Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

Description: หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ (4 ป)ี (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

หลกั สูตรครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ (4 ป)ี (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2563) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) ซึ่งในปี 256 2 ได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (หลักสูตรส่ีปี) พ.ศ. 2562 และได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาจาก 5 ปีการศึกษา เป็น 4 ปี การศึกษา ซ่ึงทางคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมได้ทาการพัฒนาหลักสูตรเป็นหลักสูตร ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ทั้งนี้มีการจัดการ เรียนการสอนแบบหลักสูตรส่ีปี ซ่ึงในปีการศึกษา 2563 ได้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้เป็นไป ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) และแผนพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 (พ.ศ. 2559 - 2564) รวมทัง้ สนองตอ่ ความตอ้ งการของหน่วยงานทั้ง ภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีที่เปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูผู้สอนและฝึกอบรม สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า พร้อมทั้งมี คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ นอกจากนี้ในหลักสูตรฉบับน้ีได้กาหนดให้มีการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์ในวิชาชีพครู จานวน 2 ภาคการศึกษาและการฝึกงานในสถานประกอบการในภาคการศึกษาฤดูร้อน เพ่ือเพิ่มพูน ทกั ษะในการปฏบิ ตั ิงาน เสรมิ สรา้ งประสบการณ์และร้จู ักแก้ปญั หาในสภาพการทางานจริง คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ หลักสูตรฉบับ นจ้ี ะมีประสิทธภิ าพในการผลติ บณั ฑิตสาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ ท่ีมคี ณุ ภาพคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคต์ าม ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสงั คม อันจะนาไปสูก่ ารพฒั นาประเทศชาตทิ ีย่ ่ังยนื ต่อไป คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

สารบญั หน้า ก คานา ข สารบัญ หมวดที่ 1 12 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป 14 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สูตร 77 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งหลกั สตู ร 110 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมิน 112 5 หลักเกณฑ์ในการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา 114 6 การพฒั นาคณาจารย์ 119 7 การประกนั คุณภาพหลักสตู ร 120 8 การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนินการของหลกั สตู ร ตารางเปรยี บเทยี บหลกั สตู รเดิมและหลักสตู รปรับปรุง 127 ตารางเปรียบเทยี บ มคอ.1 และหลักสตู รครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟา้ 133 ภาคผนวก ก คาสง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู รครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมบัณฑติ 137 143 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ข ประวัติ ผลงานทางวชิ าการ และประสบการณส์ อนของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร 155 ค ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ีวา่ ด้วยการศกึ ษา 157 ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ง ข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรวี ่าดว้ ยการศกึ ษา 163 ระดบั ปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 171 จ ข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีวา่ ดว้ ยการจัดการระบบ 177 สหกจิ ศกึ ษา พ.ศ. 2550 ฉ ระเบียบมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรวี ่าดว้ ยการเทยี บโอน 182 184 ผลการเรียน พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เรื่องเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล การศึกษาระดับปริญญาตรี ซ ประกาศเกณฑม์ าตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี กอ่ นสาเร็จการศึกษา ฌ ตารางสรปุ การวิเคราะหห์ ลักสตู รแบบสมรรถนะ สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ ญ กจิ กรรมในหลักสตู ร

1 หลกั สูตรครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า (4 ปี) หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2563 ชือ่ สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวิชา คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา้ หมวดท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป 1. ช่ือหลักสูตร ภาษาไทย: หลกั สูตรครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมบณั ฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมไฟฟ้า (4 ป)ี ภาษาองั กฤษ: Bachelor of Science in Technical Education Program in Electrical Engineering 2. ชื่อปรญิ ญาและสาขาวชิ า ชื่อเต็ม (ไทย): ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑติ (วิศวกรรมไฟฟา้ ) ชอื่ ยอ่ (ไทย): ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ) ช่อื เต็ม (องั กฤษ): Bachelor of Science in Technical Education (Electrical Engineering) ชอ่ื ยอ่ (อังกฤษ): B.S. Tech. Ed. (Electrical Engineering) 3. วิชาเอก -ไมม่ ี- 4. จานวนหนว่ ยกิตท่เี รียนตลอดหลักสูตร 149 หน่วยกิต (หลักสูตรส่ปี ี) 5. รปู แบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรี หลกั สูตร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลักสตู ร หลักสูตรปรญิ ญาตรีทางวชิ าชพี (สานักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา) 5.3 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย

2 5.4 การรบั เขา้ ศกึ ษา รบั นกั ศึกษาไทย และนักศกึ ษาตา่ งประเทศท่ีสามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.5 ความรว่ มมือกบั สถาบนั อื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 5.6 การให้ปรญิ ญาแกผ่ ู้สาเรจ็ การศกึ ษา ให้ปริญญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว 6 สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนมุ ัต/ิ เห็นชอบหลกั สตู ร  หลักสตู รใหม่ พ.ศ. ..............  หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563 . สภาวิชาการ เห็นชอบในการนาเสนอหลักสตู รตอ่ สภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชมุ ครง้ั ที่ 11/2562 วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2562 . สภามหาวิทยาลยั ฯ ใหค้ วามเหน็ ชอบหลักสูตร ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 1/2563 วนั ท่ี 29 มกราคม 2563 และมตสิ ภามหาวิทยาลยั ครงั้ ที่ 11/2563 เม่ือวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 เปดิ สอน ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 7 ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สูตรคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปริญญาตรี สาขา ครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม (หลกั สูตรส่ปี ี) พ.ศ. 2562 ในปกี ารศกึ ษา 2565 8 อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลังสาเร็จการศึกษา 8.1 ครผู ู้สอนวชิ าชีพดา้ นช่างอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ในสถานศกึ ษา 8.2 วทิ ยากร/ผฝู้ กึ อบรมวชิ าชพี สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ ในสถานประกอบการ 8.3 ผคู้ วบคุมดูแลการตดิ ตงั้ และการบารงุ รักษาทางด้านวศิ วกรรมไฟฟ้า 8.4 นกั อตุ สาหกรรมดา้ นระบบไฟฟา้ ในโรงงาน 8.5 นกั อตุ สาหกรรมด้านวิศวกรรมไฟฟา้ ในสถานประกอบการ

3 9 ชือ่ -สกลุ ตาแหนง่ และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สูตร ชือ่ -นามสกลุ ลาดบั ตาแหน่งทางวชิ าการ ผลงานทางวชิ าการ 1 รายการ คุณวุฒิ-สาขาวชิ า (ผลงานย้อนหลงั ภายใน 5 ป)ี ชื่อสถาบัน, ปี พ.ศ. ทส่ี าเร็จการศึกษา 1 นายสุเมธ เทศกุล* สุเมธ เทศกุล, อัคครัตน์ พูลกระจ่าง และอร่ามศรี อาภาอดุล. (2562). ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ ) สมรรถนะของครพู เี่ ล้ยี ง ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูช่างอตุ สาหกรรม. การ ค.อ.ม. (ไฟฟ้า), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร ประชุมวชิ าการระดับชาติ คร้งั ท่ี 3 ด้านนวัตกรรมเพ่อื การเรียนรู้และสงิ่ ประดิษฐ์ เหนือ, 2545 ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,2544 จงั หวัดปทมุ ธานี. น.871-878. ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า),สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล,2538 2 นายธนิต บญุ ใส ธนิต บุญใส และสิริลักษณ์ หาญวัฒนานุกูล. (2562). การศึกษารูปแบบบูรณา ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีไฟฟา้ ) การเรียนรู้สะเต็มศึกษาร่วมกับปัญหาเป็นฐาน สาหรับวิศวกรรมศึกษา: การวิจัย ค.อ.ม. (ไฟฟ้า) ,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เอกสาร. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งท่ี 3 ด้านนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ พระนครเหนอื ,2534 และสิ่งประดิษฐ์ ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล,2544 ราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี. น.879-890. ค.อ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ,2529 3 นายอานนท์ นิยมผล Arnon Niyomphol, Manodch Boontonglek, Pratoomtong Trirat, ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟ้า) Patnaree Jantraphirom, Seksan Sakonthawat, Artip Sornsujitra and ค . อ . ม . ( ไ ฟ ฟ้ า ) ,ส ถ า บั นเท ค โนโ ลยี พ ร ะจอมเกล้า Parujee Charoenphao. (2019). The Development of Paradigm, Model, พระนครเหนือ,2545 and Mechanism for Teacher Development Based on the Area วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล,2544 Network Concept: A Case Study of the Faculty of Industrial ค.อ.บ.(วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล,2540 Education, Faculty of Fine and Applied Art, and Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET2019). 11-13 July 2019. Aiyara Grand Hotel Pattaya, Chonburi, Thailand. P.162-170. 4 นายบุญทนั ศรีบุญเรือง Jirapong Jittakort, Somyod Chua-on, Janjira Nimsontorn, Prasert ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟ้า) Pinpathomrat, Boontan Sirboonrueng, and Saichol Chudjuarjeen. ค . อ . ม . ( ไ ฟ ฟ้ า ) ,ส ถ า บั นเท ค โนโลยี พ ร ะจอมเกล้า (2018). A class D voltage source resonant inverter for ultrasonic พระนครเหนอื ,2539 cleaning application. The 4th International Conference on วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า),สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล Engineering, Applied Sciences and Technology (ICEAST 2018). ,2544 Swissotel Resort Phuket Patong Beach, Phuket, Thailand. 4-7 July ค.อ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า),สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล,2533 2018. p. 672-675. 5 นายจริ พงษ์ จติ ตะโคตร์ Jirapong Jittakort, Somyod Chua-on, Janjira Nimsontorn, Prasert ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยไี ฟฟา้ ) Pinpathomrat, Boontan Sirboonrueng, and Saichol Chudjuarjeen. ปร.ด.(วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์),มหาวิทยาลัย (2018). A class D voltage source resonant inverter for ultrasonic เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี,2561 cleaning application. The 4th International Conference on วศ.ม.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ),มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี Engineering, Applied Sciences and Technology (ICEAST 2018). พระจอมเกลา้ ธนบุรี,2547 Swissotel Resort Phuket Patong Beach, Phuket, Thailand. 4-7 July อส.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า),วิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2018. p. 672-675. ,2538 หมายเหตุ * ประธานหลกั สตู ร 10. สถานทจี่ ดั การเรยี นการสอน คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

4 11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพัฒนาทจ่ี าเปน็ ต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร 11.1 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 จากสภาวการณ์และบริบทแวดล้อมท่ีมีผลต่อ การพัฒนาการศึกษาของประเทศ ท่ีสาคัญ 4 ด้านหลักๆ ได้แก่ 1) ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ได้แก่ การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม 4.0 สัญญาประชาคมโลก จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2556 ไปสู่เป้าหมาย การพัฒนาที่ย่ังยืนขององค์กรสหประชาชาติ 2573 ผลประทบของการเป็นประชาคมอาเซียนตอ่ ระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ด้านการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร ได้แก่ วิกฤตสังคมสูงวัย และอัตราการเกิดท่ีลดลง 3) ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 และความต้องการกาลังคนยุค 4.0 ได้แก่ 3Rs+8Cs และด้านท่ี 4) สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของโลก ได้แก่ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การสาธารณสุข ความขดั แย้งและความรนุ แรงในสังคม และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กบั การดารงชวี ิต ในการน้ีทาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนใน ทุกระดับชั้น ตามท่ีบรรจุไว้ในแผนการศึกษา การพัฒนาคุณภาพครยู ุคใหม่ถือเป็นหัวใจสาคัญในการจดั การศึกษาของประเทศ ดังน้ันตามพระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 ประกาศใช้ ทาให้สถาบนั ทม่ี กี ารผลติ ครูได้มกี ารปรับเปล่ียนเป็นหลักสูตรครู 5 ปี เพื่อผลิตบัณฑิตครูทีม่ ี ดีมคี ณุ ภาพเข้าสู่ระบบการศึกษา นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการ ประชุมหารือเรื่องระบบผลิตครู ร่วมกับท่ีประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) 38 แห่ง เมื่อวันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา โดย รศ.นพ.โศภณ นภาธร ผู้ชว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ ดร.สุภทั ร จาปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้แทนสานักงานเลขาธิการคุรุสภา โดย นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ กล่าวว่า จุดเร่ิมต้นของการหารือในคร้ังนี้ เพ่ือต้องการกระตุ้นให้สถาบันผลิตครูทุก แห่ง มีความต่ืนตัวและได้กาหนดระบบการผลิตครูอย่างจริงจังโดยผู้ท่ีอยู่ในวิชาชีพครู ที่จะช่วยพัฒนา และทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ โดยในการประชุมครั้งนี้ ได้หยิบยกประเดน็ ที่คณะกรรมการคุรุ สภา เห็นชอบในหลักการตามท่ีสภาคณบดีคณะคุรุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ส.ค.ศ.ท.) เสนอให้กลับไปใชร้ ะบบผลิตครูหลักสูตร 4 ปี โดยไดม้ ีการหารืออย่างกวา้ งขวาง ซึ่งมีท้ังกลุ่มท่ีเห็นด้วย และไม่เห็นด้วย โดยบางกลุ่มได้แสดงความเห็นในเร่ืองของกระบวนการและใชร้ ะยะเวลามากเพือ่ ให้ครู ได้รับความรู้ตลอดจนเทคนิคการสอนและประสบการณ์รอบด้าน ในขณะที่บางส่วนเห็นว่าการผลิตครู ขึ้นอยู่กับกระบวนการมากกว่าจานวนปี เช่น โครงการคุรุทายาท ที่มีกระบวนการผลิตครูอย่างเข้มข้น ในระยะเวลาเพยี ง 4 ปเี ทา่ นน้ั ส่วนเรอ่ื งของมาตรฐานครูท่ยี ดึ สมรรถนะ (Competency base) เป็นหลักน้ัน ทุกคนเห็นเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประกอบกับได้มีการนาเสนอผลการวิจัยของสถาบัน เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในเรื่องการผลิตครูหลักสูตร 5 ปี ว่ามีจุดอ่อนอยู่ที่เน้ือหา ไม่ใช่ สมรรถนะ นอกจากน้ียังทาให้ต้องใช้เวลาเรียนเพ่ิมขึ้นอีก 1 ปี ในขณะท่ีแต่ละปีก็มีการผลิตครูถึง

5 50,000 คน โดยมีค่าใช้จ่าย 1 แสนบาทต่อคนต่อปี ฉะน้ันหากเด็กต้องเรียนเพ่ิมข้ึน 1 ปีในหลักสูตร 5 ปี ทั้งเด็กและรัฐจะต้องจ่ายเพิ่มกว่า 8 พันล้านบาท แต่เม่ือนาผลวิจัยมาเทียบเคียงระหว่างผู้จบ หลกั สตู รครู 5 ปี กับ 4 ปี กลับพบวา่ มคี ณุ ลกั ษณะทไี่ มแ่ ตกต่างกันด้วย อ้างองิ จาก http://www.moe.go.th/websm/2017/jul/359.html “ครูช่างอุตสาหกรรม” ถือได้ว่าเป็นกาลังสาคัญที่สามารถจะทาให้การจัดการศึกษาสาย อาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติโดยยึดฐานสมรรถนะ (Competency base) เป็นหลัก ปัจจุบัน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาประสบปัญหาในการรับครูใหม่ เนื่องจากอัตราท่ีมีอยู่ล้วนเป็น ครูที่มีประสบการณ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และกาลังมีการเกษียณอายุราชการอย่างต่อเนื่อง ครูอาชีวศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม เป็นตัวอย่างครูที่ดีและสามารถถ่ายทอด ประสบการณแ์ ละองค์ความรูต้ ่าง ๆ สู่ผูเ้ รยี นได้อย่างมคี ุณภาพ ก็จะสง่ ผลใหผ้ ้เู รยี นที่สาเรจ็ การศกึ ษาไป แล้วสามารถที่จะไปปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพท่ีเรียนมาได้อย่างมีคุณภาพอย่างแท้จริง และตอบรับ กบั อตุ สาหกรรมท่ีกาลังขาดแคลนบคุ ลากรทางเทคนิคและเน้นการปฏิบตั ิ จากรปู ท่ี 1 แผนภมู ิทแ่ี สดงการสร้างกาลังคนดา้ นเทคนคิ ทมี่ ีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน เพ่ือการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมถึงโครงการขนาดใหญ่ท่ีประเทศกาลัง ลงทุน โดยเฉพาะในภาคส่วนอุตสาหกรรมที่ขาดแรงงานฝีมือและช่างเทคนิค แต่ท้ังนี้การได้มาซึ่ง แรงงานและช่างเทคนิคท่ีดี ทางานได้ จะมาจากการร่วมกาหนดกรอบคุณวุฒิวิชาชีพนั้น ๆ ที่เหมาะสม ถูกต้อง ดังน้ันการนากรอบคุณวุฒิหรือสมรรถนะมาเปน็ แกนหลัก เพ่ือผลิตกาลังคนในสถานศึกษาด้าน อาชีวศึกษาก็จะสามารถเริ่มต้นได้โดยการออกแบบหลักสูตรและสาขาวิชาชีพที่เหมาะสม ดังน้ันผู้จบ การศึกษาสามารถทางานได้เลยโดยมีค่าตอบแทนตามสมรรถนะท่ีทาได้ โดยเฉพาะตามสาขาที่ขาด กาลังคน ความต้องการของอุตสาหกรรมมีการส่งต่อสู่คุณวุฒิวิชาชีพที่เหมาะสม และมีการส่งต่อสู่การ ผลิตกาลังคนของสถานศึกษาสายอาชีพ อย่างไรก็ตามการผลิตครูทดี่ จี าเป็นต้องพ่ึงพาสถาบันที่เป็นผ้ใู ช้ บัณฑิตด้วย เน่ืองจากช่วงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หรือช่วงการฝึกประสบการณ์ใน ภาคอุตสาหกรรม (การผลิตและบริการ) นักศึกษาต้องลงพ้ืนท่ีจริงเพื่อปฏิบัติงานจริง ดังนั้นการได้รับ สนับสนุนจากผู้ใช้บัณฑิต จะช่วยเติมเต็มโลกของความเป็นจริงนอกมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี และยัง เป็นโอกาสท่ดี ขี องสถานศึกษาและสถานประกอบการในการเก็บข้อมูลเบอื้ งต้นในการทจ่ี ะรับครูหรือนัก ฝึกอบรมใหม่ เข้าสู่หนว่ ยงานของตนเองต่อไป

6 รูปที่ 1 การพฒั นากาลงั คนใหม้ สี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยพฒั นาหลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานอาชพี 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม การเตรียมพร้อมผลิตบัณฑิตในศตวรรษท่ี 21 น้ัน คณะกรรมการการอุดมศึกษาเห็น ความสาคัญในการพัฒนานิสิตนักศึกษาของประเทศให้เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะสอดคล้องตามความ ต้องการของสังคมในศตวรรษที่ 21 และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปฉี บบั ที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ไดก้ าหนดเปา้ หมายของกรอบ คือ “การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทยเพื่อผลิตและพฒั นาบุคลากร ที่มีคุณภาพ สู่ตลาดแรงงานและ พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศในโลกาภิวัตน์รวมท้ังการพัฒนาท่ีย่ังยืนของท้องถิ่นไทย...” กอปรกับปัจจุบันกลุ่ม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีการรวมตัวกัน และได้กาหนดวิสัยทัศน์ภายในปี ค.ศ. 2020 ข้อ หนึ่งว่า “เพื่อพัฒนา อาเซียนให้มีความเข้มแข็งในหลาย ๆ ด้าน รวมท้ังด้านการศึกษาโดยกาหนดให้มี การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุก ๆ ส่วนโดยผ่านการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาการพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการฝึกอบรม” การศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงเป็นหนึ่งในตัวจักรสาคัญที่จะช่วยส่งเสริม และสนับสนุน การบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว การพัฒนานิสิตนักศึกษาโดยการจัดการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาเพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาได้รับคุณวุฒิระดับปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ สามารถเทียบเคียงกันได้ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของคุณวุฒิระดับปริญญาตรีไว้ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะ ทางปญั ญา 4) ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ 5) ดา้ นทักษะการวิเคราะห์ เชงิ ตัวเลข การส่อื สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

7 นอกจากน้ียังได้กาหนดความรู้ความสามารถของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยทั่วไป อย่างนอ้ ยตอ้ งมีความรู้ความสามารถ ดงั นี้ 1) ความรู้ที่ครอบคลุม สอดคล้อง และเป็นระบบในสาขา/สาขาวิชาท่ีศึกษา และเข้าใจใน ทฤษฎแี ละหลกั การทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 2) ความสามารถท่ีจะตรวจสอบปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่าง สรา้ งสรรค์ 3) ความสามารถในการคน้ หา การใช้เทคนิคทางคณติ ศาสตร์ สถิตทิ ี่เหมาะสม ในการวิเคราะห์ และแก้ปญั หาทซี่ บั ซอ้ น 4) หลักสูตรวิชาชีพ ต้องมีความรู้และทักษะที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในวชิ าชพี นนั้ ๆ 5) หลักสูตรวิชาการที่ไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ใน ผลงานวิจัยต่าง ๆ ในสาขา/สาขาวิชานั้น ความสามารถในการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และ ประเมนิ ความสาคญั ของการวจิ ัยในการขยายองคค์ วามรู้ในสาขา/สาขาวชิ าน้ัน และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์บัณฑิตในศตวรรษท่ี 21 จะต้องเป็นผู้ใฝ่รู้สู้งาน ประสานสัมพันธ์ ม่งุ มน่ั ในประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลของงาน รวมถึงการมีอสิ ระทางความคิด ซ่ึงต้อง หลอ่ หลอมตนเองจากมิติของการเรยี นรู้ 3 มิติ คอื มิติดา้ นพุทธพิ ิสัย เป็นกระบวนการทางสมองเก่ียวกับ สติปัญญา การเรียนรู้และการแก้ปัญหา มิติด้านทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมทางด้านการเคล่ือนไห ว ต่างๆ และมิติด้านจิตพิสัยเป็นอารมณ์หรือความรู้สึกของแต่ละบุคคลที่ได้แสดงออกมา ท้ังด้านการ กระทาการแสดงความคิดเห็นและอ่ืน ๆ โดยผ่านกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะเป็นนักคิด วิเคราะห์เป็นนักแก้ปัญหา เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นนักประสานความร่วมมือ รู้จักใช้ข้อมูลและข่าวสาร เป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นนักส่ือสาร ตระหนักรับรู้สภาวะของโลก เป็นพลเมืองทรงคุณค่าและมีพ้ืน ฐานความรู้เศรษฐกิจและการคลัง เม่ือสาเร็จเป็นบัณฑิตแล้วก็เป็นที่ปรารถนาหรือพึงประสงค์ คือมี ความคิดริเร่ิมในการแก้ปัญหา สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธี การศึกษา เพ่ือใช้ในการแก้ปัญหาและข้อโต้แย้งในสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถพิจารณาแสวงหา และ เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีส่วนร่วมในการติดตามพัฒนาการศาสตร์ และเพ่มิ พูนความรู้ของตนใหท้ ันสมัยอยู่เสมอ อีกทงั้ ยงั มคี ุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมคี วามรับผิดชอบ สงู อกี ดว้ ย อ้างองิ จาก http://www.thaiall.com/pdf/ohec/ohec_20110808.pdf

8 12 ผลกระทบจากข้อ 11 ตอ่ การพัฒนาหลกั สูตรและความเกี่ยวข้องกบั พนั ธกิจของมหาวิทยาลยั 12.1 การพฒั นาหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เล็งเห็นประโยชน์ต่อ การปรับปรุงคร้ังนี้ ไม่วา่ เรื่องระยะเวลาศึกษา ความแตกตา่ งระหว่างสมรรถนะวิชาชพี ครูสายสามัญกบั ครูอาชีวศึกษา จึงมีนโยบายขับเคล่ือนท้ังการเสนอ มคอ.1 คู่ขนานกับตอบสนองโครงการพัฒนา หลักสูตรครูวิชาชีพเพ่ือตอบสนองนโยบายสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพ่ือใช้เป็น แผนปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ข้ึนเป็นการ เรง่ ด่วน แบง่ ออกเป็น 3 ชว่ ง ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการใช้บัณฑิตจากองค์กรธุรกิจและ อุตสาหกรรม ระหว่างวนั ท่ี 6 – 7 เดอื น ธนั วาคม 2561 ระยะท่ี 2 การจัดทาร่างหลกั สูตร ระหวา่ งวันท่ี 11 - 12 เดือน ธนั วาคม 2561 ระยะท่ี 3 การวพิ ากษห์ ลักสูตร ระหวา่ งวันท่ี 14 - 15 เดือน ธันวาคม 2561 ถึงแม้ว่าหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) นับถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2563) จะยังไม่ครบรอบระยะเวลาปรับปรุงก็ตาม แต่ได้รับนโยบาย จากคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมเป็นวาระเร่งด่วน ให้ดาเนินการปรับปรุงตามแผนของคณะ คู่ขนานกับ มคอ.1 ที่อยู่ระหว่างการนาเสนอต่อองค์กรวิชาชีพต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องเพื่อลดเวลาลงจากเดิม 5 ปี เปล่ียนเป็น 4 ปี โดยเป็นหลักสูตรกึ่งฐานสมรรถนะเหมือนเดิม และได้มีการเพ่ิมเติมสมรรถนะในส่วน ของเทคโนโลยใี หมๆ่ ตามยุทธศาสตร์ของรฐั บาลในการกาหนด 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย (S-Curve) 12.2 ความเกย่ี วขอ้ งกบั พันธกิจของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดการศึกษาท่ีมุ่งสู่การผลิต “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ดังเช่นที่เคยปฏิบัติมาตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันและกาลังจะก้าวสู่อนาคต แต่จะต่างกันตรง กระบวนการในการจัดการศึกษาให้ไดม้ าซ่ึงบัณฑิตนักปฏิบัตนิ ้ัน จะต้องมีความเข้มข้นและเป็นรูปธรรม มากย่ิงขึ้น รวมทั้งเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศที่ต้องการบุคคลดังกล่าว อย่างสอดคล้องกันคา ว่า “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ในความหมายของราชมงคลยึดเป็นแนวคิดน้ันได้น้อมรับมาจาก พระบรม ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของราชมงคล ในปี พ.ศ. 2525 ซึ่ง มีใจความตอนหน่ึงว่า “…บัณฑิตทุก ๆ สาขา ทุก ๆ คน มีหน้าที่ที่สาคัญท่ีจะต้องเป็น กาลังทาประโยชน์สร้างสรรค์ความเจริญมั่นคงให้แก่ประเทศชาติ การท่ีจะให้ประโยชน์หรือการ สร้างสรรค์ให้เกิดข้ึนได้นั้น จะต้องลงมือทามันอย่างจริงจัง…” “การลงมือ” ท่ีจริงมีความหมาย กว้างขวาง คือ หมายถึง การปฏิบัติด้วยวิธีต่าง ๆ ทุกอย่าง แต่เพราะที่เห็นชัดเรามักปฏิบัติด้วยมือจึง พูดเป็นสานวนวา่ “ลงมือ” การลงมอื หรือการปฏบิ ัตนิ ัน้ ขึน้ อยกู่ บั การท่ีสมองหรือใจสงั่ คอื ใจมนั สง่ั

9 เม่ือไรอย่างไรก็ทาเม่ือน้ัน อย่างน้ัน ฉะน้ันถ้าใจไม่สู้ คือ อ่อนแอ ลังเล เกียจคร้าน หรือไม่ สุจริต ไม่เท่ียงตรง ก็จะไม่ลงมือทา หรือทาให้มันคั่งค้าง ทาให้ชั่วให้เสียหาย เป็นการเบียดเบียน ตน เบียดเบียนผู้อ่ืน ซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นการสร้างสรรค์ หากแต่เป็นบ่อนทาลายให้เกิดความ เสียหายและเกิดโทษสุจริต นักปฏิบัติงานจึงต้องรู้จักฝึกปฏิบัติใจตนเองเป็นสาคัญ และเป็นเบื้องต้น ก่อนอน่ื ตอ้ งหดั ทาใจให้หนักแน่น กล้าแขง็ และเป็นระเบียบ ไมย่ อ่ ท้อตอ่ อุปสรรค ไม่มกั งา่ ยเหน็ แกค่ วาม สะดวกสบาย และทีสาคัญที่สุดจะต้องให้เท่ียงตรง เป็นกลาง และสุจริตอยู่เสมอไม่หว่ันไหวต่ออารมณ์ เครื่องหลอกล่อใดๆ จึงจะช่วยให้เป็นนักปฏิบัติท่ีดี ท่ีสามารถสร้างประโยชน์ได้อย่ าง แท้จริง…” ความหมายของการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติท่ีดี จึงหมายรวมถึงการปฏิบัติท่ีจะต้องได้รับการ ฝึกฝนท้ังใจและกาย และทั้งจะต้องเป็นนักปฏิบัติงานท่ีมีหลักวิชาดีด้วย และท่ีสาคัญจะต้องมีการ ปรับปรุงตังเองให้มีการพฒั นาก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ใฝ่ใจศึกษาท้ังทางลึกและทางกวา้ ง เพ่ือให้บัณฑิต ใช้วิชาชีพความสามารถความบริสุทธใ์ิ จความฉลาดรอบคอบ สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนตน และ ประโยชน์สว่ นรวมได้สมั ฤทธิ์ผล อ้างอิงจาก http://www.rmutt.ac.th/?page_id=386 โดยรูปแบบการพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบัติของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ดงั แสดงในรปู ที่ 2 รูปที่ 2 รูปแบบการพัฒนาบัณฑิตนกั ปฏบิ ตั ขิ องคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี และภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมบัณฑติ เป็นกรอบแนวคดิ เพอ่ื การผลิตครชู า่ งอุตสาหกรรม 6 สาขาวิชา แสดงดงั ในรปู ท่ี 3

10 รูปที่ 3 กรอบแนวคดิ การจดั การศกึ ษาหลักสตู รครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมบัณฑิต คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ดังนั้นการปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) มุ่งเน้นเพ่ือให้บัณฑิตมีทักษะความชานาญ มีความเป็นนักวิชาชีพท่ี เหมาะสมต่อภาคอุตสาหกรรม(การผลิตและบริการ) และหน่วยงานทางด้านภาคการศึกษา(การสอน วิชาชีพ) โดยเพิ่มสมรรถนะที่จาเป็น เช่น สมรรถนะด้านทักษะฝีมือพื้นฐานและเฉพาะด้าน และได้มี การคัดเลอื กมาตรฐานสมรรถนะทจ่ี าเป็นต่อการผลิตครูช่างอตุ สาหกรรมทใ่ี ช้ในการสอนสาขาวิชาไฟฟ้า โดยตอบโจทย์การเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาและสถานประกอบการได้อย่างครบถ้วน เพื่อให้มีปัญหาน้อยที่สุด โดยคาดหวังว่า “ครูช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้า จะเป็นกาลังสาคัญใน การผลิตแรงงานฝีมือและช่างเทคนิคระดับกลาง เข้าสู่ตลาดแรงงานได้เต็มศักยภาพ และสามารถ ยกระดับการอาชีวศึกษาของประเทศไทยให้ดีย่ิงขึ้น” แม้ว่าระยะเวลาการศึกษาถูกปรับปรุงจากเดิม 5 ปี เปล่ียนเป็น 4 ปี ก็ตาม แต่การจัดการเรียนการสอนยังควบคุมดูแลให้บัณฑิตท่ีได้มีท้ังความรู้ ทักษะ และจิตพสิ ยั สอดคล้องกับบัณฑิตอนั พงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา และสถานประกอบการ 13 ความสมั พันธก์ ับหลักสูตรทเี่ ปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอน่ื ของมหาวทิ ยาลัย 13.1 กลุม่ วชิ า/รายวิชาในหลักสตู รนี้เปิดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสูตรอ่ืน หลกั สตู รนม้ี ีรายวชิ าหมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไปและวชิ าเลือกเสรีที่จะตอ้ งให้คณะ/วทิ ยาลยั ภายในมหาวิทยาลัยฯ จัดการเรียนการสอนให้ 13.2 กลมุ่ วชิ า/รายวชิ าในหลกั สตู รทีเ่ ปดิ สอนใหภ้ าควิชา/หลักสตู รอนื่ ต้องมาเรียน รายวิชาในหลักสูตรเปิดโอกาสให้ นักศึกษาในคณะอ่ืน ๆ สามารถเลือกเรียนในรายวิชา เลือกเสรีได้ และคาอธบิ ายรายวชิ ามคี วามยดื หย่นุ สามารถจดั การเรียนการสอนได้อย่างมีคณุ ภาพ

11 13.3 การบริหารจัดการ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของภาควิชา ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจาก ภาควิชาอืน่ หรือหลกั สูตรหรือคณะอ่ืนท่ีเก่ยี วข้อง เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนใหม้ ผี ลมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นไปตามท่ีระบุในหลักสูตร รวมทั้งกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอยี ดของวชิ าและ รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา เพ่ือเป็นมาตรฐานในการติดตามและประเมินคุณภาพการเรียน การสอน

12 หมวดท่ี 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร 1.1 ปรัชญา บัณฑิตมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูผู้สอนและฝึกอบรม สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า พร้อมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.2วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และ วิชาชพี เฉพาะ มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีและเป็นพลเมืองทด่ี ตี อ่ สังคม 2) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ สาขา สามารถบูรณาการความรู้ด้านการศึกษากับด้านไฟฟ้า มีความสามารถในการ ค้นควา้ วางแผน และการจดั การเรียนรใู้ นสาขาวชิ าชีพได้อย่างมคี ุณภาพ 3) เพ่ือให้บัณฑิตสามารถพัฒนาทักษะทางปัญญา โดยวิเคราะห์ท่ีมาของปัญหาและ กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4) เพ่ือให้บัณฑิตมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่าง เหมาะสม 5) เพ่ือให้บัณฑิตมีความสามารถสื่อสาร ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้หลัก สถิติในการตัดสินใจในงานด้านวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะด้านไฟฟ้า สามารถใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ย่างเหมาะสม 6) เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะในการบูรณาการปฏิบัติงานท้ังทักษะวิชาชีพครู และวิชาชีพด้าน ไฟฟ้า 1.3ผลลัพธ์การเรยี นรู้ระดับหลกั สตู ร (PLO) PLO1: ผชู้ ว่ ยนกั เขยี นแบบไฟฟา้ นักศึกษาในระดับชัน้ ปที ่ี 1 สามารถปฏิบัติการเปน็ ผชู้ ่วยนักเขยี นแบบไฟฟา้ เบื้องต้นได้ PLO2: ช่างเทคนิคไฟฟา้ นักศึกษาในระดบั ชนั้ ปที ่ี 2 สามารถปฏบิ ัติการตดิ ตงั้ ไฟฟ้าในอาคาร ตามมาตรฐานของกรมพฒั นา ฝีมือแรงงาน ระดับ 1 ได้ PLO3: ช่างเทคนิคเคร่ืองทาความเย็นและปรับอากาศ / ควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้าด้วยระบบ อตั โนมัติ นกั ศึกษาในระดับชั้นปีท่ี 3 สามารถปฏบิ ัตกิ ารตดิ ตั้งและบารุงรักษา เครอ่ื งทาความเย็น และปรบั อากาศ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ระดับ 1 ได้ / ควบคุมเคร่ืองกลไฟฟ้าด้วย ระบบอตั โนมัติได้

13 PLO4: ครชู ่างไฟฟ้า สามารถเป็นครวู ิชาชพี ช่างอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู 2. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ แผนการพัฒนา/เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี 1. ปรบั ปรงุ หลกั สูตรให้มี 1. ตดิ ตามประเมินหลักสตู รใช้ 1. รายงานผลการประเมนิ มาตรฐาน ไมต่ ่ากวา่ ท่ี สกอ. แบบสอบถามประเมนิ โดย หลักสตู ร กาหนด และสอดคล้องกบั นกั ศึกษา อาจารย์ บัณฑติ 2. รายงานผลการดาเนินการ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับ และสถานประกอบการ และประเมินหลกั สูตร ปริญญาตรแี ละมาตรฐาน 2. ติดตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ วิชาชพี ท่ีเกย่ี วข้อง ของประเทศไทย 2. ปรบั ปรงุ หลกั สตู รให้ 1. สร้างเครอื ขา่ ยกบั หนว่ ยงาน ตวั บ่งช้ี สอดคลอ้ งกับความต้องการ ภาครฐั และภาคเอกชนเพื่อ 1. รายชือ่ หนว่ ยงานภาครัฐ ของสถานศึกษาและสถาน วเิ คราะห์ความตอ้ งการและ และภาคเอกชน ประกอบการ แนวโน้มความเปล่ียนแปลงของ หลกั ฐาน สถานศึกษาและสถาน 2. รายงานสรุปผลการประชุม ประกอบการ 3. พัฒนาบุคลากรสายผู้สอนให้ 1. สนบั สนุนให้บุคลากรสายผู้สอน 1. รายงานผลการฝึกอบรม มคี ณุ ภาพท้ังทางวิชาการ ได้รบั การพฒั นาในด้านต่าง ๆ และวชิ าชีพ ได้แก่ การศึกษาตอ่ ในระดบั ที่ สูงขึ้น การศึกษาดูงาน การ ฝกึ อบรมสัมมนาเพื่อเพมิ่ ความรู้ และประสบการณ์ ทง้ั ในประเทศ และต่างประเทศ และการขอ ตาแหนง่ ทางวชิ าการ 4. ปรบั ปรงุ ปจั จยั สนับสนนุ การ 1. สารวจความต้องการของนกั ศกึ ษา 1. รายงานความตอ้ งการของ เรยี นการสอน และอาจารย์ผสู้ อนเก่ียวกับปัจจยั นกั ศึกษาและอาจารยผ์ ู้สอน สนบั สนนุ การเรยี นการสอน เกย่ี วกับปัจจยั สนบั สนุนการ 2. จัดหาและจัดสรรทุนเพอ่ื ปรับปรุง เรยี นการสอน ปัจจยั สนับสนนุ การเรยี นการสอน 2. รายงานครภุ ัณฑ์ เชน่ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ โสตทัศนูปกรณ์ อาคารและ ห้องสมุดให้มีความทนั สมัยและมี ประสิทธภิ าพยงิ่ ขึ้น

14 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซ่ึง เป็นภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ตอ่ หนึ่งภาคการศึกษา ท้ังน้ีไม่รวม เวลาสาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธญั บรุ ี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู ้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน มีระยะเวลาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ทั้งน้ีไม่ รวมเวลาสาหรับการสอบ แต่ให้มีจานวนช่วั โมงของแตล่ ะวชิ าเทา่ กบั หนง่ึ ภาคการศึกษาปกติ 1.3 การเทียบเคยี งหนว่ ยกติ ในระบบทวภิ าค - 2. การดาเนินการหลกั สตู ร 2.1 วนั -เวลาในดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 เดือนมิถุนายน – กนั ยายน ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เดือนพฤศจกิ ายน – กุมภาพันธ์ ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบตั ิของผ้เู ขา้ ศึกษา และวิธีการรบั เข้าศึกษา 2.2.1 คุณสมบตั ิของผูเ้ ข้าศกึ ษา 1. รับผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือผู้สาเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทุกสาขา หรือให้เป็นไปตาม ดลุ ยพนิ ิจของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร นอกจากนีต้ ้องมคี า่ นยิ มเจตคตทิ ด่ี ีและคุณลักษณะท่เี หมาะสมกบั วิชาชพี ครู สอบผ่านขอ้ สอบวดั คณุ ลักษณะความเป็นครู 2. มีคุณสมบัติเทียบโอนได้ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่า ด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) และ ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ช) 2.2.2 วิธีการรับเข้าศกึ ษา 1. ผา่ นระบบระบบทีใ่ ช้คัดเลอื กบคุ คลเข้าศึกษาตอ่ ในระดับอุดมศึกษา 2. ผ่านระบบโควตาของคณะ และมหาวิทยาลยั 3. ผา่ นระบบสอบตรงของมหาวทิ ยาลยั

15 4. สอบผ่านขอ้ สอบวดั แววความเปน็ ครู และวชิ าชพี โดยทางคณะจะเปน็ ผู้ออก ข้อสอบและจดั สอบ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานของคุรสุ ภา 2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเขา้ ด้วยโครงสร้างเนื้อหาอันเปน็ พ้ืนฐานความรู้ท่ีสาคัญต่อการศึกษาในสาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า ไม่ว่าของหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ทาให้คุณสมบัติของนักศึกษาทั้ง สองกลุ่มมีความไม่เท่าเทียมกันค่อนข้างมาก โดยเฉพาะวิชาทางคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และ ความสามารถทางช่าง การนามาเรียนร่วมกันย่อมทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกต่างกัน และจาก การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในสถาบันอาชีวศึกษาและสถาน ประกอบการ มีผลการศกึ ษาดงั นี้ 1) คณุ ลักษณะบัณฑติ และความต้องการของผู้ใชบ้ ณั ฑิตในสถาบันอาชีวศกึ ษา ประกอบดว้ ย 1.1 จิตสานกึ ความเปน็ ครู 1.2 บุคลิคภาพ 1.3 ความรับผิดชอบ 1.4 ความตงั้ ใจในการทางาน 1.5 การใฝร่ ู้ 1.6 ความร้ดู า้ นวิชาชีพและเทคโนโลยี 1.7 การเตรยี มการสอนและสอ่ื นวัตกรรมการเรียนการสอน 1.8 ทกั ษะปฏิบตั งิ านพน้ื ฐานและวิชาชีพเฉพาะรวมถึงการใชเ้ ครอ่ื งมอื ต่าง ๆ 1.9 การวเิ คราะหแ์ ก้ไขปัญหาวงจร 1.10 ทกั ษะภาษาไทย/ภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการสอื่ สาร การถ่ายทอด 2) คุณลักษณะบณั ฑติ และความตอ้ งการของผใู้ ช้บัณฑิตในสถานประกอบการ ประกอบด้วย 2.1 นิสัยอุตสาหกรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ความขยันอดทน การทางานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์ การตงั้ ใจในการปฏิบัติงาน การใฝ่เรียนรู้ การ ประหยดั ความปลอดภยั ในการทางาน 2.2 ดา้ นทกั ษะภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศ 2.3 ทกั ษะการใช้เครือ่ งมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน 2.4 ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ และจากการศึกษา จุดเด่น จุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะของ บณั ฑติ คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา้ ผลท่ไี ดด้ งั น้ี 1) จุดเด่นของบณั ฑติ ประกอบดว้ ย 1.1 บณั ฑิตมจี ิตอาสาในการทางาน มคี วามเสยี สละ 1.2 ยอมรับพังความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื 1.3 มีความออ่ นนอ้ ม ให้เกียรตผิ อู้ าวุโส 1.4 สามารถควบคุมชั้นเรยี นได้ดี

16 1.5 มีความรบั ผดิ ชอบงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 2) จดุ ดอ้ ยของบัณฑิต ประกอบด้วย 2.1 ทักษะดา้ นภาษาองั กฤษ 2.2 ทักษะการวิเคราะห์/การคดิ อยา่ งเป็นระบบ 2.3 ทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน 2.3 ขาดกจิ นิสัยในการปฏิบัตงิ าน ไม่เกบ็ เคร่ืองมอื เครอื่ งใช้ 2.4 ด้อยจิตสานึกความเป็นครู 2.4 กลยุทธใ์ นการดาเนนิ การเพ่อื แก้ไขปัญหา/ขอ้ จากดั ของนกั ศกึ ษาในขอ้ 2.3 จากผลการดาเนินงานของหลักสตู ร การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผใู้ ช้ บัณฑิตในสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ จุดเด่นจุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้า ดังนั้นคณะกรรมการผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร จึงนาเอาข้อมลู ทงั้ หมดมาปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตรโดยปรับรายวิชาและกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน และได้เพ่ิมในส่วนของ โครงการอบรมปรับพ้ืนฐานช่างอุตสาหกรรมเพิ่มเติมให้กับนักศึกษาแรกเข้า ในการจัดทาพัฒนา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 นี้ ได้ยึดนาเอาสมรรถนะจากหลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานครุศาสตร์อุตสาหกรรม (มคอ.1) มาเป็นสมรรถนะในหลักสูตร โดยได้จัดทาสมรรถนะเป็นรายปีว่านักศึกษาสามารถทาอะไรได้ บา้ ง และในทุกปีการศึกษาได้จัดกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะด้าน Soft Skill ให้กับนักศึกษาในดา้ นต่าง ๆ เช่น กิจกรรมเสริมความเป็นครู เสริมด้านภาษา การส่ือสาร คุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัย จิตอาสา ภาวะผู้นา ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ เพอ่ื ตอบโจทย์คณุ ลักษณะบณั ฑติ ทตี่ อ้ งการของผู้ใช้บัณฑติ 2.5 แผนการรบั นกั ศึกษาและผู้สาเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี 2.5.1 สาหรบั ผูม้ ีคุณสมบัตติ ามข้อ 2.2.1 ขอ้ 1 และขอ้ 2 จานวนนักศึกษา จานวนนักศึกษาแต่ละปกี ารศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 ชนั้ ปที ี่ 1 60 60 60 60 60 ชั้นปที ่ี 2 60 60 60 60 ชน้ั ปีที่ 3 60 60 60 ชน้ั ปที ี่ 4 60 60 รวม 60 120 180 240 240 คาดว่าจะสาเรจ็ การศกึ ษา - - - 60 60

17 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรบั 2563 ปีงบประมาณ 2567 2564 2565 2566 ค่าบารงุ การศกึ ษา และ 1,680,000 3,360,000 5,040,000 6,720,000 6,720,000 ค่าลงทะเบยี น เงนิ อดุ หนุนจากรัฐบาล 180,000 360,000 540,000 720,000 720,000 รวมรายรบั 1,860,000 3,720,000 5,580,000 7,440,000 7,440,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หน่วย:บาท) หมวดเงิน ปงี บประมาณ 2563 2564 2565 2566 2567 ก. งบดาเนินการ 1. คา่ ใชจ้ า่ ยบคุ ลากร 2,790,000 2,957,400 3,134,844 3,322,935 3,522,311 2. ค่าใช้จา่ ยดาเนนิ งาน 185,000 275,000 365,000 455,000 455,000 (ไม่รวม 3) 3. ทนุ การศึกษา ----- 4. รายจ่ายระดบั 840,000 1,680,000 2,520,000 3,360,000 3,360,000 มหาวิทยาลัย (รวม ก) 3,815,000 4,912,400 6,019,844 7,137,935 7,337,311 ข. งบลงทนุ ค่าครภุ ัณฑ์ 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 (รวม ข) 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 รวม (ก) + (ข) 4,165,000 5,262,400 6,369,844 7,487,935 7,687,311 จานวนนกั ศกึ ษา 60 120 180 240 240 ค่าใช้จ่ายต่อหวั นักศกึ ษา 69,416.67 43,853.33 35,388.02 31,199.73 32,030.46 หมายเหตุ คา่ ใช้จา่ ยตอ่ หวั นกั ศกึ ษาตามระบบเหมาจา่ ย 28,000 บาทตอ่ ปี 2.7 ระบบการศึกษา  แบบชนั้ เรยี น  แบบทางไกลผา่ นสื่อสิ่งพมิ พเ์ ป็นหลกั  แบบทางไกลผ่านสือ่ แพรภ่ าพและเสยี งเปน็ ส่อื หลกั  แบบทางไกลทางอเิ ล็กทรอนิกส์เป็นสอื่ หลกั (E-learning)  แบบทางไกลทางอนิ เตอร์เนต  อ่นื ๆ (ระบ)ุ ….......

18 2.8 การเทยี บโอนหน่วยกิต รายวชิ า และการลงทะเบยี นเรยี นขา้ มสถาบันอุดมศกึ ษา นักศึกษาที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาก่อน เมื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ สามารถเทียบ โอนหน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ว่าด้วยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ระเบียบมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี ว่าดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562

19 30 หน่วยกติ 7 หนว่ ยกติ 3 หลกั สูตร และอาจารยผ์ ู้สอน 3 หนว่ ยกิต 3.1 หลักสตู ร 3 หนว่ ยกติ 3.1.1 แผนการเรยี นของหลกั สูตร 1 หน่วยกติ จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร 149 หนว่ ยกิต 12 หนว่ ยกติ 3.1.2 โครงสรา้ งหลักสูตร 6 หนว่ ยกติ 6 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 6 หน่วยกติ 1.1 กลุ่มคุณคา่ แหง่ ชีวิตและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 3 หน่วยกติ สังคมศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ มนษุ ยศ์ าสตร์ 5 หนว่ ยกิต พลศกึ ษาและนันทนาการ 5 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มภาษาและการสื่อสาร 113 หนว่ ยกติ ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 34 หนว่ ยกติ ภาษาเพ่มิ เตมิ 22 หน่วยกติ 1.3 กลุ่มวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 12 หน่วยกิต เทคโนโลยสี ารสนเทศ 79 หนว่ ยกิต วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และนวตั กรรม 51 หน่วยกติ 1.4 กล่มุ บรู ณาการและศาสตรผ์ ปู้ ระกอบการ 24 หน่วยกิต บรู ณาการและศาสตรผ์ ปู้ ระกอบการ 4 หนว่ ยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 6 หน่วยกิต 2.1 กลุม่ วิชาชีพครู 2.1.1 รายวิชาชพี ครู 2.1.2 รายวิชาการปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2.2 กลุ่มวชิ าชพี เฉพาะสาขา 2.2.1 รายวชิ าชีพบังคับ 2.2.2 รายวชิ าชีพเลอื ก 2.2.3 รายวชิ าฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชีพ ในสถานประกอบการ 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี

20 3.2.1 รายวิชา

21 รายวชิ า 1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกติ 1.1 กล่มุ คณุ คา่ แหง่ ชวี ิตและหน้าทพ่ี ลเมือง ไมน่ ้อยกวา่ 7 หน่วยกิต 1.1.1 รายวชิ าสงั คมศาสตร์ ใหศ้ กึ ษา 3 หนว่ ยกติ 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่อื การพัฒนาท่ยี ่ังยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development 1.1.2 รายวิชามนษุ ยศาสตร์ ใหศ้ กึ ษา 3 หน่วยกิต 01-210-022 วถิ ธี รรมวิถไี ทย 3(3-0-6) Religions and Thai Culture 1.1.3 รายวิชาพลศกึ ษาและนันทนาการ ให้เลอื กศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 1 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation 01-610-014 ทักษะกฬี าเพอ่ื สขุ ภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health 1.2 กลุ่มภาษาและการส่อื สาร ไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกติ 3(2-2-5) 3(2-2-5) 1.2.1 รายวิชาภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร จานวน 6 หน่วยกิต 3(3-0-6) 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร 1 3(3-0-6) English for Communication 1 3(2-2-5) 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร 2 English for Communication 2 1.2.2 รายวิชาภาษาเพิม่ เตมิ 6 หน่วยกติ โดยใหศ้ ึกษา 3 หน่วยกติ 01-310-001 ภาษาไทยเพ่อื การสือ่ สาร Thai for Communication และให้เลือกศึกษาอกี ไมน่ ้อยกวา่ 3 หนว่ ยกิต จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 01-310-006 การอา่ นและการเขียนเชงิ วิชาการ Academic Reading and Writing 01-320-010 ภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบ English for Standardized Tests

22 3(2-2-5) 01-320-012 การฟงั และการพูดภาษาอังกฤษสาหรับงานบรกิ ารด้าน 3(2-2-5) เทคนิค 3(3-0-6) English Listening and Speaking for Technical 3(3-0-6) Support 01-320-022 การสรรสร้างละครและหนังสน้ั ภาษาองั กฤษ Creating English Dramas and Short Films 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบ้ืองต้น Basic Chinese Conversation 01-330-007 สนทนาภาษาญีป่ ุ่นเบื้องต้น Basic Japanese Conversation 1.3 กล่มุ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 1.3.1 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเ้ ลอื กศกึ ษาจานวน 3 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพอื่ งานมัลตมิ เี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making 1.3.2 รายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวัตกรรม ให้เลือกศึกษาอีกไมน่ ้อยกว่า 3 หน่วยกติ จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 09-111-051 คณติ ศาสตรใ์ นชวี ิตประจาวัน 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life 09-121-001 สถิติในชีวติ ประจาวนั 3(2-2-5) Statistical in Daily Life 09-130-002 อนิ เทอร์เนต็ ทุกสรรพสิง่ ในชวี ิตประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคดิ สร้างสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation

23 2(0-4-2) 1(0-2-1) 1.4 กลมุ่ บรู ณาการและศาสตรผ์ ู้ประกอบการ ไมน่ อ้ ยกว่า 5 หน่วยกติ 1(0-2-1) 1.4.1 รายวิชาบูรณาการและศาสตรผ์ ้ปู ระกอบการ ให้ศกึ ษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 1(0-2-1) 00-100-101 อตั ลักษณแ์ หง่ ราชมงคลธญั บุรี RMUTT Identity 00-100-201 มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว Green University 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ Design Thinking 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ Entrepreneurship 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 113 หน่วยกติ 2(1-2-3) 2(1-2-3) 2.1 วิชาชพี ครู 34 หนว่ ยกิต 2(1-3-3) 2.1.1 รายวิชาชีพครู 22 หนว่ ยกติ ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 02-262-101 ความเป็นครูวิชาชพี 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teachers 3(2-3-5) 02-262-202 จติ วิทยาสาหรับครวู ิชาชพี Psychology for Vocational Teacher 3(2-2-5) 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการจดั การเรยี นรู้ 2(1-2-3) Innovation and Digital Technology for Learning 2(1-3-3) Management 3(2-2-5) 02-262-304 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา Educational Quality Assurance 02-262-305 การจัดการเรยี นรู้และการจดั การชั้นเรยี นอาชีวศึกษา Learning and Vocational Classroom Management 02-262-306 การพัฒนาหลกั สตู รอาชีวศึกษา Vocational Curriculum Development 02-262-307 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ Measurement and Evaluation for Learning 02-262-308 กลวิธีการสอนชา่ งเทคนิค Didactics for Technician 02-262-309 การวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ Research for Learning Development

24 02-263-311 การฝกึ ปฏิบตั ิวิชาชีพระหว่างเรียน 1(0-6-0) 02-263-311 Practicum 2.1.2 รายวชิ าการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 12 หนว่ ยกติ ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ า ตอ่ ไปนี้ 02-263-410 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 02-263-411 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 2 2.2 กลมุ่ วชิ าชพี เฉพาะสาขา 79 หนว่ ยกติ ให้ศึกษาจากรายวิชา/กลุ่มวชิ า/วิชาเอกตอ่ ไปนี้ 2.2.1 รายวิชาชพี บังคบั 51 หนว่ ยกิต ใหศ้ ึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 02-211-101 เขยี นแบบวศิ วกรรม 2(1-3-3) Engineering Drawing 02-221-103 การเขยี นแบบไฟฟ้า 2(1-3-3) Electrical Drawings 02-221-105 ฝึกปฏบิ ัตงิ านไฟฟ้า 2(0-6-4) Electrical Skill Practices 02-221-107 วงจรไฟฟ้า 3(2-3-5) Electric Circuits 02-200-101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) Fundamental of Engineering Mathematics 02-221-209 การวิเคราะหว์ งจรไฟฟ้า 3(2-3-5) Electric Circuits Analysis 02-221-114 เครอ่ื งจกั รกลไฟฟ้า 1 3(2-3-5) Electrical Machines 1 02-221-216 เคร่ืองจักรกลไฟฟ้า 2 3(2-3-5) Electrical Machines 2 02-221-123 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรมไฟฟา้ 3(3-0-6) Electrical Engineering Mathematics 02-221-227 อิเล็กทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Electronics 02-221-238 วศิ วกรรมแสงสว่าง 3(3-0-6) Illumination Engineering

25 02-221-341 อิเล็กทรอนิกสก์ าลงั 3(2-3-5) Power Electronics 1(1-0-2) 3(1-6-4) 02-221-365 การเตรยี มโครงการ 3(3-0-6) Pre-Project 2(1-3-3) 3(2-3-5) 02-221-366 โครงการ 3(1-6-4) Projects 3(3-0-6) 02-221-230 การออกแบบระบบไฟฟ้า 3(2-3-5) Electrical Systems Design 3(1-6-4) 3(2-3-5) 02-222-101 การวัดและเครอื่ งมือวัดทางไฟฟ้า 3(3-0-6) Electrical Measurements and Instrumentations 1(0-3-1) 3(3-0-6) 02-222-203 ระบบควบคมุ Control Systems 1(1-0-2) 3(2-3-5) 02-250-101 พ้ืนฐานงานวศิ วกรรม Engineering Basic Skills 02-250-112 พืน้ ฐานวัสดแุ ละกลศาสตร์ Basic of Materials and Mechanics 2.2.2 กลุม่ วชิ าชีพเลือกไมน่ อ้ ยกว่า 24 หน่วยกิต ใหเ้ ลือกศึกษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี ก) กล่มุ วิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 02-201-103 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programming 02-212-202 การทาความเย็นและปรบั อากาศ Refrigeration and Air Conditioning 02-221-102 เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟา้ Electrical Engineering Technology 02-221-212 วิศวกรรมแมเ่ หล็กไฟฟา้ Electromagnetic Engineering 02-221-215 ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารควบคมุ เครือ่ งจักรกลไฟฟ้า Electrical Machines Control Practices 02-221-225 การส่งและจ่ายกาลงั ไฟฟา้ Electric Power Generation Transmission and Distribution 02-221-260 ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ Electrical Safety 02-221-326 การวเิ คราะหร์ ะบบไฟฟา้ กาลัง Electric Power System Analysis

26 02-221-352 โรงต้นกาลงั ไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Power Plants 02-221-360 การประยกุ ต์ใชว้ งจรรวมในงานไฟฟ้า 2(1-3-3) Integrated Circuits in Electrical Applications 02-221-128 การป้องกนั ระบบไฟฟา้ กาลัง 3(2-3-5) Power System Protections 02-221-136 วิศวกรรมไฟฟา้ แรงสงู 3(3-0-6) High Voltage Engineering 02-221-143 การขับเคลอื่ นดว้ ยไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Drives 02-221-159 โปรแกรมประยุกตท์ างดา้ นไฟฟา้ 3(2-3-5) Electrical Application Software 02-241-103 วิศวกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ 3(2-3-5) Electronics Engineering 02-241-205 การออกแบบวงจรดจิ ทิ ลั 3(2-3-5) Digital Circuits Design ข) กลุ่มวชิ าระบบควบคุม 02-222-302 ระบบและอุปกรณค์ วบคุม 3(2-3-5) Control Systems and Devices 02-222-305 เคร่ืองมอื วดั อตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Instruments 02-222-307 อุปกรณว์ ดั และแปลงสัญญาณ 3(2-3-5) Sensors and Tansducers 02-222-317 โปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์ 3(2-3-5) Programmable Logic Controller 02-222-319 นวิ แมติกส์และไฮโดรลิกส์สาหรับงานไฟฟ้า 3(2-3-5) Pneumatics and Hydraulic for Electrical Applications 02-222-348 การควบคุมเครอ่ื งจักรกลไฟฟ้าดว้ ยไมโครคอนโทรเลอร์ 3(2-3-5) Electrical Machines Control with Microcontroller 02-222-111 การวดั และควบคมุ งานอตุ สาหกรรม 3(3-0-6) Instrumentation and Industrial Control 02-222-112 การควบคุมกระบวนการ 3(2-3-5) Process Controls 02-222-115 เซอร์โวเมก็ คานกิ 3(3-0-6) Servo-Mechanics

27 2.2.3 รายวิชาฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ในสถานประกอบการ 4 หนว่ ยกติ โดยให้ศกึ ษา 1 หน่วยกติ 02-000-201 การเตรยี มความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience และใหเ้ ลอื กศกึ ษา 3 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าต่อไปน้ี 02-000-202 ฝกึ งาน 3(0-40-0) Apprenticeship 02-000-203 ฝึกงานต่างประเทศ 3(0-40-0) International Apprenticeship 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกศกึ ษาจากรายวิชาที่เปดิ สอนในหลักสูตรมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาทีศ่ ึกษามาแล้ว และตอ้ งไม่เป็นรายวชิ าทกี่ าหนดใหศ้ ึกษาโดยไมน่ ับหน่วยกิต

28 3.3 แผนการศกึ ษาเสนอแนะ ปที ่ี 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 02-211-101 เขยี นแบบวศิ วกรรม 2133 02-221-103 การเขยี นแบบไฟฟา้ 02-200-101 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐานทางวศิ วกรรม 2133 02-250-112 พนื้ ฐานวสั ดแุ ละกลศาสตร์ 02-250-101 พืน้ ฐานงานวศิ วกรรม 3306 02-262-101 ความเป็นครูวชิ าชพี 01-210-022 วถิ ธี รรมวถิ ไี ทย 3306 01-3XX-XXX เลอื กจากรายวิชาภาษาเพิ่มเตมิ 3164 รวม 2123 3306 3XXX 21 หน่วยกติ ปีท่ี 1 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 09-000-00x เลือกจากรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 2 2 5 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ การพฒั นาที่ 3 3 0 6 ยงั่ ยืน 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร 1 3225 02-221-107 วงจรไฟฟ้า 3235 02-221-114 เครอ่ื งจักรกลไฟฟ้า 1 3235 02-221-123 คณติ ศาสตร์วศิ วกรรมไฟฟ้า 3306 02-222-101 การวดั และเครอื่ งมอื วัดทางไฟฟา้ 2133 02-221-105 ฝึกปฏิบตั ิงานไฟฟ้า 2064 รวม 22 หนว่ ยกติ ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาฤดูร้อน หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 3 3 01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 3 06 เลือกจากรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 09-xxx-xxx คณิตศาสตร์และนวัตกรรม 06 อตั ลกั ษณ์แหง่ ราชมงคลธญั บรุ ี 00-100-101 เลอื กจากรายวชิ าพลศึกษาและ 20 4 2 01-610-00x นันทนาการ 1x x x รวม 9 หนว่ ยกิต

29 ปที ี่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 00-100-201 มหาวิทยาลยั สีเขียว 1021 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร 2 1021 02-221-209 การวเิ คราะหว์ งจรไฟฟา้ 02-221-216 เคร่อื งจักรกลไฟฟ้า 2 3225 02-221-238 วศิ วกรรมแสงสวา่ ง 02-221-xxx เลือกกลุ่มวชิ าชพี เลือก 3235 02-221-xxx เลอื กกลุ่มวิชาชีพเลือก 02-262-202 จิตวิทยาสาหรับครูวิชาชพี 3235 รวม 3306 3xxx 2xxx 2123 21 หน่วยกติ ปที ่ี 2 / ภาคการศึกษาที่ 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย 1 0 ตนเอง 02-000-201 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์ 21 วิชาชพี 02-221-227 อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อุตสาหกรรม 3235 02-221-230 การออกแบบระบบไฟฟ้า 3306 02-222-203 ระบบควบคมุ 3235 02-221-xxx เลอื กกลุ่มวิชาชพี เลอื ก 3235 02-222-xxx เลอื กกลมุ่ วิชาชพี เลอื ก 3235 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื การ 2133 จดั การเรียนรู้ xx-xxx-xxx เลอื กเสรี 3 x XX 21 หนว่ ยกติ รวม ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย 3 0 ตนเอง 02-000-202 ฝึกงาน 40 0 หรอื หรอื ฝกึ งานตา่ งประเทศ 02-000-203 รวม 3 หน่วยกิต

30 ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 00-100-301 ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 1 0 21 02-221-365 การเตรยี มโครงการไฟฟา้ 1 1 02-221-341 อิเลก็ ทรอนกิ สก์ าลัง 3 2 02 02-221-xxx เลอื กกลุ่มวิชาชพี เลือก 3 x 02-222-xxx เลอื กกลมุ่ วชิ าชีพเลือก 3 x 35 02-221-xxx เลือกกลุม่ วิชาชพี เลอื ก 1 x 02-262-304 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 2 1 xx 02-262-305 การจัดการเรียนร้แู ละการจัดการชนั้ เรียน 3 2 อาชีวศึกษา xx xx-xxx-xxx เลอื กเสรี 3 x 20 xx รวม 23 34 x x หน่วยกติ ปีท่ี 3 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-221-366 โครงการไฟฟา้ 3164 02-221-xxx เลอื กกลุ่มวชิ าชพี เลือก 02-222-xxx เลอื กกลมุ่ วิชาชีพเลอื ก 3 x XX 02-262-306 การพฒั นาหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา 02-262-307 การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3 x XX 02-262-308 กลวิธีการสอนช่างเทคนิค 02-262-309 การวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการเรยี นรู้ 3225 02-263-311 การฝกึ ปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 2123 รวม 2133 3225 1060 20 หน่วยกิต ปีท่ี 4 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-263-410 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 รวม 6 0 40 0 6 หนว่ ยกิต ปที ่ี 4 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-263-411 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2 รวม 6 0 40 0 6 หน่วยกิต

31 3.4 คาอธิบายรายวชิ า 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกิจแบบย่ังยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื นาไปสู่ การพฒั นาเศรษฐกิจแบบยั่งยืนการประยุกตใ์ ชป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณีตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงท่ีประสบ ความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency- economy activities in Thailand 01-210-022 วิถธี รรมวิถไี ทย 3(3-0-6) Religions and Thai Culture ความเป็นมาและหลักธรรมคาสอนของศาสนาที่สาคัญในประเทศไทย การพัฒนา ความคิด ด้านศาสนาของคนไทยในแต่ละสมัย ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดความ เช่ือด้านศาสนากับวัฒนธรรมไทยในด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเมืองการ ปกครอง ทัศนศิลป์ พธิ กี รรม มารยาทไทย และประเพณไี ทย History and doctrines of important religions in Thailand, religious thought development of Thai people in different periods, relationship between religious thoughts or believes and Thai culture in the aspect of way of life, economy, politics, visual arts, ceremony, Thai manners, and tradition 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบตา่ ง ๆ และเลือกกิจกรรม นันทนาการท่เี หมาะสม General knowledge of recreation, types of recreational activities and selection of appropriate recreational activities

32 01-610-014 ทกั ษะกีฬาเพอื่ สขุ ภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม การฝึกปฏิบัตทิ กั ษะพ้ืนฐานของชนดิ กฬี าท่ีเลือก วธิ ีการเล่น และกติกาการแขง่ ขัน General knowledge about the chosen sport, development of health on aspects of body, mind, emotion, and social, practice of basic skills of chosen sports, how to play the sport, sport rules for competition 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความ สนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความส้ันๆ การฟังและอ่าน ข้อความสนั้ ๆ จากสอื่ ต่างๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการเล่าเร่ือง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่าง ต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายส้ัน ๆ การฟังและ การอ่านเนอ้ื หาในเร่อื งท่ีเกย่ี วข้องจากส่ือ Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts

33 01-310-001 ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร 3(3-0-6) Thai for Communication หลักการสื่อสาร ความรู้พื้นฐานการใช้ภาษาไทย การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การอ่าน จับใจความและวเิ คราะหค์ วาม การเขียนเพ่ือการสือ่ สารในชีวิตประจาวนั และการพดู ในโอกาสตา่ งๆ Principles of communication, Thai language usage, critical listening, reading for main ideas and analysis, writing for communication in daily life and speaking on different occasions 01-310-006 การอ่านและการเขียนเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) Academic Reading and Writing หลักการอ่านเอกสารทางวิชาการ หลักการเขียนทางวิชาการ การอ่านและเขียนสรุป สาระสาคญั การศึกษาค้นคว้า และการนาเสนอผลงานในรปู แบบวิชาการ Principles of academic reading and writing, reading and note taking, information research and academic presentation 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพ่อื การทดสอบ 3(2-2-5) English for Standardized Tests ลักษณะของแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษมาตรฐานประเภทต่าง ๆ ความรู้และทักษะท่ีจาเป็นทางด้านภาษาอังกฤษท่ีใช้ในการทาแบบทดสอบ กลวิธีใน การทาแบบทดสอบ Formats and structures of various standardized tests, linguistic knowledge and skills needed for taking the tests, strategies dealing with standardized tests 01-320-012 การฟังและการพดู ภาษาองั กฤษสาหรับงานบริการดา้ นเทคนคิ 3(2-2-5) English Listening and Speaking for Technical Support คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการอธิบายและการสาธิตการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ การให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค การจัดการข้อร้องเรียน การติดตาม ความกา้ วหนา้ ของงาน การรายงานความเสยี หาย Vocabulary, expressions and language patterns for describing technical functions, demonstration of equipment use, technical support, handling of complaints, following up on work progress, reporting damage

34 01-320-022 การสรรสรา้ งละครและหนังสัน้ ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Creating English Dramas and Short Films ศัพท์ สานวน และโครงสร้างประโยค ท่ีเก่ียวข้อง การอ่านและการเขียนบทละครหรอื บทภาพยนตร์สน้ั ๆ การวิเคราะห์ เน้อื เรือ่ งตัวละคร การใชโ้ ทนเสยี ง ทานองเสียง การ แก้ไขปัญหา การทางานเป็นทีม การแสดงละครสั้นเป็นภาษาอังกฤษ การจัดทาวิดีโอ คลิปส้ันๆ เปน็ ภาษาองั กฤษ Vocabulary, expressions and language patterns related to reading and writing short plays or short films, analyzing themes and characters, tones and intonations, problem- solving and team working, performance of plays in English, making short video clips 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบ้ืองตน้ 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจาวัน เน้นการออกเสียงที่ ถูกต้อง ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์ จาลองได้ Chinese listening and speaking on everyday life topics focusing on correct pronunciation and expressions by means of simulation 01-330-007 สนทนาภาษาญป่ี ุน่ เบ้อื งตน้ 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยสถานการณ์จาลองจากสถานการณ์ จริงท่ีผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจาวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อชานาญข้ึน สามารถนาคาศัพท์ท่ีเก่ียวข้องอ่ืน ๆ มาประกอบเพ่ือขยายขอบเขต ของบทสนทนาใหก้ วา้ งตอ่ ไป Various types of Japanese conversation in daily life, situational conversation practice with the focus on fluency and relevant vocabulary use for extension of conversation

35 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อินเทอร์เน็ตและการส่ือสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การสื่อสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่อง เครือข่ายอินเทอร์เนต็ และความรทู้ ว่ั ไปเกี่ยวกับโลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), Presentation (Microsoft PowerPoint) , Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e- mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเร็จรปู เพือ่ งานมัลตมิ เี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีส่ือประสมประเภทข้อความ ภาพน่ิง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการสื่อประสม เช่น โปรแกรมจดั การภาพกราฟกิ แบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟกิ แบบเวกเตอร์ โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดิโอ โปรแกรมแปลงไฟล์ ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานสื่อประสม และการเผยแพร่ผลงานสื่อประสม บนอนิ เทอรเ์ น็ต Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file conversion software, multimedia presentation software, and multimedia publishing on the internet

36 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการตดั สนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น โปรแกรมตารางคานวณขั้นสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหารระดับสูง ระบบ สนับสนุนการตัดสินใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิก รวมถึง เครือ่ งมอื อานวยความสะดวกในการจัดการขอ้ มลู ส่วนติดต่อกับผูใ้ ช้งาน เพอ่ื นาเสนอ ข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ต่อการตดั สนิ ใจได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ Basic knowledge and theories of decision-making application of software or information system for decision-making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking 09-111-051 คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life การคานวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี ความสาคัญของการ ออมเงิน เป้าหมายการออม การวางแผนใชจ้ า่ ยและการออมอย่างมีประสทิ ธิภาพ Basic mathematical calculations, ratio, percentages, taxes, essential of saving money, savings goals, effective spending and saving plan 09-121-001 สถิตใิ นชวี ติ ประจาวนั 3(2-2-5) Statistical in Daily Life ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจาวัน สถิติในสังคมมนุษย์ การเก็บ รวบรวมข้อมลู และการตรวจสอบขอ้ มูล การหาตัวแทนขอ้ มลู การหาตาแหน่งและการ กระจายของข้อมลู การแปลความหมายและสรุปข้อมูล การนาเสนอข้อมูลท่เี หมาะสม กับคณุ ลักษณะของข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้โปรแกรมทางสถติ ิ Meaning and the role of statistics in daily life, statistics in human society, data collection and data validation, information agent, position measurement and distribution measurement, interpretation and summary data, data characteristics and means of presentation, use of statistical software for data analysis

37 09-130-002 อนิ เทอรเ์ น็ตทุกสรรพส่งิ ในชวี ติ ประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life แนวคิดพ้ืนฐานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง แนวโน้มและการพัฒนาของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง สถาปัตยกรรมของอุปกรณ์สมาร์ตอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสง่ิ ในชีวิตประจาวัน ความปลอดภัยใน การใช้งานของอนิ เทอร์เน็ตทกุ สรรพสงิ่ Basic concept of Internet of things (IoT), trend and development of IoT technology, architecture of smart devices of IoT, application of IoT technology in daily life, security in applications of IoT 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อท่ีหลากหลาย เพ่ือนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องกับเกษตรกรรม วิศวกรรม และอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ทันต่อ ความก้าวหนา้ และการเปลย่ี นแปลง เพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยืน Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development

38 00-100-101 อัตลกั ษณแ์ หง่ ราชมงคลธญั บรุ ี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสังคม การมีจิตใจริเริ่ม การเร่ิมต้นทางานที่มีเป้าหมายชัดเจน การลาดับ ความสาคัญของงาน และความรบั ผดิ ชอบต่องานอยา่ งมืออาชพี การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ การมีจิตสาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนภายใต้กฎระเบียบและ หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย หลักในการใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizingthings, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวทิ ยาลยั สีเขยี ว 1(0-2-1) Green University วิธีปฏิบัติตนเพ่ือเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึก รับผิดชอบ การแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ท่ีดีต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่มุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือ นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ สร้างไอเดียที่หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพื่อทดลองและ ทดสอบความคิดทางนวัตกรรมทเ่ี กิดขน้ึ Human- centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions

39 00-100-301 ความเปน็ ผู้ประกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ การ จัดทาแบบจาลองธุรกิจ Business trends and concept, development of entrepreneur characteristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 02-262-101 ความเป็นครูวชิ าชพี 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teachers ความหมาย แนวคิดและการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู พัฒนาการของวิชาชีพครู คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพครู จรรยาบรรณของวิชาชีพครู แนวปฏิบัติในการ เป็นแบบอย่างที่ดี กฎหมายที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพครู การมีจิตสานึกสาธารณะ เสียสละให้สังคม และปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ Definition, concept and conscious mind for teacher being establishment, development of teaching profession, moral and ethics in teaching profession, framework of being good teacher model, laws involved in teaching profession, service mind, self-sacrifice, cooperative working and participate in teaching profession activities creatively

40 02-262-202 จติ วิทยาสาหรบั ครูวิชาชพี 2(1-2-3) Psychology for Vocational Teacher หลักการ แนวคิด ทฤษฎีจิตวิทยาท่ัวไป จิตวิทยาวัยรุ่น จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยา การศึกษา จิตวิทยาการให้คาปรึกษาและแนะแนว บุคลิกภาพและการปรับตัว การ ประยุกต์ใช้จิตวิทยาในการวิเคราะห์ ช่วยเหลือดูแล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล การปฏิบัติการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ออกแบบ วิธีการร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ Principles and concepts of General psychology, adolescence psychology, develop, developmental psychology, educational psychology, counseling psychology and guidance; personality and adaptability; application of psychology to analyze, assist and develop individual learners; systematical reporting the results of student development; design how to collaborate with parents in develop and solve learner to acquire the desirable characteristics 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การจัดการเรียนรู้ 2(1-3-3) Innovation and Digital Technology for Learning Management หลักการ แนวคดิ ทฤษฎี การออกแบบ การประยกุ ต์ใชแ้ ละการประเมนิ ส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร การฝึก ปฏิบัติการผลิตส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การใช้และการ ประเมินประสิทธิภาพส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศึกษา Principles, concept, theories, designs, applications and evaluation of media, innovation, information technology for learning, information technology for communications, the practices on creates media, innovation, information technology for education, implement and evaluation of media, innovation technology for learning, using of information technology for educations

41 02-262-304 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance หลักการ แนวคิด และแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา กระบวนการ ประกันคุณภาพการศึกษา กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งช้ีในการประเมินคุณภาพการศึกษาท้ังภายในและภายนอก การ ออกแบบและการดาเนินการเก่ียวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา การใช้ผลการ ประกนั คุณภาพการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษา Principles, ideas and practices in educational quality assurance; quality assurance process, quality assurance laws, standards and indicators of internal and external education quality assurance, design and practice in educational quality assurance; using quality assurance result to improve quality of education 02-262-305 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนอาชีวศึกษา 3(2-3-5) Learning and Vocational Classroom Management ปรัชญา หลักการและกระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนความ ต้องการพิเศษ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning การจัดการเรียนรู้รูปแบบ TPACK ทักษะ วิธีการ และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การใชโ้ ปรแกรมประยุกตใ์ นการ จัดการเรียนรู้ การออกแบบและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน การประยุกต์ใช้แผนการจัดการเรียนรู้สู่การ ปฏิบตั ิการสอนในช้นั เรยี น Philosophy principles and process of learning management, child center learning management, integration learning management, learning management for special student, active learning, TPACK model, skill method and model of learning, application for learning management, design and writing learning management plan, environment building for learning and classroom management and apply learning management for teaching in classroom

42 02-262-306 การพฒั นาหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา 3(2-2-5) Vocational Curriculum Development หลักการและแนวคดิ ในการจัดทาหลักสูตรอาชีวศึกษา การพฒั นาหลกั สตู รอาชวี ศึกษา การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและหลักสูตรระยะสั้น การนาหลักสูตรไปใช้ การฝึก ประเมินหลักสตู ร การนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นาหลักสูตร Principles and concept in the vocational curriculum, vocational curriculum development, subjective curriculum and short courses development, curriculum implementation, curriculum evaluation practice, results of the evaluation are used to curriculum development 02-262-307 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 2(1-2-3) Measurement and Evaluation for Learning หลักการ แนวคิด จุดมุ่งหมาย และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การสร้างและพัฒนาคุณภาพแบบวัดผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะ พิสัย ปฏิบัติการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การนาผลการประเมินไปใช้ในการ แกป้ ัญหาและพัฒนาผเู้ รยี น Principles, ideas, aims, and practices in measurement and evaluation of learning, creation and development of cognitive, affective, and psychomotor instruments, measure and evaluate of students’ learning, using results of evaluated to solve and develop students

43 02-262-308 กลวิธีการสอนชา่ งเทคนคิ 2(1-3-3) Didactics for Technician หลักการสอนวิชาทฤษฎีช่างอุตสาหกรรม การจัดทาแผนการเรียนรู้ การสร้าง เอกสารประกอบการสอนในรายวิชาทฤษฎี หลักการสอนวิชาปฏบิ ตั ิชา่ งอุตสาหกรรม การวเิ คราะห์อาชีพ การวเิ คราะห์งาน การจัดทาแผนการเรียนรู้ในรายวชิ าปฏิบัตกิ าร การสร้างเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาปฏิบตั ิ การสรา้ งเครื่องมอื ท่ีใช้ในการวัด และประเมินผลการปฏิบัติงาน ปฏิบัติการสอนในโรงฝึกงานหรือห้องปฏิบัติการ การ วดั และประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน Principles of theoretical subjects teaching for industrial, lesson plans, teaching publications create in theoretical subjects, principles of teaching practice subjects for industrial, career analysis, job analysis, competencies lesson plans, teaching publications create in practice subjects, measurement and evaluation tools, practice teaching in the workshop or laboratory, performance measurement and evaluation 02-262-309 การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development ความหมาย แนวคิด ประเภท และแนวปฏิบัติในการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย การ ออกแบบการวิจัย การสร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การวิเคราะห์ผลการวิจัย การเขียนรายงานการ วจิ ัย การปฏบิ ตั ิการใชก้ ระบวนการวจิ ัยเพ่อื แกป้ ญั หาและพฒั นาผเู้ รียน Meaning, ideas, types and practices of research, research morals, research design, creation of innovation, and application of digital technology to utilize the learning of learners, research analysis, research reporting, perform in research process to solve and develop learners

44 02-263-311 การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหวา่ งเรยี น 1(0-6-0) Practicum สังเกตการจัดการเรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้และสื่อการสอน ออกแบบและสร้าง เครื่องมือวัดผล ทดลองสอนในสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริง ประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วม จากผ้ปู กครองและชุมชนหรือผมู้ สี ่วนได้เสยี Learning management observation, lesson plans and instructional medias development, educational assessment design, teaching practice in simulation and real-life situations, learning outcomes evaluation in theory and practice, and collaborative activity design with parents and community or stakeholders 02-263-410 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 ปฏิบัติการสอนวิชาชีพในสาขาวิชาชีพเฉพาะ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การเลือกใช้การผลิตสื่อ และนวัตกรรม ท่ีสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ การนากลวิธีการสอนช่างเทคนิคในการจัดการ เรียนรู้ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การทาวิจัยพฒั นาผเู้ รียน การนาผลการวจิ ัย มาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน การบันทึกและรายงานผลการ จัดการเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน และการสัมมนาทาง การศึกษา Professional teaching practice lesson plan management, learning process management, instructional media and innovation selection, teaching techniques for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, record and report the result of learning management, promoting and conserving culture and local wisdom, cooperative learning with guardians and communities creatively and educational seminars

45 02-263-411 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 2 ปฏิบัติการสอนวิชาชีพในสาขาวิชาเฉพาะ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียน เป็นสาคัญ จัดกระบวนการเรียนรู้ ผลิตส่ือการสอน และใช้นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับ การจัดการเรียนรู้ นากลวิธีการสอนช่างเทคนิคมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ทาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน นาผลการวิจัยมาพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ จัดทา กิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียน และเข้าร่วมสัมมนาทาง การศกึ ษา Teaching in major subjects, student- centered learning plan and activities, learning process management, instructional media and innovation selection, didactic strategy use for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, report writing of learning management result, promoting and conserving culture and local wisdom participation, cooperative learning with guardians and communities creatively, exchanging and sharing professional Learning Community and educational seminars 02-211-101 เขียนแบบวิศวกรรม 2(1-3-3) Engineering Drawing การอ่านแบบและเขียนแบบ การเขียนตัวอักษร ภาพฉาย รูปทรงเรขาคณิตประยุกต์ ภาพประกอบ ภาพตัด ภาพช้ินส่วนมาตรฐาน การเขียนภาพสเกตซ์ สัญลักษณ์ มาตรฐานในงานเขียนแบบและการกาหนดรายละเอียดของวสั ดุ พน้ื ฐานในดา้ นการใช้ คอมพิวเตอรช์ ่วยในการเขียนแบบ Reading and drawing, lettering, orthogonal projection, applied geometric shapes, assembly drawing, sectional views, standard part drawing, sketching, standard symbols in drawing, specification of materials, basic computer-aided drawing

46 02-221-103 การเขยี นแบบไฟฟา้ 2(1-3-3) Electrical Drawings สัญลักษณ์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้าตามมาตรฐานสากล การเขียนแบบแสงสว่างและ เต้ารับ การเขียนไดอะแกรมทางไฟฟ้า การเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ การใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนแบบระบบไฟฟ้า แบบแสง สว่าง แบบวิศวกรรมไฟฟ้าและไดอะแกรมทางไฟฟ้า และปฏิบัติการสอดคล้องกับ เน้อื หาการสอน Electrical engineering standard symbols, lighting and receptacle circuit drawing, electrical diagram drawing, motor control circuit drawing, computer assisted drawing such as electrical system drawing, lighting and power circuit drawing, electrical diagrams and laboratory practice related theory 02-221-105 ฝกึ ปฏบิ ัติงานไฟฟา้ 2(0-6-4) Electrical Skill Practices การพันหม้อแปลงขนาดเล็ก การตรวจหาข้ัว หาอัตราส่วนแรงดันหม้อแปลง การต่อ แบงค์หม้อแปลงเปน็ สามเฟส การพันมอเตอร์หนึ่งเฟส และการพันมอเตอร์สามเฟส ปฏิบัติงานเก่ียวกับการใช้เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในงานเดินสายในวงจรไฟฟ้า แบบต่าง ๆ เชน่ สวิตซ์ ดวงโคมและเต้ารับ ด้วยวธิ ีการเดินสายแบบเดินลอย ทอ่ รอ้ ย สาย รางเดินสาย สวิตซ์ตัดตอน แผงย่อยและตู้สวิตซ์บอร์ด การเดินระบบสายดิน การเดินสายไฟฟ้าภายนอกอาคาร งานตรวจซ่อมแก้ไข ระบบบารุงรักษาไฟฟ้า ภายในอาคารและภายนอกอาคาร Transformers winding, polarity and voltage ratio checks, transformer banking as a three-phase transformer, single-phase and three-phase motor winding, practice on the use of tools, materials, equipments in electrical circuits wiring, such as switches, luminaires, receptacles, surface-mount and conduit wiring, wire ways, disconnecting switches, panel boards, and switch boards, grounding system, outdoor wiring, indoor and outdoor electrical system repair and maintenance


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook