Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

Description: หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

Search

Read the Text Version

1 หลักสตู รครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งกล (4 ปี) (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม

2 หลักสูตรครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบณั ฑิต สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครือ่ งกล (4 ป)ี (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563) คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม

3 คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) ซ่ึงในปี 2562 ได้มี ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 และได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาจาก 5 ปีการศึกษา เป็น 4 ปี การศึกษา ซ่ึงทางคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมได้ทาการพัฒนาหลักสูตรเป็นหลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ทั้งนี้มีการ จัดการเรียนการสอนแบบหลักสูตรสี่ปี ซ่ึงในปีการศึกษา 2563 ได้ดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรเพ่ือให้ เป็นไปตามข้อบังคับคุรุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) และแผนพัฒนา เศรษฐกิจสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2559 - 2564) รวมท้ังสนองต่อความต้องการของหน่วยงานทั้ง ภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีครูผู้สอนและฝึกอบรม สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล พร้อมทั้ง มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ นอกจากน้ีในหลักสูตรฉบับนี้ได้กาหนดให้มีการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์ในวิชาชีพครู จานวน 2 ภาคการศึกษาและการฝึกงานในสถานประกอบการในภาคการศึกษาฤดูร้อน เพื่อเพิ่มพูน ทกั ษะในการปฏิบตั งิ าน เสรมิ สรา้ งประสบการณแ์ ละร้จู กั แก้ปญั หาในสภาพการทางานจรงิ คณะกรรมการปรบั ปรุงหลกั สูตร คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ หลักสูตรฉบับ น้จี ะมีประสิทธภิ าพในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล ท่ีมีคุณภาพคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสงั คม อนั จะนาไปส่กู ารพฒั นาประเทศชาตทิ ีย่ ั่งยนื ตอ่ ไป คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

4 สารบัญ คานา ขอ้ มลู ท่วั ไป หนา้ สารบัญ ข้อมูลเฉพาะของหลักสตู ร ก ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลักสตู ร ข หมวดที่ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมินผล 1 หลกั เกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนกั ศึกษา 1 2 การพัฒนาคณาจารย์ 12 3 การประกันคุณภาพหลกั สตู ร 14 4 การประเมินและปรับปรงุ การดาเนินการของหลกั สูตร 67 5 ตารางเปรยี บเทยี บหลักสตู รเดมิ และหลักสตู รปรบั ปรงุ 96 6 ตารางเปรียบเทยี บ มคอ.1 และหลักสูตรครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑติ 98 7 สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคร่ืองกล 100 8 105 106 113 ภาคผนวก คาสงั่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตรฯ 118 ก ประวตั ิ ผลงานทางวชิ าการ และประสบการณส์ อนของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร 122 ข ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ วี ่าด้วยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 130 ค ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีวา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี 139 ง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 ข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรวี า่ ด้วยการจดั การระบบสหกิจศกึ ษา 142 จ พ.ศ. 2550 ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ วี ่าดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562 148 ฉ ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เรือ่ งเกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการศึกษา 155 ช ระดับปริญญาตรี เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรกี ่อนสาเรจ็ 161 ซ การศกึ ษา ตารางสรปุ การวเิ คราะห์หลกั สูตรแบบสมรรถนะสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 165 ฌ กิจกรรมในหลักสูตร 167 ญ

1 หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเคร่อื งกล (4 ปี) หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563 ช่ือสถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวชิ า คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม สาขาวิชาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล หมวดที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป 1. ชอื่ หลกั สูตร ภาษาไทย: หลกั สูตรครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมเคร่อื งกล (4 ป)ี ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Science in Technical Education Program in Mechanical Engineering 2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเตม็ (ไทย): ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมบัณฑติ (วิศวกรรมเครือ่ งกล) ชื่อย่อ (ไทย): ค.อ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) ชือ่ เต็ม (อังกฤษ): Bachelor of Science in Technical Education (Mechanical Engineering) ช่อื ย่อ (องั กฤษ): B.S. Tech. Ed. (Mechanical Engineering) 3. วิชาเอก -ไมม่ -ี 4. จานวนหนว่ ยกติ ท่เี รียนตลอดหลกั สูตร - 143 หนว่ ยกิต (หลักสูตรสปี่ )ี 5. รูปแบบของหลกั สูตร 5.1 รูปแบบ หลกั สูตรระดับปริญญาตรี หลักสตู ร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลกั สูตร หลักสูตรปรญิ ญาแบบทางวิชาชพี (สานกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา) 5.3 ภาษาทีใ่ ช้ ภาษาไทย 5.4 การรับเข้าศึกษา รับนักศกึ ษาไทย และนักศกึ ษาตา่ งประเทศทสี่ ามารถใช้ภาษาไทยได้

2 5.5 ความรว่ มมือกบั สถาบนั อน่ื เป็นหลกั สูตรเฉพาะของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 5.6 การให้ปริญญาแกผ่ สู้ าเรจ็ การศกึ ษา ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดียว 6 สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนมุ ัต/ิ เหน็ ชอบหลกั สตู ร  หลกั สตู รใหม่ พ.ศ. ....  หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2563 สภาวชิ าการ เห็นชอบในการนาเสนอหลักสตู รต่อสภามหาวทิ ยาลัยฯ ในการประชุม ครง้ั ที่ 11/2562 วนั ที่ 7 พฤศจิกายน 2562 สภามหาวทิ ยาลยั ฯ ให้ความเหน็ ชอบหลักสตู ร ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 1/2563 วันท่ี 29 มกราคม 2563 และมตสิ ภามหาวทิ ยาลัย คร้งั ท่ี 11/2563 เม่ือวันที่ 25 พฤศจกิ ายน 2563 เปดิ สอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 7 ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สตู รคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครศุ าสตร์อุตสาหกรรม (หลักสตู รสปี่ ี) พ.ศ. 2562 ในปกี ารศึกษา 2565 8 อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดห้ ลังสาเร็จการศกึ ษา 8.1 ครูผู้สอนช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งยนต์ สาขาวิชาเครื่องกลของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และสานกั คณะกรรมการการศึกษาเอกชน 8.2 วิทยากร/ผู้ฝึกอบรมวิชาชีพ สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเคร่ืองกล สาขาระบบควบคุมและ บารุงรกั ษาเคร่ืองจกั ร 8.3 ผู้ประกอบการอาชีพอิสระ สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเครื่องกล สาขาระบบควบคุมและ บารงุ รักษาเครอื่ งจกั ร 8.4 อาชีพนักอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ สาขาวิชาเคร่ืองกล สาขาระบบควบคุมและบารุงรกั ษา เคร่ืองจกั ร

3 9 ชือ่ -สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒกิ ารศึกษาของอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ชื่อ-นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ 1 รายการ (ผลงานย้อนหลงั ภายใน 5 ปี) ลาดบั ตาแหน่งทางวชิ าการ คุณวฒุ -ิ สาขาวิชา ชอื่ สถาบัน, ปี พ.ศ. ท่ีสาเร็จการศึกษา 1 นายธนัช ศรีพนม* วชริ ะ แสงรัศมี และธนัช ศรีพนม. (2560). ประสทิ ธิภาพแผง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยีเครือ่ งกล) บงั แดดหน้าต่างก่งึ โปร่งแสงทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ค่าการถ่ายเท ค.อ.ม.(วศิ วกรรมเครือ่ งกล), สถาบนั เทคโนโลยีพระ ความร้อน. วารสารหน้าจวั่ สถาปตั ยกรรม การออกแบบ และ จอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2542 สภาพแวดล้อม. ฉบับท่ี 32. มกราคม - ธันวาคม 2560. น. F03 วศ.บ.(วศิ วกรรมเครื่องกล) ,สถาบนั เทคโนโลยี – F20. ราชมงคล ,2539 2 นายนภดล กลิ่นทอง นภดล กลิน่ ทอง, ทรงธรรม ดวี าณิชสกุล, สเุ มธ พลับพลา อาจารย์ ,และอภิชาติ ไชยขนั ธุ์. (2562). การสร้างและหาประสทิ ธิภาพ ปร.ด. (วิจยั และพัฒนาการสอนเทคนิคศึกษา) , ชดุ ฝึกอบรมระบบฉดี น้ามนั เชอ้ื เพลงิ อิเลก็ ทรอนิกส์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, รถจกั รยานยนต์ สาหรับชา่ งซ่อมรถจักรยานยนตท์ ่ปี ระกอบ 2554 อาชพี อิสระ.การประชมุ วชิ าการระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ครง้ั ที่ ค.อ.ม.(วิศวกรรมเคร่อื งกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระ 3 พ.ศ. 2562 หาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546 น.952-962. ค.อ.บ. (วศิ วกรรมเครอ่ื งกล) ,สถาบนั เทคโนโลยี ราชมงคล ,2536 3 นายสุเมธ พลบั พลา นภดล กลิน่ ทอง, ทรงธรรม ดวี าณิชสกลุ , สุเมธ พลบั พลา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาเทคโนโลยเี ครือ่ งกล) ,และอภชิ าติ ไชยขนั ธ์.ุ (2562). การสร้างและหาประสทิ ธิภาพ ค.อ.ม.(วศิ วกรรมเคร่อื งกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระ ชุดฝกึ อบรมระบบฉดี นา้ มนั เชือ้ เพลงิ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546 รถจกั รยานยนต์ สาหรับช่างซ่อมรถจักรยานยนตท์ ี่ประกอบ ค.อ.บ.( วศิ วกรรมเครอื่ งกล) ,สถาบันเทคโนโลยี อาชพี อิสระ.การประชมุ วิชาการระดบั ชาติและนานาชาติ ครั้งท่ี ราชมงคล ,2540 3 พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์. 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. น.952-962. 4 นายอภชิ าติ ไชยขนั ธ์ุ นภดล กลนิ่ ทอง, ทรงธรรม ดีวาณิชสกลุ , สุเมธ พลับพลา อาจารย์ และอภชิ าติ ไชยขันธ์ุ. (2562). การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพ วศ.ม.(วิศวกรรมเคร่ืองกล),มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ชดุ ฝึกอบรมระบบฉีดนา้ มนั เช้อื เพลงิ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ราชมงคลธัญบุร,ี 2559 รถจักรยานยนต์ สาหรบั ช่างซ่อมรถจักรยานยนตท์ ่ปี ระกอบ วศ.บ.(วศิ วกรรมเครอื่ งกล) ,สถาบนั เทคโนโลยี อาชีพอิสระ.การประชมุ วิชาการระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ คร้งั ท่ี ราชมงคล ,2539 3 พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ ีรัมย.์ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. น.952-962. 5 นายคณุ ากร อนุวตั พาณชิ ย์ คุณากร อนุวัตพาณิชย์, นภดล กลิ่นทอง, สุนทร ละอองนวล, อาจารย์ อภิชาติ ไชยขนั ธุ์ และมนูศกั ดิ์ จานทอง (2562). การพัฒนา วศ.ม.(วศิ วกรรมเครื่องกล),มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี หุน่ ยนตต์ ิดตามมนุษย์แบบควบคุมล้อหลังโดยใช้เซนเซอร์คเิ นค. ราชมงคลธญั บุรี, 2562 การประชุมวชิ าการระดับชาตริ าชมงคลสุรินทร์ ครง้ั ท่ี 10 : วศ.บ.(วศิ วกรรมเครอื่ งกล) ,มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี “วจิ ยั และนวัตกรรม นาสู่การพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื ”. วนั ที่ 19-20 ราชมงคลธญั บุร,ี 2559 กนั ยายน 2562. ณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร์. หนา้ B 321-331. หมายเหตุ * ประธานหลกั สตู ร

4 10 สถานทจี่ ดั การเรยี นการสอน คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 11 สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาท่จี าเปน็ ตอ้ งนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สูตร 11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกิจ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 จากสภาวการณ์และบริบทแวดล้อมท่ีมีผลต่อการ พัฒนาการศึกษาของประเทศ ที่สาคัญ 4 ด้านหลักๆ ได้แก่ 1) ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารแบบก้าวกระโดดท่ีส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาคและของโลก ได้แก่ การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 สัญญาประชาคมโลก จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2556 ไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ องค์กรสหประชาชาติ 2573 ผลประทบของการเป็นประชาคมอาเซียนต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ 2) ด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ได้แก่ วิกฤตสังคมสูงวัยและอัตราการเกิดที่ลดลง 3) ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 และความต้องการกาลังคนยุค 4.0 ได้แก่ 3Rs+8Cs และด้านที่ 4) สภาวะการเปล่ียนแปลงของโลก ได้แก่ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การสาธารณสุข ความขัดแย้งและ ความรุนแรงในสังคม และเทคโนโลยีดิจทิ ลั กับการดารงชวี ติ ในการน้ีทาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนในทุก ระดับชั้น ตามท่ีบรรจุไว้ในแผนการศึกษา การพัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ถือเป็นหัวใจสาคัญในการจัด การศึกษาของประเทศ ดังนั้นตามพระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 ประกาศใช้ ทาให้มหาวิทยาลัยท่ีมกี ารผลิตครูไดม้ ีการปรับเปล่ียนเปน็ หลักสูตรครู 5 ปี เพื่อผลิตบณั ฑิตครู ทม่ี ดี ีมีคณุ ภาพเขา้ สูร่ ะบบการศกึ ษา นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการ ประชุมหารือเรื่องระบบผลิตครู ร่วมกับท่ีประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) 38 แห่ง เมื่อวันอังคารท่ี 11 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา โดย รศ.นพ.โศภณ นภาธร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ ดร.สุภัทร จาปา ทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้แทนสานักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา โดย นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ กล่าวว่า จุดเริ่มต้นของการหารือในครั้งนี้ เพ่ือต้องการกระตุ้นให้สถาบันผลิตครูทุกแห่ง มีความตื่นตัวและได้กาหนดระบบการผลิตครูอย่างจริงจังโดยผู้ท่ีอยู่ในวิชาชีพครู ที่จะช่วยพัฒนาและทา ให้เกิดการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ และสอดคล้องตามพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ า ลงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู (รัชกาลท่ี 10) ที่ทรงเน้นให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ เปน็ สถาบันหลักในการผลิต ครูที่มีคุณภาพ โดยในการประชุมครั้งน้ี ได้หยิบยกประเด็นท่ีคณะกรรมการคุรุสภา เห็นชอบในหลักการ ตามที่สภาคณบดีคณะคุรุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ส.ค.ศ.ท.) เสนอให้กลับไปใช้ระบบผลิต ครูหลักสูตร 4 ปี โดยไดม้ ีการหารืออย่างกวา้ งขวาง ซึ่งมีทั้งกลุ่มที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย โดยบางกลุ่มได้

5 แสดงความเห็นในเรื่องของกระบวนการและใช้ระยะเวลามากเพื่อให้ครูได้รับความรู้ตลอดจน เทคนิคการ สอนและประสบการณ์รอบด้าน ในขณะที่บางส่วนเห็นว่าการผลิตครูขึ้นอยู่กับกระบวนการมากกว่า จานวนปี เชน่ โครงการคุรุทายาท ที่มกี ระบวนการผลิตครูอย่างเข้มข้นในระยะเวลาเพียง 4 ปเี ท่าน้นั สว่ น เรื่องของมาตรฐานครูท่ียึดสมรรถนะ (Competency base) เป็นหลักนั้น ทุกคนเห็นเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ประกอบกับได้มีการนาเสนอผลการวิจัยของสถาบันเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในเรื่อง การผลิตครูหลักสูตร 5 ปี ว่ามีจุดอ่อนอยู่ท่ีเน้ือหา ไม่ใช่สมรรถนะ นอกจากน้ียังทาให้ต้องใช้เวลาเรียน เพิ่มข้ึนอีก 1 ปี ในขณะท่ีแต่ละปีก็มีการผลิตครูถึง 50,000 คน โดยมีค่าใช้จ่าย 1 แสนบาทต่อคนต่อปี ฉะนั้นหากเด็กต้องเรียนเพิ่มขึ้น 1 ปีในหลักสูตร 5 ปี ทั้งเด็กและรัฐจะต้องจ่ายเพ่ิมกว่า 8 พันล้านบาท แต่เมื่อนาผลวิจัยมาเทียบเคียงระหว่างผู้จบหลักสูตรครู 5 ปี กับ 4 ปี กลับพบว่ามีคุณลักษณะที่ไม่ แตกตา่ งกนั ด้วย อา้ งอิงจาก http://www.moe.go.th/websm/2017/jul/359.html “ครูช่างอุตสาหกรรม” ถือได้ว่าเป็นกาลังสาคัญที่สามารถจะทาให้การจัดการศึกษาสายอาชีพ ท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติโดยยึดฐานสมรรถนะ (Competency base) เป็นหลัก ปัจจุบันสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาประสบปัญหาในการรับครูใหม่ เนื่องจากอัตราที่มีอยู่ล้วนเป็นครูท่ีมี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ท้ั งภ า ค ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ภ า ค ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ก า ลั ง มี ก า ร เก ษี ย ณ อ า ยุ ร า ช ก า ร อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ครูอาชีวศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม เป็นตัวอย่างครูที่ดีและสามารถถ่ายทอด ประสบการณ์และองค์ความรู้ต่างๆ สู่ผู้เรียนได้อย่างมีคุณภาพ ก็จะส่งผลให้ผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาไป แล้วสามารถท่ีจะไปปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพท่ีเรียนมาได้อย่างมีคุณภาพอย่างแท้จริง และตอบรับกับ อตุ สาหกรรมทีก่ าลังขาดแคลนบุคลากรทางเทคนิคและเน้นการปฏบิ ตั ิ จากรูปที่ 1 แผนภมู ิท่ีแสดงการสร้างกาลังคนด้านเทคนิคท่ีมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของ ตลาดแรงงาน เพ่ือการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมถึงโครงการขนาดใหญ่ที่ประเทศกาลังลงทุน โดยเฉพาะในภาคส่วนอุตสาหกรรมทีข่ าดแรงงานฝีมอื และชา่ งเทคนิค แตท่ ั้งนี้การไดม้ าซงึ่ แรงงานและชา่ ง เทคนิคท่ีดี ทางานได้ จะมาจากการร่วมกาหนดกรอบคณุ วุฒิวชิ าชพี น้ันๆ ท่เี หมาะสมถูกตอ้ ง ดังนน้ั การนา กรอบคุณวุฒิหรือสมรรถนะมาเป็นแกนหลัก เพ่ือผลิตกาลังคนในสถานศึกษาด้านอาชีวศึกษาก็จะสามารถ เร่ิมต้นได้โดยการออกแบบหลักสูตรและสาขาวิชาชีพท่ีเหมาะสม ดังน้ันผู้จบการศึกษาสามารถทางานได้ เลยโดยมีค่าตอบแทนตามสมรรถนะที่ทาได้ โดยเฉพาะตามสาขาท่ีขาดกาลังคน ความต้องการของ อุตสาหกรรมมีการส่งต่อสู่คุณวุฒิวิชาชีพที่เหมาะสม และมีการส่งต่อสู่การผลิตกาลังคนของสถานศึกษา สายอาชีพ อยา่ งไรกต็ ามการผลิตครูที่ดจี าเป็นตอ้ งพึ่งพาสถาบันทเ่ี ป็นผู้ใช้บณั ฑิตด้วย เนอื่ งจากช่วงการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู หรือช่วงการฝึกประสบการณ์ในภาคอุตสาหกรรม (การผลิตและบริการ) นักศึกษาต้องลงพื้นที่จริงเพื่อปฏิบัติงานจริง ดังน้ันการได้รับสนับสนุนจากผู้ใช้บัณฑิตจะช่วยเติมเต็มโลก ของความเป็นจริงนอกมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี และยังเป็นโอกาสที่ดีของสถานศึกษาและสถาน ประกอบการในการเก็บข้อมูลเบ้ืองต้นในการท่ีจะรับครูหรือนักฝึกอบรมใหม่ เข้าสู่หน่วยงานของตนเอง ต่อไป

6 รูปที่ 1 การพฒั นากาลงั คนใหม้ ีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยพัฒนาหลักสตู รใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานอาชพี 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม การเตรียมพร้อมผลิตบัณฑิตในศตวรรษท่ี 21 น้ัน คณะกรรมการการอุดมศึกษาเห็น ความสาคัญในการพัฒนานิสิตนักศึกษาของประเทศให้เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะสอดคล้องตามความ ตอ้ งการของสังคมในศตวรรษท่ี 21 และสามารถดาเนินชีวติ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ซ่ึง ตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปฉี บับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) ได้กาหนด เป้าหมายของกรอบ คือ “การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทยเพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากร ที่มีคุณภาพ สู่ตลาดแรงงานและ พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรม เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศในโลกาภิวัตน์รวมท้ังการพัฒนาที่ย่ังยืนของท้องถิ่นไทย...” กอปรกับปัจจุบันกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีการรวมตัวกัน และได้กาหนดวิสัยทัศน์ภายในปี ค.ศ. 2020 ข้อหน่ึงว่า “เพ่ือ พัฒนา อาเซียนให้มีความเข้มแข็งในหลายๆ ด้าน รวมทั้งด้านการศึกษาโดยกาหนดให้มีการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ในทุกๆ ส่วนโดยผ่านการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาการพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และ การฝึกอบรม” การศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงเป็นหนึ่งในตัวจักรสาคัญที่จะช่วยส่งเสริมและสนับสนุน การบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว การพัฒนานิสิตนักศึกษาโดยการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพื่อให้ ผู้สาเร็จการศึกษาได้รับคุณวุฒิระดับปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาต่างๆ สามารถเทียบเคียงกันได้ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ไว้ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ นอกจากน้ียังได้กาหนดความรู้ความสามารถของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยท่ัวไป อยา่ งน้อยต้องมคี วามรคู้ วามสามารถ ดงั น้ี

7 1) ความรู้ท่ีครอบคลุม สอดคล้อง และเป็นระบบในสาขา/สาขาวิชาท่ีศึกษา และเข้าใจในทฤษฎี และหลักการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2) ความสามารถที่จะตรวจสอบปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่าง สรา้ งสรรค์ 3) ความสามารถในการค้นหา การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์ สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ และแก้ปญั หาทซ่ี ับซอ้ น 4) หลักสูตรวิชาชีพ ต้องมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในวชิ าชีพนนั้ ๆ 5) หลักสูตรวิชาการที่ไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงใน ผลงานวิจัยตา่ งๆ ในสาขา/สาขาวิชาน้นั ความสามารถในการแปลความหมาย การวเิ คราะห์ และประเมิน ความสาคัญของการวิจัยในการขยายองค์ความรใู้ นสาขา/สาขาวิชานั้น และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์บณั ฑิตในศตวรรษท่ี 21 จะต้องเป็นผู้ใฝ่รู้สู้งานประสาน สมั พันธ์ มุ่งม่นั ในประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของงาน รวมถึงการมีอสิ ระทางความคิด ซ่งึ ตอ้ งหล่อหลอม ตนเองจากมิติของการเรียนรู้ 3 มิติ คือ มิติด้านพุทธิพิสัย เป็นกระบวนการทางสมองเก่ียวกับสติปัญญา การเรียนรู้และการแก้ปัญหา มิติด้านทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมทางด้านการเคล่ือนไหวต่างๆ และมิติ ด้านจิตพิสัยเป็นอารมณ์หรือความรู้สึกของแต่ละบุคคลท่ีได้แสดงออกมา ท้ังด้านการกระทาการแสดง ความคิดเห็นและอ่ืนๆ โดยผ่านกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะเป็นนักคิดวิเคราะห์เป็นนัก แก้ปัญหา เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นนักประสานความร่วมมือ รู้จักใช้ข้อมูลและข่าวสาร เป็นผู้เรียนรู้ด้วย ตนเอง เป็นนักสื่อสาร ตระหนักรับรู้สภาวะของโลก เป็นพลเมืองทรงคณุ ค่าและมีพ้นื ฐานความร้เู ศรษฐกิจ และการคลัง เม่ือสาเร็จเป็นบัณฑิตแล้วก็เป็นที่ปรารถนาหรือพึงประสงค์ คือมีความคิดริเริ่มในการ แก้ปัญหา สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษา เพ่ือใช้ในการ แก้ปัญหาและข้อโต้แย้งในสถานการณ์ต่างๆ สามารถพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการ แกป้ ญั หาทางวิชาการหรอื วชิ าชพี มีส่วนร่วมในการติดตามพัฒนาการศาสตร์ และเพมิ่ พูนความรู้ของตนให้ ทันสมัยอยู่เสมอ อีกท้ังยังมีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีความรับผิดชอบสูงอีกด้วย อ้างอิงจาก http://www.thaiall.com/pdf/ohec/ohec_20110808.pdf 11.3 การปรับระยะเวลาศกึ ษาของหลกั สตู รผลติ ครทู ั่วประเทศภายในปีการศกึ ษา 2562 ราวปลายปีต้ังแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2561 เป็นตน้ มา กระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งข่าวสารผ่านสื่อ ตา่ งๆ ตลอดจนจัดประชุมเชิงวิชาการระดมสมองนักวชิ าการท่ีเกี่ยวข้องกับหลักสูตรผลิตครู ประกอบดว้ ย หลายภาคส่วน เช่น กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยผลิต ครูทุกแห่ง คุรุสภา ฯลฯ เพื่อปรับปรุงหลักสูตรผลิตครูทั่วประเทศจากเดิม 5 ปี เปลี่ยนเป็น 4 ปี สถาบัน ผลิตครูวิชาชีพเล็งเห็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงคร้ังนี้ ไม่ว่าเรื่องระยะเวลาศึกษา ความแตกต่างระหว่าง สมรรถนะวิชาชีพครูสายสามัญกับครูอาชีวศึกษา จึงมีนโยบายขับเคลื่อนท้ังการเสนอ มคอ.1 สาขาวิชา

8 ครุศาสตร์อุตสาหกรรม (สาขาวิชาอาชีวศึกษา) โดยสาระสาคัญของ มคอ.1 สาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม (สาขาอาชีวศึกษา) เป็นสาขาท่ีเน้นบูรณาการศาสตร์วิชาครู กับศาสตร์ในกลุ่มสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น สาขาช่างอุตสาหกรรม คหกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม หรือกลุ่ม วชิ าอืน่ ๆ ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังการบ่มเพาะ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตวิญญาณ จรรยาบรรณครู การ ถ่ายทอดวัฒนธรรมและการเป็นพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก และมีการฝึกประสบการณ์ใน สถานศึกษาและสถานประกอบการ เพื่อให้เกิดสมรรถนะ อย่างเป็นระบบ สามารถนาความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์วิชาชีพ ไปจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและสถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ทันสมัย เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งในและนอกระบบการศึกษาให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะใน ศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ สามารถพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม อุตสาหกรรมการผลิต และบริการเพ่ือขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้สามารถ แข่งขนั ไดใ้ นเวทโี ลก และนาไปสู่การพฒั นาชาติไทยใหม้ ีความม่นั คง มง่ั คงั่ และย่งั ยนื ตลอดไป 12 ผลกระทบจากข้อ 11 ตอ่ การพฒั นาหลักสตู รและความเก่ยี วขอ้ งกับพนั ธกิจของมหาวิทยาลยั 12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เล็งเห็นประโยชน์ต่อการ ปรับปรุงครั้งน้ี ไม่ว่าเรื่องระยะเวลาศึกษา ความแตกต่างระหว่างสมรรถนะวิชาชีพครูสายสามัญกับครู อาชวี ศึกษา จึงมีนโยบายขับเคล่ือนทั้งการเสนอ มคอ.1 คู่ขนานกับตอบสนองโครงการพัฒนาหลักสูตรครู วิชาชีพเพ่ือตอบสนองนโยบายสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพื่อใช้เป็นแผนปรับปรุง หลักสตู รครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมบณั ฑิต (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2563) ขน้ึ แบ่งออกเป็น 3 ชว่ ง ไดแ้ ก่ ระยะท่ี 1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้บัณฑิตจากองค์กรธุรกิจและ อุตสาหกรรม ระหวา่ งวันท่ี 6 – 7 เดอื น ธนั วาคม 2561 ระยะท่ี 2 การจดั ทารา่ งหลักสูตร ระหวา่ งวันที่ 11 – 12 เดอื น ธนั วาคม 2561 ระยะท่ี 3 การวพิ ากษ์หลักสตู ร ระหวา่ งวันที่ 14 - 15 เดอื น ธนั วาคม 2561 ถึงแม้ว่าหลักสูตรครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมเคร่ืองกล (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) นับถึงปัจจุบนั (พ.ศ. 2563) จะยังไม่ครบรอบระยะเวลาปรับปรุงก็ตาม แต่ได้รับนโยบายจาก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมเป็นวาระเร่งด่วน ให้ดาเนินการปรับปรงุ ตามแผนของคณะ คู่ขนานกับ มคอ.1 ที่อยู่ระหว่างการนาเสนอต่อองค์กรวิชาชีพต่างๆ ที่เก่ียวข้องเพื่อลดเวลาลงจากเดิม 5 ปี เปล่ียนเป็น 4 ปี โดยเป็นหลักสูตรกึ่งฐานสมรรถนะเหมือนเดิม และได้มีการเพิ่มเติมสมรรถนะในส่วนของเทคโนโลยีใหม่ๆ ตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในการกาหนด 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย (S-Curve)

9 12.2 ความเกีย่ วขอ้ งกับพันธุกิจของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดการศึกษาที่มุ่งสู่การผลิต “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ดังเช่นท่ีเคยปฏิบัติมาต้ังแต่ในอดตี จนถึงปัจจุบันและกาลังจะก้าวสู่อนาคต แต่จะต่างกันตรงกระบวนการ ในการจัดการศึกษาให้ได้มาซ่ึงบัณฑิตนักปฏิบัตินั้น จะต้องมีความเข้มข้นและเป็นรูปธรรมมากยิ่งข้ึน รวมท้ังเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศที่ต้องการบุคคลดังกล่าว อย่างสอดคล้องกันคาว่า “บัณฑิต นักปฏิบัติ” ในความหมายของราชมงคลยึดเป็นแนวคิดน้ันได้น้อมรับมาจาก พระบรมราโชวาทของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของราชมงคล ในปี พ.ศ.2525 ซึ่งมี ใจความตอนหน่ึงว่า “…บัณฑิตทุกๆ สาขา ทุกๆ คน มีหน้าท่ีท่ีสาคัญที่จะต้องเป็นกาลังทาประโยชน์ สร้างสรรค์ความเจริญม่ันคงให้แก่ประเทศชาติ การท่ีจะให้ประโยชน์หรือการสร้างสรรค์ให้เกิดข้ึนได้นั้น จะต้องลงมือทามันอย่างจริงจัง…” “การลงมือ” ท่ีจริงมีความหมายกว้างขวาง คือ หมายถึง การปฏิบัติ ด้วยวิธีต่างๆ ทุกอย่าง แต่เพราะท่ีเห็นชัดเรามักปฏิบัติด้วยมือจึงพูดเป็นสานวนว่า “ลงมือ” การลงมือ หรือการปฏิบัตินน้ั ขึน้ อยูก่ ับการที่สมองหรอื ใจสง่ั คือใจมันส่ังเมือ่ ไรอยา่ งไรก็ทาเมอื่ น้ัน อยา่ งน้นั ฉะนัน้ ถ้า ใจไม่สู้ คอื ออ่ นแอ ลงั เล เกยี จครา้ น หรือไมส่ ุจรติ ไมเ่ ทยี่ งตรง กจ็ ะไม่ลงมือทา หรอื ทาให้มนั ค่งั คา้ ง ทาให้ ช่ัวให้เสียหาย เป็นการเบียดเบียนตน เบียดเบียนผู้อนื่ ซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นการสร้างสรรค์ หากแต่ เป็นบ่อนทาลายให้เกิดความเสียหายและเกิดโทษสุจริต นักปฏิบัติงานจึงต้องรู้จักฝึกปฏิบัติใจตนเองเป็น สาคัญ และเป็นเบื้องต้น ก่อนอื่นต้องหัดทาใจให้หนักแน่น กล้าแข็งและเป็นระเบียบ ไม่ย่อท้อต่อ อุปสรรค ไม่มักง่ายเห็นแก่ความสะดวกสบาย และทีสาคัญท่ีสุดจะต้องให้เท่ียงตรง เป็นกลาง และสุจริต อยู่เสมอไม่หวนั่ ไหวต่ออารมณเ์ ครอ่ื งหลอกล่อใดๆ จงึ จะชว่ ยใหเ้ ปน็ นกั ปฏิบตั ิที่ดี ที่สามารถสรา้ งประโยชน์ ได้อย่างแท้จริง…” ความหมายของการเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่ดี จึงหมายรวมถึงการปฏิบัติท่ีจะต้องได้รับ การฝึกฝนท้ังใจและกาย และท้ังจะต้องเป็นนักปฏิบัติงานที่มีหลักวิชาดีด้วย และที่สาคัญจะต้องมีการ ปรับปรุงตังเองให้มีการพัฒนาก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ใฝ่ใจศึกษาทั้งทางลึกและทางกวา้ ง เพ่ือให้บัณฑิตใช้ วิชาชีพความสามารถความบริสุทธิ์ใจความฉลาดรอบคอบ สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนตน และ ประโยชนส์ ่วนรวมได้สัมฤทธผิ์ ล อ้างองิ จาก http://www.rmutt.ac.th/?page_id=386 โดยรูปแบบการพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบัติของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ดังแสดงในรปู ท่ี 2

10 รูปที่ 2 รูปแบบการพัฒนาบัณฑติ นักปฏิบตั ิของคณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี และภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมบัณฑติ เปน็ กรอบแนวคิดเพื่อการผลติ ครชู ่างอตุ สาหกรรม 6 สาขาวิชา แสดงดงั ในรูปที่ 3 รปู ที่ 3 กรอบแนวคดิ การจัดการศกึ ษาหลกั สตู รครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมบณั ฑิต คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี

11 ดังนั้นการปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) มุ่งเน้นเพ่ือให้บัณฑิตมีทักษะความชานาญ มีความเป็นนักวิชาชีพที่ เหมาะสมต่อภาคอุตสาหกรรม (การผลิตและบริการ) และหน่วยงานทางด้านภาคการศึกษา (การสอน วชิ าชีพ) โดยเพ่ิมสมรรถนะท่ีจาเป็น เช่น สมรรถนะด้านทักษะฝีมือพื้นฐานและเฉพาะด้าน และได้มีการ คั ด เลื อ ก ม า ต ร ฐ า น ส ม ร ร ถ น ะ ท่ี จ าเป็ น ต่ อ ก าร ผ ลิ ต ค รู ช่ า งอุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ี ใช้ ใน ก า ร ส อ น ส า ข า วิ ช า วิศวกรรมเครื่องกล โดยตอบโจทย์การเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาและสถานประกอบการได้ อย่างครบถ้วน เพ่ือให้มีปัญ หาน้อยที่สุด โดยคาดหวังว่า “ครูช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา วิศวกรรมเคร่ืองกล จะเป็นกาลังสาคัญในการผลิตแรงงานฝีมือและช่างเทคนิคระดับกลาง เข้าสู่ ตลาดแรงงานได้เต็มศักยภาพ และสามารถยกระดับการอาชีวศึกษาของประเทศไทยให้ดีย่ิงขึ้น” แม้ว่า ระยะเวลาการศึกษาถูกปรับปรุงจากเดิม 5 ปี เปล่ียนเป็น 4 ปี ก็ตาม แต่การจัดการเรียนการสอนยัง ควบคุมดูแลให้บัณฑิตที่ได้มีท้ังความรู้ ทักษะ และจิตพิสัยสอดคล้องกับบัณฑิตอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา และสถานประกอบการ 13 ความสัมพันธก์ ับหลักสตู รทเ่ี ปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอน่ื ของมหาวทิ ยาลัย 13.1 กล่มุ วิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรน้ีเปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอื่น หลักสูตรน้ีมีรายวิชาหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปและวชิ าเลือกเสรีที่จะต้องให้คณะ/วทิ ยาลัย ภายใน มหาวทิ ยาลยั ฯ จดั การเรียนการสอนให้ 13.2 กล่มุ วิชา/รายวิชาในหลักสตู รท่ีเปิดสอนให้ภาควชิ า/หลกั สูตรอื่นตอ้ งมาเรยี น รายวิชาในหลักสูตรเปิดโอกาสให้ นักศึกษาในคณะอื่นๆ สามารถเลือกเรียนในรายวิชาเลือก เสรไี ด้ และคาอธบิ ายรายวิชามีความยืดหยุ่น สามารถจัดการเรยี นการสอนได้อยา่ งมคี ุณภาพ 13.3 การบริหารจัดการ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของภาควิชา ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากภาควิชา อน่ื หรือหลักสูตรหรือคณะอ่ืนที่เก่ียวข้อง เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนให้มีผลมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นไปตามท่ีระบุในหลักสูตร รวมทั้งกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของวิชาและรายงานผล การดาเนินการของรายวชิ า เพื่อเป็นมาตรฐานในการตดิ ตามและประเมินคณุ ภาพการเรยี นการสอน

12 หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสตู ร 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา บัณฑิตมีความรู้ ทักษะวิชาชพี ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูผู้สอนและฝึกอบรม สาขาวชิ าวิศวกรรมเครื่องกล พร้อมท้ังมีคณุ ธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ สอดคล้องกับ ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1.2 วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และวิชาชีพ เฉพาะ มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่และสังคม เปน็ พลเมอื งที่ดตี อ่ สงั คม 2) เพ่ือให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะสาขา สามารถบูรณาการความรู้ด้านการศึกษากับเครื่องกล มีความสามารถในการค้นคว้า วางแผน และการ จัดการเรียนรทู้ างด้านการศกึ ษาในสาขาวชิ าชีพได้อยา่ งมีคุณภาพ 3) เพื่อให้บณั ฑิตสามารถพัฒนาทักษะทางปัญญา โดยวิเคราะห์ท่ีมาของปัญหาและกาหนดแนว ทางแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4) เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความเป็นผู้นาและผู้ตามได้ อย่างเหมาะสม 5) เพอ่ื ให้บัณฑิตมีความสามารถส่ือสาร ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน โดยใชห้ ลักสถิติ ในการตัดสินใจในงานด้านวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สามารถใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม 6) เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะในการบูรณาการปฏิบัติงานทั้งทักษะวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ สาขาเครอ่ื งกล 1.3 ผลลพั ธก์ ารเรียนรรู้ ะดบั หลักสตู ร (PLO) PLO1: ช่างบารงุ รักษารถยนต์ : ช่างบารงุ รกั ษารถยนต์ : นักศึกษาในระดบั ชน้ั ปีการศึกษาที่ 1 จะสามารถปฏบิ ตั กิ ารทดสอบในสาขาชา่ งบารุงรกั ษารถยนต์ ตามเกณฑ์มาตรฐานสมรรถนะวชิ าชพี PLO2: ช่างเขียนแบบเครื่องกลดว้ ยคอมพิวเตอร์ : นักศึกษาในระดับชน้ั ปกี ารศึกษาท่ี 2 สามารถ ปฏิบัติการทดสอบในสาขาช่างเขียนแบบเคร่ืองกลด้วยคอมพิวเตอร์ ตามเกณฑ์มาตรฐานสมรรถนะ วิชาชพี PLO3: ไมเตอร์สาขาแมคคาทรอนิกส์ หรือสาขาอื่น ๆ : นักศึกษาในระดับชั้นปีการศึกษาที่ 3 สามารถปฏิบัติการทดสอบในหลักสูตรไมเตอร์สาขาแมคคาทรอนิกส์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน Rmutt Meister

13 PLO4: สมรรถนะวิชาชีพครูหรือครูฝึกในสถานประกอบการ : นักศึกษาในระดับชน้ั ปีการศึกษาท่ี 4 สามารถเป็นครูหรือครูฝึกในสถานประกอบการ ตามมาตรฐานวิชาชีพครูหรือครูฝึกในสถาน ประกอบการ 2. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ แผนการพฒั นา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี 1. ปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐานไม่ 1. ติดตามประเมนิ หลกั สูตรใช้ 1.ราย งาน ผ ล ก ารป ระเมิ น ต่ า ก ว่ า ท่ี ส ก อ .ก า ห น ด แ ล ะ แบบสอบถามประเมินโดยนกั ศกึ ษา หลกั สตู ร สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ อาจารย์ บัณฑติ และสถาน 2. รายงานผลการดาเนนิ การ ระดับ ป ริญ ญ าตรี และค วาม ประกอบการ ต้องการของสถานประกอบการ 2. ติดตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิของ ประเทศไทย 2. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ 1. สร้างเครอื ขา่ ยกับหน่วยงานภาครัฐ ตวั บ่งชี้ ความ ต้องการของสถานศึกษาและ และภาคเอกชนเพ่ือวเิ คราะห์ความ 1. รายชื่อหน่วยงานภาครัฐ สถานประกอบการ ตอ้ งการและแนวโนม้ ความ และภาคเอกชน เปลยี่ นแปลงของสถานศึกษาและ หลกั ฐาน สถานประกอบการ ราย งาน ส รุป ผ ล ก าร 2. ศกึ ษาดงู านในสถานประกอบการ ประชมุ 3. พัฒนาบุคลากรสายผู้สอนให้มี 1. สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรสายผู้สอน 1. รายงานผลการฝึกอบรม คุณภาพ ทัง้ ทางวชิ าการและวิชาชพี ได้รบั การพัฒนาในดา้ นต่างๆ ได้แก่ - การศึกษาตอ่ ในระดบั ทส่ี ูงข้นึ - การศึกษาดงู าน การฝกึ อบรม สัมมนาเพ่อื เพ่ิมความรแู้ ละ ประสบการณ์ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ - การขอตาแหน่งทางวชิ าการ 4. ปรับปรุงปัจจัยสนับสนุนการเรียน 1. สารวจความต้องการของนักศกึ ษา 1. รายงานความต้องการของ การสอน และอาจารย์ผู้สอนเกยี่ วกบั ปัจจัย นั ก ศึ ก ษ าแล ะอ าจ ารย์ สนบั สนุนการเรยี นการสอน ผู้ ส อ น เก่ี ย ว กั บ ปั จ จั ย 2. จัดหาและจดั สรรทนุ เพ่อื ปรบั ปรงุ สนับสนุนการเรียนการ ปจั จัยสนบั สนนุ การเรียนการสอน สอน เช่น วัสดุ ครภุ ัณฑ์ 2. รายงานครุภณั ฑ์ โสตทศั นปู กรณ์ อาคารและ ห้องสมุดใหม้ คี วามทนั สมัยและมี ประสิทธิภาพย่ิงขนึ้

14 หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวภิ าค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซ่ึงเป็น ภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ต่อหนึ่งภาคการศึกษา ทั้งนี้ไม่รวมเวลา สาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2556 (ดังภาคผนวก ง) 1.2 การจัดการศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดรู ้อน มีระยะเวลาไม่น้อยกวา่ เจ็ดสัปดาห์ ท้ังนี้ไม่รวม เวลาสาหรับการสอบ แตใ่ หม้ จี านวนชัว่ โมงของแต่ละวชิ าเทา่ กบั หนึ่งภาคการศึกษาปกติ 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค - 2. การดาเนนิ การหลักสูตร 2.1 วนั -เวลาในดาเนนิ การเรยี นการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมถิ นุ ายน – กนั ยายน ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เดอื นพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ภาคการศึกษาฤดรู ้อน เดอื นมนี าคม – พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบตั ขิ องผูเ้ ขา้ ศกึ ษา 2.2.1 คุณสมบัติของผู้เข้าศกึ ษา 1. รับผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือผู้สาเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทุกสาขา หรือให้เปน็ ไปตามดุลย พินิจของอาจารย์ประจาหลักสูตร นอกจากน้ีต้องมีค่านิยมเจตคติท่ีดีและคุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับ วิชาชพี ครู สอบผ่านข้อสอบวดั คณุ ลกั ษณะความเป็นครู 2. มีคุณสมบัติเทียบโอนได้ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) และระเบียบ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ วี ่าด้วยการเทยี บโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ฉ) 2.2.2 วิธีการรบั เข้าศกึ ษา 1. ผ่านระบบทใี่ ช้คดั เลือกบุคคลเข้าศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศกึ ษา 2. ผา่ นระบบโควตาของคณะและมหาวิทยาลัย 3. ผา่ นระบบสอบตรงของมหาวิทยาลยั 4. สอบผ่านข้อสอบวัดแววความเป็นครู และวิชาชีพ โดยทางคณะจะเป็นผู้ออกข้อสอบ และจดั สอบ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานของคุรุสภา

15 2.3 ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเขา้ ด้วยโครงสร้างเน้ือหาอันเป็นพื้นฐานความรู้ท่ีสาคัญต่อการศึกษาในสาขาวิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล ไมว่ ่าของหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวชิ าชพี ทาให้คณุ สมบัตขิ องนกั ศึกษาทั้งสอง กลุ่มมีความไม่เท่าเทียมกันค่อนข้างมาก โดยเฉพาะวิชาทางคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และความสามารถ ทางช่าง การนามาเรียนร่วมกันย่อมทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกต่างกัน และจากการศึกษา คุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ มีผล การศกึ ษาดังน้ี 1) คณุ ลักษณะบัณฑิตและความตอ้ งการของผใู้ ช้บณั ฑิตในสถาบนั อาชีวศกึ ษา ประกอบด้วย 1.1) จติ สานกึ ความเป็นครู 1.2) บคุ ลิกภาพ 1.3) ความรับผดิ ชอบ 1.4) ความตัง้ ใจในการทางาน 1.5) การใฝ่รู้ 1.6) ความรู้ดา้ นวชิ าชพี และเทคโนโลยี 1.7) การเตรยี มการสอนและสื่อ นวตั กรรมการเรียนการสอน 1.8) ทกั ษะปฏิบัตงิ านพนื้ ฐานและวิชาชพี เฉพาะรวมถงึ การใชเ้ ครื่องมือตา่ งๆ 1.9) การวิเคราะห์แก้ไขปัญหาวงจร 1.10) ทกั ษะภาษาไทย/ภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการส่ือสาร การถ่ายทอด 2) คณุ ลักษณะบัณฑติ และความตอ้ งการของผใู้ ช้บณั ฑติ ในสถานประกอบการ ประกอบดว้ ย 2.1) นิสัยอุตสาหกรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ความขยันอดทน การทางานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์ การตั้งใจในการปฏิบัติงาน การใฝ่เรียนรู้ การ ประหยัด ความปลอดภัยในการทางาน 2.2) ดา้ นทกั ษะภาษาอังกฤษและภาษาตา่ งประเทศ 2.3) ทักษะการใช้เคร่อื งมือในการปฏบิ ัติงาน 2.4) ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ และจากการศึกษา จุดเด่น จุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะของบัณฑิต คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม สาขาวิชาวศิ วกรรมเครื่องกล ผลที่ไดด้ ังน้ี 1) จดุ เด่นของบัณฑติ ประกอบดว้ ย 1.1) บัณฑิตมีจติ อาสาในการทางาน มคี วามเสยี สละ 1.2) ยอมรับพงั ความคดิ เห็นของผอู้ ื่น 1.3) มีความอ่อนนอ้ ม ให้เกยี รติผูอ้ าวโุ ส 1.4) สามารถควบคมุ ชน้ั เรียนได้ดี 1.5) มคี วามรบั ผิดชอบงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย และในสว่ น 2) จดุ ดอ้ ยของบณั ฑติ ประกอบด้วย 2.1) ทกั ษะด้านภาษาองั กฤษ

16 2.2) ทักษะการวเิ คราะห์/การคิดอยา่ งเปน็ ระบบ 2.3) ทกั ษะในการปฏิบตั ิงาน 2.3) ขาดกิจนิสยั ในการปฏบิ ัติงาน ไมเ่ ก็บเครื่องมือเครอ่ื งใช้ 2.4) ด้อยจติ สานกึ ความเปน็ ครู 2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนนิ การเพอ่ื แกไ้ ขปัญหา/ขอ้ จากัดของนักศกึ ษาในข้อ 2.3 จากผลการดาเนินงานของหลักสูตร การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผู้ใช้ บัณฑิตในสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ จุดเด่นจุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ดังน้ันคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร จึงนาเอาข้อมูลท้ังหมดมา ปรบั ปรุงพัฒนาหลกั สูตรโดยปรับรายวชิ าและกจิ กรรมในการจัดการเรียนการสอน และได้เพิม่ ในส่วนของ โครงการอบรมปรับพ้ืนฐานช่างอุตสาหกรรมเพ่ิมเติมให้กับนักศึกษาแรกเข้า และในช้ันปีท่ี 1 ภาค การศึกษาฤดูร้อน จัดให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาท่ีเติมเต็มสมรรถนะพ้ืนฐานในวิชาชีพด้าน วิศวกรรมเคร่ืองกล เพื่อปรับพื้นฐานให้นักศึกษามีความเท่าเทียมกัน โดยในการจัดทาพัฒนาหลักสูตร ปรบั ปรุง พ.ศ. 2563 นี้ ได้ยดึ นาเอาสมรรถนะจากหลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรม พัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรฐานคุณวฒุ ิวชิ าชพี มาตรฐานครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม (มคอ.1) มาเป็นสมรรถนะ ในหลักสูตร โดยไดจ้ ัดทาสมรรถนะเป็นรายปวี ่านักศึกษาสามารถทาอะไรได้บ้าง และในทุกปีการศึกษาได้ จัดกิจกรรมเพ่ือเสริมทักษะด้าน Soft Skill ให้กับนักศึกษาในด้านต่างๆ เช่น กิจกรรมเสริมความเป็นครู เสริมด้านภาษา การส่ือสาร คุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวนิ ัย จิตอาสา ภาวะผู้นา ทักษะการคิดวิเคราะห์ เพื่อตอบโจทย์คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ที่ตอ้ งการของผู้ใช้บณั ฑิต 2.5 แผนการรับนกั ศึกษาและผูส้ าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี 2.5.1 จานวนนกั ศกึ ษาทจ่ี ะรบั สาหรบั ผูม้ ีคณุ สมบตั ติ ามคณุ สมบัตขิ ้อ 2.2.1 นักศกึ ษาระดบั ปกี ารศกึ ษา ปริญญาตรี 2563 2564 2565 2566 2567 ช้นั ปีที่ 1 60 60 60 60 60 ชัน้ ปีที่ 2 - 60 60 60 60 ช้นั ปที ี่ 3 - - 60 60 60 ชน้ั ปที ี่ 4 - - - 60 60 รวม 60 120 180 240 240 นกั ศึกษาทค่ี าดวา่ จะสาเร็จ - - - 60 60

17 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หน่วย:บาท) รายละเอียดรายรบั ปงี บประมาณ 2567 2563 2564 2565 2566 6,720,000 คา่ บารุงการศกึ ษาและค่าลงทะเบียน 1,680,000 3,360,000 5,040,000 6,720,000 720,000 7,440,000 เงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล 180,000 360,000 540,000 720,000 รวมรายรบั 1,860,000 3,720,000 5,580,000 7,440,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หนว่ ย : บาท) หมวดเงิน ปีงบประมาณ 2567 2563 2564 2565 2566 3,295,065 ก. งบดาเนนิ การ 455,000 1. คา่ ใช้จา่ ยบคุ ลากร 2,610,000 2,766,600 2,932,596 3,108,552 - 3,360,000 2. ค่าใช้จา่ ยดาเนนิ งาน (ไมร่ วม 3) 185,000 275,000 365,000 455,000 7,110,065 3. ทนุ การศึกษา ---- 350,000 350,000 4. รายจา่ ยระดับมหาวิทยาลัย 840,000 1,680,000 2,520,000 3,360,000 7,760,065 (รวม ก) 3,635,000 4,721,600 5,817,596 6,923,552 240 32,333.60 ข. งบลงทนุ คา่ ครภุ ณั ฑ์ 350,000 350,000 350,000 350,000 (รวม ข) 350,000 350,000 350,000 350,000 รวม (ก) + (ข) 3,985,000 5,071,600 6,167,596 7,273,552 จานวนนกั ศกึ ษา 60 120 180 240 ค่าใช้จา่ ยตอ่ หัวนกั ศกึ ษา 254,000 42,263.33 34,264.42 30,306.47 *หมายเหตุ ค่าใช้จา่ ยต่อหวั นกั ศกึ ษาตามระบบเหมาจ่าย คานวณ 28,000 บาท ต่อปี

18 ระบบการศึกษา  แบบชัน้ เรยี น  แบบทางไกลผ่านสอ่ื สิง่ พิมพเ์ ปน็ หลกั  แบบทางไกลผา่ นส่ือแพรภ่ าพและเสยี งเปน็ สอ่ื หลกั  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนกิ สเ์ ปน็ ส่ือหลัก (E-learning)  แบบทางไกลทางอินเตอร์เนต็  อน่ื ๆ (ระบ)ุ …………………………………………………………………….. 2.4 การเทียบโอนหนว่ ยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นข้ามสถาบันอดุ มศึกษา นักศึกษาที่เคยศึกษาในสถาบนั อดุ มศึกษาอนื่ มาก่อน เม่ือเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ สามารถเทียบโอน หน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ระเบียบมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี วา่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562

19 หลักสตู รและอาจารยผ์ สู้ อน 30 หน่วยกติ 3.1 หลักสูตร 7 หนว่ ยกติ 3.1.1 จานวนหนว่ ยกิต รวมตลอดหลักสตู ร 143 หนว่ ยกติ 3 หน่วยกติ 3.1.2 โครงสรา้ งหลักสตู ร 3 หนว่ ยกิต 1. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 1 หนว่ ยกิต 1.1 กล่มุ วิชาคณุ คา่ แห่งชีวติ และหน้าทพี่ ลเมือง 12 หน่วยกติ รายวิชาสังคมศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต รายวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต รายวชิ าพลศึกษาและนนั ทนาการ 6 หนว่ ยกติ 1.2 กลุม่ วิชาภาษาและการสอ่ื สาร 3 หนว่ ยกติ รายวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร 3 หน่วยกิต รายวชิ าภาษาเพ่ิมเตมิ 5 หน่วยกติ 1.3 กลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 5 หนว่ ยกิต รายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 107 หนว่ ยกติ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวตั กรรม 34 หน่วยกิต 1.4 กล่มุ วิชาบรู ณาการและศาสตรผ์ ปู้ ระกอบการ 22 หน่วยกติ รายวิชาบรู ณาการและศาสตร์ผปู้ ระกอบการ 12 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 73 หนว่ ยกิต 2.1 กลุ่มวิชาชพี ครู 51 หน่วยกติ 2.1.1 รายวิชาชีพครู 18 หน่วยกิต 2.1.2 รายวชิ าฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา 4 หน่วยกิต 2.2 กลมุ่ วิชาชีพเฉพาะสาขา 6 หนว่ ยกิต 2.2.1 รายวิชาชพี บังคับ 2.2.2 รายวิชาชพี เลอื ก 2.2.3 รายวิชาฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพในสถานประกอบการ 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี

20 3.1.3 รายวิชา

21 รายวิชา 3(3-0-6) 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไปไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ 1.1 กลมุ่ คณุ คา่ แหง่ ชีวิตและนา่ ท่ีพลเมอื ง จานวนไมน่ ้อยกวา่ 7 หน่วยกิต 1.1.1 รายวชิ าสงั คมศาสตรใ์ ห้เลือกไมน่ ้อยกว่า 3 หนว่ ยกิต 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การพฒั นาท่ียั่งยนื Sufficiency Economy for Sustainable Development 1.1.2 รายวชิ ามนษุ ยศาสตร์ ใหเ้ ลือกไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต 3(3-0-6) 01-210-022 วิถีธรรมวิถไี ทย Religions and Thai Culture 1.1.3 รายวชิ าพลศกึ ษาหรือนันทนาการ ให้เลอื กไม่น้อยกวา่ 1 หน่วยกิต จากรายวิชา ต่อไปน้ี 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation 01-610-014 ทักษะกีฬาเพอ่ื สุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skills for Health 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสอ่ื สาร จานวนไม่น้อยกวา่ 12 หนว่ ยกิต 3(2-2-5) 1.2.1 รายวชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร จานวน 6 หน่วยกิต 3(2-2-5) 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 1 English for Communication 1 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 English for Communication 2 1.2.2 รายวิชาภาษาเพ่ิมเติม 6 หนว่ ยกิต โดยให้ศกึ ษา 3 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) 01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร 3(2-2-5) Thai for Communication 3(2-2-5) และใหเ้ ลอื กศึกษาอกี ไม่น้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ จากรายวิชาต่อไปน้ี 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ English Conversation 01-320-006 ภาษาองั กฤษเพอ่ื วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี English for Science and Technology

22 01-320-010 ภาษาอังกฤษเพือ่ การทดสอบ 3(2-2-5) English for Standardized Tests 1.3 กลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวัตกรรม ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต 1.3.1 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เลือก 1 รายวิชา จานวน 3 หน่วยกิต จากรายวิชา ตอ่ ไปนี้ 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพ่ืองานมัลตมิ ีเดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การตัดสนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making 1.3.2 รายวิชาวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์และนวตั กรรม ให้เลือกเรยี นไม่นอ้ ยกว่า 3 หนอ่ ยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 09-111-051 คณิตศาสตร์ในชวี ิตประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life 09-121-001 สถิติในชวี ิตประจาวัน 3(2-2-5) Statistics in Daily Life 09-121-002 สถติ ิเบอื้ งต้นสาหรับนวตั กรรม 3(2-2-5) Basic Statistics for Innovation 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation 1.4 กลุม่ บูรณาการและศาสตรผ์ ู้ประกอบการ จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 หน่วยกติ 2(0-4-2) 1.4.1 รายวิชาบรู ณาการและศาสตรผ์ ู้ประกอบการ จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 1(0-2-1) 00-100-101 อัตลกั ษณ์แห่งราชมงคลธญั บรุ ี 1(0-2-1) RMUTT Identity 1(0-2-1) 00-100-201 มหาวิทยาลัยสีเขียว Green University 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ Design Thinking 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ Entrepreneurship

23 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 107 หน่วยกิต 2.1 วชิ าชีพครู 34 หนว่ ยกติ 2.1.1 รายวชิ าชีพครู 22 หนว่ ยกติ ใหศ้ กึ ษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 02-262-101 ความเปน็ ครวู ิชาชีพ 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teachers 02-262-202 จิตวทิ ยาสาหรบั ครวู ชิ าชพี 2(1-2-3) Psychology for Vocational Teacher 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพอ่ื การจดั การเรียนรู้ 2(1-3-3) Innovation and Digital Technology for Learning Management 02-262-304 การประกนั คุณภาพการศึกษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance 02-262-305 การจัดการเรยี นรแู้ ละการจัดการชนั้ เรยี นอาชวี ศึกษา 3(2-3-5) Learning and Vocational Classroom Management 02-262-306 การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา 3(2-2-5) Vocational Curriculum Development 02-262-307 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2(1-2-3) Measurement and Evaluation for Learning 02-262-308 กลวธิ กี ารสอนชา่ งเทคนคิ 2(1-3-3) Didactics for Technician 02-262-309 การวิจัยเพอื่ พัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development 02-263-311 การฝกึ ปฏิบตั ิวิชาชีพระหว่างเรียน 1(0-6-0) Practicum 2.1.2 รายวิชาการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 12 หน่วยกิต ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 02-263-410 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 02-263-411 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 2

24 3(3-0-6) 2(1-3-3) 2.2 วิชาชีพเฉพาะสาขา 73 หน่วยกิต 3(1-6-4) 2.2.1 กลมุ่ วิชาชพี บงั คับ 51 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) 02-200-101 คณิตศาสตรพ์ นื้ ฐานทางวศิ วกรรม 3(2-3-5) Fundamental of Engineering Mathematics 3(3-0-6) 02-211-101 เขยี นแบบวศิ วกรรม 3(3-0-6) Engineering Drawing 3(1-6-4) 02-211-102 ปฏบิ ัติงานเครือ่ งมอื กล 3(1-6-4) Machine Tool Practices 3(1-6-4) 02-211-103 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3(1-6-4) Engineering Mechanic 3(2-3-5) 02-211-104 คอมพวิ เตอร์ช่วยในการเขยี นแบบและออกแบบ 3(2-3-5) Computer Aided Drawing and Design 3(2-3-5) 02-211-205 เทอร์โมฟลูอิด 3(2-3-5) Thermo-Fluid 02-211-206 กลศาสตรว์ สั ดุ Mechanic of Material 02-212-101 งานบารงุ รักษารถยนต์ Automotive Maintenance 02-212-102 งานเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี และเครือ่ งยนต์ดเี ซล Gasoline and Diesel Engines 02-212-203 งานเครื่องลา่ งและส่งกาลงั รถยนต์ Automotive Suspension and Transmission 02-212-204 งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกสย์ านยนต์ Automotive Electrical and Electronics 02-212-206 เทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าและไฮบรดิ Electrical and Hybrid Vehicles Technology 02-213-201 นวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ Pneumatic and Hydraulic 02-213-202 พื้นฐานเมคคาทรอนิกส์ Mechatronics Fundamental 02-213-303 การควบคมุ อตั โนมตั ิ Automation Control

25 02-250-101 พน้ื ฐานงานวิศวกรรม 3(1-6-4) Engineering Basic Skills 1(1-0-2) 3(1-6-4) 02-240-301 การเตรยี มโครงการ Pre-project 02-240-302 โครงการ Project 2.2.2 กล่มุ วชิ าชีพเลือก 18 หนว่ ยกติ ให้เลอื กศกึ ษาจากรายวชิ าตามวชิ าตอ่ ไปน้ี 02-211-207 การบารุงรักษาในงานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Industrial Maintenance 02-211-208 ออกแบบเครอ่ื งกล 3(3-0-6) Mechanical Design 02-211-209 วศิ วกรรมความปลอดภยั 3(3-0-6) Safety Engineering 02-211-210 กลศาสตรเ์ ครอื่ งจกั รกล 3(3-0-6) Mechanics of Machinery 02-211-211 การประยกุ ตใ์ ช้คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยในงานออกแบบ 3(2-3-5) Application of Computer Aided Design 02-212-205 งานเครอื่ งยนตเ์ ลก็ และจกั รยานยนต์ 3(2-3-5) Small Engine and Motorcycle 02-212-307 วศิ วกรรมยานยนต์ 3(3-0-6) Automotive Engineering 02-212-308 เคร่อื งยนตส์ ันดาปภายใน 3(3-0-6) Internal Combustion Engine 02-212-309 เช้ือเพลงิ และสารหลอ่ ลื่น 3(3-0-6) Fuel and Lubricants 02-213-304 ไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรับงานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Microcontroller for Industrial Applications 02-213-305 การโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรบั งานอตุ สาหกรรม 3(2-3-5) Graphical Programming for Industrial Applications 02-213-306 การประยุกต์ใชห้ ุ่นยนตอ์ ุตสาหกรรม 3(2-3-5) Applications of Industrial Robotics

26 02-250-205 การควบคุมคณุ ภาพ 3(3-0-6) Quality Control 3(1-6-4) 02-251-311 ปฏบิ ัตงิ าน CNC CNC Practice 2.2.3 รายวิชาฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชีพในสถานประกอบการ 1(0-2-1) 02-000-201 การเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี Preparation for Professional Experience 3(0-40-0) และใหเ้ ลอื กศึกษา 3 หน่วยกติ จากรายวชิ าต่อไปน้ี 3(0-40-0) 02-000-202 ฝกึ งาน Apprenticeship 02-000-203 ฝกึ งานต่างประเทศ International Apprenticeship 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาท่ีเปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาท่ศี ึกษามาแล้ว และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวิชาทกี่ าหนดใหศ้ กึ ษาโดยไม่นบั หน่วยกติ

27 3.1.4 แผนการศึกษาเสนอแนะ หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1 3 3 2 ตนเอง 3 01-210-022 วถิ ธี รรมวถิ ไี ทย 2 30 6 01-310-001 ภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร 3 02-262-101 ความเป็นครวู ิชาชพี 3 30 6 02-250-101 พ้ืนฐานงานวิศวกรรม 19 02-211-101 เขียนแบบวศิ วกรรม 12 3 02-200-101 คณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐานทางวิศวกรรม 02-212-101 งานบารงุ รกั ษารถยนต์ 16 4 รวม 13 3 30 6 16 4 หน่วยกิต ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย 30 ตนเอง 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนา 3 6 ท่ียงั่ ยืน 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร 1 3 22 5 09-000-00X เลอื กจากรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 xx x 02-211-102 ปฏบิ ตั งิ านเครอ่ื งมอื กล 3 16 4 02-211-103 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3 30 6 02-211-104 คอมพิวเตอรช์ ว่ ยในการเขียนแบบและ 3 23 5 ออกแบบ 02-212-102 งานเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี และเคร่ืองยนต์ 3 16 4 ดเี ซล 21 หน่วยกติ รวม ปที ่ี 1 / ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย 3 XX ตนเอง 09-111-050 เลอื กจากรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ X คณิตศาสตร์ และนวัตกรรม 00-100-101 อัตลักษณ์แห่งราชมงคลธญั บุรี 2 04 2 01-610-0XX เลือกจากรายวิชาพลศกึ ษาและ 1 XX X นนั ทนาการ 01-3XX-XXX เลอื กจากรายวิชาภาษาเพ่มิ เติม 3 XX X รวม 9 หน่วยกิต

28 ปที ี่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย 3 ตนเอง 2 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร 2 3 22 5 02-262-202 จติ วทิ ยาสาหรบั ครูวิชาชพี 3 02-211-205 เทอรโ์ มฟลอู ดิ 3 12 3 02-211-206 กลศาสตร์วสั ดุ 3 02-212-203 งานเคร่อื งลา่ งและส่งกาลงั รถยนต์ 3 30 6 02-212-204 งานไฟฟ้าและอเิ ลค็ ทรอนิกสย์ านยนต์ 20 xx-xxx-xxx เลือกจากวิชาเลือกทางวิศวกรรม 1 30 6 รวม 16 4 16 4 xx x หน่วยกติ ปีที่ 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 00-100-201 มหาวิทยาลยั สเี ขียว 1 02 1 00-100-202 การคดิ เชิงออกแบบ 1 02 1 02-262-203 นวตั กรรมและเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอ่ื การ 2 13 3 จดั การเรยี นรู้ 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์ 1 02 1 วชิ าชพี 02-213-201 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ 3 23 5 02-213-202 พนื้ ฐานแมคคาทรอนกิ ส์ 02-212-206 เทคโนโลยยี านยนต์ไฟฟา้ และไฮบริด 3 23 5 xx-xxx-xxx เลือกจากวิชาเลอื กทางวิศวกรรม 2 xx-xxx-xxx เลอื กจากวิชาเลอื กทางวศิ วกรรม 3 3 23 5 รวม 3 xx x 3 xx x 20 หน่วยกิต ปที ี่ 2 / ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาด้วย 3 0 40 ตนเอง 02-000-202 ฝกึ งาน 0 หรือ หรือ ฝึกงานต่างประเทศ 02-000-203 รวม 3 หนว่ ยกิต

29 ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ 1 02 1 02-262-304 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2 12 3 02-262-305 การจดั การเรียนรู้และการจดั การชัน้ เรียน 3 23 5 อาชีวศกึ ษา 02-213-303 การควบคมุ อัตโนมัติ 3 23 5 02-240-301 การเตรยี มโครงการ 1 xx-xxx-xxx เลอื กจากวิชาเลือกทางวิศวกรรม 4 3 10 2 xx-xxx-xxx เลือกจากวชิ าเลอื กทางวศิ วกรรม 5 3 xx-xxx-xxx เลือกจากวิชาเลอื กทางวิศวกรรม 6 3 xx x 19 รวม xx x xx x หนว่ ยกิต ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย 3 ตนเอง 2 02-262-306 การพฒั นาหลักสูตรอาชีวศึกษา 2 22 5 02-262-307 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 3 02-262-308 กลวิธีการสอนช่างเทคนิค 3 12 3 02-262-309 การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 1 02-240-302 โครงการ 3 13 3 02-263-311 การฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชพี ระหว่างเรยี น 3 xx-xxx-xxx เลอื กจากวชิ าเลอื กเสรี 1 20 22 5 xx-xxx-xxx เลือกจากวชิ าเลือกเสรี 2 16 4 รวม 06 0 xx x xx x หนว่ ยกติ

30 ปที ี่ 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย 02-263-410 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6 ตนเอง รวม 6 0 40 0 ปที ี่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 2 หนว่ ยกิต 02-263-411 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2 รวม หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย 6 ตนเอง 6 0 40 0 หนว่ ยกิต

31 3.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพอื่ การพฒั นาท่ยี ัง่ ยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกิจแบบยั่งยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ไข ปญั หาเศรษฐกจิ และสังคมของไทย กรณีตวั อยา่ งเศรษฐกิจพอเพยี งท่ปี ระสบความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency- economy activities in Thailand 01-210-022 วถิ ธี รรมวถิ ีไทย 3(3-0-6) Religions and Thai Culture ความเป็นมาและหลักธรรมคาสอนของศาสนาท่ีสาคัญในประเทศไทย ความสัมพันธ์ ระหว่างความคิดความความคิดความเช่ือด้านศาสนากับวัฒนธรรมไทยในด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และประเพณีไทย การส่งเสริมอนุรักษ์ วฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน การศึกษาและการเข้าถึงบริบทของชุมชน การปรับตัว เพอ่ื การอยู่รว่ มกันบนพื้นฐานของความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม History and doctrines of important religions in Thailand, relationship between religious thoughts and Thai culture in the aspect of way of life, economy, politics, and tradition, promotion and conservation of culture and local wisdom, studies and understanding of the context of community, adaptation based on different culture 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง ๆ และเลือกกิจกรรม นนั ทนาการท่เี หมาะสม General knowledge of recreation, types of recreational activities and selection of appropriate recreational activities

32 01-610-014 ทักษะกีฬาเพือ่ สขุ ภาพ 1(0-2-1) Sports Skills for health ความรู้ท่ัวไปเก่ียวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม การฝกึ ปฏิบัตทิ ักษะพนื้ ฐานของชนิดกฬี าที่เลือก วธิ กี ารเล่น และกติกาการแขง่ ขัน General knowledge about the chosen sport, development of health on aspects of body, mind, emotion, and social, practice of basic skills of chosen sports, how to play the sport, sport rules for competition 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการบอกข้อมูลเก่ียวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความ สนใจการสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสั้นๆ การฟังและอ่าน ข้อความส้นั ๆ จากสอื่ ต่างๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่าง ต่อเนื่องในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟังและการ อา่ นเนอื้ หาในเรอ่ื งท่เี กี่ยวขอ้ งจากส่อื Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts

33 01-310-001 ภาษาไทยเพ่อื การสื่อสาร 3(3-0-6) Thai for Communication หลักการส่ือสาร ความรู้พน้ื ฐานการใช้ภาษาไทย การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การอ่านจับ ใจความและวิเคราะห์ความ การเขียนเพื่อการส่ือสารในชีวิตประจาวัน และการพูดใน โอกาสต่างๆ Principles of communication, Thai language usage, critical listening, reading for main ideas and analysis, writing for communication in daily life and speaking on different occasions 01-320-003 สนทนาภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) English Conversation คาศัพท์ สานวนและโครงสรา้ งภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่างๆ ทีเ่ หมาะสมกับ วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา Vocabulary, expressions and language patterns appropriately used in various situations according to the native speaker’s culture 01-320-006 ภาษาอังกฤษเพ่อื วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3(2-2-5) English for Science and Technology คาศัพท์ สานวน และโครงสร้างภาษา การฟัง พูด อ่านและเขียน เพ่ือการสื่อสารใน สถานการณต์ ่างๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกับสิง่ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี Vocabulary, expressions, language patterns, listening, speaking, reading and writing for communication based on environment, science and technology topics 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพื่อการทดสอบ 3(2-2-5) English for Standardized Tests ลักษณะของแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษมาตรฐานประเภทต่างๆ ความรแู้ ละทักษะท่จี าเป็นทางด้านภาษาอังกฤษทใ่ี ชใ้ นการทาแบบทดสอบ กลวธิ ใี นการ ทาแบบทดสอบ Formats and structures of various standardized tests, linguistic knowledge and skills needed for taking the tests, strategies dealing with standardized tests

34 09-000-001 ทักษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรพู้ ้ืนฐานการใชค้ อมพิวเตอรก์ ารใช้โปรแกรมสานกั งาน ได้แก่ โปรแกรมประมวลผล คา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใชโ้ ปรแกรมนาเสนอ การใช้อินเทอร์เน็ตและการ สื่อสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่องเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกับโลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), Presentation (Microsoft PowerPoint) , Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e-mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพ่ืองานมลั ติมีเดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคล่ือนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการส่ือประสม เช่น โปรแกรมจั ดการ ภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์ โปรแกรมสร้าง ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดิโอ โปรแกรมแปลงไฟล์ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานสื่อประสม และการเผยแพรผ่ ลงานสอ่ื ประสมบนอินเทอร์เน็ต Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file conversion software, multimedia presentation software, and multimedia publishing on the internet 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การตัดสนิ ใจ 3(2-2-5)

35 Information Technology for Decision Making ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจ เชน่ โปรแกรมตารางคานวณข้ันสูง โปรแกรมทาง สถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิก รวมถึงเครื่องมืออานวยความ สะดวกในการจัดการข้อมูล สว่ นติดต่อกบั ผู้ใช้งาน เพื่อนาเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ Basic knowledge and theories of decision-making application of software or information system for decision-making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking 09-111-051 คณิตศาสตรใ์ นชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life การคานวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี ความสาคัญของการ ออมเงนิ เปา้ หมายการออม การวางแผนใช้จา่ ยและการออมอย่างมีประสทิ ธภิ าพ Basic mathematical calculations, ratio, percentages, taxes, essential of saving money, savings goals, effective spending and saving plans 09-121-001 สถติ ิในชีวิตประจาวนั 3(2-2-5) Statistics in Daily Life ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจาวัน สถิติในสังคมมนุษย์ การเก็บรวบรวม ข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล การหาตัวแทนข้อมูล การหาตาแหน่งและการกระจาย ของข้อมูล การแปลความหมายและสรุปข้อมูล การนาเสนอข้อมูลท่ีเหมาะสมกับ คุณลักษณะของขอ้ มลู การวเิ คราะห์ข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรมทางสถิติ Meaning and the role of statistics in daily life, statistics in human society, data collection and data validation, information agent, position measurement and distribution measurement, interpretation and summary data, data characteristics and means of presentation, use of statistical software for data analysis 09-121-002 สถติ ิเบอื้ งตน้ สาหรบั นวตั กรรม 3(3-0-6)

36 Basic Statistics for Innovation ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง สาหรับการพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือเพื่อหา ประสิทธิภาพนวตั กรรม การตรวจสอบประสทิ ธภิ าพนวตั กรรม Meaning and role of statistics in innovation development, study of relevant information for innovation development, tools and quality inspection to find innovative performance, innovation performance monitoring 09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และส่ือที่หลากหลาย เพ่ือนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม วิศวกรรม และอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน ส่ิงแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ทันต่อ ความกา้ วหนา้ และการเปลี่ยนแปลง เพื่อการพฒั นาท่ยี ั่งยนื Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development

37 00-100-101 อัตลกั ษณ์แห่งราชมงคลธัญบรุ ี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสงั คม การมจี ิตใจริเร่มิ การเร่ิมต้นทางานท่มี ีเป้าหมายชัดเจน การลาดบั ความสาคัญ ของงาน และความรับผิดชอบต่องานอย่างมืออาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ การมีจิต สาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อื่นภายใต้กฎระเบียบและหลักการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย หลกั ในการใช้ชวี ติ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizingthings, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวทิ ยาลยั สเี ขียว 1(0-2-1) Green University วิธีปฏิบัติตนเพ่ือเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มี ความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึกรับผิดชอบ การแบ่งปนั และชว่ ยเหลือสังคม การตระหนักและมวี สิ ัยทัศนท์ ีด่ ตี อ่ สงั คมและสิ่งแวดล้อม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคดิ เชิงออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่มุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือ นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ สร้างไอเดียที่หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพ่ือทดลองและ ทดสอบความคดิ ทางนวัตกรรมทเ่ี กิดขน้ึ Human-centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions

38 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จ การ จัดทาแบบจาลองธุรกิจ Business trends and concept, development of entrepreneur characteristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 02-262-101 ความเปน็ ครวู ิชาชพี 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teacher ความหมาย แนวคิดและการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู พัฒนาการของวิชาชีพครู คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพครู จรรยาบรรณของวิชาชีพครู แนวปฏิบัติในการเป็น แบบอย่างท่ีดี กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพครู การมีจิตสานึกสาธารณะ เสียสละให้ สังคม และปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนา วิชาชพี Definition, concept and conscious mind for teacher being establishment, development of teaching profession, moral and ethics in teaching profession, framework of being good teacher model, laws involved in teaching profession, service mind, self-sacrifice, cooperative working and participate in teaching profession activities creatively

39 02-262-202 จติ วทิ ยาสาหรบั ครวู ชิ าชีพ 2(1-2-3) Psychology for Vocational Teacher หลักการ แนวคิด ทฤษฎีจิตวิทยาทั่วไป จิตวิทยาวัยรุ่น จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยา การศึกษา จิตวิทยาการให้คาปรึกษาและแนะแนว บุคลิกภาพและการปรับตัว การ ประยุกตใ์ ชจ้ ติ วทิ ยาในการวเิ คราะห์ ช่วยเหลอื ดแู ล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบคุ คล การ ปฏิบัติการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ออกแบบวิธีการ ร่วมมือกบั ผู้ปกครองในการพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียนให้มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ Principles and concepts of General psychology, adolescence psychology, develop, developmental psychology, educational psychology, counseling psychology and guidance; personality and adaptability; application of psychology to analyze, assist and develop individual learners; systematical reporting the results of student development; design how to collaborate with parents in develop and solve learner to acquire the desirable characteristics 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่อื การจดั การเรยี นรู้ 2(1-3-3) Innovation and Digital Technology for Learning Management หลักการ แนวคิด ทฤษฎี การออกแบบ การประยุกต์ใช้และการประเมินส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร การฝึก ปฏิบัติการผลิตส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การใช้และการ ประเมินประสิทธิภาพส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศึกษา Principles, concept, theories, designs, applications and evaluation of media, innovation, information technology for learning, information technology for communications, the practices on creates media, innovation, information technology for education, implement and evaluation of media, innovation technology for learning, using of information technology for educations

40 02-262-304 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา กระบวนการ ประกันคุณภาพการศึกษา กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งช้ีในการประเมินคุณภาพการศึกษาท้ังภายในและภายนอก การ ออกแบบและการดาเนินการเก่ียวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา การใช้ผลการประกัน คณุ ภาพการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา Principles, ideas and practices in educational quality assurance; quality assurance process, quality assurance laws, standards and indicators of internal and external education quality assurance, design and practice in educational quality assurance; using quality assurance result to improve quality of education 02-262-305 การจัดการเรียนรู้และการจัดการช้นั เรยี นอาชีวศกึ ษา 3(2-3-4) Learning and Vocational Classroom Management ปรชั ญา หลักการและกระบวนการจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนความต้องการพิเศษ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning การจัดการเรียนรู้รูปแบบ TPACK ทักษะ วิธีการ และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้ การ ออกแบบและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างส่ิงแวดล้อมการเรียนรู้และการ จดั การช้นั เรียน การประยกุ ตใ์ ชแ้ ผนการจดั การเรยี นรสู้ กู่ ารปฏิบตั ิการสอนในช้นั เรียน Philosophy principles and process of learning management, child center learning management, integration learning management, learning management for special student, active learning, TPACK model, skill method and model of learning, application for learning management, design and writing learning management plan, environment building for learning and classroom management and apply learning management for teaching in classroom

41 02-262-306 การพฒั นาหลักสตู รอาชีวศกึ ษา 3(2-2-5) Vocational Curriculum Development หลักการและแนวคิดในการจัดทาหลักสูตรอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและหลักสูตรระยะส้ัน การนาหลักสูตรไปใช้ การฝึกประเมิน หลกั สูตร การนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาหลกั สตู ร Principles and concept in the vocational curriculum, vocational curriculum development, subjective curriculum and short courses development, curriculum implementation, curriculum evaluation practice, results of the evaluation are used to curriculum development 02-262-307 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2(1-2-3) Measurement and Evaluation for Learning หลักการ แนวคิด จุดมุ่งหมาย และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การสร้างและพัฒนาคุณภาพแบบวดั ผลการเรียนรู้ด้านพทุ ธพิ ิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ปฏิบัติการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การนาผลการประเมินไปใช้ในการแก้ปัญหา และพฒั นาผ้เู รยี น Principles, ideas, aims, and practices in measurement and evaluation of learning, creation and development of cognitive, affective, and psychomotor instruments, measure and evaluate of students’ learning, using results of evaluated to solve and develop students

42 02-262-308 กลวธิ ีการสอนชา่ งเทคนิค 2(1-3-3) Didactics for Technician หลักการสอนวิชาทฤษฎีช่างอุตสาหกรรม การจัดทาแผนการเรียนรู้ การสร้างเอกสาร ประกอบการสอนในรายวิชาทฤษฎี หลักการสอนวิชาปฏิบัติช่างอุตสาหกรรม การวิเคราะห์อาชีพ การวิเคราะห์งาน การจัดทาแผนการเรียนรู้ในรายวิชาปฏิบัติการ การสร้างเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาปฏิบัติ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัด และประเมินผลการปฏิบัติงาน ปฏิบัติการสอนในโรงฝึกงานหรือห้องปฏิบัติการ การวัด และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน Principles of theoretical subjects teaching for industrial, lesson plans, teaching publications create in theoretical subjects, principles of teaching practice subjects for industrial, career analysis, job analysis, competencies lesson plans, teaching publications create in practice subjects, measurement and evaluation tools, practice teaching in the workshop or laboratory, performance measurement and evaluation 02-262-309 การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development ความหมาย แนวคิด ประเภท และแนวปฏิบัติในการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย การออกแบบการวิจัย การสร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การวิเคราะห์ผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย การปฏบิ ัตกิ ารใช้กระบวนการวจิ ยั เพ่ือแก้ปญั หาและพัฒนาผ้เู รียน Meaning, ideas, types and practices of research, research morals, research design, creation of innovation, and application of digital technology to utilize the learning of learners, research analysis, research reporting, perform in research process to solve and develop learners

43 02-263-311 การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชีพระหวา่ งเรียน 1(0-6-0) Practicum สังเกตการจัดการเรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้และส่ือการสอน ออกแบบและสร้าง เครื่องมือวัดผล ทดลองสอนในสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริง ประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วม จากผปู้ กครองและชมุ ชนหรือผูม้ ีสว่ นได้เสีย Learning management observation, lesson plans and instructional medias development, educational assessment design, teaching practice in simulation and real-life situations, learning outcomes evaluation in theory and practice, and collaborative activity design with parents and community or stakeholders 02-263-410 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 ปฏิบัติการสอนวิชาชีพในสาขาวิชาชีพเฉพาะ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ียึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การเลือกใช้การผลิตสื่อ และนวัตกรรมที่ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ การนากลวิธีการสอนช่างเทคนิคในการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การทาวิจัยพัฒนาผู้เรียน การนาผลการวิจัยมา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน การบันทึกและรายงานผลการจัดการ เรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน การสร้าง เครอื ขา่ ยความร่วมมือกบั ผูป้ กครองและชมุ ชน และการสมั มนาทางการศกึ ษา Professional teaching practice lesson plan management, learning process management, instructional media and innovation selection, teaching techniques for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, record and report the result of learning management, promoting and conserving culture and local wisdom, cooperative learning with guardians and communities creatively and educational seminars

44 02-263-411 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 2 ปฏิบัติการสอนวชิ าชีพในสาขาวิชาเฉพาะ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็น สาคัญ จัดกระบวนการเรียนรู้ ผลิตสื่อการสอน และใช้นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับการ จัดการเรียนรู้ นากลวิธีการสอนช่างเทคนิคมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ทาวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน นาผลการวิจัยมาพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ จัดทา กิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพ่ือสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เข้าร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียน และเข้าร่วมสัมมนาทาง การศกึ ษา Teaching in major subjects, student-centered learning plan and activities, learning process management, instructional media and innovation selection, didactic strategy use for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, report writing of learning management result, promoting and conserving culture and local wisdom participation, cooperative learning with guardians and communities creatively, exchanging and sharing professional Learning Community and educational seminars 02-200-101 คณติ ศาสตรพ์ ้นื ฐานทางวศิ วกรรม 3(3-0-6) Fundamental of Engineering Mathematics ฟงั ชัน่ ตรีโกณมิติ ลมิ ติ ความตอ่ เน่อื ง ความน่าจะเป็น อนพุ ันธ์ อนพุ นั ธย์ อ่ ย ปรพิ ันธแ์ ละ เทคนิคการหาปริพันธ์ ปรพิ นั ธจ์ ากดั เขต ปรพิ นั ธ์หลายชัน้ และการประยุกต์ สมการเชิง อนพุ นั ธ์ เมทรกิ ซ์ และการประยุกต์ทางวศิ วกรรม Trigonometry function, limits, continuous, probability, derivatives, partial derivatives, integrations and techniques of integrations, definite integral, partial derivatives and applications, differential equations, matrix, and engineering applications

45 02-211-101 เขียนแบบวศิ วกรรม 2(1-3-3) Engineering Drawing การอ่านแบบและเขียนแบบ การเขียนตัวอักษร ภาพฉาย รูปทรงเรขาคณิตประยุกต์ ภาพประกอบ ภาพตัด ภาพช้ินส่วนมาตรฐาน การเขียนภาพสเกตซ์ สัญลักษณ์มาตรฐาน ในงานเขียนแบบและการกาหนดรายละเอียดของวสั ดุ พนื้ ฐานในดา้ นการใชค้ อมพิวเตอร์ ช่วยในการเขียนแบบ Reading and drawing, lettering, orthogonal projection, applied geometric shapes, assembly drawing, sectional views, standard part drawing, sketching, standard symbols in drawing, specification of materials, basic computer-aided drawing 02-211-102 ปฏิบัติงานเครอ่ื งมือกล 3(1-6-4) Machine tool Practices ปฏิบัติงานกับเครื่องมือกลพื้นฐาน การคานวณความเร็วรอบ ความเร็วตัด อัตราการ ป้อน งานลับคมตัด งานกลงึ งานกัด งานไส งานเจาะ ตามแบบสง่ั งาน และหลักความ ปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน Practice on basic machine tools, calculation speed, cutting speed, feed rate, sharpening cutting tool, lathe, milling, shaper, drilling, follow on job sheet and safety in operation 02-211-103 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 3(3-0-6) Engineering Mechanic หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ ระบบของแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การวิเคราะห์ โครงสรา้ งความเสียดทาน แรงกระจาย จลนศาสตร์ และจลนพลศาสตร์ของอนุภาคกฎขอ้ ท่ีสองของนิวตันและจลนศาสตร์ของวัตถุแข็งแกร่ง งานและพลังงาน แรงดลและ โมเมนตมั Basic principle of engineering mechanics, force systems and resultants, equilibrium, fluid statics , free body diagram, moment, structural analysis, friction, distributed forces kinematics of parties, kinetics of particle, Newton’s second law , and kin emetics of rigid bodies, work and energy, impulse and momentum

46 02-211-104 คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยในการเขยี นแบบและออกแบบ 3(2-3-5) Computer Aided Drawing and Design การใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในงานเขียนแบบ และออกแบบงาน วิศวกรรมเคร่ืองกล การสร้างช้นิ งานแบบสองมติ แิ ละสามมิติ การเขียนแบบชน้ิ ส่วนมาตรฐาน การเขียนภาพ ตัด ภาพประกอบ และภาพแยกชน้ิ โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รูป Computer aids drafting and design in mechanical engineering, two and three dimensional parts, standard parts, section drawing assembly drawing, parts drawing, by using software packages 02-211-205 เทอรโ์ มฟลูอดิ 3(3-0-6) Thermo-Fluid หลักการ คุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธิ์ แก๊สอุดมคติ กฎของอุณ หพลศาสตร์ อุณหภูมิ งานและพลังงาน เอนทาลปี เอนโทรปี กระบวนการต่างๆ วัฏจักร กาลังเบื้องต้น คุณสมบัติของของไหล ความดันของของไหล การสมดุลของของไหล ท่ีอยู่นิ่ง แรงของของไหลที่กระทากับวัตถุ แรงพยุง และแรงลอยตัว สมการโมเมนตัม และพลังงาน สมการการไหลต่อเนื่อง การไหลของของไหล การคานวณหาค่าการสญู เสีย ภายในทอ่ Principle, thermodynamics properties, property of compound, ideal gas, thermodynamics laws, temperature, work and energy, enthalpy, entropy, processes, introduction power cycles, Fluid properties, pressure of fluid, hydrostatic force, fluid force, momentum and energy equation, continuous flow equation, flow rate, calculation of the losses in pipe. 02-211-206 กลศาสตร์วัสดุ 3(3-0-6) Mechanic of Material ความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ความเค้นท่ี เกิดจากอุณหภูมิ ภาชนะอัดความดัน และการเชื่อมต่อ หมุดย้า การบิดตัวของเพลาตัน และเพลากลวง การเขียนไดอะแกรมของแรงเฉือนและโมเมนตด์ ัด การคานวณหาคา่ ความ เคน้ ดัดและความเค้นเฉอื นในคาน พร้อมทง้ั หาค่าระยะโก่งทีเ่ กดิ ขึ้นในคาน Stress and strain, stress and strain relationship, temperature stress, pressure vessel and welded joint, torsion of shafts and hollow shafts, shear force and bending moment diagram, calculate of stress and shear stress in beams, defection in beams


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook