Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

Description: หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

Search

Read the Text Version

47 02-212-101 งานบารงุ รกั ษารถยนต์ 3(1-6-4) Automotive Maintenance ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับพ้ืนฐานและหลักการทางานของรถยนต์คุณสมบัติของ ของเหลวทใี่ ชใ้ นรถยนต์ การตรวจสภาพรถยนต์ บรกิ ารหม้อน้า นา้ มันเคร่ือง น้ามนั เกยี ร์ น้ามันเฟืองท้าย น้ามันเบรก คลัตช์ กรองน้ามันเคร่ือง กรองอากาศ กรองเช้ือเพลิง สายพาน แบตเตอรี่ ฟิวส์ รีเลย์ หลอดไฟ ช่วงล่างรถยนต์ ล้อและยางและสารเคมีต่างๆ ที่ ใช้ล้างทาความสะอาดอุปกรณ์และการบารุงรักษารถยนต์ ตามระยะทางการใช้เคร่ืองมือ พเิ ศษตา่ งๆ Study and practice on the basics and working principles of cars, properties of liquid used in cars, car inspection, boiler service, engine oil, gear oil, differential oil, brake oil, clutch, oil filter, air filter, fuel filter, belt, battery, fuse, relay, lamp, car suspension, wheels and tires and various chemicals which are used to clean equipment, and car maintenance according to distance, use of special tools 02-212-102 งานเครอื่ งยนต์แก๊สโซลนี และเครื่องยนตด์ ีเซล 3(1-6-4) Gasoline and Diesel Engines ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั พ้ืนฐานและหลักการทางาน การถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์ แก๊สโซลีนและดีเซล การตรวจ วัดช้ินส่วนด้วยเครื่องมือวัดละเอียด การใช้เคร่ืองมือกล ปรับปรุงสภาพช้ินส่วน การทดสอบป๊ัมและหัวฉีด การปรับแต่งเคร่ืองยนต์ ระบบควบคุม การเปิดปิดและปรับองศาการเปิดลิ้นไอดีไอเสีย ระบบเพ่ิมการประจุไอดี ระบบหล่อล่ืน ระบบระบายความร้อน ระบบน้ามันเช้ือเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบควบคุมมลพิษไอเสีย ระบบวิเคราะห์ปัญหาด้วยมัลติมิเตอร์ ออสซิโลสโคปและเครื่องมือสแกน การแก้ไข ขอ้ ขัดขอ้ งของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี และดีเซลในปจั จุบัน Study and practice on the basics and working principles, disassembly of engine parts : gasoline and diesel, measuring parts with measuring instruments, the use of mechanical tools to improve the condition of parts, pump and injector testing, engine adjustment, control system for opening closing and adjusting the opening angle of the intake and exhaust valve, Increasing intake system, lubrication system, cooling system, fuel system, Ignition system, exhaust pollution control system, problem analysis system with multi-meters Oscilloscopes and scanning tools, fixing problems of gasoline and diesel engine in present

48 02-212-203 งานเคร่ืองลา่ งและสง่ กาลังรถยนต์ 3(1-6-4) Automotive Suspension and Transmission ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทางาน ส่วนประกอบของระบบส่งกาลัง ระบบรองรับ น้าหนัก ระบบเบรก ABS ระบบกระจายแรงเบรก ระบบเบรกแบบไฟฟ้า ระบบควบคุม สมรรถนะการขับขี่รถยนต์ (VSC) ระบบระบบตรวจจับการหยุดรถอัตโนมัติ ระบบบังคับ เล้ียวแบบไฮดรอลิกส์และแบบไฟฟ้า มุมล้อ ระบบส่งกาลัง เกียร์อัตโนมัติควบคุมด้วย คอมพิวเตอร์ แบบ CVTและแบบมอเตอร์ไฟฟา้ การบารุงรกั ษาและตรวจสอบการวินิจฉัย ข้อขัดข้องของระบบส่งกาลัง ระบบรองรบั น้าหนักของรถยนต์ในปัจจุบนั Study and practice about working principles, components of power transmission system, suspension system, ABS brake system, brake force distribution system, electrical brake system, vehicle stability control (VSC), automatic stop detection system, hydraulic steering and electric steering, wheel angle, power transmission system, automatic gear controlled by computer: CVT and electric motor, maintenance and inspection the problem diagnostics of power transmission system suspension system in present 02-212-204 งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกสย์ านยนต์ 3(1-6-4) Automotive Electrical and Electronics ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์พ้ืนฐาน วงจรไฟฟ้าตัวถังภายใน รถยนต์ (EWD) ระบบควบคุมวาล์วแปรผัน ระบบสตาร์ท ระบบประจุไฟฟ้า ระบบจุด ระเบิด ระบบอานวยความสะดวก และระบบเสริมความปลอดภัย ระบบส่งถ่ายข้อมูล ระบบควบคุมเคร่ืองยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบวงจรไฟฟ้า เซนเซอร์ และ อุปกรณ์ทางาน ระบบปรับอากาศรถยนต์ ตลอดจนการใช้เคร่ืองมือสาหรับวิเคราะห์ ปญั หาและแกไ้ ขขอ้ ขดั ขอ้ งของรถยนต์ในปัจจุบนั Study and practice basic electrical and electronic circuits, electrical wiring diagram inside the car body (EWD), variable valve control system, starting system, electric charging system, ignition system, conventional system, and security system, data transmission system, electronic engine control system, Automotive Air Condition system, Inspection of electrical circuits sensors and working devices, as well as the use of tools for analyzing problems and fixing car in present

49 02-212-206 เทคโนโลยียานยนต์ไฟฟา้ และไฮบริด 3(2-3-5) Electrical and Hybrid Vehicles Technology พื้นฐานและหลักการทางานของยานยนต์ไฟฟ้า โครงสร้าง ตัวถังและส่วนประกอบ ระบบ การจัดการระบบไฟฟ้า (BMS) ระบบขับเคลื่อนและส่งกาลัง แบบมอเตอร์ไฟฟ้า แบบยาน ยนต์ไฮบริด (HEV) ยานยนต์ไฮบริดที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากสายส่งพลังงานภายนอก (PHEV) ยานยนต์ที่ใช้พลังงานจากแบตเตอร่ี (BEV) ยานยนต์เซลล์เช้ือเพลิง (FCEV) แบตเตอรี่ท่ีใช้ในยานยนต์ไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ ชุดควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ (Supervisory ECU) ระบบการประจุไฟฟา้ รวมท้งั ส่งถ่ายข้อมลู (CAN BUS) และความปลอดภัยในการ ปฏิบัตงิ าน การบารุงรักษา การวิเคราะหป์ ัญหาและแก้ไขข้อขัดขอ้ งยานยนต์ไฟฟ้า Study and practice on the basics and working principles of electrical vehicles, structures, chassis and components, battery management system (BMS), drive and power transmission system: electric motor Hybrid electric vehicles (HEV), hybrid vehicles that use electrical energy from external power lines (PHEV), vehicles that use battery power (BEV ),Fuel Cell Electric Vehicle (FCEV), batteries used in electric vehicles, inverter, electronic control unit (Supervisory ECU), Electric charging system including the transmission of data (CAN BUS) and safety in practice, maintenance, problems diagnostics and problems solving in electric vehicles 02-213-201 นิวเมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์ 3(2-3-5) Pneumatic and Hydraulic ส่วนประกอบของระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ กระบอกสูบ มอเตอร์ วาล์วควบคุม การทางาน สัญลักษณ์ วงจรควบคุมของระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์พื้นฐานและ ควบคุมดว้ ยไฟฟา้ Pneumatic and hydraulic components, cylinders, pneumatic and hydraulic motors, directional control valves, symbols basic and electrics circuit control of pneumatic and hydraulic system

50 02-213-202 พืน้ ฐานเมคคาทรอนิกส์ 3(2-3-5) Mechatronics Fundamental หลักการพ้นื ฐานทางไฟฟ้า การเลือกใชอ้ ปุ กรณร์ ะบบไฟฟา้ อตุ สาหกรรม การวดั คา่ ทาง ไฟฟ้า งานตอ่ วงจรควบคุม ออกแบบ และติดต้ังวงจรควบคมุ มอเตอร์ไฟฟา้ 3 เฟส งาน เขียนโปรแกรม PLC งานออกแบบและตดิ ต้งั ระบบไฟฟ้าควบคมุ ดว้ ย PLC Basic electrical principle Selection of industrial electrical equipment Electrical measurement Control circuit, design and installation of 3 phase electric motor, PLC programming, design and installation of electrical control systems by PLC 02-213-303 การควบคุมอตั โนมัติ 3(2-3-5) Automation Control หลักการของระบบความคุมอัตโนมัติ การควบคุมระบบนิวแมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ ทฤษฎีการควบคุมอัตโนมัติ เซ็นเซอร์ที่ใช้ในการควบคุมอัตโนมัติ และการควบคุมการ ทางานดว้ ยพแี อลซี และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอุตสาหกรรม Principles of automation control systems pneumatic control systems, hydraulic control systems, theories of automation characteristics and programmable logic control (PLC), and applications of automation control for Industry 02-250-101 พื้นฐานงานวศิ วกรรม 3(1-6-4) Engineering Basic Skills ฝึกปฏิบัติงานด้านการเทคนิคการผลิตพื้นฐาน การใช้เครื่องมือช่างพื้นฐาน เคร่ืองมือร่าง แบบ เคร่ืองมือวดั แบบมีสเกล งานวางแบบช้ินงาน งานตะไบ งานเล่ือย งานใช้เคร่ืองเจาะ งานลับดอกสว่าน งานเจาะ งานทาเกลียวด้วยมือ งานเชื่อมไฟฟ้าพ้ืนฐานและการ ปฏิบัตงิ านอยา่ งปลอดภัย Practice on basic technical practices, using of hand tools, layout tools and measuring tools, layout and fitting, filing, hand sawing, drilling, drilling machine, drill grinding and drilling operation, hand reaming, tap and die threading operations, basic skill of shield metal arc welding and safety in working

51 02-240-301 การเตรียมโครงการ 1(1-0-2) Pre-project ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหาในการทาโครงการเคร่ืองกลวัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา สมมติฐานของการศึกษา การศึกษาค้นคว้าและการทบทวน วรรณกรรมท่เี กยี่ วขอ้ ง การอา้ งอิง การจดั พมิ พร์ ูปเลม่ โครงการ ขัน้ ตอนการวางแผนการ สรา้ งโครงการ การนาเสนอหัวข้อโครงการ The importance and history of mechanical problems in the project scope of this study objective, hypothesis of the study, studying and reviewing of literature, references, project publishing, project planning, project presentation 02-240-302 โครงการ 3(1-6-4) Project การวางแผน ออกแบบ และสร้างโครงการด้าน วิศวกรรมเครื่องกล ชิ้นงาน เครื่องจักร หรืออุปกรณ์การสอน เพื่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ การนาเสนอโครงการ Planning, design and construct, a mechanical engineering projects, work- piece, machine, or hardware, applied to effectively in field, project presentation 02-211-207 การบารงุ รกั ษาในงานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Maintenance พ้ืนฐานการบารุงรักษาในงานอุตสาหกรรม งานบารุงรักษา Bolt & Nut ระบบหล่อล่ืน และลูกปืนระบบส่งกาลัง ระบบนิวเมติกส์ ระบบไฮดรอลิกส์ ระบบไฟฟ้าเบ้ืองต้น และ งานปรบั ตัง้ ศูนย์เพลา Basic maintenance in industrial Bolt & Nut maintenance, lubrication and bearing systems, power transmission systems Pneumatic system Hydraulic system Basic electrical system and shaft alignment

52 02-211-208 ออกแบบเคร่อื งกล 3(3-0-6) Mechanical Design หลกั การออกแบบเครอื่ งจกั รกล สมบัติของวัสดุ ทฤษฎีความเสยี หาย และความล้า การออกแบบชน้ิ ส่วนเครอ่ื งจักรกล รอยตอ่ ดว้ ยหมุดย้าและสลักเกลยี ว เพลา ลิ่มและสลัก เกลยี ว และสกรูส่งกาลัง รองเพลา เฟือง สายพาน และโซ่ Fundamentals of machine design, property, theories of failures, theories of fatigue failures, design of machine elements, shafts, screws, spring, journal bearings, ball and rolling bearings, gears, brakes and clutches, belts, chains and slings 02-211-209 วิศวกรรมความปลอดภยั 3(3-0-6) Safety Engineering การเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียจากอุบัติเหตุ การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการ ทางาน การค้นหาอันตรายจากการทางาน อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลและเคร่ืองจักร ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องต้นกาลัง เคร่ืองจักรกล อัคคีภัย การ บริหารงานด้านความปลอดภัย การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ Accidents and accidental loss, control and prevention of hazard, dangerous work searching, personal protective equipment and machinery, the safety usage of equipment, power plant, machines and fire, safety management, activities to promote safety at work, first aid 02-211-210 กลศาสตรเ์ ครอื่ งจักรกล 3(3-0-6) Mechanics of Machinery ชนิดของกลไก ความเร็วและความเร่งของกลไก การวิเคราะห์แรงสถิตและแรงเฉ่ือยใน กลไก การวิเคราะห์การเคล่ือนที่ของกลไกระบบ 2 มิติ และ 3 มิติ การถ่วงสมดุลของ เครอื่ งจักรกล Type of mechanism, velocity and acceleration of mechanism, statics and dynamics force analysis, motion analysis of mechanism in 2D and 3D, balances of machines

53 02-211-211 การประยกุ ตใ์ ช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยในงานออกแบบ 3(2-3-5) Applications of Computer Aided Design พ้ืนฐานของคอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบ เทคนิคการสร้างรูปทรงเลขาคณิต 2 มิติ 3 มิติ การออกแบบผิว เทคนิคการประกอบช้ินส่วนเป็นผลิตภัณฑ์ หลักการพ้ืนฐานการควบคุม เชิงตวั เลข โครงสรา้ งเครอื่ งจักรกล Fundamental of computer aided design, 2 D and 3 D geometry modeling design, surface design, assembly design and production, fundamental in numerical control, machine and mechanical hardware part 02-212-205 งานเครอ่ื งยนตเ์ ลก็ และจกั รยานยนต์ 3(2-3-5) Small Engine and Motorcycle หลักการทางานของเคร่ืองยนต์เล็กและจักรยานยนต์ การใช้เครื่องมือพิเศษในงานถอด ประกอบ การซ่อมบารุงการตรวจสอบช้ินส่วน ระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิงด้วย อิเล็กทรอนิกส์ของรถจักรยานยนต์ การวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องยนต์เล็ก และจักรยานยนต์ Principle of small engines and motorcycles, using special tools, maintenance, check, electronics fuel injection of motorcycles, problem analysis of the small engine and motorcycles 02-212-307 วศิ วกรรมยานยนต์ 3(3-0-6) Automotive Engineering การวิเคราะห์แรงที่มากระทากับชิ้นส่วนของยานยนต์ แรงขับเคล่ือน และแรงต้านทานใน การเคล่ือนท่ี สมรรถนะและคุณลักษณะยานยนต์ การทรงตัวของยานยนต์ ขณะที่ขับ เคล่ือนท่ีไปในทางตรงและทางโค้ง การเลี้ยว และการบังคับเลี้ยว คุณลักษณะของยาง ระบบรองรับ ระบบเบรก ระบบส่งกาลังผ่านคลัตช์ ระบบส่งกาลังส่งกาลังผ่านของเหลว เกียร์อัตโนมตั ิ Analysis of various forces, consideration of automotive parts, driving force, and the resistance movement, performance and characteristics of motor vehicles, stability of motor vehicles, while driving in the curve and on the turn and steering, characteristics of the rubber brake system for transmission through the clutch, transmission through the transmission fluid, automatic gear

54 02-212-308 เครื่องยนตส์ ันดาปภายใน 3(3-0-6) Internal Combustion Engine การจาแนกประเภทของเครื่องจักรและหลักการทางานเบื้องต้น เทอร์โมไดนามิกส์ของ วัฏจักรจาลองอากาศ อัตราสว่ นผสมของน้ามันกับอากาศ การทางานของวัฏจักรจรงิ การ สนั ดาปในเครอ่ื งยนต์จดุ ระเบิดด้วยประกายไฟ และจุดระเบิดด้วยการอดั Basic engine types and their operation, thermodynamics, air standard cycle, fuel-air cycle, actual cycle, combustion in spark-ignition engines, combustion in compression-ignition engines, fuels, fuel metering in spark- ignition engines fuel 02-212-309 เชอ้ื เพลงิ และสารหลอ่ ล่นื 3(3-0-6) Fuel and Lubricants เชอื้ เพลิงและสารหลอ่ ลื่นในยานยนต์และงานอตุ สาหกรรม พนื้ ฐานทางเคมี ทฤษฎีการเผา ไหม้ แหลง่ กาเนิด การสารวจ และกระบวนการกล่ันปโิ ตรเลยี ม คณุ สมบัติของเชือ้ เพลงิ และสารหล่อลื่น การผลติ และปรับปรุงคณุ ภาพ ชนิด ประเภทและมาตรฐานการใชง้ าน การทดลองเกีย่ วกบั เชอื้ เพลงิ และสารหลอ่ ลืน่ Fuel and lubricants of automotive and industrial, basic chemical theory of combustion, sources and storage, exploration and drilling, petroleum refining process, various properties of fuels and lubricants, productivity and quality improvement, types and classification standards, suitable selection for appropriate job, laboratory experiments related to fuels and lubricants 02-213-304 ไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรบั งานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Microcontroller for Industrial Applications ความรู้พื้นฐานของไมโครคอนโทรลเลอร์ โครงสร้างภายใน การเช่ือมต่อ และการ ติดต่อสื่อสาร วงจรอินพุตและเอาต์พุต ภาษาและโครงสร้างโปรแกรม ชนิดข้อมูล ตัวแปร และค่าคงท่ี ตัวดาเนินการ โครงสร้างการควบคุม ฟังก์ชั่น การเรียกใช้ไลบรารี่ การนา ไมโครคอนโทรลเลอร์ไปใชค้ วบคมุ นิวแมตกิ ไฮดรอลกิ ส์ และมอเตอรไ์ ฟฟ้าเหนยี่ วนา Fundamentals of microcontroller, the internal structure, interfacing and communications, input and output circuits, language and program structure, data types, variables and constants, operators, control structures, functions, library usage, microcontroller implementation for controlling of pneumatics, hydraulics and induction motors

55 02-213-305 การโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรบั งานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Graphical Programming for Industrial Applications การเขียนโปรแกรมแบบกราฟิก การประมวลผลสัญญาณ การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ การประมวลทางสถิติ การควบคุมแบบวงรอบปดิ การนาเสนอข้อมูลผลลัพธ์ การออกแบบ หน้าจอ การควบคุมเคร่ืองวัดด้วย GPIB พอร์ตอนุกรมและอีเทอร์เน็ต การควบคุม PLC การออกแบบงานควบคุมด้วย DAQ การออกแบบเครื่องวัดเสมือน การนาโปรแกรมแบบ กราฟกิ ใช้ควบคุมนวิ แมตกิ ไฮดรอลกิ ส์ และมอเตอรไ์ ฟฟา้ เหน่ียวนา Graphical programming, signal processing, mathematical analysis, statistical analysis, closed-loop control, result data presentation, front panel designing, instrument control with GPIB ( General purpose interface bus) , serial port and ethernet, PLC ( Programmable Logic Controller) control, control application designing with DAQ (Data acquisition), virtual instrument designing, an implementation of graphical programming for controlling of pneumatics, hydraulics and induction motors 02-213-306 การประยุกต์ใชห้ นุ่ ยนต์อุตสาหกรรม 3(2-3-5) Applications of Industrial Robotics หลักการการทางานของหุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม การควบคุมระบบการทางานของ หุ่นยนต์ เช่นอุปกรณ์จับยึดท่ีนามาต่อกับหุ่นยนต์ การเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคุมการ ทางานของหุ่นยนต์ การประยุกต์นาเอาหุ่นยนต์มาใช้ระบบขนถ่ายวัสดุ เช่น สายพาน ลาเลียง ระบบการบรรจหุ บั ห่อ Principles of robot in material handling systems, robot control systems such as jig fixture to connect with robotics, programming control of robotics, robot application in material handling systems such as belt conveyor, packaging systems

56 02-250-205 การควบคมุ คณุ ภาพ 3(3-0-6) Quality Control สถานะของการควบคุมคุณภาพและการบริหารคุณภาพ แนวความคิดและวิวัฒนาการดา้ น คุณภาพ การควบคุมคุณภาพที่หน้างาน การประยุกต์วิธีการทางสถิติในการควบคุม คุณภาพ การควบคุมคุณภาพกระบวนการโดยอาศัยสถิติ การวิเคราะห์ความสามารถของ กระบวนการ และการประเมินผลระบบการวัด เทคนิคการชักส่ิงตัวอย่างเพ่ือการยอมรับ ระบบการบริหารคณุ ภาพ Quality strategy and development in field quality control, statistical application in quality control, reliability problem by statistical process control, process capability analysis, measurement system analysis, acceptance sampling technique and quality management system 02-251-311 ปฏิบัตงิ าน CNC 3(1-6-4) CNC Practice ปฏบิ ัติเก่ียวกับเคร่ืองจกั รกลอตั โนมัติ ที่ทางานด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ การทางานเบ้ืองต้น ของเครื่องกลึงและเคร่ืองกัด CNC เครื่องกัดโลหะด้วยไฟฟ้า เคร่ืองตัดงานด้วยลวดไฟฟ้า การเขียนและใช้โปรแกรมต่างๆ ควบคุมเครื่องกลึงและเคร่ืองกัดอัตโนมัติ ตลอดจนระบบ CAD/CAM Practice on CNC machine, NC programming on CNC machining center, electro discharge machine, CNC lathe, CNC milling, CNC wire cut, data transformation through the CAD/CAM systems

57 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วชิ าชพี 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ความสาคญั ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถาน ประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทางาน ความรู้ เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ การใช้งานภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การ เขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการวเิ คราะห์ ทักษะการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ และกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสืบคน้ ขอ้ มูล Basic knowledge of forms and process of professional experience, importance of professional experience, application letters preparation, workplace selections, job interview, organizational culture, personality development, professional morality, virtue ethics, labor laws, social security, 5 S’s Keys, systems of quality assurance and safety standards at work, English communication in the workplace, report writing, presentations, planning skills, analytical skills, immediate problem solving skills, decision making, basic concepts of information technology, IT laws, and information retrieval หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

58 02-000-202 ฝกึ งาน 3(0-40-0) Apprenticeship ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานท่ี ปฏบิ ตั งิ าน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวชิ าชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศึกษา เพ่ือเชอ่ื มโยงความรู้ทางทฤษฎกี ับการปฏิบตั ิงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรือ 280 ช่ัวโมง ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานที่ ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ งานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพ่ือเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่ งานที่นักศึกษาสนใจและพฒั นาทกั ษะวิชาชีพสาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum or 280 hours of placement in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

59 02-000-203 ฝกึ งานตา่ งประเทศ 3(0-40-0) International Apprenticeship วชิ าบังคับกอ่ น : 02-000-201 การเตรยี มความพร้อมฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-201 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการนอกประเทศ เสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็ม เวลาของสถานที่ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพื่อเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็น ระยะเวลารวมไม่น้อยกวา่ 8 สัปดาห์ หรือ 280 ช่ัวโมง โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานใน ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานท่ีปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ี ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้ นิเทศงานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผล การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเตรียม นักศกึ ษาสู่งานทนี่ ักศกึ ษาสนใจและพัฒนาทักษะวิชาชพี สาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum or 280 hours of placement, with at least 6 -week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเปน็ S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

60 1.1 ชื่อ-สกลุ ตาแหนง่ และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 1.1.1 อาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ลาดบั ช่อื -นามสกุล ผลงานวชิ าการ ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ ตาแหน่งวชิ าการ ปีการศึกษา คณุ วฒุ ิ – สาขาวชิ า 2563 2564 2565 2566 ชอื่ สถาบัน, ปี พ.ศ. ทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา 1 นายธนชั ศรพี นม* วชริ ะ แสงรัศมี และธนชั ศรพี นม. (2560). 10 10 10 10 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยเี คร่อื งกล) ค.อ.ม.(วศิ วกรรมเคร่ืองกล), สถาบันเทคโนโลยีพระ ประสิทธิภาพแผงบงั แดดหน้าต่างก่งึ โปร่งแสงทสี่ ่งผล จอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2542 วศ.บ.(วศิ วกรรมเครือ่ งกล) ,สถาบันเทคโนโลยี กระทบตอ่ คา่ การถ่ายเทความร้อน. วารสารหนา้ จั่ว ราชมงคล ,2539 สถาปตั ยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดลอ้ ม. ฉบบั ท่ี 32. มกราคม - ธนั วาคม 2560. น. F03 – F20. 2 นายนภดล กลิ่นทอง นภดล กลน่ิ ทอง, ทรงธรรม ดวี าณิชสกลุ , สุเมธ 10 10 10 10 อาจารย์ พลับพลา,และอภชิ าติ ไชยขันธ์.ุ (2562). การสรา้ งและ ปร.ด. (วจิ ยั และพัฒนาการสอนเทคนิคศึกษา) , หาประสิทธิภาพชุดฝกึ อบรมระบบฉดี น้ามันเช้อื เพลงิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , อิเลก็ ทรอนิกส์ รถจกั รยานยนต์ สาหรับช่างซ่อม 2554 รถจกั รยานยนต์ทปี่ ระกอบอาชพี อสิ ระ.การประชมุ ค.อ.ม.(วศิ วกรรมเคร่ืองกล), สถาบันเทคโนโลยีพระ วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562 จอมเกล้าพระนครเหนอื , 2546 หาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย์.1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. น.952- ค.อ.บ. (วิศวกรรมเครอ่ื งกล) ,สถาบันเทคโนโลยี 962. ราชมงคล ,2536 3 นายสุเมธ พลบั พลา นภดล กลิ่นทอง, ทรงธรรม ดวี าณิชสกลุ , สุเมธ 10 10 10 10 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยเี ครอ่ื งกล) พลับพลา,และอภชิ าติ ไชยขันธ.ุ์ (2562). การสร้างและ ค.อ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระ หาประสทิ ธิภาพชดุ ฝกึ อบรมระบบฉดี น้ามันเชื้อเพลิง จอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2546 อิเล็กทรอนิกส์ รถจักรยานยนต์ สาหรับชา่ งซอ่ ม ค.อ.บ.( วิศวกรรมเครอ่ื งกล) ,สถาบนั เทคโนโลยี รถจักรยานยนต์ทป่ี ระกอบอาชพี อิสระ.การประชมุ ราชมงคล ,2540 วิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ คร้งั ท่ี 3 พ.ศ. 2562 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย.์ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. น. 952-962. 4 นายอภิชาติ ไชยขนั ธ์ุ นภดล กล่ินทอง, ทรงธรรม ดวี าณชิ สกลุ , สุเมธ 10 10 10 10 อาจารย์ พลบั พลาและอภชิ าติ ไชยขนั ธุ์. (2562). การสร้างและ วศ.ม.(วิศวกรรมเครือ่ งกล),มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี หาประสทิ ธิภาพชดุ ฝกึ อบรมระบบฉดี น้ามันเชือ้ เพลงิ ราชมงคลธัญบรุ ี, 2559 อิเลก็ ทรอนิกส์ รถจักรยานยนต์ สาหรับชา่ งซอ่ ม วศ.บ.(วิศวกรรมเครอ่ื งกล) ,สถาบนั เทคโนโลยี รถจกั รยานยนตท์ ป่ี ระกอบอาชพี อสิ ระ.การประชมุ ราชมงคล ,2539 วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครัง้ ที่ 3 พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรีรัมย์. 1 กมุ ภาพันธ์ 2562. น. 952-962. 5 นายคณุ ากร อนวุ ัตพาณชิ ย์ คุณากร อนวุ ัตพาณชิ ย์, นภดล กลิ่นทอง, สนุ ทร ละออง 10 10 10 10 อาจารย์ นวล, อภิชาติ ไชยขนั ธ์ุ และมนูศักดิ์ จานทอง (2562). วศ.ม.(วิศวกรรมเครอ่ื งกล),มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี การพัฒนาห่นุ ยนตต์ ดิ ตามมนษุ ย์แบบควบคุมล้อหลงั โดย ราชมงคลธญั บุรี, 2562 ใช้เซนเซอรค์ เิ นค.การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติราช วศ.บ.(วิศวกรรมเครอื่ งกล) ,มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี มงคลสุรนิ ทร์ ครง้ั ท่ี 10 : “วจิ ยั และนวัตกรรม นาสกู่ าร ราชมงคลธญั บรุ ี, 2559 พฒั นาอยา่ งย่งั ยนื ”. วันที่ 19-20 กันยายน 2562. ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขต สุรนิ ทร.์ หนา้ B 321-331. * ประธานหลักสูตร

61 1.1.2 อาจารย์ผสู้ อน ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./สัปดาห์/ ปกี ารศึกษา ชือ่ -นามสกลุ Prathumtong Trirat, Nattaphon Jeenuphong, ตาแหนง่ วิชาการ Suvit SatJasit , Kaanwarin Polanunt, Usaporn 2563 2564 2565 2566 ลาดบั คณุ วฒุ ิ – สาขาวิชา Swekwi, Aramsri Aarpha-adul and 10 10 10 10 ชื่อสถาบัน, ปี พ.ศ. ทสี่ าเรจ็ การศึกษา Parujee Charoenphao. (2018). Media Design to 1 นายณฐั พล จีนพุ งศ์ Promote Cultural Tourism in Ayutthaya. 10 10 10 10 อาจารย์ International Conference on the e-CASE & e- ค.อ.ด.(บริหารอาชวี ศกึ ษาและเทคนคิ Tech in Osaka, Japan. 1-3 April 2018. 12(1). 10 10 10 10 ศึกษา) P.227-243. ค.อ.ม.(เทคนิคศึกษา) ปรญิ ญา มสี ุข, บญุ ธดิ า เอ้ือพิพัฒนากลู , นันท์ภัสกร 10 10 10 10 กศ.บ.(เทคโนโลยีทางการศึกษา) ฤทธ์ิพนชิ ชชั วาล, นรรจพร เรอื งไพศาล และอรพินท์ สุขยศ. (2561). การพัฒนาอาจารย์ตน้ แบบการสอน 10 10 10 10 2 นายปรญิ ญา มสี ขุ ระดบั มหาวทิ ยาลัย (RMUTT Model): แนวคดิ จาก ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าการศึกษา) ฟินแลนด์ส่ไู ทย. วารสารครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์ ค.ด.(วธิ ีวทิ ยาการวิจยั การศึกษา), มหาวิทยาลยั . 46(2). เดือนเมษายน-มถิ ุนายน 2561. น. จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย,2551 314-329. ศศ.ม.(จติ วทิ ยาวทิ ยาการ) ),จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2546 จริ วฒั น์ ใจอ.ู่ (2562).กระดาษธรรมชาตจิ ากหญา้ แฝก ค.บ.(การสอนวทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป-ชีววิทยา) ผสมเส้นใยพอลิแลคติคแอซิดสาหรบั พิมพน์ ามบัตร. การ ,จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2540 ประชุมวิชาการราชมงคลด้านเทคโนโลยกี ารผลติ และ การจดั การ 2019. 30-31 พฤษภาคม 2562. โรงแรมดิ 3 นายจริ วัฒน์ ใจอู่ เอม็ เพรส จังหวัดเชียงใหม่. อาจารย์ เรวัต ซ่อมสุข และชัยรตั น์ หงสท์ อง. (2560). ปัจจัยทม่ี ี วศ.ม. (วศิ วกรรมการจัดการ) ผลตอ่ ประสิทธิภาพการทางานไซโคลนสครับเบอร์แบบ ค.อ.บ. (อุตสาหการ-ออกแบบการผลิต) แรงดันน้าสูง. การประชมุ วชิ าการข่ายงานวิศวกรรมอุต สาหการ ประจาปี พ.ศ.2560. 12-15 กรกฎาคม 2560. 4 นายเรวัต ซอ่ มสขุ ณ โรงแรมดเิ อ็มเพรส จงั หวดั เชยี งใหม.่ อาจารย์ สุเมธ เทศกลุ และธนิต บญุ ใส (2562). การศึกษา วศ.ม. (การจัดการงานวศิ วกรรม) พฤติกรรมการใช้พลังงานไฟฟ้าและทัศนคติตอ่ การ ค.อ.บ. (อุตสาหการ-เครอ่ื งกลมอื กล) ประหยัดพลังงานไฟฟา้ ของบคุ ลากร คณะครศุ าสตร์ อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี . 5 นายสเุ มธ เทศกลุ การประชุมวชิ าการระดับชาติและนานาชาติ ครัง้ ท่ี 3 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยี พ.ศ.2562 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์ จังหวดั บรุ ีรัมย์. ไฟฟ้า) 1 กุมพาพนั ธ์ 2562. ค.อ.ม. (ไฟฟ้า) วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า)

62 ช่ือ-นามสกลุ ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ ปีการศกึ ษา ลาดับ คณุ วฒุ ิ – สาขาวชิ า ชื่อสถาบัน, ปี พ.ศ. ทีส่ าเร็จการศกึ ษา 2563 2564 2565 2566 6 นางวไิ ลวรรณ ศรีสงคราม Williawan Srisongkram. (2015). The Effects of 10 10 10 10 รองศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าการศกึ ษา) Learning Styles and other Psychological กศ.ม. (จิตวทิ ยาการพัฒนาการ) Variables on Predicting to Students’ Academic วท.บ. (จิตวิทยา) Achievement Based on Learning Evaluation Method in Adolescent Problem and Guidance Class. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts. 14(3). p1-26. 7 นายทรงธรรม ดวี านิชสกุล ทรงธรรม ดวี าณิชสกลุ ,นภดล กล่นิ ทอง,สุเมธ 10 10 10 10 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยี พลบั พลา,และอภชิ าติ ไชยขนั ธ์.ุ (2562). การสร้างและ เครือ่ งกล) หาประสทิ ธิภาพชดุ ฝกึ อบรมระบบฉีดน้ามันเช้ืองเพลงิ ปร.ด. (วจิ ยั และพัฒนาการสอนเทคนิค อิเล็กทรอนกิ สส์ าหรับชา่ งซอ่ มรถจักรยานยนตท์ ั่วไป.การ ศึกษา) ประชุมวชิ าการระดับชาติและนานาชาติ คร้ังท่ี 3 ค.อ.ม. (เคร่ืองกล) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย.์ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. ค.อ.บ. (เครือ่ งกล) 8 ดร.ณฐั พงษ์ โตมั่น Arnon Niyomphol, Manodch Boontonglek, 10 10 10 10 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาการศกึ ษา) Pratoomtong Trirat, Seksan Sakonthawat, Artip ปร.ด. (วจิ ยั และพัฒนาการสอนเทคนิค Sornsujitra and Parujee Charoenphao. ศกึ ษา) (2019).The Development of Paradigm, Model, ค.ม. (การวัดและการประเมินผล and Mechanism for Teacher Development การศกึ ษา) Based on the Area Network Concept: A Case กศ.บ. (วทิ ยาศาสตร-์ เคม)ี Study of the Faculty of Industrial Education, Faculty of Fine and Applied Art, and Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET 2019). 11-13 July 2019. Pattaya Chonburi. P.39-44. 9 นายณฐั ภณ หรรษกรคณโชค ณฐั ภณ หรรษกรคณโชค. (2562). การพัฒนาเกมส์ 10 10 10 10 อาจารย์ คอมพิวเตอร์ทายคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษโทอคิ 100 ค.อ.ม. (เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์) คาศพั ท.์ การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม อส.บ. (เทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพวิ เตอร)์ ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 11. คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . 19 - 20 มนี าคม 2562. น. 3-9. 10 นายอภิรมย์ ชูเมฆา อภริ มย์ ชเู มฆา และ ดลหทยั ชเู มฆา. (2561). การ 10 10 10 10 อาจารย์ ทดสอบและประเมนิ ผลเครอ่ื งยอ่ ยเปลือกมะพรา้ ว. วศ.ม. (เทคโนโลยกี ารผลติ ทาง วารสารวิทยาศาสตรเ์ กษตร. 12-13 กรกฎาคม 2561. อุตสาหกรรม 49(4). วศ.บ. (วศิ วกรรมหลังการ น.307-310. เก็บเก่ยี วและแปรสภาพ)

63 ชอ่ื -นามสกุล ภาระการสอน ชม./สปั ดาห์/ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ ปีการศกึ ษา ลาดบั คณุ วุฒิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 ชอื่ สถาบัน, ปี พ.ศ. ทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา 11 นายสมพร วงษเ์ พง็ สมพร วงษ์เพง็ และอญั ญารัตน์ ประสนั ใจ. (2561). การ 10 10 10 10 อาจารย์ ลดเวลาในการเจาะรูแผ่นกนั ลื่น. การประชุมวชิ าการ วศ.ม. (วิศวกรรมอตุ สาหการ) ข่ายงานวศิ วกรรมอุตสาหการ. โรงแรมสุนีย์แกรนด์ โฮ อส.บ. (เทคโนโลยีอตุ สาหการ) เทล แอน คอนเวนช่นั เซ็นเตอร์ จงั หวัดอุบลราชธานี. 23-26 กรกฎาคม 2561. น.515-518. 12 นายอดุ มศักด์ิ จันทรทาโพ ปกรณเ์ กยี รติ์ เศวตเมธิกลุ ฒ อุดมศักด์ิ จนั ทรทาโพ และ 10 10 10 10 อาจารย์ สมสนิ วางขนุ ทด. (2561). การจาแนกความชน้ื M.Sc. (Computer Science) ขา้ วเปลือกมาตรฐานดว้ ยโพรบยา่ นไมโครเวฟอยา่ งงา่ ย วท.บ. (วิทยาการคอมพวิ เตอร)์ โดยโหมดการวัดคลน่ื สะท้อนกลบั . การประชมุ วิชาการ งานวจิ ัยและพฒั นาเชิงประยกุ ต์ คร้ังที่ 10 (ECTI-CARD 2018). 26-29 มิถุนายน 2561. น.127-130. 13 นางบรรเลง สระมูล Arnon Niyomphol, Parinya Meesuk, Tongluck 10 10 10 10 อาจารย์ Boontham, Nattapong Tomun and Banleng ศศ.ม. (บรรษรักษ์ศาสตร์และสารนเิ ทศ Sramoon (2017). The Development of Teacher ศาสตร)์ Spirit Preparation Package for Pre-Service ค.ม. (การวิจยั การศึกษา) Teacher at Vocational Education. Advanced กศ.บ. (บรรณารักษ์ศาสตร์) Journal of Technical and Vocational Education (AJTVE). 1(3). p. 63-67. 14 นางสาวรินรดี ปาปะใน รนิ รดี ปาปะใน. (2561). การศึกษาตดิ ตามอตั ราการ 10 10 10 10 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาการศึกษา) จา้ งงาน การศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการจัด ค.ด. (หลักสูตรและการสอน) การศกึ ษารูปแบบทวิภาคีแบบพิเศษ เขตพ้นื ท่พี ิเศษ ใน ค.ม. (นเิ ทศการศึกษาและพัฒนาหลักสตู ร) สถานประกอบการเพอ่ื สนับสนนุ โครงการกอง ค.บ. (วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป) ทุนการศกึ ษา รุ่นท่ี 2. การประชุมวิชาการระดบั ชาติ \"การศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ คร้งั ที่ 2 ประจาปี 2561. 25 พฤษภาคม 2561. น. 593-606. 15 นางสาวอญั ญารัตน์ ประสันใจ สมพร วงษ์เพง็ และอญั ญารัตน์ ประสนั ใจ. (2561). การ 10 10 10 10 อาจารย์ ลดเวลาในการเจาะรแู ผน่ กันล่นื . การประชมุ วชิ าการ วศ.ม. (เทคโนโลยวี ัสดุ) ข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ. โรงแรมสนุ ีย์แกรนด์ โฮ ค.อ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) เทล แอน คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ จังหวัดอุบลราชธานี. 23-26 กรกฎาคม 2561. น.515-518 16 นายมานพ ตันตระบณั ฑิตย์ ณัฐ แกว้ สกุล,เรืองศกั ดิ์ ภธู รธราช,มานพ ตนั ตระ 10 10 10 10 รองศาสตราจารย์ (สาขาวศิ วกรรม บณั ฑิตย,์ อัญญารตั น์ ประสันใจ,อมรรัตน์ กงแก้ว และ เครอ่ื งจกั รกลเกษตร) ขันติ สมุ ังสะ. (2560). การศึกษาความสามารถในการ M.Eng. (Agricultural Machinery เช่อื มเหล็กกลา้ ความแข็งแรงสงู สาหรบั งานโครงสรา้ ง Engineering) เหล็กดว้ ยกระบวนการเช่อื มแบบ GMAW. การประชุม Dipl.-Ing. (FH) (Mechanical วิชาการระดบั ชาตวิ ิศวกรรมวจิ ยั ครัง้ ท่ี 1. โรงแรมการ์ Engineering) เดน้ คลิฟ รสี อร์ท แอนด์ สปา พัทยา จังหวัดชลบรุ ี. 28- 29 มถิ นุ ายน 2560. น.4.

64 2. องคป์ ระกอบเกยี่ วกับประสบการณภ์ าคสนาม (การฝึกงาน หรอื สหกิจศึกษา) มาตรฐานผลการเรยี นร้ขู องประสบการณภ์ าคสนาม 2.1 องคป์ ระกอบเกยี่ วกบั ประสบการณ์วชิ าชีพครู 2.1.1 มาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องประสบการณ์วิชาชีพครู ความคาดหวงั ในผลการเรียนรปู้ ระสบการณว์ ชิ าชีพครู ของคณุ ลักษณะบณั ฑติ ทพ่ี ึงประสงค์ ดงั นี้ 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดม่ันในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) มีจิตวิญญาณและมี จรรยาบรรณในวิชาชีพ ปฏิบัติหน้าที่ตามอุดมการณ์ความเป็นครูด้วยความรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อ วิชาชีพ เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ อุทิศตนและทุ่มเทในการพัฒนาการเรียนรู้และผลประโยชน์ สูงสดุ แกผ่ เู้ รยี น ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีท้ังทางดา้ นวชิ าการและวิชาชพี 2) ผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และ พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่เรียนรู้และรอบรู้ตลอดเวลา มีศักยภาพ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหา พัฒนาความรู้และค้นหานวัตกรรมใหม่มาพัฒนาผู้เรียน มีความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) รู้เท่าทันสื่อ เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลง สารสนเทศสมัยใหม่ สามารถเผชิญและก้าวทันกับการเปล่ียนแปลงในโลกดิจิทัล และโลกอนาคต 3) ผู้มีความสามารถสูงในการบูรณาการข้ามศาสตร์ (Innovative Teacher) การจัดการเรียนรู้ และสร้างนวัตกรรม มีทักษะ สมรรถนะและประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ด้วยความเช่ียวชาญในงานอาชีพที่ เก่ียวข้อง มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ใช้ศาสตร์การสอน ทั้งด้านทฤษฎี และปฏิบัติเพื่อจัดการเรียนรู้ด้าน วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ด้วยความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็นระบบ คิดวิเคราะห์ และคิดแก้ปัญหา โดยใช้เทคโนโลยี และกล ยุทธ์การสอนทที่ ันสมัย ในการทาหน้าท่ีเป็นครูในสถานศึกษา หรือผู้สอนงานในสถานประกอบการ เพ่อื จัดการเรียนรู้ และอานวยการ หรือผู้สอนงาน ให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง มีวิจารณญาณในการค้นหาข้อมูลที่ ถูกต้องเหมาะสม และกระตุ้นผู้เรียนให้ค้นหาความสามารถของตัวเอง และส่งเสริมให้ใช้ความสามารถอย่างเต็ม ศักยภาพ เพ่ือแก้ไข พัฒนางาน และสร้างนวัตกรรม และมีส่วนร่วมในการพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวิชาชีพครู สามารถสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมเพื่อไปพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ตลอดจนสามารถประยุกต์ ความรไู้ ปใชใ้ นการพัฒนาตนเองและสังคมได้ด้วยตนเอง 4) เป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็งและใส่ใจสังคม เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตสานึกไทย สานึก สากล เปน็ พลเมืองต่นื รู้ เปน็ พลเมอื งทีดีของไทยและพลโลก มจี ติ อาสา มอี ุดมการณ์ มีความยตุ ิธรรม เท่าเทยี ม เสมอ ภาค รถู้ ูก รผู้ ดิ รชู้ อบ ชัว่ ดี และมีส่วนร่วมในการพฒั นาสงั คมบนหลักการประชาธิปไตย มีภาวะผนู้ า สามารถทางาน ร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเป็นอย่างดี มีสัมพันธภาพที่ดีและร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนเพ่ือส่งเสริม อนุรักษ์ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและประชาคมโลกอย่างสันติ รวมท้ังมีคุณลักษณะ เป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชีพ และมีคุณลกั ษณะบัณฑิตทพ่ี ึงประสงค์ตามมาตรฐานวิชาชีพครู

65 2.1.2 ชว่ งเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ 2 ชัน้ ปีการศกึ ษาที่ 4 2.1.3 การจดั เวลาและตารางสอน ภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ชั้นปีการศึกษาท่ี 4 ทกุ สัปดาห์ 2.2 องค์ประกอบเก่ยี วกับประสบการณ์ชีพเฉพาะสาขา 2.2.1 มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องประสบการณ์วิชาชีพเฉพาะสาขา จากความต้องการของสถานประกอบการท่ีเห็นว่าบัณฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การทางาน จริง ดังน้ันหลักสูตรจึงได้กาหนดรายวิชาฝึกงาน ซึ่งจะจัดอยู่ในรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพในสถานประกอบการความ คาดหวังในผลการเรียนรูป้ ระสบการณภ์ าคสนามของนักศกึ ษา มดี ังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นแบบอย่างท่ีดีและความรับผิดชอบในการ ทางานหน้าทคี่ รู มจี ติ สาธารณะ และเสยี สละใหส้ ังคม 2) มีทักษะในการปฏิบัติงานจริงด้านวิศวกรรมเคร่ืองกล จากสถานประกอบการ และมีความเข้าใจในทฤษฎี และการปฏบิ ัตจิ ริงมากย่งิ ขน้ึ 3) บูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพ่ือนาไปแก้ปัญหาทางวิศวกรรมเคร่ืองกลในสถานประกอบการได้อย่าง เหมาะสม คิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหมๆ่ ได้ 4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูล อย่างเป็นระบบ และถา่ ยทอดเทคโนโลยไี ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) มีระเบยี บวนิ ัย ตรงเวลา เขา้ ใจวฒั นธรรมองคก์ รและสามารถปรบั ตวั เขา้ กับสถานประกอบการได้ 6) มีความกลา้ ในการแสดงออก และนาความคิดสรา้ งสรรค์ไปใชป้ ระโยชน์ในงานได้ 2.2.2 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น ของชน้ั ปกี ารศึกษาท่ี 2 3. ข้อกาหนดเก่ยี วกบั การทาโครงงานหรืองานวจิ ัย ข้อกาหนดในการทาโครงการ ต้องเป็นหัวข้อท่ีเก่ียวกับการประยุกต์ใช้ หรือเพ่ือการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในงาน โดยให้สร้างชิน้ ในด้าน และบรู ณาการด้านครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม ให้มีหลกั ทฤษฎอี ้างอิงและสามารถนาไปใช้ งานจริงได้เมื่อโครงการสาเร็จ โดยมีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ 1-4 คน โดยจะต้องมีรายงานท่ีตอ้ งนาส่งตามรูปแบบ และระยะเวลาตามท่ีหลักสูตรกาหนดอย่างถูกต้อง หรือเป็นโครงการที่มุ่งเน้นการสร้างผลงานวิจัย/นวัตกรรม ทางด้านอุตสาหกรรม 3.1 คาอธิบายโดยยอ่ วางแผนขั้นตอนและระเบียบการเสนอหัวข้อโครงการ การทบทวนวรรณกรรม การวิเคราะห์ปัญหาและ ความเป็นไปได้ของโครงการวิศวกรรมเครื่องกล การวางแผนการสร้างโครงการด้านวิศวกรรมเครื่องกล วิเคราะห์ ออกแบบและสร้างโครงการ การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการสร้าง อันเกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพด้านวิศวกรรมเคร่ืองกล หรือต่อสังคมส่วนรวม และการนาเสนอ ผลงาน

66 3.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นักศึกษาสามารถทางานเป็นทีม มีความเช่ียวชาญในการใช้เครื่องมือ มีทักษะในวิชาชีพในการทาโครงการ โครงการสามารถเปน็ ตน้ แบบในการพัฒนาตอ่ ได้ 3.3 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ 2 ของปกี ารศึกษาที่ 3 3.4 จานวนหนว่ ยกติ 4 หนว่ ยกิต 3.5 การเตรียมการ มีคู่มือการทาโครงการ มีการกาหนดช่ัวโมงการให้คาปรกึ ษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษาให้ข้อมูลข่าวสาร เก่ียวกบั โครงการเป็นสมุดบันทกึ และปรบั ขอ้ มูลใหเ้ ป็นปจั จบุ ันอยู่เสมอ อกี ท้งั มีภาพตัวอย่างโครงการ 3.6 กระบวนการประเมนิ ผล ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ในการทาโครงการ จากสมดุ บันทกึ โดยอาจารยท์ ปี่ รึกษา และประเมนิ คะแนนจากรายงานที่ ได้กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลาและช้นิ งาน ซ่งึ สามารถทางานได้ในข้นั ตน้ โดยเฉพาะสว่ นทีท่ างานหลกั ของโครงการ และจัดสอบโดยนาเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสอบไม่นอ้ ยกวา่ 3 คน

67 หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพิเศษของนกั ศึกษา คณุ ลักษณะพเิ ศษ กลยุทธ์หรอื กจิ กรรมของนกั ศกึ ษา ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ - มีการสอดแทรกเก่ียวกับ การแต่งกาย การเข้าสังคม เทคนิคการ เจรจา สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ และการวางตัวในการทางานใน บางรายวชิ าทเี่ กย่ี วขอ้ ง และในกจิ กรรมปฐมนเิ ทศและปัจฉิมนเิ ทศ ด้านภาวะผนู้ า และความ - กาหนดให้นักศึกษาเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมสม่าเสมอและตรงต่อ รับผิดชอบตลอดจนมวี ินยั ใน เวลา ตนเอง - ให้มีการทางานกลุ่มและมอบหมายให้นักศึกษาหมุนเวียนกันเป็น หัวหน้าในการดาเนินกิจกรรมเพื่อฝึกด้านภาวะผู้นาในรายวิชาของ หลักสูตรและกจิ กรรมของภาควิชา - จัดการเรยี นการสอนหรอื จดั กจิ กรรมท่ีมีการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง คุณธรรม จริยธรรม และ - มีวิธีการปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรง จรรยาบรรณวชิ าชีพ ต่อเวลา ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยันหม่ันเพียร สานึกในจรรยาวิชาชีพ รับผิดชอบตอ่ หน้าทแ่ี ละสงั คม ด้านความเป็นครูชา่ ง - เปน็ ฝึกผเู้ รยี นให้เปน็ นกั ปฏิบตั ิ ลงมือทาไดจ้ รงิ และเช่ยี วชาญด้าน ทฤษฎี - เปน็ ผทู้ ส่ี ามารถถา่ ยทอดความรูไ้ ดอ้ ย่างแมน่ ยาท้ังทฤษฎแี ละปฏิบัติ - มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของความเป็นครชู ่าง - เปน็ ผมู้ ีความใฝร่ ู้ แสวงหาความรรู้ อบตวั อยตู่ ลอดเวลา

68 2. การพัฒนาผลการเรยี นรู้ในแตล่ ะดา้ น 2.1 หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนินชวี ิต บนพ้ืนฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) สามารถวิเคราะห์ประเด็นคุณธรรม จรยิ ธรรม 3) ซ่ือสตั ย์ ขยัน อดทน มวี ินยั ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและขอ้ บงั คับขององคก์ ร และสังคม 1.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทีใ่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1) จัดกจิ กรรมเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม 2) สอดแทรกประเด็นคณุ ธรรมจรยิ กรรมท่ีกาลังพูดคยุ ในสังคม 3) สอดแทรกความซือ่ สัตย์ต่อตนเอง และสงั คม ใหค้ วามสาคญั ในวนิ ัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาทก่ี าหนด เน้นเร่ือการแต่งกายและปฏิบตั ิตนทเ่ี หมาะสม ถกู ตอ้ ง ตามระเบยี บข้อบังคบั ของมหาวิทยาลยั 1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) พิจารณาจากกจิ กรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักศึกษา 2) การอภปิ รายในชั้นเรียนเกย่ี วกับประเด็นคุณธรรม จริยธรรม 3) การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าช้ันเรยี นและการสง่ งานตรงเวลา 4) สงั เกตพฤติกรรมของนกั ศกึ ษาในการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและข้อบงั คับตา่ ง ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ 1) มคี วามรู้และทกั ษะพ้นื ฐาน เพอ่ื นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนาความรู้ไปสูก่ ารสรา้ ง นวัตกรรม 2) มีความรทู้ ันต่อความก้าวหนา้ และการเปลย่ี นแปลง 3) สามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั การเป็นผปู้ ระกอบการ 2.2 กลยุทธก์ ารสอนทใ่ี ชพ้ ฒั นาการเรยี นร้ดู า้ นความรู้ 1) ใช้การสอนหลายรปู แบบ โดยเนน้ หลักทางทฤษฎีและการปฏบิ ัติ เพ่อื ให้เกิดองค์ ความรู้ 2) จัดให้มกี ารเรยี นรู้จากประสบการณ์ตรง และสถานการณ์ทีเ่ ปน็ ปัจจุบนั 3) จดั ใหม้ กี ารเรยี นร้จู ากสถานการณจ์ รงิ โดยการศึกษาดงู านในสถานประกอบการ

69 2.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ ้านความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี รายงานที่มอบหมาย และผลงานและการ ปฏบิ ัติการ 2) ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดงู าน 3) ประเมนิ จากการปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนด ระเบียบ ข้อบังคับ 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ผลการเรยี นรูด้ ้านทักษะทางปญั ญา 1) มีทักษะการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองตลอดชีวิต 2) สามารถแกไ้ ขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแกไ้ ขไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถใชข้ อ้ มูล ประมวลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 3.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นรูด้ ้านทกั ษะทางปัญญา 1) ให้นกั ศึกษาฝึกการคน้ หาความรใู้ หมอ่ ยตู่ ลอดเวลา 2) สง่ เสริมการเรยี นรจู้ ากการแกป้ ัญหา (Problem Based Instruction) 3) มอบหมายงานทส่ี ง่ เสรมิ การคดิ วิเคราะหแ์ ละสังเคราะห์ 3.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรูด้ ้านทักษะทางปญั ญา 1) ประเมนิ จากรายงาน ผลการคน้ คว้า 2) ประเมินจากการรายงานผลการดาเนนิ งานและการแกป้ ญั หา ผลการปฏบิ ตั กิ ารจาก สถานการณจ์ รงิ 3) ประเมนิ จากการทดสอบ การวเิ คราะหก์ รณศี ึกษาตา่ งๆ 4. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ 1) มีบคุ ลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีและทางานเป็นทีม ได้ 2) มีสานึกสาธารณะและจติ อาสา เป็นพลเมืองทม่ี ีคณุ ค่าตอ่ สังคมไทยและสังคมโลก 3) มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 4.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและ ความรบั ผิดชอบ 1) กาหนดการทางานกลมุ่ โดยใหห้ มุนเวียนการเป็นผู้นาและผู้รายงาน 2) ให้คาแนะนาในการเขา้ รว่ มกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวทิ ยาลยั ฯ 3) ให้ความสาคญั ในการแบง่ หนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบและการใหค้ วามรว่ มมอื

70 4.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรูด้ า้ นทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความ รับผิดชอบ 1) ประเมินผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกิจกรรมกลุม่ 2) พิจารณาจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักศึกษา 3) ประเมนิ จากการรายงานหน้าช้นั เรียนและจากการสังเกตพฤติกรรม 5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1) สามารถเลือกและประยุกตใ์ ชเ้ ทคนิคทางสถิตแิ ละคณิตศาสตร์ที่เกีย่ วขอ้ งมาใชใ้ นการ ดารงชวี ติ และปฏิบัติงานได้อยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพื่อนามาวิเคราะห์และสนับสนุน การตดั สนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการสื่อสารและการนาเสนอท่ีเหมาะสมต่อบุคคลท่ี หลากหลาย 5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใชพ้ ัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ส่งเสริมให้เห็นความสาคัญ และฝึกให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิง ตัวเลข 2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆและให้นักศึกษานาเสนอหน้า ช้นั 3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงานท่ี ได้รับมอบหมาย และฝึกการนาเสนอผลงานโดยเน้นความสาคัญของการใช้ภาษา และบคุ ลิกภาพ 5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู ้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่ือสาร และ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) ประเมินจากงานที่มอบหมาย ความสามารถในการคานวณด้วยหลักคณิตศาสตร์เชิง ตัวเลข 2) พิจารณาจากรายงานการค้นคว้าข้อมูล วิธีการนาข้อมูลออกมานาเสนอ และการ ประยกุ ต์ ใช้งาน 3) พจิ ารณาจากวธิ ีการนาเสนอการใชข้ ้อมลู

71 2.2 หมวดวชิ าเฉพาะ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) แสดงออกซึ่งความรกั และศรัทธาและภูมิใจในวชิ าชพี ครูและจติ วญิ ญาณความเป็นครู และปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น มีความเสียสละ รับผิดชอบและซ่ือสัตย์ต่อ งาน ที่ได้รับมอบหมายท้ังด้านวิชาการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ และเสริมสรา้ งการพฒั นาท่ยี ่ังยนื 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การเคารพสิทธิ และให้เกียรติคนอื่น มคี วามสามัคคีและทางานรว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสขุ และใชเ้ หตผุ ลและปัญญาใน การดาเนนิ ชีวติ และการตัดสินใจ 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สามารถวนิ จิ ฉยั จัดการและคิด แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกตอ้ งเหมาะสมกับสังคม การทางานและ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐาน ทางสงั คม ความรสู้ กึ ของผูอ้ นื่ และประโยชนข์ องสงั คมส่วนรวม มจี ิตสานึกในการธารง ความโปร่งใสของสังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นและความไม่ ถูกตอ้ ง ไมใ่ ช้ขอ้ มูลบดิ เบอื น หรอื การลอกเลียนผลงาน 1.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรยี นรูด้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) การวเิ คราะหแ์ บบวภิ าษวิธี (Dialectics) ในประเด็นวกิ ฤตดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมของ สังคมและวิชาการ รวมท้ังประเดน็ วิกฤตของจรรยาบรรณวิชาชพี ครูและเป็นพลเมือง ที่ เข้มแขง็ ตามยทุ ธศาสตร์ชาติ 2) การเรยี นรูโ้ ดยการปฏสิ มั พนั ธ์เชงิ ปฏบิ ัติการ (Interactive action learning) และ กรณศี กึ ษา (Case study) ที่สอดคล้องกบั วิชาชพี ครูและวชิ าชพี ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 3) การใช้บทบาทสมมติในการแสดงออกทาง ความคิด คาพูด การกระทา เพอ่ื การอยู่ ร่วมกนั อยา่ งมคี วามสุขบนพืน้ ฐานความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล วฒั นธรรมและชุมชน 4) การสืบสอบทฤษฎที ี่เก่ียวขอ้ งกับพัฒนาการของคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การวัดคุณธรรม จรยิ ธรรมเพือ่ นาไปประยุกตใ์ ช้ในการประกอบวชิ าชีพครแู ละวชิ าชพี ท่เี ก่ียวขอ้ ง 5) การเขา้ ร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครู เพื่อประเมนิ และสง่ เสริมคา่ นยิ มความเป็นครู 1.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) วดั และประเมนิ จากผลการวิเคราะห์แบบวิภาษวิธี 2) วัดและประเมนิ จากการทากิจกรรมกลมุ่ เชงิ ปฏิบัตกิ ารและกรณีศึกษา 3) วัดและประเมินจากผลการปฏิบัติกจิ กรรมในการแสดงบทบาทสมมติ

72 4) วดั และประเมนิ จากผลงานการสืบสอบพัฒนาการของคุณธรรมจริยธรรม การวัด คณุ ธรรมจริยธรรม 5) วดั และประเมนิ จากผลการเข้าร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครเู ป็นรายปตี ลอดหลักสตู ร 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านความรู้ 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนอื้ หาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านยิ ม ของครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จิตวิทยาสาหรับครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพ่ือจัดการเรียนรู้และ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี น หลักสูตรและวิทยาการการจัดการ เรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้ การวัดประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมเพื่อ พัฒนาผู้เรียน และภาษาเพื่อการส่ือสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะเทคโนโลยีและดิจิทัล ทักษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือ สร้างสรรค์ และทักษะศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความเข้าใจในการบูรณาการความรู้ กับการปฏิบัติจริงและการบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และมีความรู้ในการ ประยกุ ต์ใช้ 2) มีความรู้และเน้ือหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่างลึกซ้ึง ถ่องแท้ รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอตุ สาหกรรมและ/หรือ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เก่ียวข้องในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้ เคร่ืองมือ การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสร้าง การพัฒนากระบวนการ ขั้นตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตามความก้าวหน้า ดา้ นวิทยาการท่ีเก่ียวข้องและนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาผู้เรียนไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ของ แต่ละสาขาวิชา ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย ความรู้ทางด้านเคร่ืองกลข้ันสูง สามารถ คานวณ ออกแบบและวิเคราะห์ทาง เคร่ืองกลเพื่อแก้ปญั หางานด้านอุตสาหกรรมเคร่ืองกล สามารถออกแบบ การจัดการ เรียนรู้ในสถานศึกษาและการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการ มี ความสามารถ ในการใช้เคร่ืองมือและควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรมเพ่ือสร้าง ผลงาน พัฒนาองค์ความรู้และแก้ปัญหางาน อุตสาหกรรมเครื่องกล มีความสามารถ ในการเลือกใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนและเทคโนโลยี เพ่ือการเรียนรู้ท่ี หลากหลายและทันการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีเน้นทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อ

73 จัดการเรียนรู้ และปฏิบัติงานในสถานศึกษาและสถานประกอบการ เพ่ือพัฒนา ผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะ ตามมาตรฐานอาชีพ 1) ความรู้ พ้ืนฐานทางวิศวกรรมเคร่ืองกล 2) การออกแบบเชิงกล 3) อุณหศาสตร์และของไหล 4) ระบบพลศาสตร์และการควบคุม 5) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้าน วศิ วกรรมเคร่ืองกลเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านเคร่ืองกล และการศึกษา 6) วิทยาการหรือเทคโนโลยีสมัยใหม่เกี่ยวกับวิศวกรรมเคร่ืองกล 7) มาตรฐาน อุตสาหกรรมหรอื มาตรฐานอื่นท่ีเก่ียวขอ้ ง 3) เข้าใจชุมชน เข้าใจชีวิต มีความรู้ บริบทอุตสาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยรู่ ่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวฒั นธรรม สามารถเผชญิ และเท่าทัน กับการเปล่ียนแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ และพัฒนาตน พัฒนางาน และพฒั นาผูเ้ รยี น 4) มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เพ่ือการสอ่ื สาร ตาม มาตรฐาน 5) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่าและความสาคัญของศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน และนามา ประยุกตใ์ ชใ้ นการพัฒนาตน พฒั นาผเู้ รยี น พฒั นางานและพฒั นาชุมชน 2.2 กลยทุ ธก์ ารสอนที่ใชพ้ ฒั นาการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ 1) การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้และการเรียนรู้แบบต่าง ๆ ในศตวรรษที่ 21 ท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาทางวิชาการและวิชาชีพที่ทันต่อการเปล่ียนแปลงในระดับ ต่าง ๆ 2) กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสาหรับการทบทวนวรรณกรรม สรุปองค์ความรู้เก่ียวกับการบูรณาการทฤษฎีและหลักการสาคัญทางวิชาชีพครูและ วิชาชีพเฉพาะทางที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้และการฝึกอบรม รวมทั้ง เพ่อื การพฒั นานวตั กรรมในสาขาอาชพี ท่เี ก่ยี วข้อง 3) การมอบหมายโครงงานสาหรับการวิเคราะห์สมรรถนะอาชีพเพ่ือกาหนดหัวข้อ การบูรณาการความรู้ ทักษะปฏิบัติและเจตคติ รวมทั้งการวางแผนพัฒนาหลักสูตร รายวิชาและหลักสตู รการฝกึ อบรมอาชพี เฉพาะทาง 4) การเรียนรู้ร่วมมือจากโจทย์ตัวอย่างในสถานประกอบการจริงเพื่อประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรยี นรู้วิชาชพี เฉพาะทาง รวมท้ังกาหนดแนวทางการแกไ้ ขปัญหา การวิจยั ดว้ ย วิธีการที่เหมาะสมตามหลักการทางวชิ าชีพของสาขาอาชีพตา่ ง ๆ ให้เกิดประโยชน์ใน วงกวา้ ง 5) การเรียนรู้แบบสืบสอบ (Inquiry method) เก่ียวกับมาตรฐานและระบบต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับวชิ าชพี ครูและวิชาชีพเฉพาะทางของแตล่ ะสาขาอาชีพ 6) การเข้ารว่ มกจิ กรรมเสริมความเปน็ ครู

74 2.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ 1) วัดและประเมนิ จากผลการวิเคราะห์และสังเคราะหอ์ งค์ความรู้และการเรียนร้แู บบ ตา่ ง ๆ ในศตวรรษที่ 21 2) วัดและประเมินจากผลการทากจิ กรรมการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง 3) วัดและประเมินจากผลจากโครงงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 4) วดั และประเมนิ จากการเรยี นรู้รว่ มมอื จากโจทยต์ วั อย่างในสถานประกอบการจริง 5) วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ บบสืบสอบเกี่ยวกบั มาตรฐานและระบบตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้อง 6) วดั และประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครเู ปน็ รายปีตลอด หลักสตู ร 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านทักษะทางปญั ญา 1) สามารถคิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูลสื่อสารสนเทศ จาก แหล่งข้อมูลท่ีหลากหลายอย่างรู้เท่าทัน เป็นพลเมืองตื่นรู้ มีสานึกสากล สามารถ เผชิญและก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์ม และโลกอนาคต นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และวนิ ิจฉัยแก้ปญั หาและพัฒนา งานได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงถึงความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ ภาคปฏิบัติ ค่านิยม แนวคิด นโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ บรรทัดฐานทางสังคมและ ผลกระทบทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ 2) สามารถคดิ รเิ รม่ิ และพฒั นางานอยา่ งสร้างสรรค์ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทาวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้าง ผลิตภาพ หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน สถานประกอบการและสังคม 3.2 กลยทุ ธ์การสอนดา้ นทกั ษะทางปัญญา 1) การค้นหาและวิเคราะห์เกีย่ วกับข้อเท็จจริง ข้อมูลสารสนเทศทางวิชาการและวิชาชีพ ในบริบทตา่ ง ๆ เพ่ือใช้ในการปฏบิ ตั ิงานและการจัดการเรยี นรู้ในวชิ าชีพเฉพาะทาง 2) การคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรมและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในสาขาอาชีพ ได้ด้วยตัวเองผ่านกระบวนการวิจัย (Research-based learning) ท่ีสอดคล้องกับ โจทย์วจิ ัยจากสถานประกอบการในสาขาวิชาชพี เฉพาะทางทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 3) การจัดการศึกษาและทากิจกรรมกลุ่มท่ีเน้นผลลัพธ์เป็นฐาน (Outcome based Education) แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ เป็ น ฐ า น (Competency based Education) ในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีเน้นการส่งเสริมกระบวนทัศน์วิสัยทัศน์ สอดคล้องกับการพัฒนา

75 กระบวนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาทางวิชาชีพเฉพาะบนพ้นื ฐานความตอ้ งการของ ผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ผ้ปู กครองและชมุ ชน 4) การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปญั ญา 1) วัดและประเมินจากผลการค้นหาและวเิ คราะหเ์ กีย่ วกับข้อเท็จจรงิ ข้อมูลสารสนเทศ 2) วัดและประเมินจากผลการทาวิจัยเพื่อการคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรม และ พฒั นาองคค์ วามร้ใู หม่ 3) วดั และประเมนิ จากผลการทากจิ กรรมกลุม่ ทีเ่ นน้ ผลลพั ธ์เปน็ ฐาน (Outcome based Education) และสมรรถนะเป็นฐาน (Competency based Education) ในรูปแบบต่าง ๆ 4) วดั และประเมินจากการเข้ารว่ มกิจกรรมเสริมความเป็นครูเป็นรายปีตลอดหลักสตู ร 4. ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ 1) รับรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืน เข้าใจผู้อน่ื มีความคิดเชงิ บวก มีวฒุ ิภาวะทางอารมณ์และทาง สังคม 2) ทางานร่วมกับผู้อ่ืน ทางานเปน็ ทีม เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีสัมพันธภาพที่ดีกบั ผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสานึก รับผิดชอบต่อส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเอง ในวิชาชีพ เคารพในเกียรติ และศักดิ์ศรขี องผอู้ นื่ และความเป็นมนุษย์ 3) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถช่วยเหลือและแก้ปัญหาตนเอง กลุม่ และระหวา่ งกลมุ่ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ 4) มีภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ มีความเข้มแข็งและกล้าหาญทางจริยธรรม สามารถช้ีนา และถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชนและสังคมอย่าง สรา้ งสรรค์ 4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 1) การเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) เพ่ือ ทากิจกรรมการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การคิดให้ความเห็นและการรับฟัง ความเห็นแบบสะท้อนกลบั (Reflective thinking) 2) การเป็นผู้นาแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนาเสนองานวิชาการ ทางด้านวชิ าชีพครูและวิชาชีพเฉพาะทาง และการกระทาตนในบทบาทของผู้ตามที่ดี เพือ่ การสนบั สนนุ ใหเ้ กิดการทางานร่วมกนั อยา่ งมีความสขุ และมีประสิทธภิ าพ

76 3) การทากิจกรรมกลุ่มเพ่ือการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ปกครองและ ชุมชนรวมทัง้ การสรา้ งเครือขา่ ยสนบั สนุนการเรียนรรู้ ว่ มกันของแต่ละสาขาอาชพี 4) การเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1) วดั และประเมินจากผลการเรียนแบบมีสว่ นร่วมปฏบิ ตั ิการ 2) วัดและประเมนิ จากบทบาทการเป็นผนู้ าและผตู้ ามท่ดี ี 3) วัดและประเมนิ จากผลการทากิจกรรมกลุ่มเพื่อการสร้างปฏิสมั พันธแ์ ละเครือขา่ ย 4) วัดและประเมนิ จากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครูเปน็ รายปีตลอดหลกั สูตร 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) วิเคราะห์เชิงตัวเลข สาหรับข้อมูลและสารสนเทศ ท้ังท่ีเป็นตัวเลขเชิงสถิติ หรือ คณติ ศาสตร์ เพอ่ื เขา้ ใจองคค์ วามรู้ หรอื ประเดน็ ปัญหาได้อย่างรวดเร็วและถกู ตอ้ ง 2) ส่ือสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการหลากหลาย ท้ังการพูด การเขียน และการน าเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทีเ่ หมาะสม 3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอปพลิเคชัน หรือเพล็ตฟอรม์ รวมท้ังอุปกรณ์สนับสนุนท่ีทันสมัย จาเป็นสาหรับ การจัดการเรยี นรู้ การวิจัย การทางาน และการประชุม รวมท้ังสามารถติดตามความก้าวหน้า การ จัดการและสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลย พินิจท่ีดีในการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีกท้ังตระหนัก ถงึ การละเมิดลขิ สิทธิ์และการลอกเลยี นผลงาน 5.2 กลยทุ ธก์ ารสอนด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สง่ เสรมิ การสบื ค้นและตคี วามข้อมูลข่าวสารในสังคม สารสนเทศทางวิชาชพี ครูและ วิชาชีพเฉพาะทางโดยใช้เทคโนโลยที ที่ ันสมยั เพ่อื วเิ คราะหแ์ ละนาเสนอผ่านการพดู การเขียน ดว้ ยภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2) เทคนคิ และทักษะในการคานวณเชิงตวั เลข เชิงสถิติ เพอื่ การวิเคราะหข์ ้อมลู ทาง วิชาชพี ครทู ส่ี อดคล้องกับการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น และทางวชิ าชพี เฉพาะทางท่ี สอดคลอ้ งกับการพัฒนางานในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ โดยใช้เทคโนโลยที ที่ ันสมยั 3) การเข้ารว่ มกิจกรรมเสริมความเปน็ ครเู ป็นรายปีตลอดหลักสตู ร

77 5.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การสอื่ สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) วัดและประเมนิ จากผลการสืบค้นและตคี วามและนาเสนอสารสนเทศด้วยเทคโนโลยที ี่ ทนั สมยั 2) วัดและประเมินจากผลการคานวณเชิงตัวเลข เชิงสถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้เทคโนโลยที ่ีทันสมัย 3) วัดและประเมินจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสริมความเปน็ ครเู ปน็ รายปตี ลอดหลกั สตู ร 6. ดา้ นวธิ ดี ้านทกั ษะการจดั การเรียนรู้ 6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการปฏิบตั แิ ละการจดั การเรยี นรู้ 1) มีความเช่ยี วชาญในการจัดการเรยี นรู้ และสอนงาน ด้วยรปู แบบ วิธีการที่หลากหลาย โดยเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ ศูนยก์ ลาง สามารถออกแบบและสรา้ งหลกั สูตรรายวิชาในชัน้ เรยี น หรือหลักสูตรฝึกอบรม วางแผนและออกแบบเน้ือหาสาระและกิจกรรมการจัดการ เรียนรู้ บริหารจัดการช้ันเรียน และ/หรือสถานประกอบการ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี วดั และประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ 2) มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดการเรียนรู้ หรือ สอนงานได้อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ท้ัง ผู้เรยี นปกตหิ รอื ทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ หรอื ตา่ งวัฒนธรรม 3) จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและการทางานในสถานการณ์จริงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาการคิด การทางาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น โดยบูรณาการการทางานกับการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยกุ ตค์ วามรูม้ าใช้เพือ่ ป้องกัน แกไ้ ขปัญหา และพัฒนา 4) สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาท้ังในและนอกสถานศึกษาเพือ่ การเรียนรู้ มีความสามารถใน การประสานงานและสรา้ งความร่วมมอื กบั บดิ ามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชมุ ชน ทุกฝ่าย เพื่ออานวยความสะดวกและร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้ มี ปัญญารู้คดิ และเกิดการใฝ่รอู้ ยา่ งต่อเน่ืองให้เตม็ ตามศักยภาพ 5) นาทักษะศตวรรษที่ 21 และเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน และพัฒนาตนเอง เช่น ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะการรู้เร่ือง (Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการทางานแบบร่วมมือ และ ดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง.

78 6.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ใี ชพ้ ฒั นาทกั ษะการปฏิบัตแิ ละการจัดการเรียนรู้ 1) การจดั การเรียนการสอนทง้ั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สาขาวิชาชพี 2) การพัฒนารูปแบบการเรยี นรู้ทร่ี องรับกบั ความแตกตา่ งของผเู้ รยี น 3) การบรู ณาการการเรียนรูท้ ร่ี องรบั กับการศึกษาตลอดชีวติ 4) การเข้าร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 6.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลทักษะการปฏบิ ตั ิและการจดั การเรียนรู้ 1) วัดและประเมนิ จากผลการฝกึ ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัติทเี่ กี่ยวข้องกบั สาขาวิชาชพี 2) วัดและประเมินรูปแบบการเรยี นร้ทู รี่ องรบั กับความแตกตา่ งของผ้เู รียน 3) วดั และประเมินการบูรณาการการเรียนรูท้ ร่ี องรับกบั การศกึ ษาตลอดชวี ติ 4) วดั และประเมนิ จากการเข้าร่วมกจิ กรรมเสริมความเป็นครู 2. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรูจ้ ากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง (ตามท่ีระบุในหมวดที่ 4 ข้อ 2) โดยระบุว่าเป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง ซ่ึงบางรายวิชาอาจไม่นาสู่ผลการ เรียนรบู้ างเรือ่ งก็ได้ จะแสดงเป็นเอกสารแนบท้ายก็ได้ ผลการเรยี นร้ใู นตารางมคี วามหมายดังน้ี หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนนิ ชีวิต บนพ้ืนฐานเศรษฐกจิ พอเพียง 2) สามารถวิเคราะห์ประเดน็ คุณธรรม จริยธรรม 3) ซื่อสตั ย์ ขยนั อดทน มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคบั ขององค์กรและสังคม 2. ความรู้ 1) มคี วามรู้และทกั ษะพนื้ ฐาน เพ่อื นาไปตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ หรอื นาความรูไ้ ปส่กู ารสรา้ ง นวัตกรรม 2) มีความรูท้ ันตอ่ ความกา้ วหน้าและการเปลย่ี นแปลง 3) สามารถนาความร้ไู ปปรับใชใ้ ห้เหมาะสมกับการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 3. ทักษะทางปญั ญา 1) มีทักษะการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองตลอดชีวติ 2) สามารถแก้ไขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแก้ไขไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) สามารถใช้ข้อมูล ประมวลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ

79 4. ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผิดชอบ 1) มีบคุ ลกิ ภาพและมนษุ ย์สมั พนั ธท์ ด่ี ี สามารถเป็นผ้นู าและผูต้ ามท่ีดีและทางานเปน็ ทมี ได้ 2) มีสานกึ สาธารณะและจติ อาสา เปน็ พลเมอื งทีม่ ีคณุ ค่าตอ่ สังคมไทยและสังคมโลก 3) มคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม 5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สามารถเลอื กและประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิคทางสถิติและคณติ ศาสตรท์ ี่เกี่ยวข้องมาใช้ในการ ดารงชวี ิตและปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ เพอ่ื นามาวเิ คราะหแ์ ละสนบั สนนุ การ ตัดสนิ ใจ 3) สามารถเลอื กรปู แบบของการสื่อสารและการนาเสนอท่เี หมาะสมตอ่ บคุ คลทีห่ ลากหลาย

8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อ 1) มีทักษะการแส ดาเนินชวี ิตบนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชีว ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ความรูไ้ ปสกู่ ารสรา้ งนวตั กรรม 2) สามารถแก้ไข 2) ส าม ารถ วิเค ราะ ห์ ป ระ เด็ น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทาง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการเปลี่ยนแปลง สร้างสรรค์ 3) ซ่ือสัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อ ต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข ขอ้ บังคบั ขององคก์ รและสังคม ผู้ประกอบการ ระบบ

0 าหรบั หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป ทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข บุคคลและความรบั ผิดชอบ การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สวงหาความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1)สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ วติ ที่ดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ขปัญหาได้ และ ตามท่ดี ีและทางานเปน็ ทีมได้ ท่ีเกี่ยวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต งการแก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างเหมาะสม เป็ น พ ล เมื อ งที่ มี คุ ณ ค่ าต่ อ 2)ส า ม า ร ถ ใช้ ง า น เท ค โน โล ยี อมูล ประมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เท ศ ใน ก า ร สื บ ค้ น เพื่ อ ข้อมูลได้อย่างเป็น 3) มีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม นามาวิเคราะหแ์ ละสนบั สนุนการ 80 ตัดสนิ ใจ 3)สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บคุ คลท่ีหลากหลาย

8 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห  ความรบั ผิดชอบหลัก 1. คุณธรร จรยิ ธรรม รายวิชา 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเพอื่ การพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื 12 01-010-022 วถิ ธี รรมวถิ ไี ทย 01-610-014 ทักษะกฬี าเพ่ือสขุ ภาพ  01-610-003 นนั ทนาการ  01-320-001 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 1   01-320-002 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 2  01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ  01-320-006 ภาษาอังกฤษเพ่ือวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพ่ือการทดสอบ

1 หลกั สตู รสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง รม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ ม ปญั ญา ความสมั พนั ธ์ วิเคราะห์เชิงตัวเลข ระหวา่ งบคุ คลและ การส่ือสารและการ ความรบั ผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 3123123123123        81           O  O O O      O  O       

8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพ่ือ 1) มีทักษะการแส ดาเนนิ ชวี ิตบนพ้ืน นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชีว ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรูไ้ ปสกู่ ารสรา้ งนวตั กรรม 2) สามารถแก้ไข 2) ส าม ารถ วิเค ราะ ห์ ป ระ เด็ น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทาง คุณธรรม จริยธรรม และการเปลี่ยนแปลง สร้างสรรค์ 3) ซ่ือสัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อ ต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข ขอ้ บงั คบั ขององคก์ รและสังคม ผู้ประกอบการ ระบบ

2 าหรบั หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป ทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข บุคคลและความรบั ผิดชอบ การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สวงหาความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1)สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ วติ ที่ดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ขปัญหาได้ และ ตามทด่ี ีและทางานเปน็ ทีมได้ ท่ีเกี่ยวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต งการแก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างเหมาะสม เป็ น พ ล เมื อ งที่ มี คุ ณ ค่ าต่ อ 2)ส า ม า ร ถ ใช้ ง า น เท ค โน โล ยี 82 อมูล ประมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เท ศ ใน ก า ร สื บ ค้ น เพื่ อ ข้อมูลได้อย่างเป็น 3) มีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม นามาวิเคราะหแ์ ละสนบั สนุนการ ตัดสนิ ใจ 3)สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บคุ คลท่ีหลากหลาย

8 แผนที่แสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห  ความรับผดิ ชอบหลกั 1. คุณธรร จรยิ ธรรม รายวชิ า 12 09-000-001 ทักษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 09-000-002 09-000-003 การใชง้ านโปรแกรมสาเร็จรปู เพ่ืองานมัลติมีเดีย 09-111-051 09-121-001 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การตัดสินใจ 09-121-002 09-210-003 คณติ ศาสตร์ในชวี ิตประจาวนั  00-100-101 00-100-201 สถติ ิในชีวติ ประจาวัน 00-100-202 00-100-301 สถติ ิเบ้ืองตน้ สาหรบั นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม อัตลักษณแ์ ห่งราชมงคลธญั บรุ ี  มหาวิทยาลัยสีเขียว  การคิดเชิงออกแบบ ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 

3 หลกั สตู รส่รู ายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป  ความรบั ผดิ ชอบรอง รม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ ม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข ระหวา่ งบุคคลและ การสื่อสารและการ ความรับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 3123123123123       83    ●  O ● ●● ● ●● O●● ●O ● ●      ●●   ●●   ● ● ● ●

84 หมวดวชิ าเฉพาะ 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 1) แสดงออกซ่ึงความรักและศรัทธาและภูมิใจในวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกล้ัน มีความเสียสละ รับผิดชอบและซ่ือสัตย์ต่องาน ท่ีได้รับมอบหมายทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแกศ่ ษิ ย์ ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ และเสรมิ สรา้ ง การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การเคารพสิทธิ และให้เกียรติคนอื่น มี ความสามัคคีและทางานร่วมกับผ้อู ่นื ได้อย่างมีความสุข และใช้เหตุผลและปญั ญาในการ ดาเนนิ ชีวติ และการตดั สินใจ 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานและ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐานทาง สังคม ความรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มีจิตสานึกในการธารงความ โปร่งใสของสงั คมและประเทศชาติ ตอ่ ต้านการทุจริตคอรปั ช่ันและความไม่ถูกตอ้ ง ไม่ใช้ ข้อมูลบดิ เบอื น หรือการลอกเลียนผลงาน 2. ความรู้ 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เน้ือหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยมของครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็น ครู จิตวิทยาสาหรับครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้ และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรและวิทยาการการ จัดการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษาและ การเรียนรู้ การวัดประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนา นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และภาษาเพ่ือการส่ือสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศ และการสอนงาน ทักษะเทคโนโลยีและดิจิทัล ทักษะการทางานวจิ ัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือสร้างสรรค์ และทักษะศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความเข้าใจใน การบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติจริงและการบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบูร ณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และ มีความรใู้ นการประยุกต์ใช้ 2) มีความรู้และเนื้อหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ

85 อย่างลึกซ้ึง ถ่องแท้ รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/ หรือมาตรฐานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้ เคร่ืองมือ การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสร้าง การพัฒนากระบวนการ ข้ันตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัตงิ านและผู้บริโภค สามารถติดตามความก้าวหน้า ดา้ นวทิ ยาการทเี่ กยี่ วข้องและนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการพฒั นาผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้และเนื้อหาสาระดา้ นมาตรฐานผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ของ แต่ละสาขาวิชา ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบาย ความรู้ทางด้านเครื่องกลข้ันสูง สามารถ คานวณ ออกแบบและวิเคราะห์ทาง เครอ่ื งกลเพือ่ แก้ปัญหางานด้านอุตสาหกรรมเคร่ืองกล สามารถออกแบบ การจัดการ เรียนรู้ในสถานศึกษาและการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการ มี ความสามารถ ในการใช้เครื่องมือและควบคุมเคร่ืองจักรอุตสาหกรรมเพ่ือสร้าง ผลงาน พฒั นาองค์ความรูแ้ ละแก้ปญั หางาน อตุ สาหกรรมเคร่ืองกล มีความสามารถ ในการเลือกใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การสอนและเทคโนโลยี เพื่อการเรยี นรู้ที่ หลากหลายและทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อ จัดการเรียนรู้ และปฏิบัติงานในสถานศึกษาและสถานประกอบการ เพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะ ตามมาตรฐานอาชีพ 1) ความรู้ พนื้ ฐานทางวศิ วกรรมเครื่องกล 2) การออกแบบเชงิ กล 3) อุณหศาสตร์และของไหล 4) ระบบพลศาสตร์และการควบคุม 5) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้าน วศิ วกรรมเครอ่ื งกลเพอ่ื การพฒั นาอุตสาหกรรมทางดา้ นเครื่องกล และการศึกษา 6) วิทยาการหรือเทคโนโลยีสมัยใหม่เกี่ยวกับวิศวกรรมเคร่ืองกล 7) มาตรฐาน อุตสาหกรรมหรือมาตรฐานอนื่ ท่ีเก่ียวขอ้ ง 3) เข้าใจชุมชน เข้าใจชวี ิต มีความรู้ บริบทอตุ สาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยู่ร่วมกันบนพ้ืนฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถเผชิญและเท่า ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนา ผเู้ รยี น 4) มคี วามรู้และความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษ เพอ่ื การส่ือสาร ตามมาตรฐาน 5) ตระหนกั รู้ เหน็ คณุ ค่าและความสาคญั ของศาสตรพ์ ระราชาเพ่ือการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื และนามา ประยกุ ต์ใชใ้ นการพฒั นาตน พฒั นาผเู้ รียน พฒั นางานและพัฒนาชุมชน

86 3. ทักษะทางปัญญา 1) สามารถคิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูลสื่อสารสนเทศ จากแหล่งข้อมูล ที่หลากหลายอย่างรู้เท่าทัน เป็นพลเมืองตื่นรู้ มีสานึกสากล สามารถเผชิญและก้าวทันกับ การเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์มและโลกอนาคต นาไป ประยุกตใ์ ช้ในการปฏิบัตงิ าน และวินิจฉัยแก้ปัญหาและพัฒนางานไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ โดย คานึงถึงความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ค่านิยม แนวคิด นโยบาย และยุทธศาสตรช์ าติ บรรทดั ฐานทางสงั คมและผลกระทบท่อี าจเกดิ ขึน้ 2) สามารถคดิ รเิ รม่ิ และพฒั นางานอยา่ งสร้างสรรค์ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทาวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้าง ผลิตภาพ หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรม รวมท้ังการถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน สถาน ประกอบการและสังคม 4. ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) รับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจผู้อ่ืน มีความคิดเชิงบวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และทาง สงั คม 2) ทางานร่วมกับผู้อื่น ทางานเป็นทีม เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสานึก รับผิดชอบต่อส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม สามารถพัฒนาผู้เรียนให้ เกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเอง ในวิชาชีพ เคารพในเกียรติและศักด์ิศรีของ ผู้อ่ืน และความเปน็ มนุษย์ 3) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถ ชว่ ยเหลอื และแกป้ ัญหาตนเอง กล่มุ และระหว่างกลุ่มไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ 4) มีภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ มีความเข้มแข็งและกล้าหาญทางจริยธรรม สามารถ ชีน้ า และถา่ ยทอดความรู้แก่ผเู้ รียน สถานศกึ ษา ชุมชนและสังคมอย่างสรา้ งสรรค์ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) วิเคราะห์เชิงตัวเลข สาหรับข้อมูลและสารสนเทศ ท้ังที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ หรือ คณิตศาสตร์ เพื่อเข้าใจองค์ความรู้ หรอื ประเดน็ ปัญหาไดอ้ ย่างรวดเร็วและถกู ต้อง 2) ส่ือสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มตา่ งๆ อย่างมีประสิทธิภาพดว้ ยวธิ ีการหลากหลากท้ังการ พูด การเขียน และการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่ี เหมาะสม 3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอปพลิเคชัน

87 หรือเพล็ตฟอร์ม รวมทั้งอุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จาเป็นสาหรับ การจัดการเรียนรู้ การ วิจัย การทางาน และการประชุม รวมท้ังสามารถติดตามความก้าวหน้า การจัดการและ สืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจที่ดีในการ ตรวจสอบความน่าเช่อื ถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีกท้ังตระหนักถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ และการลอกเลียนผลงาน 6. ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ 1) มีความเช่ยี วชาญในการจัดการเรียนรู้ และสอนงาน ดว้ ยรูปแบบ วิธีการทห่ี ลากหลาย โดย เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สามารถออกแบบและสร้างหลักสูตรรายวิชาในชั้นเรียน หรือ หลักสูตรฝึกอบรม วางแผนและออกแบบเน้ือหาสาระและกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการช้ันเรียน และ/หรือสถานประกอบการ ใช้สื่อและเทคโนโลยี วัดและ ประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาผู้เรียนอยา่ งเหมาะสมและสร้างสรรค์ 2) มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดการเรียนรู้ หรือสอน งานได้อย่างหลากหลายเพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ทั้งผู้เรียนปกติ หรือท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ หรือตา่ งวัฒนธรรม 3) จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนร้ใู หผ้ ้เู รยี นไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณ์ เรียนร้ผู ่าน การลงมือปฏิบัติและการทางานในสถานการณ์จริงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาการคิด การ ทางาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น โดย บูรณาการการทางานกับการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อป้องกนั แกไ้ ขปัญหา และพฒั นา 4) สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยี วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาท้ังในและนอกสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ มีความสามารถในการ ประสานงานและสร้างความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพอื่ อานวยความสะดวกและร่วมมือกันพฒั นาผเู้ รียนให้มีความรอบรู้ มีปัญญารคู้ ดิ และเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เนอื่ งใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ 5) นาทักษะศตวรรษท่ี 21 และเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนและ พัฒนาตนเอง เช่น ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะการรู้เร่ือง(Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการทางานแบบร่วมมือ และดาเนินชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 3. ด้านทกั ษะทางป 1) แสดงออกซึ่งความรักและศรัทธาและภูมิใจใน 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เน้ือหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยมของครู 1 ) ส า ม า ร ถ คิ ด ค้ น ห า ว คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จติ วิทยาสาหรับครู จิตวิทยา วิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และ พัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนา ข้อเท็จจริง และประเมิน ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ผเู้ รียน หลักสตู รและวิทยาการการจดั การเรยี นรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ส า ร ส น เท ศ จ า ก แ ห ล การศึกษาและการเรยี นรู้ การวัดประเมินการศกึ ษาและการเรยี นรู้ การวิจัยและการพฒั นานวตั กรรม 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น มีความ เพ่ือพัฒนาผู้เรียน และภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะ ห ล า ก ห ล า ย อ ย่ า ง รู้ เ ท่ า เสียสละ รับผิดชอบและซื่อสัตย์ต่องาน ท่ีได้รับ เทคโนโลยีและดิจิทลั ทกั ษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือสรา้ งสรรค์ และทกั ษะ พลเมืองตื่นรู้ มีสานึกสาก มอบหมายทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และ ศตวรรษท่ี 21 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการบรู ณาการความรูก้ ับการปฏิบัติจริงและการบูรณาการขา้ ม เ ผ ชิ ญ แ ล ะ ก้ า ว ทั น สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประพฤติตน ศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เป ลี่ ย น แ ป ล งใน โล ก ย และมคี วามรู้ในการประยุกต์ใช้ เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและ 2) มีความรู้และเนือ้ หาในวชิ าชพี ดา้ นหลักการ แนวคดิ ทฤษฎีและทกั ษะการปฏิบัติ อย่างลกึ ซ้งึ ถ่องแท้ เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/หรือมาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องใน อนาคต นาไปประยุกต ประเทศชาติ และเสรมิ สรา้ งการพฒั นาทีย่ ่ังยนื สาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้เครื่องมือ การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสร้าง 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การพัฒนากระบวนการ ข้ันตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของ ปฏิบัติงาน และวินิจฉัย อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตาม การเคารพสิทธิ และให้เกียรติคนอ่ืน มีความ ความก้าวหน้าด้านวิทยาการท่ีเก่ียวข้องและนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อยา่ งเหมาะสม และพัฒนางานได้อย่างส สามคั คีและทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ โดยมีผลลัพธ์การเรียนรแู้ ละเนอื้ หาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยคานึงถึงความรู้ หล และใช้เหตุผลและปัญญาในการดาเนินชีวิตและ ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบายความรู้ทางด้านเครื่องกลขั้นสูง ทฤษฎี ประสบการณ์ภ การตัดสนิ ใจ สามารถ คานวณ ออกแบบและวิเคราะห์ทางเคร่ืองกลเพื่อแกป้ ัญหางานด้านอุตสาหกรรมเครอ่ื งกล ค่านิ ยม แน วคิ ด น โย สามารถออกแบบ การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในสถาน 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรม ประกอบการ มีความสามารถ ในการใชเ้ ครือ่ งมอื และควบคุมเครอื่ งจักรอตุ สาหกรรมเพ่อื สรา้ งผลงาน ยุทธศาสตร์ชาติ บรรทั จริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด พัฒนาองค์ความรู้และแก้ปัญหางาน อุตสาหกรรมเคร่ืองกล มีความสามารถในการเลือกใช้รูปแบบ สังคมและผลกระทบที่อาจ การจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอนและเทคโนโลยี เพ่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและทันการเปล่ียนแปลง แก้ปัญ หาทางคุณ ธรรมจริยธรรมด้วยความ ของเทคโนโลยีที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อจัดการเรียนรู้ และปฏิบัติงานในสถานศึกษาและสถาน 2) สามารถคิดริเริ่มและพ ประกอบการ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะ ตามมาตรฐานอาชีพ 1) ถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานและ ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมเคร่ืองกล 2) การออกแบบเชิงกล 3) อุณหศาสตร์และของไหล 4) อยา่ งสรา้ งสรรค์ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและ ระบบพลศาสตร์และการควบคุม 5) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลเพื่อการ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความ ใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคม พัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านเคร่ืองกล และการศึกษา 6) วทิ ยาการหรอื เทคโนโลยสี มัยใหม่เกี่ยวกับ ทาวิจัยและสร้างหรือร่วม วิศวกรรมเครอื่ งกล 7) มาตรฐานอตุ สาหกรรมหรอื มาตรฐานอน่ื ท่เี กย่ี วขอ้ ง ภาพ หรือผลิตภัณฑ์ หรือ ความรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคม 3) เข้าใจชุมชน เข้าใจชีวิต มีความรู้ บริบทอุตสาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยู่ เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนา ของผู้เรียนและพัฒนาผู้เร ส่วนรวม มีจติ สานึกในการธารงความโปร่งใสของ ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถเผชิญและเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของ ผู้ ส ร้ า ง ห รื อ ร่ ว ม ส ร้ า ง น สังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริต สังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและ รวมทั้งการถ่ายทอดความ พฒั นาตน พัฒนางาน และพฒั นาผูเ้ รียน สถานประกอบการและสัง คอรัป ชั่น และความ ไม่ถูกต้อง ไม่ใช้ข้อมู ล 4) มคี วามรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เพือ่ การสอ่ื สาร ตามมาตรฐาน 5) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่าและความสาคัญของศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืนและนามา บิดเบอื น หรอื การลอกเลียนผลงาน ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาตน พฒั นาผู้เรยี น พัฒนางานและพฒั นาชุมชน

8 สาหรบั หมวดวิชาเฉพาะ ปญั ญา 4. ด้านทกั ษะ 5. ด้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ 6. ด้านวิธีวิทยาการจดั การเรียนรู้ วิเค ราะ ห์ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ตัวเลข การส่ือสาร และการใช้ นข้อมูลส่ือ บุคคลและความ เทคโนโลยีสารสนเทศ ล่งข้อมู ลที่ าทัน เป็น รับผดิ ชอบ กล สามารถ น กั บ ก า ร 1) รับรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืน เข้าใจ 1) วิเคราะห์เชิงตัวเลข สาหรับข้อมูล 1) มีความเช่ียวชาญในการจัดการเรียนรู้ และสอนงาน ด้วย ยุ ค ดิ จิ ทั ล ร์มและโลก ผู้อื่น มีความคิดเชิงบวก มีวุฒิ และสารสนเทศ ท้ังท่ีเป็นตัวเลขเชิง รูปแบบ วิธีการท่ีหลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ต์ใช้ในการ ภาวะทางอารมณ์และทางสงั คม สถิติ หรือคณิตศาสตร์ เพื่อเข้าใจ สามารถออกแบบและสร้างหลักสูตรรายวิชาในช้ันเรียน หรือ ยแก้ปัญหา 2) ทางานร่วมกับผู้อ่ืน ทางานเป็น องค์ความรู้ หรือประเด็นปัญหาได้ หลักสูตรฝึกอบรม วางแผนและออกแบบเนื้อหาสาระและ สร้างสรรค์ ทีม เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี มี กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการช้ันเรียน และ/หรือ ลักการทาง สั ม พั น ธ ภ า พ ท่ี ดี กั บ ผู้ เรี ย น อยา่ งรวดเร็วและถูกตอ้ ง สถานประกอบการ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี วัดและประเมินผล ภาคปฏิบัติ ผ้รู ่วมงาน ผปู้ กครอง คนในชุมชน 2) สื่อสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่ม เพอื่ พฒั นาผู้เรยี นอย่างเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ ยบายและ ดฐานทาง แ ล ะ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ใน ส ถ า น ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพด้วย 2) มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จเกิดขน้ึ ประกอบการ มีสานึกรับผิดชอบ วิธีการหลากหลายทั้งการพูด การ และจัดการเรียนรู้ หรือสอนงานได้อย่างหลากหลายเพ่ือ พั ฒ น า งา น ต่อส่วนรวมทั้งด้านเศรษฐกิจ เขียน และการนาเสนอด้วยรูปแบบ พัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ท้ังผู้เรียน มร้จู ากการ มสร้าง ผลิต สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถ ต่ า ง ๆ โด ย ใช้ เท ค โน โล ยี แ ล ะ ปกติหรือทม่ี คี วามตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษ หรอื ต่างวฒั นธรรม อนวัตกรรม าการเรียนรู้ พั ฒ น าผู้ เรี ย น ให้ เกิ ด ค ว า ม นวตั กรรมที่เหมาะสม 3) จัดกจิ กรรมและออกแบบการจัดการเรยี นรู้ให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ รียนให้เป็น น วั ต ก ร ร ม ภาคภูมิใจและเห็นคุณ ค่าใน 3) ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ซอฟตแ์ วร์ จากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏบิ ัติและการทางาน 88 มรู้แก่ชุมชน ตนเอง ในวิชาชีพ เคารพใน ในสถานการณ์จริงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาการคิด การ งคม เกียรติและศักด์ิศรีของผู้อ่ืน และ หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอฟปลิ ทางาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ ความเป็นมนุษย์ เคช่ันหรือเพ ล็ตฟ อร์ม รวมทั้ ง ทาได้ คดิ เป็น ทาเป็น โดยบูรณาการการทางานกับการเรียนรู้ 3) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อ อุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จาเป็น และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน สาหรับ การจัดการเรียนรู้ การวิจัย ป้องกัน แกไ้ ขปัญหา และพัฒนา แ ล ะ ต่ อ ส่ ว น ร ว ม ส า ม า ร ถ การทางาน และการประชุม รวมทั้ง 4) สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน แหล่ง ช่วยเหลือและแก้ปัญหาตนเอง สามารถติดตามความก้าวหน้า การ วิทยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้ังในและ กลุ่มและระหว่างกลุ่มได้อย่าง จั ด ก า ร แ ล ะ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล แ ล ะ นอกสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ มีความสามารถในการ สรา้ งสรรค์ สารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและ ประสานงานและสรา้ งความร่วมมือกับบิดามารดา ผปู้ กครอง สารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจที่ดีใน และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่ออานวยความสะดวกและ 4) มีภาวะผู้นาทางวิชาการและ การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของ ร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้ มีปัญญารู้คิดและ วิชาชีพ มีความเข้มแข็งและกล้า เกิดการใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เน่อื งให้เต็มตามศักยภาพ หาญทางจริยธรรม สามารถชี้นา ข้อมูลและสารสนเทศ อีกทั้ง 5) นาทกั ษะศตวรรษที่ 21 และเทคโนโลยี มาใช้ในการจดั การ และถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียน ตระหนักถึงการละเมิดลิขสิทธ์ิและ สถานศึกษา ชุมชนและสังคม เรียนรู้เพ่อื พฒั นาผู้เรยี นและพัฒนาตนเอง เชน่ ทักษะการ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การลอกเลยี นผลงาน เรียนรู้ (Learning Skills) ทกั ษะการรู้เรอื่ ง(Literacy Skills) และทกั ษะชวี ิต (Life Skills) ทกั ษะการทางานแบบรว่ มมอื และดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

8 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรูจ้ า  ความรับผดิ ชอบห 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ รายวชิ า 12341234 02-262-101 ความเป็นครวู ชิ าชพี  02-262-202 จติ วทิ ยาสาหรบั ครูวชิ าชพี  02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อ   การจดั การเรียนรู้ 02-262-304 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา   02-262-305 การจดั การเรยี นรู้และการจัดการ   ชน้ั เรยี นอาชีวศึกษา 02-262-306 การพัฒนาหลกั สูตรอาชวี ศึกษา   02-262-307 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้   02-262-308 กลวิธีการสอนช่างเทคนิค   02-262-309 การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้    02-263-311 การฝึกปฏิบัตวิ ิชาชีพระหวา่ งเรยี น         02-263-410 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1         02-263-411 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 2        

9 ากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ หลกั  ความรบั ผดิ ชอบรอง 3. ด้านทักษะทาง 4. ดา้ นทกั ษะ 5. ดา้ นทกั ษะการ 6. ด้านวิธวี ิทยาการ ปญั ญา ความสัมพันธ์ระหวา่ ง วิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การ จดั การเรยี นรู้ บคุ คลและความ สื่อสาร และการใช้ 2345 รบั ผิดชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ  512312341231               89                                          O            O       

1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2. ด้านความรู้ 9 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ 3. ด้านทกั ษะทางป 1) แสดงออกซึ่งความรักและศรัทธาและภูมิใจใน 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เน้ือหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยมของครู 1 ) ส า ม า ร ถ คิ ด ค้ น ห า ว คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จติ วิทยาสาหรับครู จิตวิทยา วิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และ พัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนา ข้อเท็จจริง และประเมิน ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ผเู้ รียน หลักสตู รและวิทยาการการจดั การเรยี นรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ส า ร ส น เท ศ จ า ก แ ห ล การศึกษาและการเรยี นรู้ การวัดประเมินการศกึ ษาและการเรยี นรู้ การวิจัยและการพฒั นานวตั กรรม 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น มีความ เพ่ือพัฒนาผู้เรียน และภาษาเพื่อการสื่อสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะ ห ล า ก ห ล า ย อ ย่ า ง รู้ เ ท่ า เสียสละ รับผิดชอบและซื่อสัตย์ต่องาน ท่ีได้รับ เทคโนโลยีและดิจิทลั ทกั ษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมอื สร้างสรรค์ และทกั ษะ พลเมืองต่ืนรู้ มีสานึกสาก มอบหมายทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และ ศตวรรษท่ี 21 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการบรู ณาการความรูก้ ับการปฏิบัติจรงิ และการบรู ณาการขา้ ม เ ผ ชิ ญ แ ล ะ ก้ า ว ทั น สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประพฤติตน ศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เป ลี่ ย น แ ป ล งใน โล ก ย และมคี วามรู้ในการประยุกต์ใช้ เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและ 2) มีความรู้และเนือ้ หาในวชิ าชพี ดา้ นหลักการ แนวคดิ ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่างลกึ ซงึ้ ถ่องแท้ เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/หรือมาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องใน อนาคต นาไปประยุกต ประเทศชาติ และเสรมิ สรา้ งการพฒั นาทีย่ ่ังยนื สาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้เครื่องมือ การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสร้าง 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การพัฒนากระบวนการ ข้ันตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของ ปฏิบัติงาน และวินิจฉัย อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตาม การเคารพสิทธิ และให้เกียรติคนอ่ืน มีความ ความก้าวหน้าด้านวิทยาการท่ีเก่ียวข้องและนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม และพัฒนางานได้อย่างส สามคั คีและทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ โดยมีผลลัพธ์การเรียนรแู้ ละเนอื้ หาสาระด้านมาตรฐานผลการเรยี นรดู้ ้านความรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยคานึงถึงความรู้ หล และใช้เหตุผลและปัญญาในการดาเนินชีวิตและ ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบายความรู้ทางด้านเคร่ืองกลขั้นสูง ทฤษฎี ประสบการณ์ภ การตัดสนิ ใจ สามารถ คานวณ ออกแบบและวิเคราะห์ทางเคร่ืองกลเพื่อแก้ปัญหางานด้านอุตสาหกรรมเครอ่ื งกล ค่านิ ยม แน วคิ ด น โย สามารถออกแบบ การจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในสถาน 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรม ประกอบการ มีความสามารถ ในการใชเ้ ครือ่ งมอื และควบคุมเครอ่ื งจักรอตุ สาหกรรมเพื่อสร้างผลงาน ยุทธศาสตร์ชาติ บรรทั จริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด พัฒนาองค์ความรู้และแก้ปัญหางาน อุตสาหกรรมเคร่ืองกล มีความสามารถในการเลือกใช้รูปแบบ สังคมและผลกระทบที่อาจ การจัดการเรียนรู้ ส่ือการสอนและเทคโนโลยี เพ่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและทันการเปล่ียนแปลง แก้ปัญ หาทางคุณ ธรรมจริยธรรมด้วยความ ของเทคโนโลยีที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อจัดการเรียนรู้ และปฏิบัติงานในสถานศึกษาและสถาน 2) สามารถคิดริเริ่มและพ ประกอบการ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะ ตามมาตรฐานอาชีพ 1) ถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานแล ะ ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมเคร่ืองกล 2) การออกแบบเชิงกล 3) อุณหศาสตร์และของไหล 4) อยา่ งสรา้ งสรรค์ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและ ระบบพลศาสตร์และการควบคุม 5) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมเคร่ืองกลเพื่อการ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความ ใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคม พัฒนาอุตสาหกรรมทางด้านเคร่ืองกล และการศึกษา 6) วทิ ยาการหรอื เทคโนโลยสี มัยใหม่เกี่ยวกับ ทาวิจัยและสร้างหรือร่วม ความรู้สึกของผู้อ่ืนและประโยชน์ของสังคม วิศวกรรมเครอื่ งกล 7) มาตรฐานอตุ สาหกรรมหรอื มาตรฐานอน่ื ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ภาพ หรือผลิตภัณฑ์ หรือ 3) เข้าใจชุมชน เข้าใจชีวิต มีความรู้ บริบทอุตสาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยู่ เพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนา ของผู้เรียนและพัฒนาผู้เร ส่วนรวม มีจติ สานึกในการธารงความโปร่งใสของ ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถเผชิญและเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของ ผู้ ส ร้ า ง ห รื อ ร่ ว ม ส ร้ า ง น สังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริต สังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและ รวมทั้งการถ่ายทอดความ พฒั นาตน พัฒนางาน และพฒั นาผูเ้ รียน สถานประกอบการและสัง คอรัป ชั่น และความ ไม่ถูกต้อง ไม่ใช้ข้อมู ล 4) มคี วามรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เพ่อื การสอ่ื สาร ตามมาตรฐาน 5) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่าและความสาคัญของศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืนและนามา บิดเบอื น หรอื การลอกเลียนผลงาน ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาตน พฒั นาผู้เรยี น พัฒนางานและพฒั นาชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook