หลักสูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลติ (ตอ่ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
หลักสูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลติ (ตอ่ เนอ่ื ง) (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม
คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสูตรอุตสาหกรรม ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต (ต่อเนื่อง) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) ได้ดาเนินการ พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร โด ย ยึ ด ห ลั ก ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ฐ า น ส ม ร ร ถ น ะ โด ย น า ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ งส ถ า น ประกอบการมารวมกับเทคโนโลยีในอตุ สาหกรรมยุคใหม่ และไดจ้ ัดทาบนพนืนฐานของกรอบยุทศศาสตร์ ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากนนันได้ให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันกาหนดวิสัยทัศน์และ ทิศทางการพฒั นาประเทศ รวมทนังรว่ มจัดทารายละเอยี ดยุทศศาสตร์ของแผนฯ เพอ่ื มุ่งสู่ “ความมงั่ คง มั่ง ค่ัง และยั่งยืน”รวมทนังสนองต่อความต้องการของหน่วยงานทันงภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีท่ี เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว หลักสูตรฉบบั นนีมีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบณั ฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถ ปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่ีนกั เทคโนโลยีการผลิตอุตสาหกรรม และวิทยากร/ผู้ฝึกอบรมวชิ าชีพ สาขาเทคโนโลยี การผลิตในสถานประกอบการ พร้อมทนังมีคุณศรรม จริยศรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ คณะกรรมการปรับปรุงหลกั สตู ร คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ หลักสูตรฉบบั นจีน ะมีประสิทศภิ าพในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต ท่ีมีคุณภาพคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสงั คม อนั จะนาไปสกู่ ารพฒั นาประเทศชาตทิ ี่ย่ังยนื ต่อไป คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศญั บุรี
สารบัญ หนา้ ก คานา ข สารบัญ หมวดท่ี 1 8 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป 11 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสตู ร 65 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลกั สตู ร 94 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทศก์ ารสอนและการประเมิน 96 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนกั ศึกษา 98 6 การพฒั นาคณาจารย์ 103 7 การประกนั คุณภาพหลกั สูตร 104 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดาเนินการของหลกั สตู ร 110 ตารางเปรียบเทยี บหลักสตู รเดมิ และหลักสูตรปรบั ปรงุ 113 ภาคผนวก 120 ก คาสง่ั แตง่ ตันงคณะกรรมการพฒั นาหลักสูตรฯ 132 ข ประวัติ ผลงานทางวิชาการ และประสบการณส์ อนของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ค ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศญั บรุ วี า่ ด้วยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี 134 พ.ศ. 2550 140 ง ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศญั บรุ ีว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี 148 (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 จ ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศญั บรุ ีว่าดว้ ยการจดั การระบบสหกจิ ศกึ ษา 153 พ.ศ. 2550 156 ฉ ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรวี า่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น 159 พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศญั บรุ ี เรอื่ งเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ซ เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีก่อนสาเร็จ การศึกษา ฌ ตารางสรปุ การวิเคราะห์หลกั สตู รแบบสมรรถนะ สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ (ต่อเนอ่ื ง) ญ กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ
1 หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลติ (ตอ่ เนื่อง) หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 ชื่อสถาบนั อดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศัญบุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวชิ า คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม ภาควชิ าครศุ าสตร์อุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสตู ร หลกั สูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต รหัสหลักสตู ร: สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิต (ต่อเน่อื ง) ชือ่ หลกั สตู ร Bachelor of Industrial Technology Program in Production ภาษาไทย: Technology (continuing program) ภาษาอังกฤษ: 2. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชอ่ื เต็ม (ไทย): อตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ (เทคโนโลยีการผลิต) ชอื่ ย่อ (ไทย): อส.บ. (เทคโนโลยีการผลติ ) ชื่อเต็ม (องั กฤษ): Bachelor of Industrial Technology (Production Technology) ชื่อยอ่ (อังกฤษ): B.Ind.Tech. (Production Technology) 3. วิชาเอก - ไมม่ ี - 4. จานวนหน่วยกติ ที่เรียนตลอดหลกั สตู ร 82 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี (ตอ่ เนอ่ื ง) 5.2 ประเภทของหลักสูตร หลกั สูตรปรญิ ญาตรที างปฏบิ ัติการ
2 5.3 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.4 การรบั เขา้ ศึกษา รบั นกั ศึกษาไทย และนกั ศกึ ษาตา่ งประเทศที่สามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.5 ความรว่ มมือกับสถาบนั อื่น เป็นหลักสตู รเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศญั บรุ ี 5.6 การใหป้ ริญญาแก่ผสู้ าเร็จการศกึ ษา ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลักสตู ร หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. .............. หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 . สภาวิชาการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลกั สูตรตอ่ สภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุม ครนงั ที่ 11/2563 วนั ท่ี 5 พฤศจิกายน 2563 . สภามหาวิทยาลยั ฯ ให้ความเหน็ ชอบหลักสตู ร ในการประชมุ ครนงั ที่ 1/2564 วนั ท่ี 27 มกราคม 2564 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สตู รคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2552 ในปกี ารศกึ ษา 2565 8. อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศกึ ษา 8.1 นักเทคโนโลยกี ารผลิตอตุ สาหกรรม 8.2 วทิ ยากร/ผู้ฝกึ อบรมวชิ าชีพ สาขาเทคโนโลยีการผลิตในสถานประกอบการ 8.3 อาชีพอสิ ระด้านอุตสาหกรรมและการผลติ 8.4 ผ้จู ดั การ/บรหิ ารงานอุตสาหกรรมการผลิต
3 9. ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ และคณุ วฒุ ิการศึกษาของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร ชื่อ-นามสกลุ ลาดบั ตาแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวชิ าการ 1 รายการ คณุ วฒุ ิ-สาขาวิชา (ผลงานยอ้ นหลงั ภายใน 5 ป)ี ชอ่ื สถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเรจ็ การศึกษา 1 นายจิรวัฒน์ ใจอู่* จริ วฒั น์ ใจอู่, ศรไี ร จารภุ ิญโญ, ศภุ เอก ประมลู มาก, ศักดา ปลิด อาจารย์ ดอก, มนทิพย์ ล้อสุริยนต์, วิวัฒน์ สิงใส และอนินท์ มีมนต์. วศ.ม.(การจัดการวิศวกรรม), มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑติ , 2550 (2562). กระดาษศรรมชาติจากเศษเกษตรกรรมตะไคร้ผสมเส้น ค.อ.บ.(วศิ วกรรมอตุ สาหการ-ออกแบบการผลติ ), สถาบัน ใยพอลิแลคติคแอซิด. การประชุมวิชาการราชมงคลด้าน เทคโนโลยรี าชมงคล, 2541 เทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ 2019 (RMTC 2019). โรง แรมดิเอ็มเพรสเชียงใหม่ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. 30-31 พฤษภาคม 2562. น.450 – 455. 2 นายเรวตั ซอ่ มสขุ Rawat Somsuk, Itsaraphong Khaenthong, Natee Purod, อาจารย์ Somchay Poungsubsin, Anurak Sirirak, Poomjai วศ.ม. (การจัดการวิศวกรรม), มหาวทิ ยาลยั เกษมบัณฑติ , 2546 Laopong and Nuchanath Intaroj. (2019). Development ค.อ.บ.(วศิ วกรรมอตุ สาหการ), สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, to be a sustainable university by GreenMetric 2542 Ranking:a case of Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathum Thani, Thailand. 6th Asian Conference on Safety and Education in Laboratory (ACSEL) Bali, Indonesia October 31st – November 1st, 2019. pp. 17-21. 3 นายชยั รัตน์ หงษ์ทอง ชัยรัตน์ หงษ์ทอง, อภิรมย์ ชูเมฆา และศวัชชัย คาแดง. (2560). ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ) การเปรียบเทียบความสามารถการเหลาก้านมะพร้าวด้วยเครื่อง วศ.ม.(วศิ วกรรมความปลอดภัย), มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, เหลาก้านมะพร้าวกับคน. การประชุมวิชาการและนาเสนอ 2549 ผลงานวิจัยระดับชาติ ครนังท่ี 2 การวิจัย 4.0 เพ่ือการพัฒนา ค.อ.บ.(วศิ วกรรมอุตสาหการ-เช่ือมประกอบ), สถาบันเทคโนโลยี ประเทศสู่ความมั่นคง มัง่ คั่ง และยงั่ ยนื . ณ มหาวทิ ยาลยั ราชศานี ราชมงคล, 2540 จ.อบุ ลราชศานี. 26-27 กรกฎาคม 2560. น.307-314. 4 นายศวชั ชัย คาแดง ชัยรัตน์ หงษ์ทอง, อภิรมย์ ชูเมฆา และศวัชชัย คาแดง. (2560). ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ) การเปรียบเทียบความสามารถการเหลาก้านมะพร้าวด้วยเคร่ือง ค.อ.ม. (เคร่ืองกล), สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนคร เหลาก้านมะพร้าวกับคน. การประชุมวิชาการและนาเสนอ เหนอื , 2546 ผลงานวิจัยระดับชาติ ครันงที่ 2 การวิจัย 4.0 เพ่ือการพัฒนา ค.อ.บ. (วิศวกรรมอตุ สาหการ-เชอื่ มประกอบ), สถาบนั ประเทศสูค่ วามมั่นคง มงั่ คั่ง และย่ังยนื . ณ มหาวทิ ยาลัยราชศานี เทคโนโลยรี าชมงคล, 2539 จ.อุบลราชศานี. 26-27 กรกฎาคม 2560. น.307-314. 5 นายบุญสง่ จงกลณี Boonsong chongkolnee and Chaiya Praneetpongrung. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีอุตสาหการ) (2019). Comparing the Effects of Ultrasonic System of วศ.ม.(วิศวกรรมอตุ สาหการ), สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล, 2546 the EDM Process on Machining Cemented Carbide, วศ.บ.(วิศวกรรมอุตสาหการ), สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, 2540 Materials Science Forum ISSN:1662-9752, vol.950, pp195-199 doi:10.4028/www. scientific.net/MSF.950. 195@2019TransTech Publications, Switzerland หมายเหตุ * ประศานหลกั สตู ร 10. สถานทจ่ี ดั การเรียนการสอน คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศญั บุรี
4 11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพัฒนาทีจ่ าเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร 11.1 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ จากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ปัจจุบันการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ เทคโนโลยีมีผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เป็นส่วนสาคัญในการสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ ความรู้ และนวัตกรรม โดยใช้การประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลหรือข้อมูลสารสนเทศและการ ส่ือ ส ารใน ก ารเพิ่ ม ป ระสิ ท ศิภ าพ ใน ก ารบ ริห ารจัด ก ารข อ งภ าค รัฐแ ล ะเอ ก ช น ตล อ ด จน ย ก ระดั บ ให้ ประชาชนสามารถอยู่อาศัยได้ในคุณภาพชีวิตท่ีดีขนึน หลายๆภาคส่วนจึงได้มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศร่วมกับระบบการผลิตมากขนึน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับอุตสาหกรรมการ ผลิตเป็นหนึ่งในกระบวนการสาคัญในการพัฒนาสู่การเป็นอุตสาหกรรมของประเทศอย่างต่อเน่ือง ดงั นันน การพฒั นาแรงงานทีม่ ีทักษะความรู้ทางด้านออกแบบและการผลิตทงนั ในด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ ชนินส่วน ยานยนต์ ฯลฯ พัฒนาควบคู่ไปกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลผลิตที่ได้จะเป็นกาลังขับเคล่ือนท่ีสาคัญและ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงานสมัยใหมไ่ ด้ เม่ือการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารได้บรู ณาการเข้ากับเครื่องจักรกล Industrial automation และกาลังจะปฏิวัติอุตสาหกรรมโลก สร้างระบบการจัดการกระบวนการผลิตท่ีสะดวกและเพิ่ม ประสิทศิภาพการผลิตไดส้ ูงเพมิ่ ขนึน เช่อื มตอ่ เครือข่ายในรูปแบบ “Internet of Things (IoT)” ทุกหน่วย ของระบบการผลิต เช่น การผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีการพิมพ์ 3D การพัฒนา ระบบ smart grid การแพทย์สาขา telemedicine เป็นต้น ดังนันนหากอุตสาหกรรมไทย ท่ีมีจุดเด่นด้าน แรงงานท่ีมีฝีมือดีนันน อาจยังจาเป็นต้องใช้แรงงานคนเป็นส่วนสาคัญ แต่ในขณะเดียวกัน ถ้าเลือกใช้ ระบบอัตโนมัติต่าง ๆ เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงได้อย่างเหมาะสม จะสามารถช่วยต่อยอดจุดเด่นและเพิ่ม ปริมาณการผลิตได้เป็นอย่างดี สิ่งจาเป็นอย่างยิ่งคือ การมีระบบบริหารจัดการที่ดี ขับเคล่ือนด้วย นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและย่ังยืน จะต้องคานึงถึงพลังงานทดแทนก็เช่นกัน โดยในการแข่งขันสู่ตลาดโลกนนัน การพัฒนาบุคลากรเพ่ือรองรบั เทคโนโลยตี า่ ง ๆ กย็ งั เป็นส่งิ ทตี่ ้องวางกล ยุทศ์ควบคู่พร้อมกันไป (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2560) เพราะฉะนันนจาเป็นอย่างมากที่จะต้องเตรียม ความพรอ้ มในการพัฒนาทักษะของแรงงานเพือ่ ตอบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงของอุตสาหกรรม การยกระดับทกั ษะแรงงานไทยให้ตอบโจทย์ใหญ่ในยคุ เทคโนโลยีเปล่ยี นโลก (เสาวณี จันทะพงษ์ และกัมพล พรพฒั นไพศาลกลุ , 2562) กล่าวว่า “Machines are coming to take our jobs” คากล่าว นนีกาลังเป็นท่ีถกเถียงอย่างกว้างขวาง หน่วยงานวิจัยหลายแห่งคาดการณ์ถึงแนวโน้ม ที่เทคโนโลยี สมัยใหม่ทนังระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ AI IoT ที่ใช้อย่างแพร่หลายในการผลิตสินค้าบริการและใน ชวี ติ ประจาวนั วา่ จะมาทดแทนหรอื ถึงขันน ยึดครองตลาดแรงงานหรอื ไม่ ซง่ึ OECD (2018) ประเมนิ วา่ ใน อีก 15 ปีข้างหน้า 14% ของแรงงานมีความเสี่ยงสูงท่ีจะถูกทดแทนด้วยระบบอัตโนมัติ และอีก 30% เผชิญกับการเปล่ียนแปลงทักษะท่ีใช้ในการทางานอย่างมาก และรายงานล่าสุดของ Mckinsey Global Institute เดือนกุมภาพันศ์ 2562 คาดว่าประมาณคร่ึงหน่ึงของงาน (Work Activities) ท่ีเคยใช้แรงงาน จะถูกทดแทนโดยระบบอัตโนมัติ นอกจากนีนหลายประเทศท่ัวโลกต่างประสบปัญหาของการไม่สามารถ สร้างเยาวชนและคนวัยทางานให้มีทักษะการทางานและทักษะชีวิตที่สูงพอที่จะเผชิญการทางานยุค
5 เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ทาให้เราเกิดคาถามว่าตลาดแรงงานและการศึกษาและฝึกอบรมของไทยพร้อมท่ี จะรบั มือกับการเปล่ียนแปลงสภาพงานและทักษะแรงงานแห่งอนาคต 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนศรรม ท่ีนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่ การคานึงถึงความเปล่ียนแปลงด้านสังคม ซึ่งปัจจุบันท่ัวโลกได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การ ระบาดของไวรสั โคโรนา หรือ COVID-19 ส่งผลให้รฐั บาลตอ้ งใช้มาตรการที่เข้มข้นเพอื่ ควบคมุ การระบาด โดยได้เร่ิมใช้มาตรการล็อกดาวน์ เพ่ือลดโอกาสในการแพร่เชืนอจากบุคคลสู่บุคคล การทางานในรูปแบบ Work from home จึงเข้ามาตอบโจทย์รูปแบบการทางานที่ต้องปรับตามสถานการณ์วิกฤติในช่วงนีน ส่งผลให้ในอนาคตสังคมและวัฒนศรรมของการทางานจะมีรูปแบบเปลี่ยนไป การเตรียมความพร้อมด้าน เทคโนโลยีเป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งที่ช่วยให้การทางานแบบ Work from home เป็นไปอย่างราบรื่น ได้ ผลลพั ศท์ ม่ี ปี ระสิทศิภาพ ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ อีกสิ่งท่ี ช่วยตอบสนองการทางานในระยะไกลร่วมกันได้อย่างลงตัวเพื่อตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม และวฒั นศรรมทใ่ี นอนาคต นอกจากนนียังได้กาหนดความรู้ความสามารถของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยทั่วไป อย่างน้อยต้องมีความรู้ความสามารถ ดังนนี 1) ความรู้ที่ครอบคลุม สอดคล้อง และเป็นระบบในสาขา/ สาขาวิชาท่ีศึกษา และเข้าใจในทฤษฎีและหลักการที่เก่ียวข้อง 2) ความสามารถที่จะตรวจสอบปัญหาท่ี ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3) ความสามารถในการค้นหา การใช้ เทคนิคทางคณิตศาสตร์ สถิติที่เหมาะสม ในการวิเคราะห์ และแก้ปัญหาท่ีซับซ้อน 4) หลักสูตรวิชาชีพ ต้องมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทศิภาพ ในวิชาชีพนันน ๆ 5) หลักสูตร วิชาการท่ีไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึนงในผลงานวิจัยต่าง ๆ ใน สาขา/สาขาวิชานนัน ความสามารถในการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และประเมินความสาคัญของ การวิจยั ในการขยายองคค์ วามร้ใู นสาขา/สาขาวิชานันน 12. ผลกระทบจากขอ้ 11 ต่อการพัฒนาหลักสตู รและความเกยี่ วขอ้ งกับพนั ธกิจของมหาวิทยาลัย 12.1 การพัฒนาหลกั สตู ร ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนศรรม ดังกล่าว คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม จึงมีความจาเป็นต้องสร้างหลักสูตรปริญญาอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต ด้าน อุตสาหกรรมการผลิตในเชิงรุก เพ่ือรองรับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขันในอนาคต ให้ตอบสนองต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนศรรม รวมทันงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความต้องการของตลาดแรงงาน บุคลากรที่มีคุณภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตเป็นหลักสูตรท่ีมี ศักยภาพและสามารถปรับเปล่ียนได้ตามวิวฒั นาการของเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และรองรับการแข่งขัน ทางอุตสาหกรรมทนังในประเทศและต่างประเทศ โดยการผลิตบุคลากรทางอุตสาหกรรมการผลิตที่มี ศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานทนังด้านวิชาการและวิชาชีพ มีความเข้าใจใน ผลกระทบของเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตที่มีต่อสังคม รวมถึงคานึงถึงผลกระทบทางด้าน
6 สภาพแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นไปตามน โยบายและวิสัยทัศน์ของ มหาวทิ ยาลัยฯ ท่มี ุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย ผลติ บณั ฑิตทด่ี ีและเก่ง 12.2 ความเกยี่ วข้องกับพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรี จัดการศึกษาท่ีมุ่งสู่การผลิต “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ดงั เช่นที่เคยปฏิบัตมิ าตนังแต่ในอดตี จนถึงปัจจุบันและกาลังจะก้าวสู่อนาคต แตจ่ ะต่างกนั ตรงกระบวนการ ในการจัดการศึกษาให้ได้มาซ่ึงบัณฑิตนักปฏิบัตินันน จะต้องมีความเข้มข้นและเป็นรูปศรรมมากยิ่งขึนน รวมทันงเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศท่ีต้องการบุคคลดังกล่าว อย่างสอดคล้องกันคาว่า “บัณฑิต นักปฏิบัติ” ในความหมายของราชมงคลยึดเป็นแนวคิดนันนได้น้อมรับมาจาก พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของราชมงคล ในปี พ.ศ.2525 ซ่ึง มีใจความตอนหน่ึงว่า “…บัณฑิตทุก ๆ สาขา ทุก ๆ คน มีหน้าที่ท่ีสาคัญท่ีจะต้องเป็นกาลังทาประโยชน์ สร้างสรรค์ความเจริญม่ันคงให้แก่ประเทศชาติ การที่จะให้ประโยชน์หรือการสร้างสรรค์ให้เกิดข้ึนได้นั้น จะต้องลงมือทามันอย่างจรงิ จัง…” “การลงมือ” ท่ีจริงมีความหมายกวา้ งขวาง คือ หมายถึง การปฏบิ ัติ ด้วยวิธีต่าง ๆ ทุกอย่าง แต่เพราะท่ีเห็นชัดเรามักปฏิบัติด้วยมือจึงพูดเป็นสานวนว่า “ลงมือ” การลงมือ หรือการปฏิบัตินั้นข้ึนอยู่กับการท่ีสมองหรือใจส่ัง คือใจมันสั่งเมื่อไรอย่างไรก็ทาเม่ือนั้น อย่างนั้น ฉะน้ัน ถ้าใจไม่สู้ คือ อ่อนแอ ลังเล เกียจคร้าน หรือไม่สุจริต ไม่เท่ียงตรง ก็จะไม่ลงมือทา หรือทาให้มันค่ังค้าง ทาให้ชั่วให้เสียหาย เป็นการเบียดเบียนตน เบียดเบียนผู้อื่น ซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นการสร้างสรรค์ หากแต่เป็นบ่อนทาลายให้เกิดความเสียหายและเกิดโทษสุจริต นักปฏิบัติงานจึงต้องรู้จักฝึกปฏิบัติใจ ตนเองเป็นสาคัญ และเป็นเบือ้ งต้น ก่อนอ่ืนตอ้ งหัดทาใจให้หนักแน่น กล้าแข็งและเป็นระเบียบ ไม่ย่อท้อ ต่ออุปสรรค ไม่มักง่ายเห็นแก่ความสะดวกสบาย และทีสาคัญท่ีสุดจะต้องให้เท่ียงตรง เป็นกลาง และ สุจริตอยู่เสมอไม่หว่ันไหวต่ออารมณ์เคร่ืองหลอกล่อใด ๆ จึงจะช่วยให้เป็นนักปฏิบัติที่ดี ท่ีสามารถสร้าง ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง…” ความหมายของการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่ดี จึงหมายรวมถึงการปฏิบัติที่ จะต้องได้รับการฝึกฝนทนังใจและกาย และทันงจะต้องเป็นนักปฏิบัติงานที่มีหลักวิชาดีด้วย และที่สาคัญ จะต้องมีการปรับปรุงตัวเองให้มีการพัฒนาก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ใฝ่ใจศึกษาทันงทางลึกและทางกว้าง เพื่อให้บัณฑิตใช้วิชาชีพความสามารถความบริสุทศ์ิใจความฉลาดรอบคอบ สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์ สว่ นตน และประโยชนส์ ว่ นรวมได้สมั ฤทศิ์ผล อา้ งองิ จาก http://www.rmutt.ac.th/?page_id=386 13. ความสัมพันธก์ ับหลกั สูตรทเี่ ปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอื่นของมหาวิทยาลยั 13.1 กลุม่ วิชา/รายวิชาในหลักสูตรนีเ้ ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสตู รอ่นื หลักสูตรนนีมีรายวชิ าหมวดวชิ าศึกษาทั่วไปและวิชาเลือกเสรีท่ีจะต้องให้คณะ/วิทยาลัย ภายใน มหาวิทยาลยั ฯ จดั การเรียนการสอนให้ 13.2 กลมุ่ วิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรท่เี ปิดสอนใหภ้ าควชิ า/หลักสตู รอ่นื ตอ้ งมาเรียน รายวิชาในหลักสูตรเปิดโอกาสให้ นักศึกษาในคณะอื่น ๆ สามารถเลือกเรียนในรายวิชาเลือก เสรไี ด้ และคาอศิบายรายวชิ ามีความยืดหย่นุ สามารถจัดการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ
7 13.3 การบริหารจัดการ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู รของภาควิชา ประสานงานกับอาจารย์ผูแ้ ทนจากภาควิชา อื่นหรอื หลักสตู รหรือคณะอื่นที่เกย่ี วข้อง เพ่ือบริหารจัดการการเรียนการสอนให้มีผลมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นไปตามท่ีระบุในหลักสูตร รวมทนังกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของวิชาและรายงานผล การดาเนนิ การของรายวชิ า เพ่ือเป็นมาตรฐานในการติดตามและประเมนิ คุณภาพการเรียนการสอน
8 หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร 1.1 ปรัชญา บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีการผลิต ประยุกต์ใช้พัฒนาความรู้และทักษะ เชิงปฏิบัติการเพ่ือสร้างความชานาญการเฉพาะทาง ตลอดจนเป็นผู้มีจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับ ยทุ ศศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 มีคุณศรรม จริยศรรม มีสัมมาคารวะ รู้จักกาลเทศะ รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคม และทาหน้าที่เป็นพลเมืองดี มีจิตสาศารณะ และปฏิบัติตนภายใต้จรรยาบรรณวิชาชีพด้วยความซ่ือสัตย์ สจุ ริตและเสียสละ 1.2.2 มีความรู้ภาคทฤษฎีและทักษะเชิงปฏิบัติ สมรรถนะในศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม เพ่ือการประกอบวิชาชีพ ตลอดจนการบูรณาการทักษะพืนนฐานวชิ าชีพช่างอุตสาหกรรมกับเทคโนโลยีการ ผลิตอุตสาหกรรมได้ 1.2.3 มีความใฝ่รู้ในองค์ความรู้และเทคโนโลยีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถ พัฒนาองค์ความรทู้ ่ตี นมอี ยูใ่ หส้ งู ขึนน ไป เพ่อื พัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสงั คมและประเทศชาติ 1.2.4 คิดเป็น ทาเป็น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถเลือกวิศีแก้ไขปัญหา และ ประยกุ ตใ์ ช้คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรใ์ นวิชาชีพได้อยา่ งเหมาะสม 1.2.5 มีมนุษย์สัมพันศ์และมีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีทักษะในด้านการทางาน เป็นทีม สามารถบริหารจัดการการทางานไดอ้ ย่างเหมาะสม มีความเป็นผู้นาที่ดี มีจิตสานึกรักองค์กรและ เป็นผู้มีทัศนคติท่ีดีในการทางาน มีความเป็นผู้ประกอบการอิสระ มีความรู้ด้านบริหารจัดการภายใน องค์กร 1.2.6 มีความสามารถในการติดต่อส่ือสาร และใช้ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และศัพท์ทาง เทคนิคในการตดิ ตอ่ สื่อสาร รวมถึงการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้เป็นอย่างดี และสามารถถ่ายทอดความรู้ เกีย่ วกับเทคโนโลยกี ารผลิตในสถานประกอบการ 1.3 ผลลัพธก์ ารเรยี นรทู้ ่ีคาดหวังระดับหลักสตู ร (Program Learning Outcomes, PLOs) PLOs 1 : สามารถใช้ทักษะพืนนฐานวิชาชีพช่างอุตสาหกรรมทันงภาคทฤษฎีและปฏิบัติทางด้าน เทคโนโลยีการผลิต (เทคโนโลยีเครื่องมือกล/การออกแบบและสร้างชินนส่วนผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม/การ เขียนแบบเทคนิค/เทคโนโลยีเครื่องมือวัดและมาตรวิทยาเชิงกล) ตลอดจนการบูรณาการทักษะพนืนฐาน วิชาชีพชา่ งอุตสาหกรรมกบั เทคโนโลยีการผลิตอตุ สาหกรรมได้ Sub PLOs 1.1 สามารถใช้ความรู้ทันงภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เก่ียวกับพนืนฐานวิชาชีพ ช่างอตุ สาหกรรม ทกั ษะในการใชเ้ ครื่องมอื ทางด้านเทคโนโลยกี ารผลติ มาในการทางานได้ Sub PLOs 1.2 สามารถบูรณาการความรู้ทนังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เก่ียวกับพนืนฐาน
9 วิชาชีพชา่ งอตุ สาหกรรมกับเทคโนโลยกี ารผลิตอุตสาหกรรมได้ PLOs 2 : สามารถนาความรูค้ วามชานาญไปปฏิบัติงานทางดา้ นเทคโนโลยกี ารผลิต การออกแบบ การเขียนแบบ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิต การออกแบบและสร้างชินนส่วน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เทคโนโลยีการออกแบบอุปกรณ์จับยึดชินนงาน ตลอดจนสามารถต่อยอดองค์ ความรู้ที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพ่ือนาไปสู่การเป็นผู้สร้างนวัตกรรม หรือผู้ประกอบการด้าน อุตสาหกรรมการผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการ และสามารถถ่ายทอดความรู้ เกยี่ วกบั เทคโนโลยีการผลติ ในสถานประกอบการ Sub PLOs 2.1 สามารถวเิ คราะห์ประเด็นปญั หาและนาความร้ทู างดา้ นเทคโนโลยกี าร ผลิตไปปฏิบตั งิ านเกีย่ วกบั อตุ สาหกรรมการผลิตได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม Sub PLOs 2.2 สามารถนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต ไปต่อยอดองคค์ วามรู้ท่ี สอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ สามารถตดั สินใจ สามารถแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้อย่างทันถว่ งที และ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการสร้างนวัตกรรมได้ Sub PLOs 2.3 สามารถนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต การออกแบบ การ เขียนแบบ และสามารถถ่ายทอดความรูเ้ กยี่ วกบั เทคโนโลยกี ารผลติ ในสถานประกอบการ PLOs 3 : สามารถคดิ ค้น ออกแบบ วิจยั ทางด้านเทคโนโลยีการผลติ Sub PLOs 3.1 สามารถศึกษา วิพากษ์ และนาเสนอหัวข้องานวิจัยทางด้านเทคโนโลยี การผลิตได้ Sub PLOs 3.2 สามารถออกแบบงานวิจัย กาหนดสมมติฐาน วิเคราะห์และสรุป ผลงานวจิ ัยได้ Sub PLOs 3.3 สามารถเขียนรายงานและนาเสนอผลงานวจิ ยั ได้ PLOs 4 : สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ ตนเอง และสังคม สามารถช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาตนเอง กลุ่ม และระหว่างกลุ่ม ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ มีคุณศรรม จริยศรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และคานึงถึงความปลอดภัยในการ ทางาน มีความเป็นผปู้ ระกอบการอสิ ระ มีความรู้ด้านบริหารจัดการ Sub PLOs 4.1 สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี และ สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ สามารถแก้ไขปัญหาตนเอง ปญั หากลมุ่ ระหวา่ งกล่มุ ได้ และคานงึ ถงึ ความปลอดภยั ในการทางาน Sub PLOs 4.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ซ่ือสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อหน้าท่ี ตนเอง และ สงั คม มคี ุณศรรม จริยศรรม มจี รรยาบรรณทางวชิ าชพี Sub PLOs 4.3 มีความเป็นผู้ประกอบการอิสระ มีความรู้ด้านบริหารจัดการภายใน องค์กร
10 1.4 ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา (Year Learning Outcomes, YLOs) ชน้ั ปีท่ี ความคาดหวงั ของผลลัพธ์การเรยี นรู้เมือ่ สนิ้ ปีการศกึ ษา 1 สามารถใช้ทักษะพืนนฐานวิชาชีพช่างอุตสาหกรรมทนังภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ ตลอดจนการบูรณาการทักษะพืนนฐานวิชาชีพช่างอุตสาหกรรม กับเทคโนโลยีทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับอตุ สาหกรรมการผลติ ได้ 2 สามารถนาความรู้ความชานาญไปปฏิบัติงานทางด้านเทคโนโลยีการ ผลิต การออกแบบ การเขียนแบบ ตลอดจนสามารถต่อยอดองค์ความรู้ ท่ีสอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพ่ือนาไปสู่การเป็นผู้สร้างนวตั กรรม หรือผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมการผลิต เพ่ือตอบสนองความ ต้องการของสถานประกอบการ สามารถคิดค้น ออกแบบ วิจัยทางด้าน เทคโนโลยีการผลติ
9 1.5 ความเชอื่ มโยงระหวา่ งผลลพั ธ์การเรียนร้ทู คี่ าดหวังของหลกั สูตร (PLOs) ผลลพั ศก์ ารเรียนร้ทู ี่ ผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมา คาดหวงั ของหลกั สูตร (PLOs) และ SubPLOs 1.ดา้ นคุณศรรมจรยิ ศรรม 2.ด้านความรู้ 3.ดา้ นทกั ษะ ทางปญั ญา PLO 1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 3. Sub PLO 1.1 Sub PLO 1.2 √ √√ PLO 2 √√ Sub PLO 2.1 Sub PLO 2.2 √ √√ Sub PLO 2.3 √ √ √√ PLO3 Sub PLO 3.1 √ Sub PLO 3.2 Sub PLO 3.3 √√ √ PLO 4 √√ Sub PLO 4.1 Sub PLO 4.2 Sub PLO 4.3
) และผลการเรยี นรู้ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อดุ มศึกษา (TQF) าตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศึกษา (TQF) 4.ด้านทกั ษะความสัมพันศ์ 5.ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ 6.ดา้ นวิศีวทิ ยาการจดั การ ระหวา่ งบุคคล ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เรียนรู้ และความรบั ผดิ ชอบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ .4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 √ √ √√ √√ 9 √√ √√ √ √√ √ √√ √√√√ √√√ √ √√√ √ √ √ √√
10 2. แผนพัฒนาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตวั บง่ ชี้ แผนการพฒั นา/เปลีย่ นแปลง 1. ปรบั ปรุงหลักสตู รใหม้ ี 1. ตดิ ตามประเมนิ หลกั สตู รใช้ 1. รายงานผลการประเมนิ มาตรฐาน ไมต่ า่ กว่าที่ สกอ. กาหนด และสอดคลอ้ งกบั แบบสอบถามประเมนิ โดย หลักสูตร มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั ปริญญา ตรีและมาตรฐานวิชาชพี ท่ี นกั ศกึ ษา อาจารย์ บณั ฑติ 2. รายงานผลการดาเนินการ เกย่ี วขอ้ ง 2. ปรับปรุงหลกั สตู รให้ และสถานประกอบการ และประเมนิ หลักสูตร สอดคลอ้ งกับความต้องการของ สถานศึกษาและสถาน 2. ติดตามกรอบมาตรฐาน ประกอบการ คุณวฒุ ขิ องประเทศไทย 3. พฒั นาบคุ ลากรสายผู้สอนให้ มคี ุณภาพทนงั ทางวชิ าการและ 1. สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั หนว่ ยงาน ตัวบ่งชีน วิชาชีพ ภาครฐั และภาคเอกชนเพอื่ 1. รายชอ่ื หนว่ ยงานภาครฐั และ 4. ปรบั ปรงุ ปัจจัยสนบั สนนุ การ เรียนการสอน วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการและ ภาคเอกชน แนวโนม้ ความเปลีย่ นแปลงของ หลักฐาน สถานประกอบการ 2. รายงานสรุปผลการประชมุ 1. สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรสาย 1. รายงานผลการฝึกอบรม ผู้สอนได้รบั การพัฒนาในดา้ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาตอ่ ในระดับท่ี สูงขึนน การศกึ ษาดูงาน การ ฝกึ อบรมสมั มนาเพื่อเพ่ิมความรู้ และประสบการณ์ ทงนั ในประเทศ และต่างประเทศ และการขอ ตาแหนง่ ทางวิชาการ 1. สารวจความตอ้ งการของ 1. รายงานความตอ้ งการของ นกั ศึกษาและอาจารยผ์ สู้ อน นกั ศึกษาและอาจารยผ์ ้สู อน เกยี่ วกบั ปจั จัยสนับสนนุ การเรียน เกยี่ วกบั ปัจจยั สนบั สนนุ การเรยี น การสอน การสอน 2. จดั หาและจดั สรรทนุ เพอ่ื 2. รายงานครภุ ัณฑ์ ปรบั ปรงุ ปจั จยั สนบั สนุน การเรยี นการสอน เช่น วสั ดุ ครุภณั ฑ์ โสตทศั นปู กรณ์ อาคารและหอ้ งสมุดให้มคี วาม ทันสมัยและมปี ระสิทศิภาพยิ่งขึนน
11 หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลกั สูตร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหนึ่งจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษา ซ่ึงเป็นภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ต่อหน่ึงภาคการศึกษา ทนังนนีไม่ รวมเวลาสาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศัญบุรี ว่าดว้ ยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556 (ดงั ภาคผนวก ง) 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดูร้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ทันงนไนี ม่รวมเวลาสาหรับการสอบดว้ ย แตใ่ ห้มีจานวนช่ัวโมงเรียนของแต่ละวิชาเท่ากับหน่ึงภาคการศึกษา ปกติ 1.3 การเทียบเคยี งหนว่ ยกติ ในระบบทวิภาค -ไมม่ -ี 2. การดาเนินการหลักสตู ร 2.1 วนั -เวลาในดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นมถิ ุนายน – กนั ยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจกิ ายน – กมุ ภาพันศ์ ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น เดอื นมนี าคม – พฤษภาคม 2.2 คุณสมบตั ิของผู้เขา้ ศกึ ษา 2.2.1 คณุ สมบตั ขิ องผูเ้ ข้าศกึ ษา 1. ผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันนสูง (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ผลติ 2. ผู้มีคุณสมบัติอ่ืนตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรีว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรี หรือให้เป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศัญบุรี 2.2.2 วธิ ีการรบั เขา้ ศึกษา 1. ผ่านระบบระบบท่ใี ชค้ ดั เลือกบุคคลเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั อุดมศึกษา 2. ผ่านระบบโควตาของคณะและมหาวิทยาลยั 3. ผ่านระบบสอบตรงของมหาวิทยาลัย
12 2.3 ปญั หาของนักศึกษาแรกเขา้ ดว้ ยโครงสร้างเนืนอหาอนั เป็นพนนื ฐานความรทู้ ่ีสาคัญตอ่ การศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลิต โดยเฉพาะวิชาทางคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และจากการศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการ ของผใู้ ชบ้ ัณฑติ ในสถานประกอบการ มผี ลการศกึ ษาดงั นีน 1) คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตและความต้องการของผู้ใช้บัณฑติ ในสถานประกอบการ ประกอบด้วย 1.1 นิสัยอุตสาหกรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ความขยันอดทน การทางานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์ การตันงใจในการปฏิบัติงาน การใฝ่เรียนรู้ การ ประหยัด ความปลอดภัยในการทางาน 1.2 ด้านทกั ษะภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศ 1.3 ทักษะการใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการปฏบิ ตั ิงาน 1.4 ทักษะการคดิ วิเคราะห์ และจากการศึกษา จุดเด่น จุดด้อยและความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑิตต่อคุณลักษณะของบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิต ผลทไี่ ด้ดังนนี 1) จดุ เด่นของบณั ฑติ ประกอบดว้ ย 1.1 บัณฑิตมจี ติ อาสาในการทางาน มีความเสียสละ 1.2 ยอมรับพังความคดิ เหน็ ของผ้อู ืน่ 1.3 มคี วามอ่อนน้อม ใหเ้ กียรติผู้อาวุโส 1.4 มีความรับผดิ ชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2) จดุ ด้อยของบณั ฑติ ประกอบดว้ ย 2.1 ทักษะดา้ นภาษาองั กฤษ 2.2 ทกั ษะการวเิ คราะห์/การคิดอยา่ งเปน็ ระบบ 2.3 ทักษะในการปฏิบตั ิงาน 2.4 ขาดกิจนสิ ยั ในการปฏิบัติงาน ไมเ่ ก็บเครือ่ งมือเครอื่ งใช้ 2.4 กลยุทธใ์ นการดาเนินการเพอื่ แก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนกั ศึกษาในข้อ 2.3 จากผลการดาเนินงานของหลกั สูตร การศกึ ษาคณุ ลักษณะบณั ฑิตและความต้องการของผู้ใช้บณั ฑิต ในสถานประกอบการ จุดเด่นจุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ดังนันนคณะกรรมการ ผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร จึงนาเอาข้อมูลทนังหมดมาปรับปรุงพัฒนาหลกั สูตรโดยปรับรายวชิ าและกจิ กรรมใน การจัดการเรียนการสอน และได้เพ่ิมในส่วนของโครงการอบรมปรับพนืนฐานช่างอุตสาหกรรมเพิ่มเติม ให้กับนักศึกษาแรกเข้า และปรับรายวิชาเฉพาะสาขาให้สอดคล้องกับภาคอุตสาหกรรม ในการจัดทา พัฒนาหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 นนี ได้ยึดนาเอาสมรรถนะจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรฐาน คุณวุฒิวิชาชีพ มาเป็นสมรรถนะในหลักสูตร โดยได้จัดทาสมรรถนะเป็นรายปีว่านักศึกษาสามารถทา อะไรได้บ้าง และในทุกปีการศึกษาไดจ้ ัดกิจกรรมเพ่ือเสริมทักษะด้าน Soft Skill ให้กับนักศึกษาในด้าน ต่าง ๆ
13 2.5 แผนการรับนกั ศึกษาและผูส้ าเรจ็ การศึกษาในระยะ 5 ปี นักศกึ ษาระดบั ปกี ารศกึ ษา ปริญญาตรี 2564 2565 2566 2567 2568 ชนนั ปีท่ี 1 90 90 90 90 90 ชนนั ปที ่ี 2 - 90 90 90 90 รวม 90 180 180 180 180 นกั ศึกษาทค่ี าดว่าจะสาเร็จ - 90 90 90 90 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย : บาท) รายละเอยี ดรายรบั ปีงบประมาณ 2568 2564 2565 2566 2567 คา่ บารุงการศึกษาและ 2,520,000 5,040,000 5,040,000 5,040,000 5,040,000 ค่าลงทะเบียน เงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล 270,000 540,600 540,600 540,600 540,600 รวมรายรับ 2,790,000 5,580,600 5,580,600 5,580,600 5,580,600 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หน่วย : บาท) หมวดเงนิ ปีงบประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 ก. งบดาเนินการ 1. คา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากร 2,550,000 2,703,000 2,865,180 3,037,091 3,219,316 2. คา่ ใชจ้ า่ ยดาเนินงาน (ไม่รวม 3) 185,000 275,000 365,000 455,000 455,000 3. ทนุ การศกึ ษา - ---- 4. รายจ่ายระดับมหาวทิ ยาลยั 185,000 275,000 365,000 455,000 455,000 (รวม ก) 2,920,000 3,253,000 3,595,180 3,947,091 4,129,316 ข. งบลงทนุ ค่าครุภัณฑ์ 20,000 30,000 50,000 50,000 50,000 (รวม ข) 20,000 30,000 50,000 50,000 50,000 รวม (ก) + (ข) 2,940,000 3,283,000 3,645,180 3,997,091 4,179,316 จานวนนักศกึ ษา 90 180 180 180 180 ค่าใช้จา่ ยต่อหัวนักศกึ ษา 32,666.67 18,238.89 20,251 22,206.06 23,218.42 หมายเหตุ คา่ ใช้จ่ายต่อหัวนกั ศึกษา ตามระบบเหมาจา่ ย จานวน 28,000 บาทต่อปี
14 2.7 ระบบการศึกษา แบบชันนเรียน แบบทางไกลผ่านส่อื สงิ่ พมิ พ์เปน็ หลกั แบบทางไกลผ่านส่อื แพร่ภาพและเสยี งเปน็ สอื่ หลัก แบบทางไกลทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์เปน็ สื่อหลกั (E-learning) แบบทางไกลทางอินเตอรเ์ น็ต อื่น ๆ (ระบ)ุ ........................................................................................................................... 2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นข้ามสถาบันอดุ มศึกษา นักศึกษาที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาก่อน เม่ือเข้าศึกษาในหลักสูตรนนี สามารถเทียบโอน หน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 ดังภาคผนวก ง และตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศัญบุรี ว่าดว้ ยการเทยี บโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ฉ)
15 82 หนว่ ยกติ 3. หลกั สตู ร และอาจารยผ์ ู้สอน 20 หนว่ ยกิต 3.1 หลกั สตู ร (ต่อเน่อื ง) 3 หน่วยกติ 3.1.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร 6 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 6 หนว่ ยกติ 1. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 5 หน่วยกติ 1.1 กลุ่มคุณค่าแหง่ ชวี ติ และหน้าทพี่ ลเมอื ง 52 หน่วยกิต 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสื่อสาร 6 หน่วยกติ 1.3 กลุ่มวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรม 5 หนว่ ยกิต 1.4 กลุม่ บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ 1 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะ 28 หนว่ ยกิต 2.1 กลุ่มวิชาพืนนฐานวชิ าชีพ 15 หนว่ ยกิต - รายวิชาทฤษฎี 13 หนว่ ยกติ - รายวิชาปฏิบัติการ 18 หน่วยกิต 2.2 กลุม่ วิชาชพี บังคับ 6 หน่วยกิต - รายวิชาทฤษฎี 4 หน่วยกิต - รายวิชาปฏบิ ัตกิ าร 2.3 กลมุ่ วชิ าชพี เลือก 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 4. หมวดวิชาเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ นวิชาชีพ (รายวชิ าปฏบิ ัติการ)
16 3.1.3 รายวิชา
17 รายวิชา 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 20 หนว่ ยกติ 1.1 กล่มุ คุณคา่ แหง่ ชวี ติ และหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ไมน่ อ้ ยกว่า 3 หนว่ ยกติ ใหเ้ ลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 1.1.1 รายวิชาสงั คมศาสตร์ 01-110-009 การพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสงั คม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพฒั นาทีย่ ่ังยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development 1.1.2 รายวิชามนษุ ยศาสตร์ 3(3-0-6) 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชิงวิชาการ 3(2-2-5) 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing 01-210-019 การพัฒนาบคุ ลิกภาพ Personality Development 01-210-020 จิตวทิ ยาประยุกตเ์ พื่อการทางาน Applied Psychology to Work 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสอ่ื สาร ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ ใหเ้ ลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 01-320-003 สนทนาภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) English Conversation 1.3 กล่มุ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ 1.3.1 รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 หน่วยกติ ใหเ้ ลือกศึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพือ่ งานมัลติมีเดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making
18 1.3.2 รายวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และนวัตกรรม 3 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวิชา ตอ่ ไปน้ี 09-111-051 คณิตศาสตรใ์ นชีวติ ประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life 09-121-001 สถติ ิในชวี ิตประจาวนั 3(2-2-5) 09-210-003 Statistical in Daily Life 3(3-0-6) วิทยาศาสตร์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม Science, Creativity and Innovation 1.4 กลุม่ บรู ณาการและศาสตร์ผปู้ ระกอบการ ให้ศึกษา 5 หนว่ ยกติ ใหศ้ ึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 00-100-101 อัตลกั ษณ์แหง่ ราชมงคลศญั บุรี 2(0-4-2) RMUTT Identity 00-100-201 มหาวิทยาลยั สีเขยี ว 1(0-2-1) Green University 00-100-202 การคดิ เชิงออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking 00-100-301 ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 52 หน่วยกติ 3(3-0-6) 2.1 กลุม่ วิชาพ้ืนฐานวชิ าชพี 6 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 2(2-0-4) 2.1.1 รายวชิ าทฤษฎี 5 หนว่ ยกติ 1(0-2-1) 02-200-101 คณิตศาสตรพ์ นืน ฐานทางวิศวกรรม Fundamental of Engineering Mathematics 02-257-108 กลศาสตร์ของวัสดุ Mechanics of Material 2.1.2 รายวิชาปฏิบตั กิ าร 1 หน่วยกติ 02-257-178 ปฏิบตั กิ ารกลศาสตร์ของวัสดุ Mechanics of Material Practice
19 2(2-0-2) 2(2-0-2) 2.2 กลุ่มวชิ าชีพบังคับ 28 หนว่ ยกิต ใหศ้ ึกษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 2(2-0-2) 2.2.1 รายวิชาทฤษฎี 15 หนว่ ยกติ 2(2-0-4) 1(1-0-2) 02-251-309 การจัดการอุตสาหกรรม 2(2-0-4) Industrial Management 2(2-0-4) 1(1-0-2) 02-251-408 การฝกึ อบรมเพอ่ื พฒั นาบุคลากร 1(1-0-2) Training for Personnel Development 1(0-2-1) 02-251-310 วัสดุอตุ สาหกรรม 1(0-2-1) Industrial Materials 1(0-2-1) 1(0-2-1) 02-259-304 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 1(0-3-1) Computer Technology 1(0-2-1) 02-259-315 เทคโนโลยีเครอื่ งมอื กล 2 Machine Tools Technology 2 02-259-360 การศกึ ษางานอุตสาหกรรม Industrial Work Study 02-259-362 วิศวกรรมความปลอดภยั Safety Engineering 02-259-432 การออกแบบและสรา้ งชินนสว่ นผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม Design and Build Industrial Product 02-259-481 โครงการในงานอตุ สาหกรรม Industrial Projects 2.2.2 รายวชิ าปฏบิ ัตกิ าร 13 หน่วยกติ 02-251-370 ปฏิบตั ิการวสั ดอุ ตุ สาหกรรม Industrial Materials Laboratory 02-251-379 ปฏบิ ตั ิการการจดั การอตุ สาหกรรม Industrial Management Practice 02-251-378 ปฏบิ ตั ิการการฝกึ อบรมเพอื่ พัฒนาบุคลากร Training for Personnel Development Practice 02-259-370 ปฏิบตั กิ ารศกึ ษางานอุตสาหกรรม Industrial Work Study Practice 02-259-371 ปฏบิ ัตกิ ารเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ Computer Technology Laboratory 02-259-372 ปฏบิ ัตกิ ารวิศวกรรมความปลอดภยั Safety Engineering Practice
20 02-259-375 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยเี ครื่องมือกล 2 2(0-6-2) 02-259-473 Machine Tools Technology Practice 2 2(0-4-2) 02-259-477 ปฏิบตั กิ ารออกแบบและสรา้ งชินนสว่ นผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม 2(0-6-2) 02-259-480 Design and Industrial Product Build Practice 1(0-2-1) ปฏิบัตกิ ารโครงการในงานอุตสาหกรรม Industrial Projects Practice ปฏบิ ตั กิ ารการเตรยี มโครงการในงานอุตสาหกรรม Industrial Pre-Projects Practice 2.3 กล่มุ วชิ าชพี เลือก 18 หนว่ ยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ กลุ่มวิชาชีพเลือก เป็นรายวิชาที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะทางของเทคโนโลยีการผลิตที่จะผลิต บัณฑิตให้สอดคล้องกับการประกอบอาชีพ หลักสูตรได้ออกแบบให้นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาจากทันง 5 กลุม่ ทนงั นจนี ะต้องสมั พันศก์ ับสมรรถนะของหลกั สตู ร 2.3.1 กลมุ่ ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีการผลิต 02-212-106 เทคโนโลยียานยนตไ์ ฟฟ้าและไฮบรดิ 3(2-3-5) Electrical and Hybrid Vehicles Technology 02-221-102 เทคโนโลยวี ศิ วกรรมไฟฟ้า 3(2-3-5) Electrical Engineering Technology 02-259-110 เทคโนโลยีเครอ่ื งมอื 3(2-3-5) Tools Technology 02-259-111 เทคโนโลยโี ลหะวทิ ยา 3(2-3-5) Metallurgy Technology 02-259-112 เทคโนโลยวี สั ดุและการทดสอบ 3(2-3-5) Materials Technology and Testing 02-259-114 เทคโนโลยเี ครอ่ื งมอื กล 1 3(1-6-4) Machine Tools Technology 1 02-259-413 เทคโนโลยกี ารเชอ่ื ม 3(1-6-4) Welding Technology 02-259-416 เทคโนโลยแี มพ่ มิ พอ์ ตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Mold and Die Technology 02-259-418 กระบวนการผลติ ในอตุ สาหกรรมยานยนต์ 3(3-0-6) Manufacturing Process in Automotive Industry 02-259-482 โครงงานขนาดเลก็ ทางอุตสาหกรรม 2(0-6-4) Industrial Mini-Project
21 2.3.2 กลุ่มความรดู้ ้านกระบวนการออกแบบการผลิตและการควบคมุ 02-211-101 เขียนแบบวิศวกรรม 2(1-3-3) 02-251-207 Engineering Drawing 3(2-3-5) 02-251-311 การออกแบบงานเชอื่ ม 3(1-6-4) 02-251-317 Welding Design 3(2-3-5) 02-259-321 ปฏบิ ัติงาน CNC 3(1-6-4) 02-259-417 CNC Practice 3(2-3-5) 02-259-322 การเช่อื มแบบอตั โนมัติ 3(1-6-4) 02-259-423 Automatic Welding 3(1-6-4) กระบวนการออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ Computer-aided Design Process 3(2-3-5) เทคโนโลยีการออกแบบอปุ กรณจ์ บั ยึดชนนิ งาน 3(1-6-4) Jig and Fixture Design Technology 3(1-6-4) คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการออกแบบและการผลติ 3(2-3-5) Computer-aided Design and Manufacturing 3(3-0-6) คอมพิวเตอรช์ ว่ ยในการวเิ คราะห์ Computer-aided Analysis 3(3-0-6) 2.3.3 กลมุ่ ความรดู้ า้ นระบบควบคมุ การผลติ แบบอัตโนมตั ิ 02-259-331 ระบบงานอัตโนมตั ใิ นอุตสาหกรรม 02-259-332 Industrial Automation System 02-259-433 การควบคุมการผลิตแบบอตั โนมตั ิ 02-259-434 Automatic Production Control 02-281-311 เทคโนโลยเี ครอื่ งมอื กลอัตโนมัติ Automatic Machine Tools Technology เทคโนโลยีหุ่นยนตใ์ นงานอตุ สาหกรรม Industrial Robots Technology เทคโนโลยีโรงงานอจั ฉริยะ Smart Factory Technology 2.3.4 กลุ่มความรูด้ า้ นการจัดการและเพิม่ ผลผลิต 02-259-340 การวางแผนและควบคมุ การผลิต Production Planning and Control
22 02-259-341 เทคโนโลยคี วบคุมคณุ ภาพ 3(3-0-6) 02-259-344 Quality Control Technology 3(3-0-6) 02-259-345 เศรษฐศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม 3(3-0-6) 02-259-346 Industrial Economics 3(3-0-6) 02-259-361 การวิเคราะหและควบคุมคาใชจายอตุ สาหกรรม 3(3-0-6) 02-259-442 Industrial Cost Analysis and Control 3(3-0-6) 02-259-443 การจดั การสิ่งแวดลอ้ มและพลังงาน 3(3-0-6) 02-259-444 Environmental and Energy Management 3(3-0-6) 02-259-447 การยศาสตร์ 3(3-0-6) 02-259-448 Ergonomics 3(3-0-6) 02-259-449 ระบบการผลติ แบบโตโยตา้ 3(3-0-6) 02-259-463 Toyota Production Systems 3(2-3-5) 02-259-464 การจัดการโลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชน 3(3-0-6) Logistics and Supply Chain Management ระบบขนถา่ ยวัสดุ 3(2-3-5) Material Handing Systems 3(2-3-5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ 3(2-3-5) Product Development การจดั การผลิตภาพ Productivity Management การจัดทาแผนศรุ กจิ อตุ สาหกรรม Industrial Business Plan เทคโนโลยีงานบารุงรกั ษา Maintenance Technology การออกแบบโรงงานอตุ สาหกรรม Industrial Plant Design 2.3.5 กลุม่ ความรู้ด้านเคร่ืองมอื วัดอตุ สาหกรรม 02-259-351 การวดั และเครอื่ งมือวดั 02-259-354 Measurement and Instrumentation 02-259-352 การวัดทางไฟฟา้ Electrical Measurement เทคโนโลยเี ครอ่ื งมอื วดั และมาตรวทิ ยาเชิงกล Instrumentation Technology and Machanical Metrology
23 3(1-6-4) 02-259-353 กระบวนการควบคุมและการวัดทางอตุ สาหกรรม Industrial Process Control and Instrumentation 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศัญบุรี โดยไม่ซนากับ รายวิชาที่ศึกษามาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กาหนดให้ศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิต โดยได้รับความ เหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา 4. หมวดวิชาเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ในวชิ าชีพ 4 หน่วยกิต (รายวิชาปฏิบัตกิ าร) 1(0-2-1) โดยให้ศกึ ษา 1 หนว่ ยกิต 3(0-40-0) 02-000-201 การเตรยี มความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 3(0-40-0) Preparation for Professional Experience และใหเ้ ลือกศกึ ษา 3 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 02-000-202 ฝกึ งาน Apprenticeship 02-000-203 ฝกึ งานตา่ งประเทศ International Apprenticeship
24 3.1.4 แผนการศกึ ษาเสนอแนะ ปีท่ี 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 2 0 00-100-101 อตั ลกั ษณแ์ ห่งราชมงคลศัญบุรี 1 0 42 00-100-301 ความเป็นผูป้ ระกอบการ 3 x 01-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาสังคมศาสตร์ และ 21 มนุษยศาสตร์ 09-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าวิทยาศาสตร์ xx คณติ ศาสตร์ และนวตั กรรม 02-200-101 คณติ ศาสตร์พืนน ฐานทางวศิ วกรรม 3xxx 02-259-304 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 02-259-371 ปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 33 0 6 02-259-315 เทคโนโลยีเครอื่ งมอื กล 2 22 0 4 02-259-375 ปฏิบัติการเทคโนโลยเี ครอ่ื งมอื กล 2 10 3 1 02-259-360 การศกึ ษางานอุตสาหกรรม 11 0 2 02-259-370 ปฏิบตั ิการศกึ ษางานอุตสาหกรรม 20 6 2 22 0 4 รวม 10 2 1 หน่วยกิต 21 ปที ่ี 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 3 2 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร 1 3 2 25 09-xxx-xxx เลือกจากรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 0 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์ 25 วิชาชพี 02-251-310 วสั ดุอตุ สาหกรรม 21 02-251-370 ปฏิบตั ิการวัสดุอุตสาหกรรม 02-251-309 การจดั การอุตสาหกรรม 22 0 2 02-251-379 ปฏิบัติการการจัดการอตุ สาหกรรม 10 2 1 02-257-108 กลศาสตร์ของวัสดุ 22 0 2 02-257-178 ปฏบิ ัติการกลศาสตรข์ องวัสดุ 10 2 1 02-259-362 วศิ วกรรมความปลอดภัย 22 0 4 02-259-372 ปฏบิ ัติการวิศวกรรมความปลอดภยั 10 2 1 22 0 4 รวม 10 2 1 หน่วยกิต 19
25 ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาฤดูร้อน หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-000-202 ฝกึ งาน 30 รวม 3 40 0 หน่วยกิต ปที ี่ 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 1 0 00-100-201 มหาวทิ ยาลยั สเี ขียว 1 0 21 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 2 2 02-251-408 การฝึกอบรมเพ่ือพฒั นาบคุ ลากร 1 0 21 02-251-378 ปฏบิ ัตกิ ารการฝกึ อบรมเพ่อื พัฒนา บุคลากร 02 02-259-432 การออกแบบและสรา้ งชนิน ส่วน ผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม 21 02-259-473 ปฏบิ ตั ิการออกแบบและสร้างชินนส่วน ผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม 1102 02-259-480 ปฏบิ ัตกิ ารการเตรียมโครงการในงาน อตุ สาหกรรม 2042 02-xxx-xxx เลือกจากรายวิชาชพี เลือก 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาชพี เลือก 1021 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาชพี เลือก 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาชพี เลอื ก 3x x x 3x x x รวม 3x x x 3x x x หนว่ ยกติ 21 ปที ่ี 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 2 32 2 5 02-259-481 โครงการในงานอุตสาหกรรม 11 0 2 02-259-477 ปฏบิ ตั กิ ารโครงการในงานอุตสาหกรรม 20 6 2 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวชิ าชพี เลือก 3x x x 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาชีพเลอื ก 3x x x xx-xxx-xxx เลือกจากวชิ าเลือกเสรี 3x x x xx-xxx-xxx เลอื กจากวิชาเลอื กเสรี 3x x x หนว่ ยกิต รวม 18
26 3.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา 01-110-009 การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality ปรัชญาและหลักศรรมในการดารงชีวิตของบุคคลการสร้างแนวคิดและเจตคติของตนเอง หลักศรรมในการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคล หลักการ บริหารและการพัฒนาตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เทคนิคการครองใจคน หลักการพัฒนางานให้มปี ระสิทศิภาพ คณุ ศรรม จริยศรรมและจรรยาวิชาชีพ Philosophy and Dharma principles in daily life, creating their own ideas and attitudes, Dharma principles of creating life quality, individuals’ roles and responsibilities, management principles and self-development, participation in social activities, techniques of winning the one’s hearts, principles for effective job development, ethics and codes of conduct 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอ่ื การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกิจแบบย่ังยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนาไปสู่การ พัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ไขปัญหา เศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณตี วั อย่างเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีประสบความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency-economy activities in Thailand 01-210-017 การค้นควา้ และการเขียนรายงานเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing วิศกี ารคน้ คว้าสารสนเทศ การเขา้ ถึงและรวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศ การประเมนิ การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์สารสนเทศ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การอ้างอิงและ บรรณานุกรม Searching for information, having access to and collecting information resources, evaluating, analyzing, and synthesizing information, writing academic reports, references, and bibliographies
27 01-210-019 การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3(2-2-5) Personality Development ความหมายและความสาคัญของการพัฒนาบุคลิกภาพ ความแตกต่างระหว่างบุคคล การ วเิ คราะห์และการประเมินบุคลิกภาพ ความฉลาดทางอารมณ์ การปรับตัวในสังคมปัจจุบัน การเสริมสร้างสุขภาพจิต การพัฒนาเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อ่ืน การสื่อสารและมนุษย์ สมั พนั ศ์ การพัฒนาบุคลกิ ภาพทางกาย การแสดงออกอยา่ งเหมาะสมและมารยาทสังคม Definition and the importance of personality development, individuals’ differences between , analyzing and assessing personality, emotional intelligence, self-adjustment in present society, mental health development, developing attitudes towards oneself and others, transaction and relationship, development of appearance, assertiveness, social manners 01-210-020 จิตวิทยาประยกุ ตเ์ พ่ือการทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work ความรู้เบืนองต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาประยุกต์เพื่อการทางาน ปัจจัยทางจิตวทิ ยาที่มีผลกระทบ ต่อพฤติกรรมการทางาน การพัฒนาตนเพ่ือการทางานท่ีมีประสิทศิภาพ แรงจูงใจในการ ทางาน การจัดการความเครียดจากการทางาน กลุ่มและทีมงาน การบริหารความขัดแย้ง รูปแบบภาวะผู้นาสมัยใหม่ องค์การ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ กลยุทศ์ในการ เสรมิ สร้างประสทิ ศผิ ลขององคก์ าร สภาพแวดลอ้ มและสุขภาพในการทางาน Introduction to applied psychology to work, psychological factors affecting work behavior, self-development for effective work, work motivation, work stress management, groups and teamwork, conflict management, modern leadership style, organization, human resource management in organization, strategies to enhance organizational effectiveness, work environment and health 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการบอกข้อมูลเก่ียวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความสนใจ การสนทนาสันนๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสนันๆ การฟังและอ่านข้อความ สนนั ๆ จากสอ่ื ตา่ งๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts
28 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศพั ท์ สานวน ภาษาท่ใี ช้ในการเล่าเรื่อง อศบิ าย และให้เหตผุ ล การสนทนาอย่างต่อเนือ่ ง ในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายสนันๆ การฟังและการอ่านเนืนอหา ในเร่ืองที่เกีย่ วข้องจากสอ่ื Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) English Conversation คาศัพท์ สานวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเหมาะสมกับ วฒั นศรรมของเจา้ ของภาษา Vocabulary, expressions and language patterns appropriately used in various situations according to the native speaker’s culture 09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พนืนฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรมประมวลผล คา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้อินเทอร์เน็ตและการ สื่อสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูล จดหมาย อิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่องเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรู้ ทั่วไปเกย่ี วกบั โลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), Presentation (Microsoft PowerPoint), Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e-mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World
29 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเร็จรูปเพือ่ งานมลั ติมีเดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พนืนฐานด้านเทคโนโลยีส่ือประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคล่ือนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการสื่อประสม เช่น โปรแกรมจัดการ ภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์ โปรแกรมสร้าง ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดิโอ โปรแกรมแปลงไฟล์ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานสื่อประสม และการเผยแพร่ผลงานสอื่ ประสมบนอนิ เทอร์เนต็ Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file conversion software, multimedia presentation software, and multimedia publishing on the internet 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making ความรู้พนืนฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น โปรแกรมตารางคานวณขนันสูง โปรแกรมทาง สถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิก รวมถึงเคร่ืองมืออานวยความ สะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน เพ่ือนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อ การตดั สินใจได้อย่างมปี ระสทิ ศภิ าพ Basic knowledge and theories of decision-making application of software or information system for decision-making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking 09-111-051 คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life การคานวณทางคณิตศาสตร์ขันนพืนนฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี ความสาคัญของการออม เงนิ เป้าหมายการออม การวางแผนใช้จ่ายและการออมอย่างมีประสิทศิภาพ Basic mathematical calculations, ratio, percentages, taxes, essential of saving money, savings goals, effective spending and saving plan
30 09-121-001 สถติ ใิ นชวี ิตประจาวัน 3(2-2-5) Statistical in Daily Life ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจาวัน สถิติในสังคมมนุษย์ การเก็บรวบรวม ข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล การหาตัวแทนข้อมูล การหาตาแหน่งและการกระจายของ ข้อมูล การแปลความหมายและสรุปข้อมูล การนาเสนอข้อมูลที่เหมาะสมกับคุณลักษณะ ของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมทางสถิติ Meaning and the role of statistics in daily life, statistics in human society, data collection and data validation, information agent, position measurement and distribution measurement, interpretation and summary data, data characteristics and means of presentation, use of statistical software for data analysis 09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเปน็ ระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการ ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และส่ือที่หลากหลาย เพื่อนาไปสู่การ พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม วิศวกรรมและอุตสาหกรรม สมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน ส่ิงแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการ เปลี่ยนแปลง เพ่ือการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development
31 00-100-101 อัตลกั ษณ์แหง่ ราชมงคลธญั บรุ ี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและ สังคม การมีจิตใจริเร่ิม การเร่ิมต้นทางานท่ีมีเป้าหมายชัดเจน การลาดับความสาคัญของ งาน และความรับผิดชอบต่องานอย่างมืออาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ การมีจิตสาศารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่นภายใต้กฎระเบียบและหลักการปกครองระบอบ ประชาศิปไตย หลักในการใช้ชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizing things, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวิทยาลัยสเี ขียว 1(0-2-1) Green University วิศีปฏิบัติตนเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีความ รับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึกรับผิดชอบ การ แบ่งปนั และชว่ ยเหลือสังคม การตระหนักและมวี สิ ัยทัศนท์ ีด่ ตี อ่ สงั คมและส่ิงแวดล้อม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking กระบวนการคิดเชิงออกแบบท่ีมุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือ นวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ สร้างไอเดียที่หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพื่อทดลองและทดสอบ ความคดิ ทางนวัตกรรมที่เกดิ ขนึน Human-centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions
32 00-100-301 ความเปน็ ผู้ประกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาศุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จ การจัดทาแบบจาลอง ศุรกจิ Business trends and concept, development of entrepreneur charac-teristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 02-200-101 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐานทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) Fundamental of Engineering Mathematics ฟังช่ันตรีโกณมิติ ลิมิต ความต่อเน่ือง ความน่าจะเป็น อนุพันศ์ อนุพันศ์ย่อย ปริพันศ์และ เทคนิคการหาปริพันศ์ ปริพันศ์จากัดเขต ปริพันศ์หลายชนันและการประยุกต์ สมการเชิง อนุพันศ์ เมทริกซ์ และการประยกุ ต์ทางวิศวกรรม Trigonometry function, limits, continuous, probability, derivatives, partial derivatives, integrations and techniques of integrations, definite integral, partial derivatives and applications, differential equations, matrix, and engineering applications 02-257-108 กลศาสตร์ของวัสดุ 2(2-0-4) Mechanics of Material ความเค้นและความเครียด ความสัมพันศ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ความเค้นท่ี เกดิ จากอณุ หภมู ิ ภาชนะอัด ความดนั และการเชอื่ มต่อ การบดิ ตวั ของเพลาตนั และเพลา กลวง การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การคานวณหาค่าความเค้นดัด และความเคน้ เฉือนในคาน พร้อมทงัน หาคา่ ระยะโกง่ ท่เี กิดขึนน ในคานโดยใชว้ ศิ ีอ่นื ๆ Stress and strain, relationship between stress and strain, temperature stress, pressure vessel and welded joint, torsion of shafts and hollow shafts, shear force and bending moment diagram, calculation of stress and shear stress in beams and defection in beams
33 02-257-178 ปฏิบตั ิการกลศาสตร์ของวสั ดุ 1(0-2-1) Mechanics of Material Practice การวิเคราะห์ความเค้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ความแข็งแรงโดยอาศัย ระเบียบวิศีไฟไนต์เอลิเมนต์ การวิเคราะห์ความเค้นจากอุณหภูมิ การวิเคราะห์ความเค้น งานผนังบาง การวเิ คราะห์หาระยะโก่งและการวเิ คราะหง์ านโครงสร้าง Stress analysis with computer program, strength analysis by Finite Element Method, temperature stress analysis, thin wall analysis, displacement analysis, frame and truss analysis 02-251-309 การจดั การอุตสาหกรรม 2(2-0-2) Industrial Management การจัดการโครงสร้างองค์กร อานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบ การจัดการบุคลากร การ วางแผนและการควบคุม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงสร้างสรรค์ การส่ือสารและภาวะ ผู้นาในองค์กร ความสัมพันศ์ของบุคลากรในการทางาน การจูงใจและขวัญกาลังใจในการ ทางาน การสอนงาน การทางานเป็นทีม เทคนิคการส่ังงานและตดิ ตามงาน เทคนคิ การเป็น หัวหน้างาน เทคนิคการรายงานและประเมินผล การประเมินค่าในการจัดการองค์กร อุตสาหกรรมและการจดั การความขดั แยง้ และการประสานงาน Organization structure management, authority and responsibility, personnel management, planning and controlling, creative human resourse development, communication and leaderships in organization, human relations in the workplace, work motivation and moral, coaching and team work, work assignment and follow-up, leadership techniques, report and evaluation techniques, industrial organization management cost estimation and conflict and co-operation management 02-251-408 การฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาบุคลากร 2(2-0-2) Training for Personnel Development การพัฒนาบุคลากรในองค์กร การจัดการสัมมนาและฝึกอบรม การวิเคราะห์งาน การจัดทาเอกสาร กลยุทศ์การสอนงานและการแนะนางาน การมอบหมายงาน การสงั่ งานและตดิ ตามงาน การจัดทารายงาน และการประเมินผล Human resources development in organization, seminar and training management, job anaylysis, document preparation, coaching strategies and work introduction, work assignments and follow-up, reports and evaluation
34 02-251-310 วสั ดอุ ตุ สาหกรรม 2(2-0-2) Industrial Materials วัสดุในงานวิศวกรรม โลหะและอโลหะ โพลิเมอร์ เซรามิก แอสฟัสต์ ไม้ คอนกรีต วัสดุ ผสม และวัสดุสังเคราะห์ท่ีเกิดขึนนใหม่ในงานอุตสาหกรรม มาตรฐานที่เกี่ยวกับวัสดุ การ วิเคราะห์คุณสมบัติ การทดสอบวัสดุวิศวกรรม การวิเคราะห์เฟสไดอะแกรม การศึกษา คุณสมบัติด้านโครงสร้างหยาบและละเอียด การกัดกร่อน จุดกาเนิดความเสียหาย การ ตรวจสอบและป้องกัน การเลือกใชว้ ัสดุท่ีเหมาะสมวัสดทุ ี่มีผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม และ หลกั การประเมินผลวัฏจักรชีวิตของผลิตภณั ฑเ์ บอนื งต้น Engineering materials, metals and non-metals, polymers, ceramics, asphalt, wood, concrete, composite materials and new synthetic materials in industrial work, material standards, property analysis, engineering material testings, phase diagram analysis, structure properties study, corrosion, damage origin, inspection and prevention, selecting appropriate material that affect on the environment and basic life cycle assessment (LCA) principle 02-259-304 เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ 2(2-0-4) Computer Technology การบริหารข้อมูล การใช้อินเทอร์เน็ต การส่ือสารสมัยใหม่ และการนาเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบันมาใช้ในงานอุตสาหกรรม การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการ บริหารจัดการ ด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความปลอดภัย ของระบบคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์และใช้โปรแกรมสาเร็จรูปพนืนฐานในการพิมพ์ การสร้างตารางจัดเก็บข้อมูล เช่ือมโยงข้อมูล การนาเสนองานด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป เทคนิคการค้นคว้าข้อมลู และการประยุกตใ์ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นงานอุตสาหกรรม Information management, internet use, modern communication, application of current information technology in industrial work, applications of information technology in software and hardware management, computer network system, security of computer systems, uses of computers and basic software programs for printing, creating storage data table, data linkage, presentation by computer programs, data searching technique, and computer applications in the industrial work
35 02-259-315 เทคโนโลยีเคร่ืองมือกล 2 1(1-0-2) Machine Tools Technology 2 การกัด การเจียระไน ความเร็วตัด อัตราป้อน อัตราการเกิดเศษของการกัดและการ เจียระไน เคร่ืองกัด ดอกกัด วิศีการกัดงานแบบต่างๆ หัวแบ่ง เครื่องเจียระไนและหิน เจยี ระไน และวิศกี ารเจียระไนแบบตา่ งๆ Milling, grinding, cutting speed , feed rate, chis rate of milling and grinding, milling machine, milling cutter, various milling methods, division heads, grinding machines and grinding stone , and various grinding methods 02-259-360 การศกึ ษางานอตุ สาหกรรม 2(2-0-4) Industrial Work Study การเพ่ิ ม ผลผลิ ตองค์ป ระกอบ ของเวลาที่ ใช้ท างาน ห นึ่ งๆ ให้ สาเร็จ เท คนิ ค ในการบันทึกข้อมูล และเทคนิคในการตนังคาถาม แผนภูมิการผลิตแบบสังเขป แผนภูมิ การผลิตแบบต่อเนื่องประเภทคน วัสดุและเครื่องจักร แผนภูมิทวีคูณ แผนภูมิการ เคลื่อนท่ี แผนภูมิสายใย และแผนภูมิสองมือ หลักการเคลื่อนที่ อย่างมีประสิทศิภาพ การสุ่มงานการหาเวลามาตรฐานแบบต่างๆ และประโยชน์ของการสุ่มงานและเวลา มาตรฐาน Productivity improvement, components of working time, data collection technique, questioning technique, outlined process chart, man, material and machine flow process chart, multi-chart, motion chart, network diagram, two-hand chart, motion economy, work sampling, standard time calculations and advantages of work sampling and standard time 02-259-362 วิศวกรรมความปลอดภยั 2(2-0-4) Safety Engineering สาเหตุและความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุ อันตรายและการควบคุมอันตรายจาก เคร่ืองจักรไฟฟ้า หม้อไอนนาและภาชนะทนความดัน การขนถ่ายวัสดุ ความร้อน แสง เสียง การสั่นสะเทือน รังสี สารเคมี ชีวภาพ การป้องกันและระงับอัคคีภัย ระบบระบายอากาศ การประเมนิ อันตรายความเสย่ี งและการบริหารงานด้านความปลอดภัย Cause and loss due to accident, hazard and hazard control of electrical machines, boiler, pressure vessel, material handling, heat, light, sound, vibration, radiation, biochemical, fire protection and extinction, ventilation systems, risk assessments and safety management
36 02-259-432 การออกแบบและสรา้ งช้นิ ส่วนผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม 1(1-0-2) Design and Build Industrial Product การเขียนแบบท่ีสมบูรณ์ การใช้โปรแกรมช่วยงานออกแบบชนินส่วนอุตสาหกรรมและ ผลิตภัณฑ์ โดยใช้หลักการออกแบบ 3 มิติ รูปทรงตัน, พืนนผิว, การจาลองการประกอบ, การวิเคราะห์ความแข็งแรงเบนืองต้น การจาลองการทางานของชินนส่วนประกอบ การ สร้างแบบสั่งงานท่ีถูกต้อง การให้รายละเอียดแบบท่ีจาเป็นและครบถ้วน และการสร้าง ชินนสว่ นตน้ แบบจากหลกั การของวิชาการต่าง ๆ Completed working drawing, application of computer-aided design program for industrial parts based on 3D model , solid shape, surface, assembly simulation, basic strength analysis, simulation of assembly parts, correct working drawings creation, providing the necessary and completedrawing details and building a prototype based on various theoretical principle 02-259-481 โครงการในงานอตุ สาหกรรม 1(1-0-2) Industrial Projects วิชาบังคับกอ่ น : 02-259-280 ปฏิบัติการการเตรยี มโครงการในงานอตุ สาหกรรม Prerequisite : 02-259-280 Industrial Pre-Projects Practice การจัดทาโครงการในงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การวางแผนการดาเนินโครงการ, ขอบเขตในการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขต วิศีการแก้ไขปัญหา ผลท่ีคาดว่าจะได้รับและปฏิบัติการดาเนินโครงการตามแผนการ ดาเนินงานทีว่ างไว้ สรปุ ผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ การจดั ทาเปน็ รูปเล่ม Creating project in industrial technology, project planning, scope of problem study and analysis, specifying target, objective, scope of work, problem solving method, expected outcomes and project operation according to established project plan, project summary and recommendations and project report
37 02-251-370 ปฏบิ ตั ิการวัสดุอุตสาหกรรม 1(0-2-1) Industrial Materials Laboratory ปฏิบัติการเก่ียวกับการทดสอบวัสดุวิศวกรรม การวิเคราะห์เฟสไดอะแกรม การศึกษา คุณสมบัติด้านโครงสร้างหยาบและละเอียด การกัดกร่อน จุดกาเนิดความ เสียหาย การ ตรวจสอบและป้องกัน และการเลือกใช้วัสดุท่ีเหมาะสมวัสดุท่ีมี ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม หลักการประเมนิ ผลวัฏจักรชวี ติ ของผลิตภัณฑ์เบอืน งต้น Practice on engineering material testings, phase diagram analysis, structure properties study, corrosion, damage origin, inspection and prevention, selecting appropriate material that affect on the environment and basic life cycle assessment (LCA) principle 02-251-379 ปฏบิ ตั กิ ารการจดั การอุตสาหกรรม 1(0-2-1) Industrial Management Practice ปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการโครงสร้างองคก์ ร อานาจหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ การจัดการ บุคลากร การวางแผน การควบคุม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงสร้างสรรค์ การส่ือสาร และภาวะผนู้ าในองคก์ ร Practice on organization structure management, authority and responsibility, personnel management, planning, controlling, creative human resourse development, communication and leaderships in organization 02-251-378 ปฏบิ ัติการการฝึกอบรมเพอ่ื พฒั นาบคุ ลากร 1(0-2-1) Training for Personnel Development Practice ปฏิบัติเก่ียวกับด้านการพัฒนาบุคลากรในองค์กร เช่น การจัดการสัมมนาและฝึกอบรม การวิเคราะห์งาน การจัดทาเอกสาร วางแผนการสอนงานและการแนะนางาน การ มอบหมายงาน การสั่งงานและตดิ ตามงาน การจดั ทารายงาน และการประเมินผล P ra c tic e s on h uman resources development in organization su c h a s seminar and training management, job anaylysis, document preparation, coaching strategies and work introduction, work assignments and follow- up, reports and evaluation
38 02-259-370 ปฏิบตั กิ ารศึกษางานอุตสาหกรรม 1(0-2-1) Industrial Work Study Practice ปฏิบัติเก่ียวกับการวิเคราะห์ปัญหา หลักการเพ่ิมผลผลิต การวิเคราะห์ความสูญเสีย องค์ประกอบของเวลาที่มีผลต่อการผลิต เทคนิคการเพ่ิมผลผลิตโดยการลดความสูญเสีย การผลติ แบบลนี Practice on problem analysis, productivity improvement principles, loss analysis, elements of time affecting production, productivity improvement techniques by reducing losses and lean production 02-259-371 ปฏบิ ัตกิ ารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 1(0-3-1) Computer Technology Laboratory ปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารข้อมูล การเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตของอุปกรณ์ การประมวลผล และเกบ็ ข้อมูลระบบออนไลน์ เทคโนโลยีเสมือนจริงและการขนึนรปู ชนินงานด้วยเนอืน วสั ดุ การ นาเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบันมาใชใ้ นงานอุตสาหกรรม Practices on data management, Internet of thing, online processing and storage, augmented reality and additive manufacturing technology and applying current information technology in industrial work 02-259-372 ปฏิบตั กิ ารวิศวกรรมความปลอดภัย 1(0-2-1) Safety Engineering Practice ปฏิบัติการวิเคราะห์สาเหตุและความสูญเสียเน่ืองจากอุบัติเหตุ อันตรายและการควบคุม อันตรายจากเครื่องจักรไฟฟ้า หม้อไอนนา ภาชนะทนความดัน การขนถ่ายวัสดุ ความร้อน แสง เสียง การสั่นสะเทือน รังสี สารเคมีชีวภาพ การป้องกันและระงับอัคคีภัย ระบบ ระบายอากาศ การประเมินอันตรายความเสี่ยงและการบริหารงานด้านความปลอดภยั Practice on cause and loss analysis due to accidents, hazard and hazard control of electrical machines, boiler, pressure vessel, material handling, heat, light, sound, vibration, radiation, biochemical, fire protection and extinction, ventilation systems, risk assessments and safety management
39 02-259-375 ปฏิบัตกิ ารเทคโนโลยีเครอ่ื งมอื กล 2 2(0-6-2) Machine Tools Technology Practice 2 ปฏิบัติเก่ียวกับการใช้เครื่องกัด การใช้เคร่ืองเจียระไน ความเร็วตัด อัตราป้อน อัตราการ เกิดเศษของการกัดและการเจียระไน เครื่องกัด ดอกกัด การกัดงานแบบต่างๆหัวแบ่ง เคร่อื งเจียระไนและหินเจียระไน การเจียระไนแบบตา่ งๆ Practice on milling machine, grinding machine, cutting speed , feed rate, chis rate of milling and grinding, milling machine, milling cutter, various milling methods, division heads, grinding machines and grinding stone, and various grinding methods 02-259-473 ปฏิบัตกิ ารออกแบบและสร้างชิ้นส่วนผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม 2(0-4-2) Design and Industrial Product Build Practice ปฏิบัติเก่ียวกับการเขียนแบบที่ถูกต้อง การใช้โปรแกรมช่วยงานออกแบบชินนส่วน อุตสาหกรรมและผลิตภณั ฑ์ โดยใชห้ ลักการออกแบบ 3 มิติ P ra c t ic e on completed working drawing, application of computer-aided design program for industrial parts based on 3D model 02-259-477 ปฏบิ ตั กิ ารโครงการในงานอตุ สาหกรรม 2(0-6-2) Industrial Projects Practice ปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทาโครงการในงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม การวางแผนการดาเนิน โครงการ ขอบเขตในการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขต วิศีการแก้ไขปัญหา ผลที่คาดว่าจะได้รับและปฏิบัติการดาเนินโครงการตาม แผนการดาเนินงานท่ีวางไว้พร้อมสรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ และการจัดทา เป็นรปู เล่ม Practice on creating project in industrial technology, project planning, scope of problem study and analysis, specifying target, objective, scope of work, problem solving method, expected outcomes and project operation according to established project plan, project summary and recommendations and project report
40 02-259-480 ปฏบิ ตั ิการการเตรียมโครงการในงานอุตสาหกรรม 1(0-2-1) Industrial Pre-Projects Practice ปฏิบัติเก่ียวกับการวิเคราะห์ปัญหา กาหนดเป้าหมาย จุดประสงค์และขอบเขตของ โครงการ การวางแผน การดาเนินงานโครงการ วิศีการเขียนโครงการ ประโยชน์ที่ได้รับ ของโครงการ ตลอดจนการประเมนิ โครงการ P ra ctice o n problem analysis, specifying target, objectives and scope of project, project planning and operation, project proposal writing method, project expected advantages and evaluation 02-212-106 เทคโนโลยยี านยนตไ์ ฟฟ้าและไฮบรดิ 3(2-3-5) Electrical and Hybrid Vehicles Technology พืนนฐานและหลักการทางานของยานยนต์ไฟฟ้า โครงสร้าง ตัวถังและส่วนประกอบ ระบบ การจัดการระบบไฟฟ้า (BMS) ระบบขับเคล่ือนและส่งกาลัง แบบมอเตอร์ไฟฟ้า แบบยาน ยนต์ไฮบริด (HEV) ยานยนตไ์ ฮบริดทใ่ี ชพ้ ลังงานไฟฟ้าจากสายส่งพลังงานภายนอก (PHEV) ยานยนต์ท่ีใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ (BEV) ยานยนต์เซลล์เชนือเพลิง (FCEV) แบตเตอร่ีที่ใช้ ในยานยนต์ไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (Supervisory ECU) ระบบการ ประจุไฟฟ้า รวมทนังส่งถ่ายข้อมูล (CAN BUS) และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การ บารุงรักษา การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขข้อขัดข้องยานยนต์ไฟฟ้า และปฏิบัติการ สอดคลอ้ งกบั เทคโนโลยียานยนตไ์ ฟฟา้ และไฮบรดิ Basic and working principle of electrical vehicles, structures, chassis and components, battery management system (BMS), drive and power transmission systems; electric motor hybrid electric vehicles (HEV), hybrid vehicles that use electrical energy from external power lines (PHEV), vehicles that use battery power (BEV), Fuel Cell Electric Vehicle (FCEV), batteries used in electric vehicles, inverter, electronic control unit (Supervisory ECU), electric charging system including the transmission of data (CAN BUS) and safety in practice, maintenance, problems analysis and diagnostics problems solving in electric vehicles and practices on electrical and hybrid vehicles technology
41 02-221-102 เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า 3(2-3-5) Electrical Engineering Technology ทฤษฎพี ืนนฐานของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ เคร่ืองมือและวิศกี ารวัดทางไฟฟ้า หลกั การเปล่ียนพลงั งานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเบนืองต้น การติดตงัน ไฟฟ้าภายในอาคาร มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า และปฏิบัติการสอดคล้องกับ เทคโนโลยวี ิศวกรรมไฟฟ้า Basic theory of DC and AC circuits, electrical apparatus and measurement method, principle of transforming electricity into mechanical energy, basic electric motor control, installation of indoor electricity, Electrical safety standards and practices on electrical engineering technology 02-259-110 เทคโนโลยเี ครือ่ งมือ 3(2-3-5) Tools Technology พนืนฐานงานวิศวกรรมเคร่ืองมือ มาตรฐานในการเขียนแบบวัสดุ พิกัดความเผื่อในการ ประกอบชินนส่วน รวมทนังกรรมวิศีการผลิตทางวิศวกรรมทันงทางทฤษฎีและหลักการ ออกแบบเคร่ืองมือในงานวิศวกรรมการผลิตได้แก่ เคร่ืองมือตัด อุปกรณ์นาเจาะและจับ งาน แม่พิมพ์โลหะ แม่พิมพ์พลาสติก เครื่องมือในงานเคร่ืองมือกลขันนสูงตลอดจน เศรษฐศาสตร์ในงานวิศวกรรมเคร่ืองมือ และปฏิบัติการสอดคล้องกับเนืนอหาเทคโนโลยี เครือ่ งมอื Basic engineering tools, standard of material drawing, tolerances in part assembly, including engineering manufacturing processes both theoretical and principle of manufacturing tools design such as cutting tool, jig and fixture, metal mold , plastic mold and advanced machine tools as well as economics in engineering tools and practice on tools technology
42 02-259-111 เทคโนโลยีโลหะวิทยา 3(2-3-5) Metallurgy Technology อุปกรณ์และเครื่องมือท่ีใช้ในทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะ โครงสร้างของ โลหะและการเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ คุณสมบัติของโลหะประสม แผนภูมิ สมดุล แผนภูมิของเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์ การอบชุบโลหะเหล็กหล่อและคุณสมบัติและ ปฏิบัติการสอดคลอ้ งกบั เนนอื หาเทคโนโลยโี ลหะวิทยา Equipment and tools used in the metallurgy, mechanical properties of metals, structure of metal and crystallization, metal deformation, properties of metal compounds, equilibrium diagram, steel-carbide steel diagram, cast iron metal heat treatment and property including practice on metallurgy technology 02-259-112 เทคโนโลยีวัสดุและการทดสอบ 3(2-3-5) Materials Technology and Testing วัสดุท่ีใช้ในอุตสาหกรรม โลหะ อโลหะ กระบวนการผลิตและสมบัติของวัสดุ แผนภาพ สมดลุ โครงสร้างมหภาคและจุลภาคของวัสดุ การเลือกใช้วสั ดุในงานอุตสาหกรรม หลักการ ของการทดสอบสมบัติวัสดุ ปฏิบัติการทดสอบวัสดุได้แก่ การทดสอบแรงดึง แรงเฉือน แรงอัด การทดสอบความแข็ง การทดสอบแรงกระแทก การทดสอบแรงบิด การทดสอบ ความล้า การทดสอบแบบไม่ทาลายแบบต่างๆ เช่น การทดสอบด้วยสารแทรกซึม คลื่น เสียงอลั ตราโซนกิ ส์สนามแมเ่ หลก็ Industrial materials, metals and non-metals, production processes and properties of materials, phase equilibrium diagrams, macro and micro structures of materials, industial materials selection, principle of material properties testing, material testing laboratories on tensile, shear, compressive strength, hardness, impact, torsion, fatigue, non-destructive testing including penetrant, ultrasonic, magnetic testings
43 02-259-114 เทคโนโลยีเคร่ืองมือกล 1 3(1-6-4) Machine Tools Technology 1 การสร้างชินนส่วนเคร่ืองมือกลด้วยการเลือกใช้เคร่ืองมือกลและอุปกรณ์ช่วยงานตาม ความ เหมาะสมตามลักษณะงานโดยเน้นการสร้างชนินส่วนเฟืองต่างๆ เพลาส่งกาลัง เพลาเรียว มาตรฐาน เกลียวแบบพิเศษ เกลียวหลายปาก เกลียวส่งกาลัง การวัดและตรวจสอบ ชินนส่วนท่ีสร้างด้วยเครื่องมือวัดละเอียดที่ได้มาตรฐานการประกอบและ ปรับแต่งชนินส่วน ศึกษาและวิเคราะห์งานท่ีทาเมื่อเกิดปัญหาพร้อมทนังบารุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ และจัดทาชินนสว่ นเคร่อื งมอื กลท่ีชารุดเพ่ือทดแทน Building mechanical tool parts by appropriate choosing machincal tool and supporting equipment according to the nature of the work by emphasizing on various types of gear parts, thread and transmission shaft, taper shaft, power screw, measurement and inspection of fabricated parts by the standardized measuring instruments, parts assembly and adjustment, work study and analysis when problems occur, including maintenance of tool and equipment as well as parts replacement by machining 02-259-413 เทคโนโลยีการเชือ่ ม 3(1-6-4) Welding Technology งานโลหะแผ่น โลหะวิทยาการเช่ือม กรรมวิศีการเช่ือม องค์ประกอบท่ีมีอิทศิพลต่อการ เชื่อม อิทศิพลของความร้อนท่ีมีผลต่องานเชื่อม การตรวจสอบและการวิเคราะห์ ข้อบกพร่องในงานเชื่อม มาตรฐานของลวดเช่ือม สัญลักษณ์และการประมาณราคางาน เชอ่ื มและปฏิบตั กิ ารสอดคล้องกบั เนืนอหาเทคโนโลยกี ารเช่อื ม Sheet metal, welding metal science, welding process, elements influencing welding, effect of heat on welding work, defect inspection and analysis in welding work, welding wire standards, of a wire symbol and welding cost estimation and practice on welding technology
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185