory practice related theory 02-222-203 ระบบควบคุม 3(2-3-5) Control Systems วชิ าบงั คบั ก่อน : 02-221-123 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรมไฟฟา้ Prerequisite : 02-221-123 Electrical Engineering Mathematics ระบบควบคุมเบื้องต้น ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบวงรอบเปิดและวงรอบปิด บล็อกไดอะแกรมและกราฟแยกการไหลของสัญญาณ การแทนระบบทางกายภาพ ด้วยสมการทางคณิตศาสตร์และฟังก์ชันถ่ายโอน การวิเคราะห์ผลตอบสนองช่ัวครู่ การวิเคราะห์ระบบควบคุมในโดเมนเวลาและความถี่ เสถียรภาพของระบบควบคุม การออกแบบและชดเชยระบบควบคุม และปฏิบตั กิ ารสอดคล้องกบั เนอ้ื หาการสอน Fandamental of control system, open- loop and closed- loop automatic control systems, block diagrams and flow graphs, mathematical models and transfer functions of physical systems, transient response analysis, time- domain and frequency- domain analysis, control system stability, control system design and compensation and laboratory practice related theory

54 02-250-101 พืน้ ฐานงานวิศวกรรม 3(1-6-4) Engineering Basic Skills ฝึกปฏิบัติงานด้านการเทคนิคการผลิตพ้ืนฐาน การใช้เครื่องมือช่างพ้ืนฐาน เครื่องมือ ร่างแบบ เคร่ืองมือวัดแบบมีสเกล งานวางแบบช้ินงาน งานตะไบ งานเล่ือย งานใช้ เคร่ืองเจาะ งานลับดอกสวา่ น งานเจาะ งานทาเกลียวด้วยมือ งานเช่ือมไฟฟ้าพื้นฐาน และการปฏบิ ตั ิงานอย่างปลอดภยั Practice on basic technical practices, using of hand tools, layout tools and measuring tools, layout and fitting, filing, hand sawing, drilling, drilling machine, drill grinding and drilling operation, hand reaming, tap and die threading operations, basic skill of shield metal arc welding and safety in working 02-250-112 พน้ื ฐานวสั ดุและกลศาสตร์ 3(3-0-6) Basic of Materials and Mechanics ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของวัสดุ คุณสมบัติ การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสม กลุ่มโลหะ พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุร่วม หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ ระบบ ของแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การวิเคราะห์โครงสร้าง ความเสียดทาน แรง กระจาย จลนศาสตร์ของวตั ถแุ ขง็ แกร่ง งานและพลังงาน แรงดลและโมเมนตัม ความ เคน้ และความเครียด ความสมั พันธ์ระหว่างความเคน้ และความเครยี ด Relationship of materials structure and properties, appropriate material selection materials, metal, polymer, ceramic and composite, basic principle of mechanics, force systems and resultants, structural analysis, friction, distributed forces, kinematics of rigid bodies, work and energy, impulse and momentum, stress and strain, stress and strain relationship

55 02-201-103 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5) Computer Programming หลักการและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม การแก้ปัญหาด้วยข้ันตอนวิธีและผังงาน การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม องค์ประกอบและโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดข้อมูล รูปแบบคาสั่งต่างๆ และฟังก์ชันเบื้องต้น การคานวณและเปรียบเทียบ การโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมย่อย และการเขียน โปรแกรมประยกุ ต์ใช้งานเฉพาะดา้ นตามสาขางานท่เี ก่ียวขอ้ ง Principles and procedures for application development, solution algorithm and flowcharts, design and application development, components and structures of computer languages, data types, instruction formats and basic functions, calculation and comparison, structural computer programming, sub-program and application program for specific works in related fields 02-212-202 การทาความเย็นและปรับอากาศ 3(1-6-4) Refrigeration and Air Conditioning หลักการทางานของระบบการทาความเย็นและปรับอากาศ การติดตงั้ การตรวจสอบ การวิเคราะห์ปัญหา การซ่อมอุปกรณ์ การบริการ ท้ังระบบทาความเย็นและระบบ ปรบั อากาศ Principles of refrigeration and air conditioning system installation, checking, analysis of the problem, the service and repair refrigeration and air conditioning systems in industrial and automotive 02-221-102 เทคโนโลยวี ิศวกรรมไฟฟ้า 3(2-3-5) Electrical Engineering Technology ทฤษฎีพ้ืนฐานของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ เครื่องมือและวธิ ีการวัดทาง ไฟฟ้า หลักการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า เบ้ืองต้น การติดต้ังไฟฟ้าภายในอาคาร มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า และ ปฏบิ ตั ิการสอดคลอ้ งกบั เนอื้ หาการบรรยาย Basic theory of circuits, DC and AC, apparatus and method for measuring electrical, transform electrical energy into mechanical energy, basic electric motor control, Electrical safety standards and laboratory practice related theory

56 02-221-212 วศิ วกรรมแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า 3(3-0-6) Electromagnetic Engineering การวิเคราะห์เวกเตอร์ สนามแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าสถติ ย์ คณุ สมบัติของตวั นา ฉนวน คาปา ซิแตนซ์ การพาและการนากระแส สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟา้ แรงและแรงบดิ ท่ีกระทาต่อวงรอบกระแสไฟฟ้าในสนามแม่เหล็กเหนี่ยวนา กระแสดิสเพล็ซเมนต์ สมการแม็กซ์เวลล์ Vector analysis, electrostatic fields, conductor and insulator characteristics, capacitance, convection and conduction currents, magnetic fields due to currents, force and torque on current loop in magnetic field, displacement current, Maxwell’s equations 02-221-215 ฝึกปฏิบัตกิ ารควบคุมเครอ่ื งจกั รกลไฟฟ้า 1(0-3-1) Electrical Machines Control Practices ปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ด้วยแมกเนติกคอนแทกเตอร์ การอ่านแบบ วงจรควบคุมมอเตอร์ และฝึกปฏิบัติการเริ่มเดินมอเตอร์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ไดเร็ก ออนไลน์ สตาร์เดลตา การกลับทางหมุน หรือการควบคุมใหเ้ ดนิ ตามลาดับ วิธีการ เลอื กใช้แมกเนติกคอนเทคเตอร์ ชนิดของโอเวอรโ์ หลดและการปรับตัง้ A laboratory work on motor control with magnetics contactors, reading a motor control circuit drawing, various motor starting practice such as direct online, star- delta, rotation reversal, sequential running control, magnetic contactors selections, overload relay types and settings

57 02-221-225 การสง่ และจ่ายกาลังไฟฟา้ 3(3-0-6) Electric Power Generation Transmission and Distribution วชิ าบงั คบั ก่อน : 02-221-107 วงจรไฟฟ้า Prerequisite : 02-221-107 Electrical Circuits หลักการระบบวิศวกรรมไฟฟ้า แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้าโครงสร้างระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า คุณลักษณะของโหลด การจัดบัสในระบบไฟฟ้า โรงต้นกาลังไฟฟ้า การส่งพลังงานไฟฟ้า โครงข่ายระบบส่งจ่ายกาลังไฟฟ้า การติดตั้งสายส่งและสาย จาหน่าย อุปกรณ์ในระบบวิศวกรรมไฟฟ้า อิมพีแดนซ์ของสายส่ง ความสัมพันธ์ ระหว่างกระแสและแรงดัน แรงดันตกและการสูญเสียในสายส่ง การคงค่า แรงดันไฟฟ้า การหาระยะหย่อนและแรงดึงของสาย โคโรนาและการกระจายแรงดัน บนลกู ถว้ ย Electrical power system principles, electrical sources, load characteristics, bus in electrical systems, power plants, power transmissions, power transmission networks, transmission and distributed line installations, power system equipment, transmission line impedances, current and voltage relationship, voltage drop and losses in transmission line, voltage regulations, conductor sag and tension, corona and distributed voltage on insulators 02-221-260 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า 1(1-0-2) Electrical Safety อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้าและผลของอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุ จากไฟฟ้าดูด ความปลอดภยั และอันตรายจากการปฏิบัติงานไฟฟ้า ความปลอดภัย ในการใช้อุปกรณ์ไฟฟา้ การป้องกันอนั ตรายจากไฟรวั่ ลงดิน การตอ่ ลงดนิ ของระบบ ไฟฟา้ อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอร์ Electrical accidents and its results, first aid of victim from electrical accident, safety and dangers of electrical works, safety of electrical equipment usage, leakage current danger protections, grounding of electrical systems, electronic devices and computers

58 02-221-326 การวเิ คราะห์ระบบไฟฟ้ากาลงั 3(2-3-5) Electric Power System Analysis วชิ าบังคบั ก่อน : 02-221-225 การสง่ และจา่ ยกาลังไฟฟ้า Prerequisite : 02-221-225 Electric Power Generation Transmission and Distribution การแทนรูปแบบของระบบวิศวกรรมไฟฟ้า สมการวงจรข่ายและการแก้ปัญหาระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า การศึกษาโหลดโฟล์ว การวิเคราะห์ฟอลต์แบบสมมาตรและฟอลต์ แบบไม่สมมาตร แรงดันเกินในระบบวิศวกรรมไฟฟ้า การป้องกันระบบ วศิ วกรรมไฟฟ้าเบอื้ งตน้ และปฏบิ ตั กิ ารสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาการสอน Power system modeling, network equations and power system solutions, load flow study, symmetrical and unsymmetrical fault analysis, over voltage in power systems, basic of power system protections and laboratory practice related theory 02-221-352 โรงตน้ กาลังไฟฟา้ 3(3-0-6) Electric Power Plants คุณลักษณะเส้นโค้งโหลด เส้นโค้งของช่วงเวลา และตัวประกอบโหลด โรงจักร ไฟฟ้าพลังน้า พลังไอน้า กังหันแก๊ส ดีเซล พลังงานนิวเคลียส์และโรงจักรไฟฟ้า พลังงานความร้อนร่วม พลังงานไฟฟ้าทดแทน เช่น พลังงานลม พลังงานเซลล์ แสงอาทติ ย์ และ พลังงานชวี มวล การติดต้ังลานไกสวติ ช์ของระบบจา่ ยกาลงั ไฟฟ้า Time curve characteristics, load curve and load factor, hydro power plant, steam power plant, gas turbine power plant, diesel power plant, nuclear power plant, combined cycle power plant alternative electrical energy such as wind energy, solar cell energy and biomass energy and study of distribution system switch yard installations

59 02-221-360 การประยุกตใ์ ช้วงจรรวมในงานไฟฟ้า 2(1-3-3) Integrated Circuits in Electrical Applications วงจรทางดิจิตอลเบื้องต้น วงจรรวมในงานไฟฟ้า การประยุกต์ใช้วงจรรวมในงาน ควบคุมทางไฟฟา้ และอุตสาหกรรม และปฏบิ ตั กิ ารสอดคลอ้ งกับเนอื้ หาการสอน Basic digital circuit Integrated circuit in electrical work Application of integrated circuits in electrical and industrial control and laboratory practice related theory 02-221-128 การป้องกันระบบไฟฟา้ กาลงั 3(2-3-5) Power System Protections ปรัชญาของการป้องกันระบบวิศวกรรมไฟฟ้า เซอร์กิตอินเตอร์รับเตอร์ เซอร์กิต เบรกเกอร์ ฟิวส์ หม้อแปลงกระแสและหม้อแปลงแรงดัน โครงสร้างและหลักการ ทางานของรีเลย์ รีเลย์กระแสเกินและแรงดันเกิน รีเลย์ผลต่าง รีเลย์รู้ทิศทาง รีเลย์ วัดระยะทาง การแบ่งโซนของระบบป้องกัน การประสานของการทางาน รีเลย์การ ป้องกันเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ บัส หม้อแปลงและสายส่ง สายป้อน และ ปฏบิ ตั ิการสอดคลอ้ งกบั เนื้อหาการสอน Power system protection philosophy, circuit interrupters, circuit breakers, fuses, current and potential transformers, relay structures and operations, over current and over voltage relay, differential relay, directional relay, distant relay, protection system zoning, coordination, protections of motors, generators, buses, transformers, transmission line and feeders and laboratory practice related theory

60 02-221-136 วศิ วกรรมไฟฟา้ แรงสงู 3(3-0-6) High Voltage Engineering วชิ าบงั คบั ก่อน : 02-221-212 วิศวกรรมแม่เหลก็ ไฟฟ้า Prerequisite : 02-221-212 Electromagnetic Engineering การผลิตไฟฟ้าแรงสูงเพ่ือการทดสอบ การวัดกระแสและแรงดันด้วยไฟฟ้าแรงสูง สนามไฟฟ้าในวัสดุเน้ือสารชนิดเดียวและเนื้อสารต่างชนิด การดีสชาร์จในก๊าซและ การเกิดเบรกดาวน์ในฉนวนท่ีเป็นของเหลวและของแข็ง การป้องกันฟ้าผ่า การ ทดสอบวัสดแุ ละอปุ กรณ์ไฟฟ้าดว้ ยไฟฟ้าแรงสูง และการทดสอบแบบไม่ทาลาย High Voltage generation for testing, voltage and current measurement with high voltage, electric field in homogeneous and heterogeneous material, gaseous discharges, breakdown in liquid and solid dielectrics, high voltage test of electric apparatuses, nondestructive test techniques 02-221-143 การขับเคลอ่ื นด้วยไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Drives วชิ าบงั คับก่อน : 02-221-216 เครอ่ื งจักรกลไฟฟ้า 2 Prerequisite : 02-221-216 Electrical Machines 2 การพัฒนาการขับเคล่ือนด้วยไฟฟ้า การขับเคล่ือนมอเตอร์แบบปรับความเร็วได้ การเบรกด้วยไฟฟ้า ความสัมพันธ์ของพลังงานในระหว่างการเริ่มทางานและการ เบรก แบบจาลองของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง ระบบควบคุมแบบหลายค วอดแดนท์ การขับเคล่ือนเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ แบบจาลองทาง คณิตศาสตร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนา การควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้ากระแสสลับด้วย อินเวอร์เตอร์ การประยุกตใ์ ช้ในงานอตุ สาหกรรม Electric drives developments, variable speed drives, electrical breakings, power relationship in starting and braking, DC machine mathematic models, multi-quadrant control systems, AC machine drives, AC machine mathematic models, AC machine controls by inverters, applications in industries

61 02-221-159 โปรแกรมประยุกตท์ างดา้ นไฟฟ้า 3(2-3-5) Electrical Application Software โปรแกรมประยุกต์ในงานไฟฟ้า การใช้โปรแกรมประยุกต์เทคนิคการใช้โปรแกรม ข้ันสงู การใช้โปรแกรมประยกุ ตใ์ นงานอุตสาหกรรม Application software in electrical fields, application software usage, advange techniques application software usage, application software usage in industries 02-241-103 วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 3(2-3-5) Electronics Engineering อุปกรณ์พาสซีพ ทฤษฎีสารก่ึงตัวนาและรอยต่อพี เอ็น ไดโอดและวงจรไดโอด ทรานซิสเตอร์ไบโพลาร์ ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า การไบอัสทรานซิสเตอร์ วงจร ทรานซิสเตอร์เบ้ืองต้น การอ่านคู่มือคุณสมบัติ แหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้า วงจรขยาย ความถ่ีต่าสาหรับสัญญาณขนาดเล็ก วงจรขยายสัญญาณหลายภาค วงจรขยาย ป้อนกลับ อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ทางแสง Passive devices, theories of semiconductor and P-N junction, diode and diode circuits, bipolar junction transistor, field effect transistor, transistor biasing, fandamental of transistor circuits, data sheet reader, power supply, small-signal low frequency amplifier, multistage amplifier, feedback amplifier, optoelectronic devices 02-241-205 การออกแบบวงจรดิจทิ ัล 3(2-3-5) Digital Circuits Design สัญญาณพัลส์ วงจรอินทิเกรต วงจรดิฟเฟอเรนชิเอเตอร์ วงจรสวิตช์ วงจรชมิตต์ ทริกเกอร์ วงจรมัลติไวเบรเตอร์ วงจรลอจิก DTL RTL TTL and ECL วงจรรวม ลอจิกเกต ทฤษฎีบูล แผนผังคาโนห์ ลอจิกฟังก์ชัน POS SOP วงจรคอมไบเนชั่น วงจรฟลิปฟลอป วงจรซีเคว็นเชียล การออกแบบวงจรลอจิกด้วยภาษา HDL และ การประยกุ ตใ์ ช้งาน Pulse signal, integrator, differentiator, switching circuits, schmitt trigger, multi-vibrator, DTL, RTL, TTL, and ECL logic circuits, IC logic gate, Boolean theory, K-map, POS,SOP logic functions, combination logic circuits, Flip- Flops, sequential circuits, logic circuit design using HDL language and applications

62 02-222-302 ระบบและอุปกรณ์ควบคุม 3(2-3-5) Control Systems and Devices สัญลักษณ์ท่ีใช้ในงานควบคุมแบบยุโรป อเมริกาและแบบมาตรฐานนานาชาติ การเลือกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า นิวเมติกส์ อิเล็กทรอนิกส์ให้เหมาะสมกับงาน การ ออกแบบและการควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า การออกแบบและการควบคุมของไหลใน งานอุตสาหกรรม การประยุกต์ควบคุมด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ไปทดแทนงานควบคุมที่มีอยู่เดิม และปฏิบัติการ สอดคลอ้ งกับเนือ้ หาการสอน European, American, and international symbols in control fields, choosing of electrical, pneumatic, and electronics equipments, design and control of electrical motors, design and control of fluid in industries, applications of control system with electronics devices and computers, using of electronics device instead of existent old-style control systems and laboratory practice related theory 02-222-305 เครอ่ื งมอื วดั อุตสาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Instruments วชิ าบังคับกอ่ น : 02-222-101 การวัดและเครื่องมือวดั ทางไฟฟ้า Prerequisite : 02-222-101 Electrical Measurements and Instrumentations หลักการใช้งานและการประยุกต์ของเคร่ืองมือวัดชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในงานวิศวกรรม เช่น เคร่ืองมือวัดความดัน อุณหภูมิ ระดับของไหล ปริมาณอัตราไหลของ ของเหลว การเคลื่อนท่ีของการส่ันสะเทือน ระบบการทางานจะประกอบด้วย ระบบงานกล นิวแมติกส์และระบบทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ การติดตั้งปรับแต่ง และการบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์ และปฏิบัตกิ ารสอดคล้องกบั เนื้อหาการสอน Principles and applications of instrumentations in industries such as pressure, temperature, fluid level, fluid volume flow rate, vibration, system are consist of mechanical systems, pneumatic, electronics and electrical systems, installations, calibrations, and equipment maintenances and laboratory practice related theory

63 02-222-307 อปุ กรณ์วัดและแปลงสญั ญาณ 3(2-3-5) Sensors and Transducers ทฤษฎีของเซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์ เทคโนโลยีเซ็นเซอร์แบบสารก่ึงตัวนา เซ็นเซอร์เชิงกล เซ็นเซอร์แม่เหล็ก เซ็นเซอร์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เซ็นเซอร์อุณหภมู ิ เซ็นเซอร์ทางเคมี เซ็นเซอร์ทางชีวภาพ เซ็นเซอร์แบบวงจรรวม การเชื่อมต่อ เซ็นเซอร์กับระบบในงานอุตสาหกรรม การประยุกต์ใชง้ านของเซ็นเซอร์ และหัวข้อ อนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง และปฏิบัตกิ ารสอดคลอ้ งกบั เนื้อหาการสอน Sensors and transducers theory, semiconductor sensor technology, mechanical sensors, magnetic sensors, electromagnetic wave sensors, temperature sensors, chemical sensors, biosensors, integrated circuit sensors, sensor interfacing, sensor applications, and other related topics and laboratory practice related theory 02-222-317 โปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์ 3(2-3-5) Programmable Logic Controller ภาษาและการโปรแกรมสาหรบั ระบบควบคมุ แบบตรรกกะทโ่ี ปรแกรมได้ การใช้โมดูล และคุณสมบัติพิเศษ การเช่ือมต่อกับเซ็นเซอร์และอุปกรณ์อ่ืนๆ การควบคุมอุปกรณ์ ภายนอก การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกโดยใช้บัส การควบคุมอินเวอร์เตอร์โดย ผ่านบัส การเชื่อมต่อโครงข่าย การประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรม และปฏิบัติการ สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาการสอน Language and programming for programmable logic control systems, modules and special features usage, sensors and other devices interfacing, output devices controls, bus interfacing, inverter control by bus, network connection , applications in industries and laboratory practice related theory

64 02-222-319 นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮโดรลิกสส์ าหรับงานไฟฟ้า 3(2-3-5) Pneumatics and Hydraulic for Electrical Applications หลักการเบื้องต้นของระบบนิวแมติกส์ อุปกรณ์และสัญลักษณ์การทางานของระบบ นิวแมติกส์ นิวแมติกส์ควบคุมด้วยไฟฟ้า หลักการเบื้องต้นของระบบไฮโดรลิกส์ อุปกรณ์และสัญลักษณ์การทางานของระบบไฮโดรลิกส์ และไฮโดรลิกส์ควบคุมด้วย ไฟฟา้ และปฏบิ ัติการสอดคล้องกบั เนอ้ื หาการสอน Basic principles of pneumatics, equipment and symbols of pneumatics systems and electro-pneumatics, basic principles of hydraulic equipment, equipment and symbols of hydraulic and electrohydraulic systems and laboratory practice related theory 02-222-348 การควบคมุ เครือ่ งจกั รกลไฟฟา้ ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ 3(2-3-5) Electrical Machines Control with Microcontroller วิชาบงั คบั ก่อน : 02-241-205 การออกแบบวงจรดจิ ิทลั Prerequisite : 02-241-205 Digital Circuits Design คาส่ังและภาษาที่ใช้ในการควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟ้าด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ เซ็นเซอร์ท่ีใช้ในการควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้าและการเช่ือมต่อ การเช่ือมต่อด้วย วงจรขับนาเกต การประยกุ ต์ใช้งานในการควบคมุ เคร่ืองจักรกลไฟฟา้ และปฏบิ ตั ิการ สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาการสอน Instructions and languages in electrical machine controls with microcontrollers, sensors in electrical machine controls and interfacing, interfacing with gate drivers, applications in electrical machine controls and laboratory practice related theory

65 02-222-111 การวัดและควบคุมงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Instrumentation and Industrial Controls ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม ระบบอนาลอก-ดิจิทัล และเทคนิคงานด้าน อุตสาหกรรม การวิเคราะห์งานในด้านอุตสาหกรรมเพ่ือเป็นแนวคิดในการออกแบบ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ควบคุม ศึกษาถึงเครื่องมืออุตสาหกรรมเพ่ือพัฒนาที่ เหมาะสมกับข่ายงานอุตสาหกรรม การวางแผนการควบคุมโดยประยุกต์อุปกรณ์ ทางดา้ นอิเลก็ โตรเมก็ คานกิ ส์ นิวแมติกส์ ไฮดรอลิกและคอมพวิ เตอร์ Control systems in industries, analog and digital systems, industrial work techniques, job analysis in industrial for instruments design or control devices design, development of industrial instruments, control system with electromagnetic devices, pneumatic devices, hydraulic devices and computers 02-222-112 การควบคุมกระบวนการ 3(2-3-5) Process Controls วิชาบังคบั กอ่ น : 02-222-203 ระบบควบคุม Prerequisite : 02-222-203 Control Systems องค์ประกอบพลวตั รในระบบควบคุม การควบคุมอตั โนมัติเบื้องต้น หลักการควบคุม แบบป้อนกลับ การวิเคราะห์เสถียรภาพ การตอบสนองทางความถี่และการออกแบบ ระบบควบคุม การวัดเบ้ืองต้นและคุณลักษณะการวัดคุม คุณลักษณะของการบวน การจริง เคร่ืองควบคุมเชิงเส้น คุณลักษณะของเคร่ืองควบคุม อุปกรณ์วัดป้อนกลับ อุปกรณ์ส่วนสุดท้ายในระบบ เคร่ืองควบคุมไม่ใชเ่ ชิงเส้น ระบบหลายวงควบคุม และ ปฏบิ ัตกิ ารสอดคล้องกบั เน้อื หาการสอน Dynamics of these system, introduction to automatic control feedback control concept, stability analysis, frequency response and control system design ,introduction to measurement and control instrument characteristic, real processing characteristics ,linear device equipment, equipment control characteristics, feedback measurement element, final element, nonlinear-device equipment, many loop control system and laboratory practice related theory

66 02-222-115 เซอรโ์ วเมก็ คานกิ 3(3-0-6) Servo-Mechanics วชิ าบงั คบั กอ่ น : 02-222-203 ระบบควบคมุ Prerequisite : 02-222-203 Control Systems การควบคุมระบบอัตราการเปลี่ยนตาแหน่ง การใช้งานของเคร่ืองจักรกลไฟฟ้า ไฮดรอลิก และ นิวแมติกส์ แมคคานิก อุปกรณ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เทคนิคการปรับและควบคุมแรงดัน ตลอดจนการซิงโครไนเซอร์ ระบบควบคุมเปิด และปิด การควบคุมแบบดฟิ เฟอร์เรนเชียล การควบคุมอนิ ทริกรัลและผลตอบสนอง ของเวลา Position rate-of-change control system, using of electrical machine, hydraulics, and pneumatics, mechanics, electrical and electronics equipment, voltage control techniques, voltage synchronizations, closed-loop and open-loop control systems, time response of differential-integral control

67 02-000-201 การเตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสาคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การ เลือกสถานประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนา บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การ ประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัย ในการทางาน ความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกบั การเป็นผ้ปู ระกอบการ การใช้งานภาษาอังกฤษ เพ่ือการส่ือสาร การเขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการ วิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยสี ารสนเทศและกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสืบคน้ ข้อมูล Basic knowledge of forms and process of professional experience, importance of professional experience, application letters preparation, workplace selections, job interview, organizational culture, personality development, professional morality, virtue ethics, labor laws, social security, 5S’s Keys, systems of quality assurance and safety standards at work, English communication in the workplace, report writing, presentations, planning skills, analytical skills, immediate problem solving skills, decision making, basic concepts of information technology, IT laws, and information retrieval หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

68 02-000-202 ฝกึ งาน 3(0-40-0) Apprenticeship วิชาบังคับก่อน : 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชพี Pre-requisite :02-000-201 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานท่ี ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ของนกั ศกึ ษา เพื่อเชอื่ มโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบตั ิงาน เปน็ ระยะเวลาไม่น้อย กว่า 8 สัปดาห์ หรือ 280 ช่ัวโมง ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานท่ีปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานที่ ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการอยา่ งเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้ นิเทศงานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผล การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเตรียม นักศกึ ษาสู่งานที่นักศกึ ษาสนใจและพัฒนาทักษะวิชาชพี สาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8 - week minimum or 280 hours of placement in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเปน็ S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

69 02-000-203 ฝึกงานต่างประเทศ 3(0-40-0) International Apprenticeship วชิ าบังคับกอ่ น : 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ Pre-requisite :02-000-201 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการนอกประเทศ เสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลา ของสถานท่ีปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพ่ือเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็น ระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรือ 280 ชั่วโมง โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานใน ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานที่ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับ มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ งานทาหน้าที่ให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่ งานทีน่ ักศกึ ษาสนใจและพัฒนาทักษะวชิ าชีพสาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full- time employee in a relevant position that suits a student’ s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8 - week minimum or 280 hours of placement, with at least 6 - week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเป็น S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

70 3.4 ช่อื -สกลุ ตาแหนง่ และคณุ วุฒขิ องอาจารย์ 3.4.1 อาจารย์ประจาหลกั สตู ร ช่ือ-นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระการสอน ชม./สัปดาห/์ ลาดับ ตาแหน่งวชิ าการ ปีการศกึ ษา คณุ วฒุ ิ – สาขาวชิ า 2563 2564 2565 2566 ชอ่ื สถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเรจ็ การศกึ ษา 1 นายสุเมธ เทศกุล* สุเมธ เทศกุล, อัคครัตน์ พูลกระจ่าง และอร่ามศรี อาภา 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า) อดุล. (2562). สมรรถนะของครูพ่ีเล้ียง ในการฝึก ค.อ.ม. (ไฟฟ้า), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ประสบการณ์วิชาชีพครูช่างอุตสาหกรรม. การประชุม 2545 วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ 3 ด้านนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,2544 และส่ิงประดิษฐ์ ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน 2562. ค.อ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล,2538 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. น.871-878. 2 นายธนติ บญุ ใส ธนิต บุญใส และสิริลักษณ์ หาญวัฒนานุกูล. (2562). 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ ) การศึกษารูปแบบบูรณาการเรียนรู้สะเต็มศึกษาร่วมกับ ค.อ.ม. (ไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปัญหาเป็นฐาน สาหรับวิศวกรรมศึกษา: การวิจัยเอกสาร. ,2534 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครง้ั ท่ี 3 ดา้ นนวัตกรรมเพ่ือ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า),สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล,2544 การเรียนรู้และสิ่งประดิษฐ์ ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า),สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระ 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัด นครเหนือ,2529 ปทุมธานี. น.879-890. 3 นายอานนท์ นิยมผล Arnon Niyomphol, Manodch Boontonglek, 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ ) Pratoomtong Trirat, Patnaree Jantraphirom, ค.อ.ม.(ไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Seksan Sakonthawat, Artip Sornsujitra and ,2545 Parujee Charoenphao. (2019). The Development วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,2544 of Paradigm, Model, and Mechanism for Teacher ค.อ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล,2540 Development Based on the Area Network Concept: A Case Study of the Faculty of Industrial Education, Faculty of Fine and Applied Art, and Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi.The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET2019). 11-13 July 2019. Aiyara Grand Hotel Pattaya, Chonburi, Thailand. P.162- 170. 4 นายบุญทัน ศรีบุญเรือง Jirapong Jittakort, Somyod Chua-on, Janjira 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า) Nimsontorn, Prasert Pinpathomrat, Boontan ค.อ.ม.(ไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Sirboonrueng, and Saichol Chudjuarjeen. (2018). A ,2539 class D voltage source resonant inverter for วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล ultrasonic cleaning application. The 4th ,2544 International Conference on Engineering, Applied ค.อ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า),สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล,2533 Sciences and Technology (ICEAST 2018). Swissotel Resort Phuket Patong Beach, Phuket, Thailand. 4-7 July 2018. p. 672-675. 5 นายจริ พงษ์ จิตตะโคตร์ Jirapong Jittakort, Somyod Chua-on, Janjira 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีไฟฟา้ ) Nimsontorn, Prasert Pinpathomrat, Boontan ปร.ด.(วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์),มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Sirboonrueng, and Saichol Chudjuarjeen. (2018). A พระจอมเกลา้ ธนบุร,ี 2561 class D voltage source resonant inverter for วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ),มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ultrasonic cleaning application. The 4th พระจอมเกลา้ ธนบรุ ,ี 2547 International Conference on Engineering, Applied อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า),วทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ,2538 Sciences and Technology (ICEAST 2018). Swissotel Resort Phuket Patong Beach, Phuket, Thailand. 4-7 July 2018. p. 672-675. หมายเหตุ * ประธานหลกั สตู ร

71 3.4.2 อาจารย์ผู้สอน ผลงานทางวิชาการ ภาระการสอน ชม./สัปดาห์/ ปกี ารศกึ ษา ชอื่ -นามสกุล ตาแหน่งวชิ าการ 2563 2564 2565 2566 ลาดบั คณุ วุฒิ – สาขาวิชา ชื่อสถาบัน, ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศกึ ษา 1 นายอัคครัตน์ พูลกระจา่ ง อคั ครัตน์ พลู กระจ่าง และ อุจิตชญา จิตรวิมล. 10 10 10 10 รองศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยี (2561). การพฒั นาสมรรถนะอาชีพในสายงาน เครือ่ งกล) คลังสนิ คา้ ทั่วไป กลมุ่ วชิ าชีพโลจิสตกิ ส์. ค.อ.ด.(วิจัยและพัฒนาหลกั สตู ร),สถาบนั วารสารวชิ าการศิลปะศาสตร์ประยุกต์. เดอื น เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ มกราคม-มถิ นุ ายน 2561 ,2550 ค.อ.ม.(เครอ่ื งกล) ),สถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื ,2542 ค.อ.บ.(เครือ่ งกล) ),สถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ,2539 2 นายยทุ ธชยั ศิลปวิจารย์ Yutthachai Sillapawicharn. (2016). An 10 10 10 10 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยี Isolated Snubberless Single-Switched Boost ไฟฟา้ ) Converter for High Step-Up Conversion วศ.ด.(วศิ วกรรมไฟฟ้า), Applications. 13th International Conference มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม,่ 2557 on Electrical Engineering/Electronics วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า),จฬุ าลงกรณ์ Computer, Telecommunications and มหาวทิ ยาลยั Information Technology (ECTI-CON 2016), ,2542 Thailand (International). 28 June – 1 July วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า- 2016. วศิ วกรรมไฟฟา้ ),สถาบนั เทคโนโลยี ราชมงคล,2537 3 นายณฐั พล จนี ุพงศ์ Prathumtong Trirat, Nattaphon Jeenuphong, 10 10 10 10 อาจารย์ Suvit SatJasit , Kaanwarin Polanunt, Usaporn ค.อ.ด.(บริหารอาชวี ศึกษาและเทคนคิ Swekwi, Aramsri Aarpha-adul and ศกึ ษา), สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม Parujee Charoenphao. (2018). Media Design เกล้าพระนครเหนือ, 2554 to Promote Cultural Tourism in Ayutthaya. ค.อ.ม.(เทคนคิ ศกึ ษา), สถาบนั International Conference on the e-CASE & เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, e-Tech in Osaka, Japan. 1-3 April 2018. 2540 12(1). P.227-243. กศ.บ.(เทคโนโลยที างการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒประสาน มิตร, 2530

72 ชือ่ -นามสกลุ ภาระการสอน ชม./สัปดาห/์ ตาแหน่งวชิ าการ ผลงานทางวชิ าการ ปกี ารศึกษา ลาดับ คุณวฒุ ิ – สาขาวิชา 2563 2563 2563 2563 ชือ่ สถาบนั , ปี พ.ศ. ทสี่ าเร็จการศึกษา 4 นายปรญิ ญา มสี ขุ ปรญิ ญา มีสุข, บุญธดิ า เอือ้ พิพฒั นากูล, นันท์ภัส 10 10 10 10 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาการศกึ ษา) กร ฤทธพิ์ นชิ ชัชวาล, นรรจพร เรืองไพศาล และ ค.ด.(วิธวี ทิ ยาการวจิ ยั การศึกษา), อรพนิ ท์ สุขยศ. (2561). การพัฒนาอาจารย์ตน้ แบบ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,2551 การสอนระดับมหาวิทยาลัย (RMUTT Model): ศศ.ม.(จิตวิทยาวิทยาการ) ), แนวคิดจากฟินแลนด์สไู่ ทย. วารสารครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,2546 จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . 46(2). เดอื นเมษายน- ค.บ.(การสอนวิทยาศาสตรท์ ่ัวไป- มิถนุ ายน 2561. น. 314-329. ชีววทิ ยา) ),จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ,2540 5 นายนกิ ร แสงงาม Nikorn Sanggram. (2015). Predicting the 10 10 10 10 อาจารย์ medium-term electricity load demand of วท.ม.(โครงข่ายโทรคมนาคมและ Thailand using the generalized estimating คอมพิวเตอร์),มหาวิทยาลยั รังสติ ,2549 equation and the linear mixed effect ค.อ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า),สถาบัน model. 12th International Conference on เทคโนโลยีราชมงคล,2541 Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON) 2015, Thailand (International), 24-27 June 2015, pp. 52. 6 นายบญั ชา แสนโสดา Somsak Choomchuay and Buncha Sansoda. 10 10 10 10 อาจารย์ (2018) .A Customized RS Decoder for BAN วศ.ม. (วิศวกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์), Architecture. The 3rd International สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณ Conference on Digital Arts, Media and ทหารลาดกระบงั , 2548 Technology “Digital Economy for วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า-อเิ ล็กทรอนกิ ส์), sustainable growth” (iCDAMT 2018), สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล,2539 Chiangrai, Thailand. 2018. 7 นายจริ วฒั น์ ใจอู่ จิรวัฒน์ ใจอู่. (2562).กระดาษธรรมชาตจิ ากหญา้ 10 10 10 10 อาจารย์ แฝกผสมเส้นใยพอลแิ ลคติคแอซดิ สาหรบั พิมพ์ วศ.ม. (วิศวกรรมการจดั การ), นามบตั ร. การประชมุ วิชาการราชมงคลด้าน มหาวิทยาลยั เกษมบณั ฑิต, 2550 เทคโนโลยกี ารผลิตและการจดั การ 2019. 30-31 ค.อ.บ. (อุตสาหการออกแบบการผลติ ), พฤษภาคม 2562. โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัด สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล (เทเวศร)์ , เชยี งใหม่. 2541) 8 นางสาวอัญญารัตน์ ประสนั ใจ สมพร วงษเ์ พง็ และอญั ญารัตน์ ประสนั ใจ. (2561). 10 10 10 10 อาจารย์ การลดเวลาในการเจาะรูแผน่ กันลน่ื . การประชุม วศ.ม. (เทคโนโลยีวัสดุ), มหาวทิ ยาลัย วิชาการข่ายงานวศิ วกรรมอุตสาหการ. โรงแรมสุนีย์ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี, 2556 แกรนด์ โฮเทล แอน คอนเวนชน่ั เซน็ เตอร์ จังหวัด ค.อ.บ. (วิศวกรรมอตุ สาหการ), อบุ ลราชธาน.ี 23-26 กรกฎาคม 2561. น.515-518 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า ธนบุรี, 2553

73 ชอ่ื -นามสกลุ ภาระการสอน ชม./สัปดาห์/ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานทางวชิ าการ ปีการศกึ ษา ลาดบั คณุ วุฒิ – สาขาวชิ า 2563 2563 2563 2563 ช่ือสถาบัน, ปี พ.ศ. ท่ีสาเรจ็ การศกึ ษา 9 นางสาวรินรดี ปาปะใน รินรดี ปาปะใน. (2561). การศกึ ษาตดิ ตามอัตรา 10 10 10 10 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาการศึกษา) การจ้างงาน การศึกษาต่อของนักเรยี นทเ่ี ข้ารว่ ม ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), โครงการจัดการศึกษารปู แบบทวิภาคีแบบพเิ ศษ เขต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555 พืน้ ทพ่ี ิเศษ ในสถานประกอบการเพื่อสนับสนุน ค.ม. (นิเทศการศึกษาและพัฒนา โครงการกองทุนการศึกษา รุน่ ท่ี 2. การประชมุ หลักสตู ร),จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , วชิ าการระดับชาติ \"การศึกษาเพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้ 2546 คร้งั ที่ 2 ประจาปี 2561. 25 พฤษภาคม 2561. น. ค.บ. (วิทยาศาสตรท์ ั่วไป), สถาบันราช 593-606. ภฎั พระนคร, 2528 10 นางบรรเลง สระมูล Arnon Niyomphol, Parinya Meesuk, 10 10 10 10 อาจารย์ Tongluck Boontham, Nattapong Tomun and ศศ.ม. (บรรษรกั ษ์ศาสตรแ์ ละสารนเิ ทศ Banleng Sramoon (2017). The Development ศาสตร)์ ,จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, of Teacher Spirit Preparation Package for 2548 Pre-Service Teacher at Vocational ค.ม. (การวิจยั การศึกษา), มหาวทิ ยาลัย Education. Advanced Journal of Technical ศรนี ครินทรวิโรฒ, 2547 and Vocational Education (AJTVE). 1(3). p. กศ.บ. (บรรณารกั ษ์ศาสตร)์ , 63-67. มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ บาง แสน, 2529 11 ดร.ณฐั พงษ์ โตมั่น Arnon Niyomphol, Parinya Meesuk, 10 10 10 10 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาการศึกษา) Tongluck Boontham, Nattapong Tomun and ปร.ด. (วิจัยและพฒั นาการสอนทาง Banleng Sramoon (2017). The Development เทคนิคศกึ ษา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี of Teacher Spirit Preparation Package for พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2557 Pre-Service Teacher at Vocational กศ.ม. (อุตสาหกรรมศึกษา), Education. Advanced Journal of Technical มหาวิทยาลยั นเรศวร, 2551 and Vocational Education (AJTVE). 1(3). p. อส.บ. (เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกส์กาลัง), 63-67. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนอื , 2546

74 4. องค์ประกอบเก่ยี วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกจิ ศกึ ษา) 4.1 มาตรฐานผลการเรยี นรูข้ องประสบการณภ์ าคสนาม องคป์ ระกอบเก่ียวกับประสบการณ์วิชาชพี ครู 4.1.1 มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องประสบการณว์ ิชาชีพครู ความคาดหวงั ในผลการเรยี นรู้ประสบการณ์วิชาชีพครู ของคุณลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีพึงประสงค์ ดังนี้ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดม่ันในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) มีจิตวิญญาณ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ปฏิบัติหน้าที่ตามอุดมการณ์ความเป็นครูด้วยความรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ อุทิศตนและทุ่มเทในการพัฒนาการ เรียนรแู้ ละผลประโยชนส์ งู สดุ แก่ผูเ้ รยี น ประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดีทง้ั ทางดา้ นวิชาการและวชิ าชพี 2) ผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลท่ีเรียนรู้และรอบรู้ตลอดเวลา มีศักยภาพ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหา พัฒนาความรู้และค้นหานวัตกรรมใหม่มาพัฒนาผู้เรียน มีความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) รู้เท่าทันสื่อ เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลง สารสนเทศสมัยใหม่ สามารถเผชิญและก้าวทันกับการ เปลี่ยนแปลงในโลกดจิ ทิ ัลและโลกอนาคต 3) ผู้มีความสามารถสูงในการบูรณาการข้ามศาสตร์ (Innovative Teacher) การจัดการ เรียนรู้ และสร้างนวตั กรรม มีทักษะ สมรรถนะและประสบการณใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน ดว้ ยความเช่ียวชาญในงาน อาชีพท่ีเก่ียวข้อง มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ใช้ศาสตร์การสอน ทั้งด้านทฤษฎี และปฏิบัติเพ่ือ จัดการเรียนรู้ด้านวิชาชีพท่ีเกี่ยวข้อง ด้วยความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็นระบบ คิดวิเคราะห์ และคิดแก้ปัญหา โดยใช้เทคโนโลยี และกลยทุ ธก์ ารสอนทีท่ ันสมยั ในการทาหนา้ ทเี่ ปน็ ครูในสถานศกึ ษา หรอื ผู้สอนงานในสถาน ประกอบการ เพื่อจัดการเรียนรู้และอานวยการ หรือผู้สอนงาน ให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง มีวจิ ารณญาณในการค้นหาขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องเหมาะสม และกระตุ้นผเู้ รียนให้ค้นหาความสามารถของตวั เอง และ ส่งเสริมให้ใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ เพ่ือแก้ไข พัฒนางาน และสร้างนวัตกรรม และมีส่วนร่วมใน การพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวิชาชีพครู สามารถสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมเพื่อไปพัฒนาผู้เรียน ใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ ตลอดจนสามารถประยุกตค์ วามรไู้ ปใชใ้ นการพฒั นาตนเองและสงั คมได้ดว้ ยตนเอง 4) เป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็งและใส่ใจสังคม เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตสานึกไทย สานึกสากล เป็นพลเมืองต่ืนรู้ เป็นพลเมืองทีดีของไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์ มีความยุติธรรม เท่าเทียม เสมอภาค รู้ถูก รู้ผิด รู้ชอบ ช่ัว ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมบนหลักการประชาธิปไตย มี ภาวะผู้นา สามารถทางานร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเป็นอย่างดี มีสัมพันธภาพท่ีดีและร่วมมือกับผู้ปกครอง และชุมชนเพ่ือส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น และการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ ประชาคมโลกอย่างสันติ รวมทั้งมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ และมีคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง ประสงค์ตามมาตรฐานวิชาชพี ครู

75 4.1.2 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ 2 ชั้นปีการศึกษาท่ี 4 4.1.3 การจัดเวลาและตารางสอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ 2 ชน้ั ปกี ารศกึ ษาท่ี 4 ทกุ สปั ดาห์ 4.2 องคป์ ระกอบเก่ียวกบั ประสบการณ์ชีพเฉพาะสาขา 4.2.1 มาตรฐานผลการเรยี นร้ขู องประสบการณว์ ชิ าชพี เฉพาะสาขา จากความตอ้ งการของสถานประกอบการท่ีเห็นว่าบณั ฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ ทางานจริง ดังน้ันหลักสูตรจึงได้กาหนดรายวิชาฝึกงาน ซ่ึงจะจัดอยู่ในรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพในสถาน ประกอบการความคาดหวังในผลการเรยี นรูป้ ระสบการณ์ภาคสนามของนกั ศึกษา มดี งั น้ี 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ เป็นแบบอย่างทด่ี ีและความรับผดิ ชอบใน การทางานหนา้ ที่ครู มจี ติ สาธารณะ และเสยี สละใหส้ งั คม 2) มีทักษะในการปฏิบัติงานจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้า จากสถานประกอบการ และมีความเข้าใจใน ทฤษฎีและการปฏิบตั ิจริงมากยิ่งขนึ้ 3) บูรณาการความรู้ท่ีเรียนมาเพ่ือนาไปแก้ปัญหาทางไฟฟ้า ในสถานประกอบการได้อย่างเหมาะสม คดิ วเิ คราะห์ สรา้ งสรรคส์ ิ่งใหม่ๆ ได้ 4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสืบค้น ข้อมูลอยา่ งเปน็ ระบบ และถา่ ยทอดเทคโนโลยีได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา เข้าใจวัฒนธรรมองคก์ รและสามารถปรบั ตัวเขา้ กับสถานประกอบการได้ 6) มีความกลา้ ในการแสดงออก และนาความคิดสรา้ งสรรคไ์ ปใช้ประโยชนใ์ นงานได้ 4.2.2 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น ของช้ันปกี ารศึกษาที่ 2 5. ขอ้ กาหนดเกยี่ วกบั การทาโครงงานหรอื งานวจิ ยั ข้อกาหนดในการทาโครงการ ต้องเป็นหัวข้อท่ีเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ไฟฟ้าเพื่อการสรา้ งนวัตกรรม ใหม่ๆ ในงานไฟฟ้า โดยให้สร้างชน้ิ ในดา้ นไฟฟ้า และบูรณาการดา้ นครุศาสตรอ์ ุตสาหกกรรม ให้มีหลักทฤษฎี อา้ งองิ และสามารถนาไปใชง้ านจริงไดเ้ มือ่ โครงการสาเรจ็ โดยมีจานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ 2-3 คน โดยจะตอ้ ง มีรายงานที่ต้องนาส่งตามรูปแบบและระยะเวลาตามที่หลักสูตรกาหนดอย่างถูกต้อง หรือเป็นโครงการที่ มงุ่ เน้นการสร้างผลงานวิจัย/นวตั กรรมทางด้านอตุ สาหกรรมไฟฟ้า

76 5.1 คาอธบิ ายโดยย่อ วางแผนข้นั ตอนและระเบียบการเสนอหัวข้อโครงการ การทบทวนวรรณกรรม การวเิ คราะห์ปัญหา และความเป็นไปได้ของโครงการ การวางแผนการสร้างโครงการด้านไฟฟ้า วิเคราะห์ ออกแบบและสร้าง โครงการ การเลือกใช้เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการ สรา้ ง อันเกิดประโยชนต์ ่อวิชาชพี ดา้ นไฟฟ้า หรอื ต่อสงั คมส่วนรวม และการนาเสนอผลงาน 5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นักศึกษาสามารถทางานเป็นทีม มีความเช่ียวชาญในการใช้เครื่องมือ มีทักษะในวิชาชีพในการทา โครงการ โครงการสามารถเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาต่อได้ 5.3 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศกึ ษาท่ี 3 5.4 จานวนหนว่ ยกิต 4 หน่วยกติ 5.5 การเตรียมการ มีคู่มือการทาโครงการ มีการกาหนดชั่วโมงการให้คาปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษาให้ข้อมูล ข่าวสารเก่ยี วกบั โครงการเป็นสมุดบนั ทกึ และปรบั ขอ้ มูลให้เปน็ ปัจจุบันอยเู่ สมอ อกี ทง้ั มีภาพตวั อยา่ งโครงการ 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล ประเมินความก้าวหน้าในการทาโครงการ จากสมุดบันทึก โดยอาจารย์ที่ปรึกษา และประเมิน คะแนนจากรายงานที่ไดก้ าหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลาและชิ้นงาน ซ่ึงสามารถทางานได้ในข้ันต้น โดยเฉพาะส่วนท่ีทางานหลักของโครงการ และจัดสอบโดยนาเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสอบไม่น้อย กว่า 3 คน

77 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล 1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนักศกึ ษา คุณลักษณะพเิ ศษ กลยทุ ธห์ รอื กจิ กรรมของนกั ศกึ ษา ดา้ นบุคลกิ ภาพ - มีการสอดแทรกเก่ยี วกับ การแตง่ กาย การ เขา้ สังคม เทคนคิ การเจรจา สอ่ื สาร การมี มนุษยสมั พนั ธ์ และการวางตัวในการทางานใน บางรายวิชาท่เี ก่ียวข้อง และในกิจกรรม ปฐมนเิ ทศและปจั ฉิมนิเทศ ดา้ นภาวะผนู้ า และความรับผิดชอบ - กาหนดให้นักศึกษาเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรม ตลอดจนมีวนิ ัยในตนเอง สมา่ เสมอและตรงตอ่ เวลา - ใหม้ กี ารทางานกลุ่มและมอบหมายใหน้ กั ศกึ ษา หมนุ เวยี นกันเปน็ หวั หน้าในการดาเนนิ กจิ กรรม เพอื่ ฝกึ ดา้ นภาวะผู้นาในรายวชิ าของหลักสูตร และกิจกรรมของภาควิชา - จัดการเรยี นการสอนหรือจัดกจิ กรรมท่มี กี าร เรยี นรู้ด้วยตนเอง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ - มีวิธีการปลกู ฝงั ใหน้ ักศึกษามคี ุณธรรม วิชาชพี จริยธรรมมรี ะเบียบวินัย ตรงตอ่ เวลา ซือ่ สัตย์ สุจริต ขยันหม่ันเพียร สานึก ในจรรยาวิชาชีพ รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทแ่ี ละสงั คม ด้านความเป็นครชู า่ ง - เปน็ ฝกึ ผูเ้ รยี นใหเ้ ปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ ลงมือทาไดจ้ รงิ และเช่ยี วชาญดา้ นทฤษฎี - เป็นผ้ทู ส่ี ามารถถา่ ยทอดความรไู้ ด้อยา่ งแม่นยา ท้งั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ - มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของความ เปน็ ครชู า่ ง - เปน็ ผมู้ คี วามใฝร่ ู้ แสวงหาความรูร้ อบตัวอยู่ ตลอดเวลา

78 2. การพัฒนาผลการเรยี นรูใ้ นแตล่ ะด้าน 2.1 หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรียนร้ดู ้านคุณธรรม จริยธรรม 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนินชีวติ บนพนื้ ฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) สามารถวิเคราะหป์ ระเด็นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3) ซื่อสตั ย์ ขยนั อดทน มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคบั ขององคก์ ร และสังคม 1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พฒั นาการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) จัดกิจกรรมเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม 2) สอดแทรกประเด็นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทีก่ าลังพดู คยุ ในสังคม 3) สอดแทรกความซ่ือสัตย์ต่อตนเอง และสังคม ให้ความสาคัญในวนิ ัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนด เน้นเร่ืองการแตง่ กายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถกู ต้อง ตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลัย 1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1) พจิ ารณาจากกจิ กรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมของนักศกึ ษา 2) การอภิปรายในชน้ั เรยี นเกีย่ วกบั ประเดน็ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3) การขานชอ่ื การให้คะแนนการเขา้ ช้ันเรยี นและการส่งงานตรงเวลา 4) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อยา่ งต่อเน่อื ง 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรูด้ า้ นความรู้ 1) มคี วามรู้และทักษะพ้นื ฐาน เพอื่ นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรอื นาความรู้ไปสู่การสร้าง นวตั กรรม 2) มีความรทู้ ันต่อความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลง 3) สามารถนาความรไู้ ปปรับใช้ให้เหมาะสมกบั การเป็นผูป้ ระกอบการ 2.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใชพ้ ฒั นาการเรียนรูด้ ้านความรู้ 1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิด องค์ความรู้ 2) จัดให้มีการเรียนรจู้ ากประสบการณต์ รง และสถานการณ์ทีเ่ ป็นปัจจบุ นั 3) จัดให้มกี ารเรียนรู้จากสถานการณจ์ ริง โดยการศึกษาดงู านในสถานประกอบการ

79 2.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรูด้ ้านความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี รายงานท่ีมอบหมาย และผลงานและ การปฏิบัตกิ าร 2) ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดงู าน 3) ประเมนิ จากการปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนด ระเบยี บ ข้อบงั คับ 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา 1) มที กั ษะการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองตลอดชีวติ 2) สามารถแกไ้ ขปญั หาได้ และเสนอแนวทางการแกไ้ ขได้อย่างสรา้ งสรรค์ 3) สามารถใชข้ ้อมูล ประมวลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้อย่างเปน็ ระบบ 3.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) ใหน้ กั ศึกษาฝกึ การคน้ หาความร้ใู หม่อย่ตู ลอดเวลา 2) ส่งเสริมการเรยี นรูจ้ ากการแก้ปัญหา (Problem Based Instruction) 3) มอบหมายงานท่สี ง่ เสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ 3.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) ประเมนิ จากรายงาน ผลการค้นคว้า 2) ประเมินจากการรายงานผลการดาเนินงานและการแก้ปัญหา ผลการปฏิบัติการ จากสถานการณจ์ ริง 3) ประเมนิ จากการทดสอบ การวเิ คราะห์กรณศี กึ ษาต่างๆ 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดีและทางาน เปน็ ทีมได้ 2) มีสานกึ สาธารณะและจิตอาสา เป็นพลเมอื งท่ีมคี ุณค่าต่อสงั คมไทยและสงั คมโลก 3) มคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม 4.2 กลยทุ ธ์การสอนที่ใช้พฒั นาการเรยี นรู้ด้านทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ ความรับผดิ ชอบ 1) กาหนดการทางานกลุม่ โดยใหห้ มุนเวียนการเปน็ ผู้นาและผู้รายงาน 2) ให้คาแนะนาในการเข้ารว่ มกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯ 3) ใหค้ วามสาคัญในการแบ่งหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบและการใหค้ วามร่วมมอื

80 4.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ ความรบั ผดิ ชอบ 1) ประเมินผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกิจกรรมกลมุ่ 2) พจิ ารณาจากการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนักศกึ ษา 3) ประเมินจากการรายงานหน้าชน้ั เรยี นและจากการสงั เกตพฤตกิ รรม 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องมาใช้ ในการดารงชวี ติ และปฏิบัติงานได้อยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพ่ือนามาวิเคราะห์และสนับสนุน การตัดสนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการสื่อสารและการนาเสนอท่ีเหมาะสมต่อบุคคล ทห่ี ลากหลาย 5.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ส่งเสริมให้เห็นความสาคัญ และฝึกให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูล เชิงตวั เลข 2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานาเสนอ หนา้ ชัน้ 3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน ท่ีได้รับมอบหมาย และฝึกการนาเสนอผลงานโดยเน้นความสาคัญของการใช้ภาษา และบุคลิกภาพ 5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ประเมินจากงานที่มอบหมาย ความสามารถในการคานวณด้วยหลักคณิตศาสตร์ เชงิ เลข 2) พิจารณาจากรายงานการค้นคว้าข้อมูล วิธีการนาข้อมูลออกมานาเสนอ และการประยกุ ตใ์ ชง้ าน 3) พจิ ารณาจากวธิ กี ารนาเสนอ การใชข้ ้อมลู

81 2.1 หมวดวชิ าเฉพาะ 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) แสดงออกซ่ึงความรักและศรัทธาและภูมิใจในวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลน้ั มีความเสยี สละ รับผิดชอบและซื่อสตั ยต์ ่องาน ท่ี ได้รับมอบหมายทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างที่ดแี ก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ และเสรมิ สร้าง การพฒั นาท่ียัง่ ยนื 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การเคารพสิทธิ และให้เกียรติคนอ่ืน มี ความสามัคคีและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และใชเ้ หตผุ ลและปัญญาในการ ดาเนินชีวติ และการตดั สนิ ใจ 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานและ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐานทาง สังคม ความรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มีจิตสานึกในการธารงความ โปร่งใสของสังคมและประเทศชาติ ต่อตา้ นการทุจริตคอรัปชั่นและความไม่ถูกตอ้ ง ไม่ใช้ ขอ้ มูลบดิ เบือน หรือการลอกเลียนผลงาน 1.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ช้พฒั นาการเรียนรูด้ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) การวิเคราะห์แบบวิภาษวิธี (Dialectics) ในประเด็นวิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรมของ สังคมและวิชาการ รวมทั้งประเด็นวิกฤตของจรรยาบรรณวิชาชีพครูและเป็นพลเมืองท่ี เข้มแข็งตามยุทธศาสตรช์ าติ 2) การเรียนรู้โดยการปฏิสัมพันธ์เชิงปฏิบัติการ (Interactive action learning) และ กรณศี กึ ษา (Case study) ท่สี อดคล้องกบั วชิ าชีพครแู ละวชิ าชพี ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3) การใช้บทบาทสมมติในการแสดงออกทาง ความคิด คาพูด การกระทา เพ่ือการอยู่ รว่ มกันอย่างมคี วามสุขบนพ้ืนฐานความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล วฒั นธรรมและชุมชน 4) การสืบสอบทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับพัฒนาการของคุณธรรมจริยธรรม การวัดคุณธรรม จรยิ ธรรมเพื่อนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการประกอบวิชาชพี ครูและวชิ าชีพท่ีเกยี่ วข้อง 5) การเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสริมความเป็นครู เพ่ือประเมนิ และสง่ เสรมิ ค่านยิ มความเปน็ ครู 1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) วดั และประเมนิ จากผลการวเิ คราะห์แบบวภิ าษวธิ ี 2) วดั และประเมนิ จากการทากจิ กรรมกลมุ่ เชิงปฏิบัตกิ ารและกรณีศึกษา 3) วดั และประเมินจากผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมในการแสดงบทบาทสมมติ

82 4) วดั และประเมนิ จากผลงานการสืบสอบพัฒนาการของคณุ ธรรมจริยธรรม การวดั คุณธรรมจริยธรรม 5) วัดและประเมนิ จากผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเสรมิ ความเปน็ ครูเป็นรายปตี ลอด หลกั สูตร 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านความรู้ 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยม ของครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จิตวิทยา สาหรับครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรและวิทยาการการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารการศึกษาและการเรียนรู้ การวัด ประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และภาษาเพ่อื การส่ือสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะเทคโนโลยี และดิจิทัล ทักษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือสร้างสรรค์ และ ทกั ษะศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความเข้าใจในการบรู ณาการความรู้กบั การปฏบิ ตั ิจริงและ การบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบรู ณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) และมีความรใู้ นการประยกุ ตใ์ ช้ 2) มีความรู้และเน้ือหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่าง ลึกซ้ึง ถ่องแท้ รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/หรือ มาตรฐานอ่นื ๆ ท่ีเกี่ยวข้องในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้เครื่องมือ การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสร้าง การพัฒนากระบวนการ ข้ันตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และชีวิตและ ทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการที่ เก่ียวข้องและนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดยมีผลลัพธ์การ เรียนรู้และเน้ือหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ของแต่ละสาขาวิชา ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถอธบิ ายความรู้ทางด้านไฟฟ้าข้ัน สูง สามารถ ค านวณ ออกแบบและวิเคราะห์ วงจรและระบบด้านไฟฟ้า เพ่ือแก้ปัญหา งานที่เก่ียวข้องด้านไฟฟ้า สามารถ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและการ ฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการ ให้มี ความสามารถในการใชอ้ ุปกรณ์ เคร่ืองมือ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งการติดตง้ั ระบบไฟฟ้า การควบคุม เคร่ืองจักร อุตสาหกรรม เพ่ือสร้างผลงาน พัฒนาองค์ความรู้และแก้ปัญหางานด้านไฟฟ้า มี ความสามารถในการ เลือกใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอนและเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนรู้ที่หลากหลายและทันการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีท่ีเน้นทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ

83 เพ่ือจัดการเรียนรู้และปฏิบัติงานในสถานศึกษาและสถานประกอบการ เพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะตามมาตรฐานอาชีพ 1) พื้นฐานทาง วิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 2) ด้านการวัด เครื่องมือวัด และวิศวกรรมระบบ ควบคุม 3) เคร่ืองจักรกลไฟฟ้า 4) การวิเคราะห์และการออกแบบระบบไฟฟ้า 5) การ แปลงรูปพลังงานและการขับเคล่ือน 6) ระบบไฟฟ้ากาลัง วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง และ มาตรฐานการติดต้ังทางไฟฟ้า 7) วิทยาการหรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และการศึกษา 8) มาตรฐานอุตสาหกรรมหรอื มาตรฐานอนื่ ที่เก่ียวขอ้ ง 3) เขา้ ใจชุมชน เขา้ ใจชวี ิต มีความรู้ บรบิ ทอตุ สาหกรรม สถานประกอบการ เขา้ ใจโลก และ การอยู่ร่วมกนั บนพ้ืนฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถเผชิญและเทา่ ทันกบั การ เปลี่ยนแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตน พฒั นางาน และพฒั นาผู้เรยี น 4) มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อการส่ือสาร ตาม มาตรฐาน 5) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่าและความสาคัญของศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืนและ นามา ประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาตน พัฒนาผูเ้ รียน พัฒนางานและพฒั นาชุมชน 2.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทีใ่ ช้พฒั นาการเรียนร้ดู ้านความรู้ 1) การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้และการเรียนรู้แบบต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 21 ท่ี สอดคล้องกบั เนอ้ื หาทางวิชาการและวชิ าชีพท่ที นั ตอ่ การเปล่ียนแปลงในระดับต่าง ๆ 2) กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสาหรับการทบทวนวรรณกรรม สรุป องค์ความรู้เกี่ยวกับการบูรณาการทฤษฎีและหลักการสาคัญทางวิชาชีพครูและวิชาชีพ เฉพาะทางท่ีสามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้และการฝึกอบรม รวมทั้งเพ่ือการ พฒั นานวัตกรรมในสาขาอาชีพท่ีเก่ียวข้อง 3) การมอบหมายโครงงานสาหรบั การวเิ คราะหส์ มรรถนะอาชีพเพื่อกาหนดหวั ข้อการบรู ณา การความรู้ ทักษะปฏิบัติและเจตคติ รวมท้ังการวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและ หลักสตู รการฝึกอบรมอาชีพเฉพาะทาง 4) การเรียนรู้ร่วมมือจากโจทย์ตัวอย่างในสถานประกอบการจริงเพ่ือประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะทาง รวมท้ังกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา การวิจัยด้วย วิธีการที่เหมาะสมตามหลักการทางวิชาชีพของสาขาอาชีพต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ในวง กว้าง 5) การเรียนรู้แบบสืบสอบ (Inquiry method) เก่ียวกับมาตรฐานและระบบต่าง ๆ ที่ เกยี่ วขอ้ งกับวชิ าชีพครูและวิชาชีพเฉพาะทางของแตล่ ะสาขาอาชีพ 6) การเขา้ รว่ มกิจกรรมเสรมิ ความเปน็ ครู

84 2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรดู้ า้ นความรู้ 1) วดั และประเมินจากผลการวิเคราะห์และสงั เคราะหอ์ งคค์ วามรู้และการเรียนรู้แบบตา่ ง ๆ ในศตวรรษที่ 21 2) วดั และประเมินจากผลการทากจิ กรรมการเรยี นรู้แบบเน้นผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง 3) วัดและประเมินจากผลจากโครงงานที่ได้รบั มอบหมาย 4) วัดและประเมินจากการเรยี นร้รู ่วมมอื จากโจทยต์ วั อยา่ งในสถานประกอบการจรงิ 5) วัดและประเมินผลการเรียนรู้แบบสืบสอบเก่ียวกับมาตรฐานและระบบต่าง ๆ ที่ เกีย่ วขอ้ ง 6) วดั และประเมนิ จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมเสรมิ ความเป็นครเู ปน็ รายปีตลอด หลักสตู ร 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรยี นร้ดู ้านทักษะทางปญั ญา 1) สามารถคิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูล สื่อ สารสนเทศ จาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างรู้เท่าทัน เป็นพลเมืองต่ืนรู้มีสานึกสากล สามารถเผชิญ และก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์มและโลก อนาคต นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และวินิจฉัยแก้ปัญหาและพัฒนางานไดอ้ ยา่ ง สร้างสรรค์โดยคานึงถึงความรู้หลักการทางทฤษฎีประสบการณ์ภาคปฏิบัติค่านิยม แนวคดิ นโยบายและยทุ ธศาสตรช์ าติบรรทดั ฐานทางสงั คมและผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขึ้น 2) สามารถคดิ รเิ ริม่ และพฒั นางานอย่างสร้างสรรค์ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทาวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้าง ผลิตภาพ หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนา ผู้เรียนให้เปน็ ผู้สร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้แก่ชมุ ชน สถาน ประกอบการและสังคม 3.2 กลยุทธก์ ารสอนดา้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) การค้นหาและวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ข้อมูลสารสนเทศทางวชิ าการและวิชาชีพใน บริบทตา่ ง ๆ เพอ่ื ใช้ในการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรใู้ นวิชาชพี เฉพาะทาง 2) การคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรมและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในสาขาอาชพี ได้ ด้วยตัวเองผ่านกระบวนการวิจัย (Research-based learning) ท่ีสอดคล้องกับโจทย์ วิจยั จากสถานประกอบการในสาขาวชิ าชีพเฉพาะทางทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 3) การจัดการศึกษาและทากิจกรรมกลุ่มท่ีเน้นผลลัพธ์เป็นฐาน ( Outcome based Education) และสมรรถนะเป็นฐาน (Competency based Education) ในรูปแบบ ต่างๆ ท่ีเน้นการส่งเสริมกระบวนทัศน์วิสัยทัศน์ สอดคล้องกับการพัฒนากระบวนการ

85 จัดการเรียนรู้และพัฒนาทางวิชาชีพเฉพาะบนพื้นฐานความต้องการของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย ผ้ปู กครองและชมุ ชน 4) การเข้ารว่ มกิจกรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 3.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปญั ญา 1) วดั และประเมินจากผลการคน้ หาและวเิ คราะห์เก่ียวกับข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ มลู สารสนเทศ 2) วัดและประเมินจากผลการทาวิจัยเพ่ือการคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรมและ พัฒนาองค์ความร้ใู หม่ 3) วัดและประเมินจากผลการทากิจกรรมกลุ่มท่ีเน้นผลลัพธ์เป็นฐาน (Outcome based Education) และสมรรถนะเป็นฐาน (Competency based Education) ในรูปแบบ ต่าง ๆ 4) วัดและประเมินจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเป็นครูเป็นรายปีตลอดหลกั สตู ร 4. ทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 1) รับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจผู้อื่น มีความคิดเชิงบวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และทาง สงั คม 2) ทางานร่วมกับผู้อื่น ทางานเป็นทีม เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสานึก รบั ผิดชอบตอ่ ส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดล้อม สามารถพฒั นาผูเ้ รียนให้ เกดิ ความภาคภูมิใจและเหน็ คุณค่าในตนเอง ในวชิ าชพี เคารพในเกยี รตแิ ละศักดิ์ศรีของ ผอู้ ่นื และความเป็นมนุษย์ 3) มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ต่อตนเอง ตอ่ ผู้เรียน ตอ่ ผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถ ชว่ ยเหลือและแก้ปญั หาตนเอง กลมุ่ และระหวา่ งกล่มุ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 4) มีภาวะผู้นาทางวชิ าการและวิชาชีพ มีความเข้มแข็งและกล้าหาญทางจริยธรรม สามารถ ชี้นา และถ่ายทอดความรแู้ กผ่ เู้ รียน สถานศึกษา ชมุ ชนและสังคมอย่างสรา้ งสรรค์ 4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรบั ผดิ ชอบ 1) การเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) เพ่ือทา กิจกรรมการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การคิดให้ความเห็นและการรับฟัง ความเห็นแบบสะท้อนกลบั (Reflective thinking) 2) การเป็นผู้นาแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนาเสนองานวชิ าการทางด้าน วิชาชีพครูและวิชาชีพเฉพาะทาง และการกระทาตนในบทบาทของผู้ตามที่ดีเพ่ือการ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การทางานรว่ มกนั อย่างมคี วามสุขและมีประสิทธิภาพ

86 3) การทากิจกรรมกลุ่มเพ่ือการสร้างปฏิสัมพนั ธก์ ับผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย ผู้ปกครองและชุมชน รวมทัง้ การสร้างเครอื ข่ายสนบั สนนุ การเรียนรูร้ ่วมกนั ของแต่ละสาขาอาชพี 4) การเขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมความเปน็ ครู 4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผิดชอบ 1) วัดและประเมนิ จากผลการเรยี นแบบมสี ว่ นรว่ มปฏิบัติการ 2) วดั และประเมนิ จากบทบาทการเปน็ ผูน้ าและผตู้ ามทีด่ ี 3) วัดและประเมนิ จากผลการทากิจกรรมกลุม่ เพ่อื การสร้างปฏสิ มั พนั ธแ์ ละเครือข่าย 4) วดั และประเมินจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมเสริมความเป็นครูเป็นรายปตี ลอดหลกั สตู ร 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรดู้ ้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) วิเคราะห์เชิงตัวเลข สาหรับข้อมูลและสารสนเทศ ทั้งท่ีเป็นตัวเลขเชิงสถิติ หรือ คณิตศาสตร์ เพ่ือเข้าใจองคค์ วามรู้ หรือประเดน็ ปัญหาไดอ้ ย่างรวดเร็วและถกู ต้อง 2) สื่อสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการหลากหลาย ท้ัง การพูด การเขียน และการน าเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เหมาะสม 3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอฟปลิเคชั่นหรือเพล็ต ฟอร์ม รวมทั้งอุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จาเป็นสาหรับ การจัดการเรียนรู้ การวิจัย การทางาน และการประชุม รวมท้ังสามารถตดิ ตามความกา้ วหน้า การจัดการและสบื ค้น ข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจท่ีดีในการ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีกทั้งตระหนักถึงการละเมิด ลขิ สิทธแ์ิ ละการลอกเลียนผลงาน 5.2 กลยุทธ์การสอนด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) ส่งเสรมิ การสืบคน้ และตีความขอ้ มูลข่าวสารในสังคม สารสนเทศทางวิชาชีพครแู ละ วิชาชีพเฉพาะทางโดยใชเ้ ทคโนโลยที ี่ทันสมยั เพอ่ื วเิ คราะห์และนาเสนอผ่านการพดู การ เขียน ดว้ ยภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2) เทคนิคและทกั ษะในการคานวณเชงิ ตวั เลข เชงิ สถติ ิ เพอ่ื การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางวชิ าชีพ ครทู ีส่ อดคล้องกับการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน และทางวชิ าชพี เฉพาะทางทสี่ อดคล้องกับ การพัฒนางานในสาขาอาชพี ตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ที่ นั สมัย

87 3) การเข้าร่วมกจิ กรรมเสริมความเปน็ ครเู ปน็ รายปีตลอดหลักสตู ร 5.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) วัดและประเมินจากผลการสืบค้นและตีความและนาเสนอสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีท่ี ทันสมยั 2) วัดและประเมินจากผลการคานวณเชิงตัวเลข เชิงสถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย 3) วดั และประเมนิ จากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครูเป็นรายปีตลอดหลกั สตู ร 6. ดา้ นวธิ ีวทิ ยาการจัดการเรียนรู้ 6.1 ผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะดา้ นวธิ วี ิทยาการจดั การเรียนรู้ 1) มีความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู้ และสอนงาน ด้วยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สามารถออกแบบและสร้างหลักสูตรรายวิชาในช้ันเรียน หรือหลกั สูตรฝกึ อบรม วางแผนและออกแบบเนือ้ หาสาระและกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียน และ/หรือสถานประกอบการ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี วัดและ ประเมินผลเพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งเหมาะสมและสร้างสรรค์ 2) มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคลและจัดการเรยี นรู้ หรือสอน งานได้อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ท้ังผู้เรียน ปกติหรอื ทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ หรือตา่ งวัฒนธรรม 3) จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัตแิ ละการทางานในสถานการณ์จริงท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนพฒั นาการคิด การทางาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น โดยบรู ณาการการทางานกับการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกตค์ วามรู้ มาใชเ้ พ่ือปอ้ งกนั แก้ไขปญั หา และพฒั นา 4) สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาทั้งในและนอกสถานศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ มีความสามารถใน การประสานงานและสรา้ งความรว่ มมือกบั บิดามารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพ่ืออานวยความสะดวกและร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้ มีปัญญารู้คิด และเกิดการใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เนือ่ งให้เต็มตามศักยภาพ 5) นาทักษะศตวรรษที่ 21 และเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นและ พัฒนาตนเอง เช่น ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะการรู้เร่ือง(Literacy

88 Skills) และทักษะชีวติ (Life Skills) ทักษะการทางานแบบร่วมมอื และดาเนินชวี ิตตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทีใ่ ชพ้ ฒั นาทกั ษะด้านวธิ วี ทิ ยาการจัดการเรียนรู้ 1) การจดั การเรยี นการสอนท้ังภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สาขาวชิ าชพี 2) การพัฒนารปู แบบการเรยี นรทู้ ่รี องรบั กับความแตกต่างของผู้เรียน 3) การบรู ณาการการเรียนรู้ทรี่ องรับกบั การศกึ ษาตลอดชวี ติ 4) การเขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมความเปน็ ครู 6.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลทกั ษะด้านวธิ วี ทิ ยาการจัดการเรยี นรู้ 1) วดั และประเมินจากผลการฝกึ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ทิ ่เี กีย่ วข้องกับสาขาวชิ าชพี 2) วดั และประเมินรูปแบบการเรยี นรทู้ รี่ องรับกบั ความแตกตา่ งของผูเ้ รียน 3) วัดและประเมนิ การบูรณาการการเรยี นรู้ที่รองรบั กับการศึกษาตลอดชีวิต 4) วดั และประเมนิ จากการเข้าร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเป็นครู 2. แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากหลกั สูตรสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นวา่ แตล่ ะรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบตอ่ ผลการเรียนรู้ใดบ้าง (ตามท่ีระบุในหมวดท่ี 4 ข้อ 2) โดยระบุวา่ เป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง ซ่ึงบางรายวิชาอาจไม่นาสู่ผลการเรียนรู้บาง เรือ่ งก็ได้ จะแสดงเปน็ เอกสารแนบท้ายกไ็ ด้ ผลการเรยี นรู้หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป 1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนนิ ชีวิต บนพ้ืนฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) สามารถวเิ คราะหป์ ระเด็นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3) ซอ่ื สตั ย์ ขยัน อดทน มวี นิ ัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ขององค์กรและสังคม 2. ความรู้ 1) มีความรแู้ ละทักษะพื้นฐาน เพื่อนาไปตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ หรือนาความรไู้ ปสู่การสรา้ งนวัตกรรม 2) มคี วามรู้ทนั ตอ่ ความกา้ วหนา้ และการเปลย่ี นแปลง 3) สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั การเป็นผู้ประกอบการ 3. ทักษะทางปญั ญา 1) มที ักษะการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองตลอดชีวิต 2) สามารถแกไ้ ขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแกไ้ ขได้อย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถใช้ข้อมูล ประมวลผล และวเิ คราะหข์ อ้ มูลไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ

89 4. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) มีบุคลกิ ภาพและมนุษยส์ มั พนั ธท์ ดี่ ี สามารถเปน็ ผ้นู าและผตู้ ามทีด่ ีและทางานเป็นทีมได้ 2) มสี านกึ สาธารณะและจิตอาสา เปน็ พลเมอื งทมี่ คี ณุ ค่าตอ่ สงั คมไทยและสงั คมโลก 3) มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สามารถเลอื กและประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิคทางสถติ แิ ละคณติ ศาสตรท์ ี่เกย่ี วขอ้ งมาใช้ในการดารงชีวิต และปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้นเพอ่ื นามาวิเคราะห์และสนบั สนุนการตัดสินใจ 3) สามารถเลือกรปู แบบของการส่ือสารและการนาเสนอทเ่ี หมาะสมตอ่ บุคคลท่ีหลากหลาย

9 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะท 1) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อ 1) มีทักษะการแส ดาเนนิ ชีวติ บนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชวี ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ความรไู้ ปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม 2) สามารถแก้ไข 2) สามารถวิเคราะห์ประเด็น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทาง คณุ ธรรม จริยธรรม และการเปลย่ี นแปลง สร้างสรรค์ 3) ซ่อื สัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อ ตอ่ เวลา เคารพกฎระเบียบและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข ข้อบงั คบั ขององคก์ รและสังคม ผู้ประกอบการ ระบบ

0 าหรบั หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข บคุ คลและความรบั ผิดชอบ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สวงหาความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ วติ ท่ีดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ขปัญหาได้ และ ตามที่ดีและทางานเป็นทีมได้ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต งการแก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ท่ี มี คุ ณ ค่ า ต่ อ 2) สามารถใช้ ง านเทค โน โ ล ยี อมูล ประมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น เ พื่ อ ข้อมูลได้อย่างเป็น 3) มีความรบั ผิดชอบต่อสังคม นามาวเิ คราะหแ์ ละสนับสนุนการ ตดั สนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บคุ คลท่ีหลากหลาย

9 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห  ความรบั ผดิ ชอบห รายวชิ า 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื 123 1 01-210-022 วถิ ีธรรมวถิ ไี ทย 01-610-003 นนั ทนาการ   01-610-014 ทกั ษะกีฬาเพ่อื สขุ ภาพ   01-320-001 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร 1   01-320-002 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 2   01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร  01-310-006 การอา่ นและการเขยี นเชิงวิชาการ   01-320-010 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การทดสอบ   01-320-012 การฟงั และการพูดภาษาอังกฤษสาหรับงาน     บริการด้านเทคนคิ   

1 หลกั สตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป หลกั  ความรบั ผดิ ชอบรอง 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง ความสัมพนั ธ์ วิเคราะห์เชิงตวั เลข ปญั ญา ระหวา่ งบคุ คล การสอื่ สาร และ และความ การใชเ้ ทคโนโลยี รบั ผดิ ชอบ สารสนเทศ 2 3 12 3 12 3 1 2 3                                          O

9 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะท 1) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อ 1) มีทักษะการแส ดาเนนิ ชีวติ บนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชวี ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ความรไู้ ปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม 2) สามารถแก้ไข 2) สามารถวิเคราะห์ประเด็น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทาง คณุ ธรรม จริยธรรม และการเปลย่ี นแปลง สร้างสรรค์ 3) ซ่อื สัตย์ ขยัน อดทน มีวินยั ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อ ตอ่ เวลา เคารพกฎระเบียบและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข ข้อบงั คบั ขององค์กรและสังคม ผู้ประกอบการ ระบบ

2 าหรบั หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข บคุ คลและความรบั ผิดชอบ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สวงหาความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ วติ ท่ีดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ขปัญหาได้ และ ตามท่ดี ีและทางานเป็นทมี ได้ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต งการแก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ท่ี มี คุ ณ ค่ า ต่ อ 2) สามารถใช้ ง านเทค โน โ ล ยี อมูล ประมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น เ พื่ อ ข้อมูลได้อย่างเป็น 3) มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม นามาวเิ คราะหแ์ ละสนับสนุนการ ตดั สนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บคุ คลท่ีหลากหลาย

9 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห  ความรับผดิ ชอบห รายวชิ า 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 01-320-022 การสรรสรา้ งละครและหนังสน้ั ภาษาองั กฤษ 123 1 01-330-002 การสนทนาภาษาจีนเบอื้ งตน้ 01-330-007 สนทนาภาษาญี่ปนุ่ เบ้อื งตน้   09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ   09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพือ่ งานมลั ติมีเดยี  09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจ   09-111-051 คณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจาวัน   09-121-001 สถิติในชวี ิตประจาวนั   09-130-002 อนิ เทอร์เนต็ ทุกสรรพส่งิ ในชวี ิตประจาวนั  09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม  00-100-101 อัตลกั ษณ์แห่งราชมงคลธัญบุรี  00-100-201 มหาวทิ ยาลัยสเี ขียว    


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook