Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง

สาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง

Description: หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

หลักสตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีบริหารงานก่อสรา้ ง (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม

2 หลกั สตู รอุตสาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีบรหิ ารงานก่อสรา้ ง (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม

3 คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการสอบถามความต้องการของสถานประกอบการเพ่ือ พัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ เพ่ือให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ รัฐบาลในการกาหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ทางคณาจารย์ประจาหลักสูตรได้ดาเนินการพัฒนา หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง (หลักสูตรให ม่ พ.ศ. 2564) โดยการบูรณาการ ศาสตร์ด้านการบริหารและควบคุมงานก่อสร้างโดยใช้พ้ืนฐานความรู้ ทางดา้ นวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมรว่ มกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ ถือเป็นหลกั สตู รท่ีตอบสนองต่อความ ต้องการของหน่วยงานท้ังภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในวิชาชีพเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง ท้ัง ในด้านอาคาร โครงสรา้ งพ้นื ฐาน (Infrastructures) พัฒนาควบคู่ไปกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ พร้อมทั้งมี คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานสมัยใหม่ นอกจากน้ี ในหลักสูตรฉบับนี้ได้กาหนดให้มีการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาเสริมสร้างประสบการณ์ใน วิชาชีพ เพ่ือเพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงาน เสริมสร้างประสบการณ์และรู้จักแก้ปัญหาในสภาพการ ทางานจรงิ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรฉบับ น้ีจะมีประสิทธิภาพในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง ที่มีคุณภาพคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสังคม อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศชาติ ที่ย่ังยืนตอ่ ไป คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

4 สารบญั หนา้ คานา ก สารบญั ข หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 1 2 ข้อมลู เฉพาะของหลกั สูตร 6 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลักสตู ร 11 4 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมนิ 73 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนกั ศกึ ษา 108 6 การพฒั นาคณาจารย์ 110 7 การประกันคณุ ภาพหลกั สตู ร 112 8 การประเมินและปรับปรงุ การดาเนินการของหลกั สตู ร 117 ภาคผนวก ก คาส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู รฯ ข ประวตั ิ ผลงานทางวชิ าการ และประสบการณ์สอนของอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร ค ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ วี า่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ง ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 จ ขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ วี า่ ด้วยการจัดการระบบสหกจิ ศึกษา พ.ศ. 2550 ฉ ระเบียบมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีวา่ ดว้ ยการเทยี บโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เรอื่ งเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี ซ เกณฑม์ าตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของนักศกึ ษาระดับปริญญาตรีกอ่ นสาเร็จการศกึ ษา ฌ ตารางสรปุ การวเิ คราะห์หลกั สูตรแบบสมรรถนะ สาขาวชิ าเทคโนโลยีบรหิ ารงานก่อสร้าง ญ กจิ กรรมเสรมิ ทักษะ

1 หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีบรหิ ารงานกอ่ สรา้ ง หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2564 ช่อื สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะ/ภาควิชา/สาขาวิชา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ภาควชิ าครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวชิ าเทคโนโลยบี รหิ ารงานกอ่ สร้าง หมวดท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป 1. รหัสและช่ือหลักสตู ร หลกั สูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ ภาษาไทย: สาขาวชิ าเทคโนโลยีบรหิ ารงานกอ่ สร้าง Bachelor of Industrial Technology Program in Construction ภาษาอังกฤษ: Management Technology 2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวิชา ชอื่ เตม็ (ไทย): อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง ชอ่ื ยอ่ (ไทย): อส.บ. (เทคโนโลยบี ริหารงานก่อสร้าง) ชอ่ื เตม็ (อังกฤษ): Bachelor of Industrial Technology Program in Construction Management Technology ชอ่ื ย่อ (อังกฤษ): B.Ind.Tech. (Construction Management Technology) 3. วิชาเอก - ไม่มี - 4. จานวนหน่วยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสูตร 134 หน่วยกิต 5. รปู แบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี หลกั สตู รสี่ปี 5.2 ประเภทของหลกั สตู ร หลักสตู รปรญิ ญาตรีแบบทางวชิ าการ

2 5.3 ภาษาทใ่ี ช้ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ 5.4 การรับเขา้ ศกึ ษา รบั นักศกึ ษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศท่สี ามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.5 ความร่วมมือกบั สถาบนั อืน่ เปน็ หลักสตู รเฉพาะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 5.6 การใหป้ รญิ ญาแก่ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว 6. สถานภาพของหลักสตู รและการพจิ ารณาอนุมตั ิ/เหน็ ชอบหลกั สตู ร  หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564  หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. . สภาวชิ าการ เห็นชอบในการนาเสนอหลกั สูตรต่อสภามหาวทิ ยาลยั ฯ ในการประชุม ครั้งที่ 5/2563 วันที่ 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 . สภามหาวิทยาลัยฯ ให้ความเหน็ ชอบหลักสูตร ในการประชุม ครง้ั ท่ี 12/2563 วนั ท่ี 23 ธันวาคม 2563 เปิดสอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 7. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สตู รคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ิระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2552 ในปกี ารศึกษา 2566 8. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 8.1 ผู้จดั การโครงการ (Project Manager) 8.2 ผคู้ วบคมุ งานก่อสร้าง (Supervisor) 8.3 ผูป้ ระสานงานโครงการ (Project Coordinator) 8.4 ผู้รับเหมากอ่ สร้าง (Contractor) 8.5 ผู้สารวจปรมิ าณงานและราคา (Quantity Surveyor) 8.6 ชา่ งสารวจ (Surveyor) 8.7 ผปู้ ระสานงานแบบจาลองอาคาร (BIM Operator) 8.8 ผู้เขยี นแบบจาลองอาคาร (BIM Modeler)

3 9. ชอื่ -สกุล ตาแหน่ง และคณุ วุฒิการศกึ ษาของอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร ชอ่ื -นามสกลุ ลาดับ ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ผลงานทางวชิ าการ 1 รายการ คุณวุฒิ-สาขาวชิ า (ผลงานย้อนหลังภายใน 5 ป)ี ชือ่ สถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศกึ ษา 1 นายณฐั วฒุ ิ ไชยวิโน* ณัฐวุฒิ ไชยวิโน, ณภัทร ศุกรวรรณ และวทัญญู ชุติคามี. อาจารย์ (2563). พฤติกรรมผนังอิฐบล็อกประสานจากหินฝุ่น Ph.D. (Structural and Applied Mechanics), University of ภายใต้แรงกระทาตามแนวแกน. การประชุมวิชาการ Texas at Arlington, Texas, USA., 2561 นวัตกรรมด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือเศรษฐกิจและ M.Eng. (Structural Engineering), University of Houston, สังคม คร้ังท่ี 3 ประจาปี 2563. 29 มีนาคม 2563. Texas, USA, 2552 ณ มหาวิทยาลยั เกษมบณั ฑิต วิทยาเขตร่มเกลา้ : กรงุ เทพฯ. วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548 น.56-57. 2 นายวทิ ยา พิมลสทิ ธ์ิ วิทยา พิมลสิทธ์ิ, จตุรวิธ ศิริมหา และขวัญจิรา หม่ันบารุง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์, (สถาปตั ยกรรม) ศาสน์. (2563). ส่ือการสอนการใช้โปรแกรม Revit สถ.ม. (ออกแบบชมุ ชนเมอื ง), มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, 2535 Architecture 2019. การประชุมวิชาการนวัตกรรมด้าน ค.อ.บ. (สถาปัตยกรรม), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณ วิศวกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม คร้ังที่ 3 ทหารลาดกระบัง, 2531 ประจาปี 2563. 29 มีนาคม 2563. ณ มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑติ วิทยาเขตร่มเกล้า: กรุงเทพฯ. น. 124-125. 3 นางสาวณภทั ร ศกุ รวรรณ ณภัทร ศุกรวรรณ, ณัฐวุฒิ ไชยวิโน และวทัญญู ชุติคามี. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (วิศวกรรมโยธา) (2563). พฤตกิ รรมผนงั อฐิ บล็อกประสานจากหินฝนุ่ ภายใต้ วศ.ม. (การตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม), มหาวิทยาลยั แรงกระทาตามแนวแกน. การประชุมวิชาการนวัตกรรม รามคาแหง, 2561 ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม คร้ัง วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขต ท่ี 3 ประจาปี 2563. 29 มีนาคม 2563. ณ มหาวิทยาลัย เทเวศน,์ 2537 เกษมบณั ฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า: กรงุ เทพฯ. น.56-57. 4 นายวทัญญู ชุติคามี วทัญญู ชุติคามี, ณัฐวุฒิ ไชยวิโน และณภัทร ศุกรวรรณ. อาจารย์ (2563). พฤตกิ รรมผนังอิฐบลอ็ กประสานจากหินฝนุ่ ภายใต้ วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี แรงกระทาตามแนวแกน. การประชุมวิชาการนวัตกรรม ราชมงคลธญั บุรี, 2549 ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ครั้ง วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี,ท่ี 3 ประจาปี 2563. 29 มีนาคม 2563. ณ มหาวิทยาลัย 2546 เกษมบัณฑติ วิทยาเขตร่มเกล้า: กรุงเทพฯ. น.56-57. 5 นายสุรชัย โกเมนธรรมโสภณ สุรชัย โกเมนธรรมโสภณ. (2563). การศึกษากาลังอัดของ วศ.ด. (เทคโนโลยธี รณี), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร,ี 2558 คอนกรีตท่ีใช้ฝุ่นหินบะซอลต์เป็นส่วนผสมแทนทราย M.Sc. (Mining Engineering), South Dakota School of กรณีศึกษาหินฝุ่นบะซอลต์จากโรงงานโม่หินเนาวรัตน์. Mines and Technology, Rapid City, (USA), 2532 วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชครินทร์. มหาวิทยาลัย วศ.บ. (วศิ วกรรมเหมอื งแร่), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 นราธิวาสราชครนิ ทร.์ 12(2). พฤษภาคม – สงิ หาคม 2563. น. 137-153. หมายเหตุ * ประธานหลักสตู ร 10. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม และคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

4 11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพฒั นาทีจ่ าเปน็ ต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ จากแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ปัจจุบันการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ เทคโนโลยีมีผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ แนวคิด เมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นส่วน สาคัญในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความรู้ และนวัตกรรม โดยใช้การประยุกต์เทคโนโลยี ดิจิทัลหรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การของภาครัฐและ เอกชนตลอดจนยกระดับให้ประชาชนสามารถอยู่อาศัยได้ในคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น หลายๆภาคส่วนจึงได้มี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับระบบเมืองอัจฉริยะมากขึ้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศร่วมกับอุตสาหกรรมก่อสร้างเป็นหนึ่งในกระบวนการสาคัญใน การพัฒนาสู่การเป็นเมือง อัจฉริยะไม่ว่าจะเป็น อาคารอัจฉริยะ (Smart building) หรือการเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ (Smart mobility) ดังนน้ั การพฒั นาแรงงานท่ีมีทักษะความรู้ทางด้านออกแบบและการบรหิ ารงานก่อสรา้ งทั้งใน ด้านอาคาร โครงสร้างพ้ืนฐาน (Infrastructures) พัฒนาควบคู่ไปกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ผลผลิตท่ีได้ จะเป็นกาลังขับเคล่ือนทีส่ าคัญและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานสมยั ใหม่ได้ 11.2 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรม สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ที่นามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร ได้แก่ การคานึงถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม ซ่ึงปัจจุบันท่ัวโลกได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การ ระบาดของไวรัสโคโรนา หรอื COVID-19 สง่ ผลใหร้ ัฐบาลตอ้ งใช้มาตรการที่เขม้ ขน้ เพ่ือควบคุมการระบาด โดยได้เริ่มใช้มาตรการล็อกดาวน์ เพ่ือลดโอกาสในการแพร่เช้ือจากบุคคลสู่บุคคล การทางานในรูปแบบ Work from home จึงเข้ามาตอบโจทย์รูปแบบการทางานที่ต้องปรับตามสถานการณ์วิกฤติในช่วงนี้ ส่งผลให้ในอนาคตสังคมและวัฒนธรรมของการทางานจะมีรูปแบบเปลี่ยนไป การเตรียมความพร้อมด้าน เทคโนโลยีเป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งท่ีช่วยให้การทางานแบบ Work from home เป็นไปอย่างราบร่ืน ได้ ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ ในภาคอุตสาหกรรมก่อสร้างมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเรียกว่า ระบบจาลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling) เป็นอีกส่ิงที่ช่วยตอบสนองการ ทางานในระยะไกลร่วมกันได้อย่างลงตัวเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมที่ ใน อนาคต 12. ผลกระทบจากขอ้ 11 ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและความเก่ียวขอ้ งกับพนั ธกิจของมหาวิทยาลัย 12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เล็งเห็นประโยชน์ในการ สร้างหลังสูตรใหม่ ได้แก่ความแตกต่างระหว่างสมรรถนะวิชาชีพ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในงานก่อสร้าง จึงมีนโยบายขับเคลอ่ื นเพื่อให้สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 และ ยทุ ธศาสตร์ของรฐั บาลในการกาหนด 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ไดแ้ ก่

5 ระยะท่ี 1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการใช้บัณฑิตจากองค์กรธุรกิจและ อุตสาหกรรม ระหว่างวนั ท่ี 6 – 7 เดอื น เมษายน 2563 ระยะท่ี 2 การจดั ทาร่างหลักสตู ร ระหว่างวันท่ี 11 - 12 เดอื น พฤษภาคม 2563 ระยะที่ 3 การวิพากษ์หลกั สตู ร ระหว่างวนั ที่ 14 - 15 เดือน มิถุนายน 2563 ดังน้ันหลักสูตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีบริหารงานก่อสร้าง (หลักสตู รใหม่) ได้มี การเพิ่มเติมสมรรถนะในส่วนของเทคโนโลยีใหม่ๆในการก่อสร้าง โดยใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ รวมไปถึงการโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12) และยุทธศาสตร์ของรฐั บาลในการกาหนด 10 อตุ สาหกรรมเป้าหมาย 12.2 ความเกีย่ วข้องกบั พนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัย หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง มุ่งเน้นเพื่อให้บัณฑิตมี ทักษะความชานาญ มีความเป็นนักวิชาชพี ตอบสนองนโยบายมหาลัยในการผลติ “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ท่ี เก่ยี วข้องกบั อสุ าหกรรมก่อสร้างทั้งในด้านอสังหาริมทรัพย์ โครงสร้างพน้ื ฐานและการบริหารงานก่อสร้าง ควบคู่ไปกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เสรมิ สรา้ งระบบการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต (Short Course, Non-Degree, Credit Bank) ยกระดับแรงงานภาคอุสาหกรรมก่อสร้างหนึ่งในกระบวนการสาคัญในการพัฒนาสู่การ เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อตอบสนองนโยบายประเทศที่สาคัญในการสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ ความรู้ และนวตั กรรม 13. ความสัมพนั ธ์กบั หลกั สูตรท่เี ปดิ สอนในคณะ/ภาควิชาอนื่ ของมหาวทิ ยาลัย 13.1 กลมุ่ วชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรนเ้ี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอ่นื หลักสูตรนมี้ รี ายวชิ าหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปและวิชาเลือกเสรีทีจ่ ะต้องให้คณะ/วิทยาลยั ภายใน มหาวทิ ยาลยั ฯ จดั การเรยี นการสอนให้ 13.2 กลุ่มวชิ า/รายวชิ าในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลกั สตู รอื่นตอ้ งมาเรยี น รายวิชาในหลกั สูตรเปิดโอกาสให้ นักศกึ ษาในคณะอื่น ๆ สามารถเลอื กเรยี นในรายวิชาเลือก เสรีได้ และคาอธบิ ายรายวิชามีความยืดหยุ่น สามารถจดั การเรียนการสอนไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ 13.3 การบริหารจดั การ กาหนดอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสูตรของภาควชิ า ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากภาควิชา อน่ื หรอื หลกั สูตรหรือคณะอน่ื ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือบริหารจัดการการเรยี นการสอนให้มผี ลมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นไปตามท่ีระบุในหลักสูตร รวมท้ังกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของวิชาและรายงานผล การดาเนนิ การของรายวชิ า เพอ่ื เปน็ มาตรฐานในการติดตามและประเมนิ คุณภาพการเรยี นการสอน

6 หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสตู ร 1. ปรชั ญา ความสาคัญ และวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร 1.1 ปรัชญา ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ และทักษะด้านการบริหารและควบคุมงานก่อสร้างโดยใช้พื้นฐานความรู้ ทางดา้ นวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรมรว่ มกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ รวมถึงผลติ บณั ฑติ ท่มี ีคุณธรรม จริยธรรม ปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถนาความร้แู ก้ไขปญั หาในวิชาชีพ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ผลิตบัณฑติ ในหลกั สูตรใหม้ ีคณุ ลักษณะ ดังน้ี 1.2.1 ปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพเฉพาะมีวุฒิภาวะทาง อารมณ์ มีความเป็นผ้นู าและผูต้ ามทด่ี ี มีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่แี ละเป็นพลเมืองที่ดีตอ่ สังคม 1.2.2 สามารถนาความรู้และทักษะทางด้านการก่อสร้างและเทคโนโลยีไปปฏิบัติงานใน ภาคอุตสาหกรรมก่อสร้างตลอดจนสามารถต่อยอดองค์ความรู้ท่ีสอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการ บูรณาการความรทู้ างวชิ าชีพกับความรศู้ าสตร์อ่นื ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 1.2.3 สามารถพัฒนาปรับปรุงความรู้และนาไปประยุกต์ในด้านการบริหารงานก่อสร้างและ เทคโนโลยี ร้จู ักประยกุ ต์ใชค้ วามรู้และทักษะท่ีมใี นการแก้ไขปัญหา และสามารถเรยี นร้ศู าสตร์เทคโนโลยีงาน ก่อสร้างสมัยใหม่ได้ด้วยตัวเอง เพ่ือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนประเทศให้มีความก้าวหน้าด้านอุตสาหกรรม กอ่ สร้าง 1.2.4 สามารถสื่อสารและทางานเป็นทีมในการปฏิบัติหน้าท่ีประสานงานร่วมกับทุกฝ่ายในการ บริหารโครงการก่อสร้าง มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งรูปแบบงานเดี่ยวและงานกลุ่ม ตลอดจนมที ักษะในการเรียนรู้พัฒนาตนเองและวชิ าชีพอย่างต่อเน่ือง 1.2.5 สามารถนาความรู้ทางสถิติและคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ทักษะการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรมก่อสร้าง สามารถสื่อสารรวมถึงการ นาเสนอดว้ ยภาษาไทยหรือต่างประเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ 1.3 ผลลัพธก์ ารเรยี นรรู้ ะดบั หลกั สูตร (PLO) PLOs1: ปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพเฉพาะมีวุฒิภาวะ ทางอารมณ์ มีความเป็นผู้นาและผูต้ ามท่ีดี มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และเป็นพลเมืองท่ีดี ตอ่ สงั คม Sub PLOs 1.1 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มวี นิ ัย ตรงตอ่ เวลา ซื่อสตั ยส์ ุจริต

7 Sub PLOs 1.2 ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพเฉพาะมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีความเป็น ผู้นาและผตู้ ามท่ีดี Sub PLOs 1.3 มคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ีและเปน็ พลเมืองทดี่ ตี ่อสงั คม PLOs2: สามารถนาความรู้และทักษะทางด้านการก่อสร้างและเทคโนโลยีไปปฏิบัติงานใน ภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง (การสร้างแบบจาลองสารสนเทศ/การวางแผนและการควบคุม งานก่อสร้าง/ กา ร ป ระมาณรา คา ก่อส ร้า ง/ กา รสา รวจเ พื่ อการ ก่ อสร้ าง / การ สาร ว จ ภู มิ ประเทศ/การสารวจเพื่อทาแผนที่จากรูปถ่ายทางอากาศ) ตลอดจนสามารถต่อยอดองค์ ความรู้ท่ีสอดคล้องกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ ศาสตร์อื่นๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง Sub PLOs 2.1 มีความรู้และความเข้าใจในหลักการ ทฤษฎี องค์ความรู้ในศาสตร์ท่ีให้ เรียนรู้และศาสตร์อื่นๆที่เกย่ี วขอ้ งทางด้านการก่อสร้าง Sub PLOs 2.2 มที ักษะในการใชเ้ คร่ืองมือทางด้านเทคโนโลยีงานก่อสร้างมาใช้ปฏบิ ัติงาน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม Sub PLOs 2.3 สามารถประสานงาน โดยใช้ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการสร้าง แบบจาลองสารสนเทศ นาไปประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม Sub PLOs 2.4 สามารถประสานงาน โดยใช้ความรู้ทางด้านบริหารงานก่อสร้างมาใช้ใน การบริหารโครงการให้มีประสทิ ธภิ าพ PLOs3: สามารถพัฒนาปรับปรุงความรู้และนาไปประยุกต์ในด้านการบริหารงานก่อสร้างและ เทคโนโลยี รู้จักประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่มีในการแก้ไขปัญหา และสามารถเรียนรู้ ศาสตร์เทคโนโลยีงานก่อสร้างสมัยใหม่ได้ด้วยตัวเอง เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อน ประเทศให้มีความกา้ วหน้าด้านอุตสาหกรรมกอ่ สรา้ ง Sub PLOs 3.1สามารถพัฒนาปรับปรุงความรู้และนาไปประยุกต์ในด้านการบริหารงาน กอ่ สรา้ งและเทคโนโลยี Sub PLOs 3.2สามารถประยุกต์ใชค้ วามรู้และทกั ษะท่ีมีในการแกไ้ ขปัญหาได้ Sub PLOs 3.3สามารถเรียนรูศ้ าสตร์เทคโนโลยงี านก่อสร้างสมัยใหม่ไดด้ ้วยตัวเอง PLOs4: มคี วามสามารถในการส่ือสารและทางานเปน็ ทีมในการปฏิบตั ิหน้าทีป่ ระสานงานรว่ มกบั ทกุ ฝ่ายในการบริหารโครงการก่อสร้าง มีความรับผดิ ชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย ท้ังรปู แบบ งานเดยี่ วและงานกลุ่มตลอดจนมที ักษะในการเรียนรู้พฒั นาตนเองและวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง Sub PLOs 4.1 ทักษะการส่ือสารและทางานเป็นทีมในการปฏิบัติหน้าที่ประสานงาน รว่ มกบั ทกุ ฝา่ ย Sub PLOs 4.2 มคี วามรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทงั้ รปู แบบงานเดย่ี วและงาน กล่มุ

8 Sub PLOs 4.3 ทกั ษะในการเรียนรูพ้ ัฒนาตนเองและวชิ าชีพอย่างต่อเน่ือง PLOs5: สามารถนาความรู้ทางสถิติและคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา ทักษะการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานด้านอุตสาหกรรมก่อสร้าง สามารถ สื่อสารรวมถึงการนาเสนอด้วยภาษาไทยหรือต่างประเทศได้อย่างเหมาะสมและมี ประสทิ ธิภาพ Sub PLOs 5.1 สามารถนาความรู้ทางสถิติและคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แก้ปญั หาในสายงานท่ีเก่ียวข้อง Sub PLOs 5.2 ทักษะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานด้าน อตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง Sub PLOs 5.3 สามารถส่อื สารรวมถึงการนาเสนอดว้ ยภาษาไทยหรือตา่ งประเทศได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ 1.4 ผลลัพธ์การเรียนรูท้ ีค่ าดหวังรายชั้นปี (Year Learning Outcomes, YLOs) ชน้ั ปที ี่ ผลลพั ธ์การเรยี นรูท้ ี่คาดหวังรายชน้ั ปี (Year Learning Outcomes, YLOs) 1 ทกั ษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาเชิงตวั เลข ทกั ษะในการปฏบิ ัติการเขียนแบบก่อสร้าง ตามมาตรฐานคณุ วฒุ วิ ิชาชพี กอ่ สร้าง 2 สามารถเข้าใจในหลักกลศาสตร์ ความแข็งแรงและวิธีการทดสอบวัสดุที่ใช้ในงาน ก่อสร้าง เข้าใจในหลักเทคนิคและวิธีการก่อสร้าง ทักษะในการเขียนแบบและการ ประมาณราคา ทักษะในการปฏบิ ตั งิ านสารวจ ตามมาตรฐานคณุ วุฒวิ ชิ าชีพกอ่ สร้าง มีความตระหนักถึงความสาคัญของความปลอดภัยในการทางาน ทักษะการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสร้างแบบจาลองอาคารในงานก่อสรา้ ง 3 เข้าใจในหลกั ทฤษฎโี ครงสร้างและการวิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง สามารถออกแบบโครงสร้าง คอนกรีตเสรมิ เหลก็ โครงสรา้ งไมแ้ ละโครงสรา้ งเหลก็ ได้ เขา้ ใจในภาพรวมของการบรหิ ารงานก่อสร้าง สญั ญาและข้อกาหนดการก่อสร้างรวมถึง ความรู้ในดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐานเบ้อื งตน้ 4 เข้าใจในหลักการบริหารงานก่อสร้าง สามารถวางแผน เรียงลาดับความสาคัญของงาน ประสานงานกบั ทกุ ฝา่ ยในการบริหารโครงการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด สามารถ ใช้ทักษะความรู้ทางด้านเทคโนโลยีการสร้างแบบจาลองสารสนเทศในการ สรา้ ง/ประสานงาน ตลอดจนนาไปบรู ณาการกับความรู้ศาสตร์อนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้องได้อย่าง มปี ระสิทธภิ าพ

9 1.5 ความเชอื่ มโยงระหวา่ งผลลัพธ์การเรยี นรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs) และผลการเรยี นรตู้ าม กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษา (TQF) ผลลพั ธก์ าร ผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศกึ ษา (TQF) เรียนรูท้ ่ี คาดหวงั ของ 1.ดา้ น 2. ดา้ นความรู้ 3.ดา้ นทักษะทาง 4.ด้านทกั ษะ 5.ด้านทกั ษะการ 6.ด้านทักษะการ หลักสูตร คณุ ธรรม ปัญญา ความสมั พันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข ปฏบิ ัติงาน (PLOs) และ จรยิ ธรรม ระหว่างบุคคล การสื่อสาร และการ Sub PLOs และความ ใช้เทคโนโลยี รบั ผิดชอบ สารสนเทศ 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 5.4 6.1 6.2 6.3 6.4 PLOs1 Sub PLOs 1.1 √ √ √ Sub PLOs 1.2 √ √ √ √√ Sub PLOs 1.3 √ √ √ √√ PLOs2 √√√√√ √√√ √ √√√ √√√ Sub PLOs 2.1 Sub PLOs 2.2 √√√ √√√ √√√ √√√ Sub PLOs 2.3 √ √ √ √ √ √ √√√ √√√√√√ √√√ Sub PLOs 2.4 √ √ √ √ √ √ √√√ √√√√√√ √√√ PLOs3 Sub PLOs 3.1 √ √ √ √ √ √√√ √√√√√√ √√√ Sub PLOs 3.2 √ √ √ √ √ √ Sub PLOs 3.3 √ √ √ √ √√√ √√√ √ PLOs4 Sub PLOs 4.1 √ √ √ √ √√√ √√√√√√ √ Sub PLOs 4.2 √ √ √ √ √√√√√√ √ Sub PLOs 4.3 √√ PLOs5 √ Sub PLOs 5.1 √√√ √√ √ √√√ Sub PLOs 5.2 √√√ √√√ √√√ √√√ Sub PLOs 5.3 √√√ √√ √ √√√√ √

10 2. แผนพฒั นาปรับปรงุ แผนการพฒั นา/เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน/ตัวบง่ ช้ี 1. ปรบั ปรงุ หลักสตู รใหม้ ี 1. ตดิ ตามประเมนิ หลกั สูตรใช้ 1. รายงานผลการประเมิน มาตรฐาน ไม่ตา่ กวา่ ที่ สกอ. แบบสอบถามประเมินโดย หลกั สตู ร กาหนด และสอดคลอ้ งกบั นกั ศึกษา อาจารย์ บณั ฑิต 2. รายงานผลการดาเนินการและ มาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั และสถานประกอบการ ประเมินหลักสตู ร ปรญิ ญาตรแี ละมาตรฐาน 2. ตดิ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิของ วชิ าชพี ที่เก่ียวขอ้ ง ประเทศไทย 2. ปรับปรงุ หลักสูตรให้ 1. สรา้ งเครอื ขา่ ยกับหนว่ ยงาน ตัวบ่งช้ี สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการ ภาครฐั และภาคเอกชนเพือ่ 1. รายชือ่ หนว่ ยงานภาครฐั และ ของสถานศึกษาและสถาน วิเคราะห์ความตอ้ งการและ ภาคเอกชน ประกอบการ แนวโน้มความเปลยี่ นแปลงของ หลักฐาน สถานศกึ ษาและสถาน 2. รายงานสรปุ ผลการประชมุ ประกอบการ 3. พฒั นาบคุ ลากรสายผสู้ อนให้มี 1. สนับสนนุ ให้บุคลากรสายผสู้ อน 1. รายงานผลการฝึกอบรม คุณภาพท้ังทางวชิ าการและ ได้รับการพฒั นาในด้านต่าง ๆ 2.นโยบายส่งเสริมการทาวิจัย วชิ าชพี ได้แก่ การศกึ ษาตอ่ ในระดับที่ โดยให้การสนบั สนุนอาจารย์ สงู ขึ้น การศึกษาดงู าน การ 3.แผนการทาวิจัยและแผนการ ฝกึ อบรมสัมมนาเพื่อเพ่ิมความรู้ ขอตาแหน่งทางวชิ าการ และประสบการณ์ ทง้ั ในประเทศ หลักฐาน และต่างประเทศ สง่ เสริมการ 1. บทความทางวิชาการ ทางานวิจยั และเผยแพร่ ผลงานวจิ ัย และการขอตาแหนง่ ทางวชิ าการ 4. ปรับปรุงปจั จยั สนบั สนุนการ 1. สารวจความต้องการของนักศึกษา 1. รายงานความตอ้ งการของ เรียนการสอน และอาจารย์ผสู้ อนเก่ยี วกบั ปัจจยั นกั ศึกษาและอาจารยผ์ สู้ อน สนับสนุนการเรยี นการสอน เกย่ี วกับปัจจัยสนับสนุนการ 2. จดั หาและจดั สรรทนุ เพ่ือปรบั ปรงุ เรยี นการสอน ปัจจัยสนับสนุน การเรยี นการสอน 2. รายงานครุภณั ฑ์ เช่น วสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ โสตทัศนปู กรณ์ อาคาร และ ห้องสมดุ ให้มีความทันสมัยและมี ประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขนึ้

11 หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลกั สูตร 1. ระบบการจัดการศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหนึ่งจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซึ่งเป็นภาค การศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ต่อหน่ึงภาคการศึกษา ท้ังนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการ สอบด้วย และข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษา ระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2556 (ดังภาคผนวก ง) 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดูร้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ท้ังนี้ไม่ รวมเวลาสาหรบั การสอบ แตใ่ ห้มจี านวนชวั่ โมงเรยี นของแต่ละรายวชิ าเทา่ กบั หน่ึงภาคการศึกษาปกติ ทงั้ ขึ้นอยู่ กับการพจิ ารณาของคณะกรรมการประจาหลักสตู ร หรอื คณะกรรมการบริหารคณะ/วิทยาลัย 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค - 2. การดาเนนิ การหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในดาเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนมิถนุ ายน – กันยายน ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นพฤศจิกายน – กมุ ภาพนั ธ์ ภาคการศึกษาฤดูรอ้ น เดือนมนี าคม – พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบตั ิของผเู้ ข้าศึกษา 2.2.1 คณุ สมบัตขิ องผู้เข้าศึกษา 1) รับผู้สาเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือรับผู้สาเรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทุกสาขา หรือเทียบเท่า หรือให้เป็นไปตามดุลยพินิจ ของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร 2) คณุ สมบัติอื่นๆ ตามขอ้ บงั คับของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ วี ่าด้วยการศกึ ษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบับเพ่ิมเติม พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) และระเบียบมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 ซึ่งอยู่ในดุลยพินิจของคณะ กรรมการบริหารหลกั สตู ร 2.2.2 วธิ กี ารรับเข้าศกึ ษา 1. ผ่านระบบท่ีใชค้ ัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษา 2. ผา่ นระบบโควตาของคณะและมหาวิทยาลัย 3. ผา่ นระบบสอบตรงของมหาวิทยาลัย

12 2.3 ปญั หาของนกั ศึกษาแรกเข้า ไมม่ ี เนอื่ งจากเป็นหลักสูตรใหม่ 2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนนิ การเพอื่ แก้ไขปัญหา/ข้อจากดั ของนักศึกษาในขอ้ 2.3 จากผลการดาเนินงานของหลักสูตร การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตใน สถานประกอบการ จุดเด่นจุดด้อยและความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ัณฑิต ดังน้ันคณะกรรมการผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร จึงนาเอาข้อมูลท้ังหมดมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรโดยปรับรายวิชาและกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน และได้เพ่ิมในส่วนของโครงการอบรมปรับพ้ืนฐานช่างอุตสาหกรรมเพ่ิมเติมให้กับนักศึกษาแรกเข้า และปรับ รายวิชาเฉพาะสาขาให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรมสมัยใหม่ ในการจัดทาพัฒนาหลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564 น้ี ได้ยึดนาเอาสมรรถนะจากหลักสูตรกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ มาเป็นสมรรถนะใน หลักสูตร โดยได้จัดทาสมรรถนะเป็นรายปีว่านักศึกษาสามารถทาอะไรได้บ้าง และในทุกปีการศึกษาได้จัด กิจกรรมเพื่อเสริมทักษะด้าน Soft Skill ใหก้ บั นักศึกษาในดา้ นต่าง ๆ เชน่ กิจกรรมเสรมิ ความเป็นครู เสริมด้าน ภาษา การส่ือสาร คุณธรรมจริยธรรม ระเบียบวินัย จิตอาสา ภาวะผู้นา ทักษะการคิดวิเคราะห์ เพื่อตอบโจทย์ คณุ ลักษณะบัณฑติ ทตี่ ้องการของผู้ใช้บณั ฑิต 2.5 แผนการรบั นกั ศกึ ษาและผู้สาเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี 2.5.1 จานวนนกั ศึกษาทจ่ี ะรับ สาหรบั ผู้มีคุณสมบตั ิตามคุณสมบตั ิข้อ 2.2.1 ขอ้ 1 นักศกึ ษาระดับ ปกี ารศึกษา ปรญิ ญาตรี 2564 2565 2566 2567 2568 30 ชัน้ ปีที่ 1 30 30 30 30 30 30 ชัน้ ปีท่ี 2 - 30 30 30 30 120 ชั้นปีท่ี 3 - - 30 30 30 ชั้นปีที่ 4 - - - 30 รวม 30 60 90 120 นกั ศึกษาทค่ี าดว่าจะสาเร็จ - - - 30

13 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท) รายละเอียดรายรับ ปีงบประมาณ 2568 2564 2565 2566 2567 3,360,000 ค่าบารุงการศึกษาและค่าลงทะเบยี น 840,000 1,680,000 2,520,000 3,360,000 360,000 3,720,000 เงินอดุ หนนุ จากรัฐบาล 90,000 180,000 270,000 360,000 รวมรายรับ 930,000 1,860,000 2,790,000 3,720,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หนว่ ย : บาท) หมวดเงิน ปงี บประมาณ 2564 2565 2566 2567 2568 ก. งบดาเนินการ 1. คา่ ใชจ้ า่ ยบุคลากร 2,550,000 2,703,000 2,865,180 3,037,091 3,219,316 2. ค่าใช้จา่ ยดาเนนิ งาน (ไมร่ วม 3) 90,000 180,000 270,000 360,000 360,000 3. ทนุ การศกึ ษา - ---- 4. รายจา่ ยระดับมหาวิทยาลัย 90,000 180,000 270,000 360,000 360,000 (รวม ก) 2,730,000 3,063,000 3,405,180 3,757,091 3,939,316 ข. งบลงทนุ ค่าครุภณั ฑ์ 25,000 50,000 75,000 100,000 125,000 (รวม ข) 25,000 50,000 75,000 100,000 125,000 รวม (ก) + (ข) 2,755,000 3,113,000 3,480,180 3,857,091 4,064,316 จานวนนักศึกษา 30 60 90 120 120 คา่ ใช้จา่ ยต่อหัวนักศึกษา 91,833.33 51,883.33 38,668.67 32,142.25 33,869.30 *หมายเหตุ คา่ ใช้จ่ายต่อหวั นกั ศกึ ษาตามระบบเหมาจ่ายเฉล่ยี จานวน 28,000 บาทตอ่ ปี 2.7 ระบบการศึกษา  แบบช้นั เรยี น  แบบทางไกลผา่ นส่อื สิง่ พมิ พเ์ ป็นหลัก  แบบทางไกลผา่ นสื่อแพรภ่ าพและเสียงเป็นสอื่ หลกั  แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนกิ ส์เป็นสอื่ หลัก (E-learning)  แบบทางไกลทางอนิ เตอร์เนต็  แบบการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ...........................................................................................  อืน่ ๆ (ระบ)ุ

14 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวิชา และการลงทะเบยี นเรียนข้ามสถาบันอดุ มศกึ ษา นักศึกษาท่ีเคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาก่อน เมื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนี้ สามารถเทียบโอน หน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 ดังภาคผนวก ง และตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี ว่าดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ฉ)

15 134 หนว่ ยกติ 3. หลักสตู ร และอาจารยผ์ สู้ อน 30 หน่วยกติ 3.1 หลกั สูตรส่ีปี 7 หนว่ ยกิต 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู ร 3 หนว่ ยกติ 3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร 3 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1 หนว่ ยกิต 1.1 กลุม่ คุณคา่ แหง่ ชวี ิตและหน้าทีพ่ ลเมือง 12 หนว่ ยกิต สงั คมศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต มนษุ ยศาสตร์ 6 หน่วยกิต พลศกึ ษาและนันทนาการ 6 หน่วยกติ 1.2 กลุ่มภาษาและการสอื่ สาร 3 หน่วยกิต ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 3 หนว่ ยกิต ภาษาเพิ่มเติม 5 หนว่ ยกติ 1.3 กลมุ่ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวตั กรรม 5 หนว่ ยกติ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 91 หน่วยกิต วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และนวตั กรรม 29 หน่วยกติ 1.4 กลุ่มบรู ณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ 47 หน่วยกติ บูรณาการและศาสตร์ผ้ปู ระกอบการ 15 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะ 6 หน่วยกติ 2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 7 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มวิชาชีพบังคบั 2.3 กลุ่มวิชาชีพเลือก 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 4. หมวดวิชาเสรมิ สร้างประสบการณใ์ นวชิ าชีพ

16 3.1.3 รายวิชา

17 1. หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป ไม่น้อยกวา่ 30 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มคณุ ค่าแหง่ ชีวิตและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 หนว่ ยกติ 1.1.1 รายวชิ าสังคมศาสตร์ ใหศ้ กึ ษา 3 หน่วยกติ 01-110-009 การพฒั นาคุณภาพชีวิตและสงั คม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การพัฒนาท่ียง่ั ยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development 01-110-018 อนิ เทรนด์ อย่างเปน็ สขุ 3(3-0-6) Happiness Trend 01-110-024 ชวี ติ ทพ่ี อเพียงกับภมู ิปญั ญาไทย 3(3-0-6) Sufficiency Life with Thai Wisdom 1.1.2 รายวชิ ามนุษยศาสตร์ ใหศ้ กึ ษา 3 หนว่ ยกิต 01-210-017 การค้นคว้าและการเขยี นรายงานเชิงวิชาการ 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing 01-210-019 การพฒั นาบุคลิกภาพ 3(2-2-5) Personality Development 01-210-021 การใช้เหตุผลและจริยธรรม 3(3-0-6) Reasoning and Ethics 01-210-024 ทกั ษะการเรียนรู้สู่ความสาเร็จ 3(3-0-6) Learning Skills to Success 1.1.3 รายวิชาพลศึกษาและนนั ทนาการ ให้เลอื กศกึ ษาไมน่ ้อยกวา่ 1 หน่วยกิต จากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation 01-610-014 ทักษะกีฬาเพอื่ สุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health 01-610-010 นนั ทนาการเพ่อื พฒั นาคุณภาพชวี ติ 3(2-2-5) Recreation for Life Quality Development 01-610-012 สขุ ภาพเพื่อการดารงชวี ติ สาหรบั คนร่นุ ใหม่ 3(2-2-5) Health for New Generation Living

18 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสื่อสาร ไมน่ ้อยกว่า 12 หนว่ ยกิต 1.2.1 รายวชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร จานวน 6 หนว่ ยกติ 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 1.2.2 รายวิชาภาษาเพิ่มเติม ใหศ้ ึกษา 6 หนว่ ยกิต จากรายวชิ า 01-310-011 การส่อื สารกบั บุคคลเฉพาะกลมุ่ 3(3-0-6) Communication for Specific Groups 01-310-015 การอ่านและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ 3(3-0-6) Creative Reading and Writing 01-310-016 ภาษาไทยเพ่ือการนาเสนองานแบบมอื อาชพี 3(3-0-6) Thai for Professional Presentation 01-320-007 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนาเสนอ 3(2-2-5) English for Presentation 01-320-014 ภาษาองั กฤษสาหรับการสอ่ื สารทางธรุ กิจ 3(2-2-5) English for Business Communication 01-320-021 การใชส้ ่อื ดิจิทัลในการเรียนภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Using Digital Tools for English Learning 01-320-025 ภาษาองั กฤษสาหรับการสอื่ สารในองคก์ ร 3(2-2-5) English for Organizational Communication 01-330-002 การสนทนาภาษาจีนเบื้องต้น 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation 01-330-007 สนทนาภาษาญปี่ ุ่นเบ้ืองต้น 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation 1.3 กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ 1.3.1 รายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเ้ ลือกศกึ ษาจานวน 3 หน่วยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รปู เพ่อื งานมัลติมีเดยี 3(2-2-5) Program Package for Multimedia

19 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making 1.3.2 รายวชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวตั กรรม ให้เลือกศึกษาอีกไมน่ อ้ ยกว่า 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปน้ี 09-111-001 การคิดและการใหเ้ หตผุ ล 3(3-0-6) Thinking and Reasoning 09-121-002 สถิติเบ้ืองตน้ สาหรบั นวตั กรรม 3(2-2-5) Basic Statistics for Innovation 09-130-002 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิง่ ในชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation 09-210-033 เทคโนโลยีสเี ขียว 3(3-0-6) Green Technology 09-090-011 การส่อื สารวทิ ยาศาสตร์และการสร้างความตระหนักดา้ น 2(1-2-3) วทิ ยาศาสตร์ Science Communication and Public Awareness 1.4 กลมุ่ บูรณาการและศาสตรผ์ ู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกติ 1.4.1 รายวชิ าบรู ณาการและศาสตรผ์ ปู้ ระกอบการ ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 00-100-101 อัตลักษณแ์ หง่ ราชมงคลธญั บุรี 2(0-4-2) RMUTT Identity 00-100-201 มหาวทิ ยาลัยสีเขียว 1(0-2-1) Green University 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking 00-100-301 ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship

20 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 91 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มพื้นฐานวิชาชีพ 29 หน่วยกิต 2.1.1 กลมุ่ วชิ าพน้ื ฐานทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 9 หน่วยกิต ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 09-111-141 แคลคลู สั สาหรบั วิศวกร 1 3(3-0-6) Calculus for Engineers 1 09-122-103 สถติ ิทวั่ ไป 3(3-0-6) General Statistics 09-410-040 ฟิสกิ สท์ ่ัวไป 3(2-3-5) General Physics 2.1.2 กลมุ่ วิชาพื้นฐานทางวชิ าชพี 14 หนว่ ยกติ ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี 02-231-201 กลศาสตร์วิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Mechanics 02-291-213 ความแข็งแรงของวัสดุ 3(3-0-6) Strength of Materials 02-291-204 การสารวจเบือ้ งต้น 3(1-6-4) Fundamental of Survey 02-291-208 วสั ดุก่อสร้างและการทดสอบ 3(1-6-4) Construction Materials and Testing 02-291-209 ความปลอดภัยในงานก่อสรา้ ง 2(2-0-4) Safety in Construction 2.1.3 กลุ่มวิชาพ้นื ฐานเพมิ่ ทักษะทางวิชาชีพ 6 หน่วยกิต ใหศ้ ึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้ 02-291-101 การเขียนแบบก่อสร้าง 3(1-6-4) Construction Drawing 02-291-103 ทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) Architecture Theory 02-291-109 การจาลองสารสนเทศอาคารในงานก่อสรา้ ง 1 3(2-3-5) Building Information Modeling in Construction 1 2.2 กลุ่มวิชาชพี บังคบั 47 หน่วยกิต 02-291-303 ปฏิบตั กิ ารปฐพีกลศาสตร์ 1(0-3-1) Soil Mechanics Laboratory

21 02-231-309 การบริหารงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Management 3(2-3-5) 3(3-0-6) 02-232-311 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสรมิ เหลก็ 3(2-3-5) Reinforced Concrete Design 3(3-0-6) 3(3-0-6) 02-291-312 ภาษาองั กฤษสาหรบั สถาปนิกและวศิ วกร 3(2-3-5) English for Architects and Engineers 3(1-6-4) 3(3-0-6) 02-232-402 การออกแบบโครงสรา้ งไมแ้ ละเหล็ก 3(3-0-6) Timber and Steel Structure Design 2(1-3-5) 1(1-0-2) 02-291-202 เทคนคิ การก่อสร้าง 3(2-3-5) Construction Techniques 2(2-0-4) 2(1-3-5) 02-291-206 ทฤษฎโี ครงสร้างและการวเิ คราะหโ์ ครงสร้าง 3(0-6-4) Theory of Structure and Structural Analysis 02-291-210 การประมาณราคางานก่อสร้าง Construction Cost Estimating 02-291-211 เทคโนโลยงี านสารวจ Surveying Technology 02-291-212 เศรษฐศาสตร์วศิ วกรรม Engineering Economics 02-291-302 ปฐพกี ลศาสตร์และฐานราก Soil Mechanics and Foundation 02-291-304 โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรบั งานวศิ วกรรมโยธา Computer Programs for Civil Engineering 02-291-305 การเตรยี มโครงการ Pre-project 02-291-307 โครงสร้างพน้ื ฐานเบ้ืองต้น Fundamental of Infrastructure 02-291-308 สญั ญาและข้อกาหนดการกอ่ สร้าง Construction Contracts and Specifications 02-291-402 ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการงานก่อสร้าง Information System for Construction Management 02-291-403 โครงการ Project

22 02-291-404 การวางแผนและควบคุมงานก่อสรา้ ง 3(2-3-5) Construction Planning and Control 3(3-0-6) 2.3 รายวิชาชพี เลือก 15 หน่วยกิต ให้เลอื กศกึ ษาจากรายวิชาตามวชิ าต่อไปน้ี 2(2-0-4) 02-292-301 วิศวกรรมงานระบบ 3(3-0-6) System Engineering 3(3-0-6) 02-292-302 เครอ่ื งจักรกลงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Machines 3(3-0-6) 02-292-303 การประกันคุณภาพในงานก่อสรา้ ง 3(2-3-5) Quality Assurance in Construction 3(2-3-5) 02-292-304 การเงินและการบัญชสี าหรบั ธุรกจิ ก่อสรา้ ง 3(2-3-5) Finance and Accounting for Construction Business 3(2-3-5) 02-292-305 การออกแบบคอนกรตี อดั แรงเบอื้ งตน้ 3(3-0-6) Fundamental Prestressed Concrete Design 3(3-0-6) 02-292-307 เทคโนโลยอี าคารอจั ฉรยิ ะ 3(2-3-5) Intelligent Building Technology 2(2-0-4) 02-292-402 การจาลองสารสนเทศอาคารในงานกอ่ สร้าง 2 Building Information Modeling in Construction 2 02-292-403 โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรบั การบรหิ ารงานก่อสรา้ ง Computer Programs for Construction Management 02-292-404 วศิ วกรรมการทาง Highway Engineering 02-292-405 โปรแกรมตารางคานวณเพ่ือการประยกุ ต์ใชท้ างวิศวกรรม Spreadsheet Program for Engineering Applications 02-292-406 หวั ขอ้ พิเศษทางเทคโนโลยกี ่อสรา้ ง Special Topic in Construction Technology 02-292-407 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และการรับรรู้ ะยะไกล Geographic Information System and Remote Sensing 02-292-408 การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ Computer Programming 02-292-409 ธรณวี ิทยาสาหรบั วศิ วกร Geology for Engineers

23 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยไม่ซ้า กบั รายวชิ าท่ศี กึ ษามาแล้ว และต้องไมเ่ ปน็ รายวิชาที่กาหนดให้ศกึ ษาโดยไมน่ ับหน่วยกติ 4. หมวดวิชาเสริมสรา้ งประสบการณ์ในวิชาชพี 7 หน่วยกติ โดยใหศ้ ึกษา 1 หนว่ ยกติ 02-000-301 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience และใหเ้ ลอื กศกึ ษา 6 หน่วยกิต จากรายวชิ าต่อไปนี้ 02-000-304 ฝึกงาน 3(0-20-0) Apprenticeship 02-000-305 ฝกึ งานตา่ งประเทศ 3(0-20-0) International Apprenticeship 02-000-302 สหกิจศกึ ษา 6(0-40-0) Cooperative Education 02-000-303 สหกจิ ศกึ ษาต่างประเทศ 6(0-40-0) International Cooperative Education 02-000-306 ปญั หาพิเศษจากสถานประกอบการ 3(0-6-3) Workplace Special Problem 02-000-309 ปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม 2(0-6-3) Fieldwork 02-000-311 การฝึกเฉพาะตาแหน่ง 3(0-16-8) Practicum 02-000-412 การฝกึ ปฏบิ ัติจริงภายหลงั สาเร็จการเรียนทฤษฎี 6(0-40-0) Post-course Internship

24 3.1.4 แผนการศึกษาเสนอแนะ หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาดว้ ย ปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 3 ตนเอง 2 01-210-xxx เลอื กจากรายวิชามนุษยศาสตร์ 3 xx x 00-100-101 อัตลกั ษณ์แห่งราชมงคลธัญบรุ ี 1 09-000-xxx เลอื กจากรายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 04 2 01-610-xxx เลือกจากรายวิชาพลศึกษาและนนั ทนาการ 3 09-111-141 แคลคูลสั สาหรบั วศิ วกร 1 3 xx x 09-410-040 ฟสิ กิ ส์ทัว่ ไป 02-291-101 การเขยี นแบบกอ่ สรา้ ง xx x รวม 30 6 23 5 16 4 18 หนว่ ยกิต ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 01-110-xxx เลือกจากรายวิชาสังคมศาสตร์ 3 30 6 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่อื สาร 1 3 22 5 09-xxx-xxx เลอื กจากรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 3 xx x และนวัตกรรม 3 30 6 09-122-103 สถิตทิ ั่วไป 3 02-291-109 การจาลองสารสนเทศอาคารในงานกอ่ สรา้ ง 1 3 23 5 02-291-202 เทคนคิ การก่อสรา้ ง 3 02-291-103 ทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 30 6 รวม 30 6 21 หนว่ ยกติ ปที ่ี 2 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาดว้ ย 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 2 3 ตนเอง 00-100-201 มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว 1 00-100-202 การคิดเชิงออกแบบ 1 22 5 02-291-212 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม 3 02-291-213 ความแขง็ แรงของวัสดุ 3 02 1 02-291-209 ความปลอดภัยในงานกอ่ สรา้ ง 2 02-231-201 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3 02 1 02-291-204 การสารวจเบ้อื งต้น 3 30 6 รวม 30 6 20 4 30 6 16 4 19 หน่วยกิต

25 ปีที่ 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 01-3xx-xxx เลอื กจากรายวิชาภาษาเพมิ่ เตมิ 3 XX X 02-291-206 ทฤษฎีโครงสร้างและการวิเคราะห์ 3 30 6 โครงสรา้ ง 02-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าชพี เลือก 3 xx x 02-291-208 วัสดกุ อ่ สร้างและการทดสอบ xx-xxx-xxx เลือกจากรายวิชาเลอื กเสรี 3 16 4 02-291-210 การประมาณราคางานกอ่ สรา้ ง 02-291-211 เทคโนโลยงี านสารวจ 3 xx x รวม 3 23 5 3 16 4 21 หนว่ ยกติ ปที ่ี 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ 1 02 1 01-3xx-xxx เลือกจากรายวชิ าภาษาเพม่ิ เตมิ 3 XX X 02-232-311 การออกแบบโครงสร้างคอนกรตี เสริม 3 23 5 เหลก็ 02-291-302 ปฐพกี ลศาสตรแ์ ละฐานราก 3 30 6 02-291-303 ปฏบิ ตั ิการปฐพกี ลศาสตร์ 1 02-xxx-xxx เลือกจากรายวิชาชพี เลือก 3 03 1 02-291-308 สญั ญาและข้อกาหนดการกอ่ สรา้ ง 2 02-291-312 ภาษาองั กฤษสาหรบั สถาปนกิ และวิศวกร 3 xx x รวม 20 4 30 6 19 หนว่ ยกิต ปที ี่ 3 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 02-232-402 การออกแบบโครงสรา้ งไมแ้ ละเหลก็ 3 23 5 02-291-304 โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรับงาน 2 13 5 วิศวกรรมโยธา 02-291-305 การเตรยี มโครงการ 1 10 2 02-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าชพี เลอื ก 02-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าชพี เลอื ก 3 xx x xx-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าเลือกเสรี 02-291-309 การบริหารงานกอ่ สรา้ ง 3 xx x รวม 3 xx x 3 30 6 18 หนว่ ยกิต

26 ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย 1 02 ตนเอง 02-000-301 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์ 1 วิชาชพี 02-291-307 โครงสรา้ งพน้ื ฐานเบอื้ งตน้ 3 23 5 02-291-404 การวางแผนและควบคุมงานก่อสรา้ ง 3 23 5 02-291-403 โครงการ 3 06 4 02-291-402 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงาน 2 13 5 กอ่ สรา้ ง 02-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชาชพี เลือก 3 xx x รวม 15 หนว่ ยกติ ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาดว้ ย 6 0 40 ตนเอง 02-000-412 การฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริงภายหลังสาเรจ็ การเรียน 0 ทฤษฎี 6 หนว่ ยกิต รวม

27 3.1.6 คาอธิบายรายวิชา 01-110-009 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสงั คม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality ปรัชญาและหลักธรรมในการดารงชีวิตของบุคคลการสร้างแนวคิดและเจตคติของ ตนเอง หลักธรรมในการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบของ บุคคล หลักการบริหารและการพัฒนาตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เทคนิคการครองใจคน หลักการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชพี Philosophy and Dharma principles in daily life, creating their own ideas and attitudes, Dharma principles of creating life quality, individuals’ roles and responsibilities, management principles and self- development, participation in social activities, techniques of winning the one’s hearts, principles for effective job development, ethics and codes of conduct 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาที่ยงั่ ยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกิจแบบย่ังยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ นาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบย่ังยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกบั การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณีตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงที่ ประสบความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency- economy activities in Thailand

28 01-110-018 อนิ เทรนด์ อยา่ งเปน็ สุข 3(3-0-6) Happiness Trend คนไทยในสังคมยุค 4.0 มารยาทสังคมไทยในสังคมโลก สิทธิหน้าที่ของคนไทย ตระหนกั ในสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ สว่ นรวม การบริหารจัดการเศรษฐกจิ ในชวี ิตประจาวัน รู้ กฎหมายในการทางาน Thai citizens in Thailand 4.0, Thai etiquette in global society, rights and duties of Thai citizens, environmental awareness, financial management in daily life, law in the workplace 01-110-024 ชีวติ ที่พอเพียงกับภูมิปัญญาไทย 3(3-0-6) Sufficiency Life with Thai Wisdom ความหมาย ขอบเขต ความสาคัญ และพัฒนาการของภูมิปัญญาไทย กระบวนการ เรียนรู้ของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถ่ิน การใช้ภูมิปัญญาไทยเพ่ือพัฒนา ชีวิตที่พอเพียง กรณีตัวอย่างชีวิตท่ีพอเพียงของบุคคลในสังคมไทย กรณีตัวอย่าง การนาภมู ปิ ัญญาไทยมาประยุกต์ใช้ในการดารงชวี ิตจนประสบความสาเร็จในอาชพี Meanings, scopes, importance and development of Thai wisdom, learning process of Thai and local wisdom, using Thai wisdom for sufficient life development, case studies about sufficient life of Thai individuals in society, case studies of applying Thai wisdom to living and career success 01-210-017 การคน้ คว้าและการเขียนรายงานเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing วิธีการค้นคว้าสารสนเทศ การเข้าถึงและรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ การ ประเมนิ การวเิ คราะห์และการสังเคราะห์สารสนเทศ การเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ การอ้างองิ และบรรณานกุ รม Searching for information, having access to and collecting information resources, evaluating, analyzing, and synthesizing information, writing academic reports, references, and bibliographies

29 01-210-019 การพฒั นาบุคลกิ ภาพ 3(2-2-5) Personality Development ความหมายและความสาคัญของการพฒั นาบุคลิกภาพ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล การวิเคราะห์และการประเมินบุคลิกภาพ ความฉลาดทางอารมณ์ การปรับตัวใน สังคมปัจจุบัน การเสริมสร้างสุขภาพจิต การพัฒนาเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อ่ืน การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย การแสดงออกอย่าง เหมาะสมและมารยาทสังคม Definition and the importance of personality development, individuals’ differences between , analyzing and assessing personality, emotional intelligence, self- adjustment in present society, mental health development, developing attitudes towards oneself and others, transaction and relationship, development of appearance, assertiveness, social manners 01-210-021 การใชเ้ หตุผลและจรยิ ธรรม 3(3-0-6) Reasoning and Ethics สมองกับการคดิ การคดิ กับการอา้ งเหตุผล เหตุผลทด่ี ีและเหตุผลวบิ ตั ิ การใชต้ รรกะ ใน ชีวิตประจาวัน ความหมายของจริยธรรม การเรียนรู้จริยธรรมและการพัฒนา จริยธรรม เกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม ค่านิยมทางจริยธรรมของสังคมไทย ปัญหา จรยิ ธรรมร่วมสมัย และจรยิ ธรรมกบั การแก้ปัญหาของชวี ติ Brain and thinking, thinking and reasoning, good reasoning end fallacies logic in daily life, definition of ethics, learning and developing ethics, ethical criteria, Thai value and ethics, cotemporary ethical problems, ethics and solving life problems

30 01-210-024 ทกั ษะการเรยี นรสู้ ่คู วามสาเร็จ 3(3-0-6) Learning Skills to Success เคล็ดลับสู่ความสาเร็จ การคิดและการตัดสินใจที่ดี การรับรู้เกี่ยวกับตนเองและ สมรรถนะแห่งตนเพ่ือความสาเร็จ คุณค่าของการทางาน การรู้เท่าทันสื่อยุคใหม่ การสรา้ งทีมงานท่ีมีประสทิ ธิภาพ การพฒั นาทกั ษะสู่ความสาเร็จผ่านกิจกรรมและ โครงการ Key to success, effective thinking and decision making, self-perception towards self-esteem and self-efficacy for success, value of working, being aware of modern media’s tricks, building teamwork effectively and efficiently, developing skills for success through activities and projects 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง ๆ และเลือก กิจกรรมนนั ทนาการท่ีเหมาะสม General knowledge of recreation, types of recreational activities and selection of appropriate recreational activities 01-610-014 ทกั ษะกีฬาเพอ่ื สุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health ความรู้ท่ัวไปเก่ียวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ สังคม การฝึกปฏิบัติทักษะพื้นฐานของชนิดกีฬาที่เลือก วิธีการเล่น และกติกาการ แข่งขัน General knowledge about the chosen sport, development of health on aspects of body, mind, emotion, and social, practice of basic skills of chosen sports, how to play the sport, sport rules for competition

31 01-610-010 นนั ทนาการเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 3(2-2-5) Recreation for Life Quality Development ความหมาย ขอบข่าย ความสาคัญและประเภทของนันทนาการ ลักษณะและ บทบาทของผู้นานันทนาการ แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับนันทนาการของ มนุษย์ หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยคานึงถึงความปลอดภัยในการ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมนนั ทนาการ Concepts, scope, importance and types of recreation, principles of recreational management mind, emotion, social and intelligence, feasibility studies of safety in recreation performance 01-610-012 สขุ ภาพเพ่ือการดารงชีวติ สาหรับคนรุ่นใหม่ 3(2-2-5) Health for New Generation Living ศึกษาแนวความคิดเกย่ี วกบั สุขภาพ องคป์ ระกอบของการมีสุขภาพดี การเสริมสร้าง สุขภาพโดยคานึงถึงหลักการทางพลศึกษา เน้นการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ โภชนาการกับสุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง การปฐม พยาบาล และการปอ้ งกนั การบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและการเล่นกีฬา Concepts about health, elements of good health, strengthening health by taking into account principles of physical education, focus on fitness, nutrition with health, self-test for physical fitness, first aid and prevention of injury from exercises and sports 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศพั ท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการบอกขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง กิจวตั รประจาวนั ความ สนใจการสนทนาส้ัน ๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ การฟังและ อ่านข้อความสั้น ๆ จากสื่อตา่ ง ๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts

32 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการเล่าเรอื่ ง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่าง ต่อเนื่องในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟังและ การอา่ นเนอื้ หาในเรอ่ื งที่เกี่ยวข้องจากส่ือ Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts 01-310-011 การสอ่ื สารกับบคุ คลเฉพาะกลมุ่ 3(3-0-6) Communication for Specific Groups การสื่อสารดว้ ยกระบวนการทเ่ี หมาะสมกบั กลุม่ ผทู้ ี่มีสถานะเฉพาะ เช่น กลมุ่ ผู้พกิ าร ผู้สูงอายุ เยาวชน อาชีพเฉพาะ Communication through process suitable for particular groups of people, such as people with physical disabilities, senior people, youths, and people with a special career 01-310-015 การอ่านและการเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ 3(3-0-6) Creative Reading and Writing การสง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคจ์ ากการอา่ นและการเขยี น การเลือกสรรวรรณกรรม การเรียบเรียงถ้อยคา การใช้โวหาร การเขียนย่อหน้า กลวิธีการสร้างสรรค์และ นาเสนอผลงานด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายและเหมาะสมกบั วิชาชีพ Promoting creative thinking from reading and writing, selecting literature, organizing words and phrases, making eloquence, paragraph writing, strategies for creation and presentation appropriate for particular professions

33 01-310-016 ภาษาไทยเพือ่ การนาเสนองานแบบมืออาชีพ 3(3-0-6) Thai for Professional Presentation ลักษณะ ความสาคัญ องค์ประกอบ และรูปแบบของการนาเสนอ การเตรียมความ พร้อมการใช้ส่ือ และศิลปะการใช้ภาษาไทยในการนาเสนอด้วยการพูดและการ เขยี น Characteristics, importance, elements, and styles of presentation, preparation and use of media, stylistic use of Thai in oral and written presentation 01-320-007 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนาเสนอ 3(2-2-5) English for Presentation คาศัพท์ สานวน โครงสร้างภาษาในการนาเสนองานในแต่ละขั้นตอน การใช้วจน ภาษาและอวจนภาษา การใช้ส่ือประกอบการนาเสนองาน การนาเสนอเชิงสถิติ การตงั้ คาถามและการตอบคาถามระหวา่ งนาเสนองาน Vocabulary , expressions, and language patterns used at different stages of presentation, use of verbal and non-verbal languages presentations, use of visual supports, presentation of facts and figures, asking and answering questions 01-320-014 ภาษาอังกฤษสาหรับการส่ือสารทางธรุ กจิ 3(2-2-5) English for Business Communication การฟังและการพูดภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารทางธุรกิจ การทักทายและการ แนะนาตัว การนัดหมายลูกค้าทางโทรศัพท์ การขอร้องและการอาสา การแสดง ความคดิ เหน็ การบอกทศิ ทาง การเลยี้ งรับรองลูกคา้ Listening and speaking in situations related to business communication, greeting and self-introduction, making appointments by phone, requests and offers, giving opinions, giving directions, entertaining clients

34 01-320-021 การใชส้ อ่ื ดิจทิ ัลในการเรยี นภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Using Digital Tools for English Learning ประเภทของสื่อดิจิทัลสาหรับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การฟัง การพูด และการเขียน การใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การฟัง การ พดู และการเขยี นด้วยตนเอง Types of digital media for English skill development including listening, reading, speaking and writing, use of digital media for self-directed learning 01-320-025 ภาษาองั กฤษสาหรับการส่ือสารในองคก์ ร 3(2-2-5) English for Organizational Communication คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การประชุม การ แสดงความคิดเห็น การนาเสนองานอย่างสั้น การให้ข้อวิจารณ์และกล่าวตอบข้อ วจิ ารณ์ การทบทวนผลการปฏบิ ัตงิ าน Vocabulary, expressions and language patterns for emailing, meeting, expressing opinions, giving a short presentation, giving and responding to feedback, performance reviews 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบอื้ งตน้ 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เก่ียวข้องกับชีวิตประจาวัน เน้นการออกเสียงที่ ถกู ตอ้ ง ความสามารถในการถา่ ยทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใชส้ ถานการณ์ จาลองได้ Chinese listening and speaking on everyday life topics focusing on correct pronunciation and expressions by means of simulation

35 01-330-007 สนทนาภาษาญปี่ ุน่ เบ้อื งต้น 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation บทสนทนาภาษาญ่ีปุ่นในรูปแบบต่างๆ โดยอาศัยสถานการณ์จาลองจาก สถานการณ์จริงท่ีผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจาวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้ อย่างคล่องแคล่ว เม่ือชานาญข้ึน สามารถนาคาศัพท์ท่ีเก่ียวข้องอื่นๆ มาประกอบ เพือ่ ขยายขอบเขตของบทสนทนาใหก้ ว้างต่อไป Various types of Japanese conversation in daily life, situational conversation practice with the focus on fluency and relevant vocabulary use for extension of conversation 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตและการสือ่ สารสังคมออนไลน์ ไดแ้ ก่ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยี การส่อื สารข้อมลู จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่อง เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต และความร้ทู ั่วไปเกย่ี วกบั โลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor ( Microsoft Word) , Spreadsheets ( Microsoft Excel) , Presentation (Microsoft PowerPoint), Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e- mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World

36 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพอ่ื งานมัลตมิ เี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพน่ิง เสียง ภาพเคล่ือนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการส่ือประสม เช่น โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบ เวกเตอร์ โปรแกรมสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว 2 มติ ิ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดโิ อ โปรแกรม แปลงไฟล์ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานส่ือประสม และการเผยแพร่ ผลงานสอื่ ประสมบนอนิ เทอรเ์ น็ต Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น โปรแกรมตารางคานวณข้ันสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรปู แบบของกราฟิก รวมถึง เคร่ืองมืออานวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน เพื่อ นาเสนอข้อมลู ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ Basic knowledge and theories of decision- making application of software or information system for decision- making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking

37 09-111-001 การคดิ และการให้เหตุผล 3(3-0-6) Thinking and Reasoning การคิดอย่างมีเหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ประพจน์ ตัวเช่ือมทาง ตรรกศาสตร์ ตารางค่าความจรงิ สัจนริ นั ดร์ ตวั บ่งปริมาณ การอา้ งเหตผุ ล Rational thinking, mathematical reasoning, statements, logical connectives, truth table, tautology, quantifiers, arguments 09-121-002 สถติ เิ บื้องตน้ สาหรบั นวตั กรรม 3(2-2-5) Basic Statistics for Innovation ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาข้อมูลท่ี เก่ียวข้องสาหรับการพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพ เครอ่ื งมอื เพ่ือหาประสิทธภิ าพนวัตกรรม การตรวจสอบประสิทธภิ าพนวตั กรรม Meaning and role of statistics in innovation development, study of relevant information for innovation development, tool and quality inspection to find innovative performance, innovation performance monitoring 09-130-002 อนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิงในชีวิตประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life แนวคิดพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสงิ่ แนวโน้มและการพัฒนาของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง สถาปัตยกรรมของอุปกรณ์สมาร์ตอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิงในชีวิตประจาวัน ความปลอดภยั ในการใชง้ านของอนิ เทอรเ์ นต็ ทุกสรรพส่งิ Basic concept of Internet of things (IoT), trend and development of IoT technology, architecture of smart devices of IoT, application of IoT technology in daily life, security in applications of IoT

38 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และสื่อท่ี หลากหลาย เพ่ือนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับ เกษตรกรรม วิศวกรรมและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการ ประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน ส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลง เพ่ือการ พฒั นาทีย่ ัง่ ยืน Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development 09-210-033 เทคโนโลยสี ีเขยี ว 3(3-0-6) Green Technology ปัญหาส่ิงแวดล้อมจากการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักการและ กระบวนการของเทคโนโลยีสีเขียว การประเมินวัฏจักรชีวิต การออกแบบเชิงนเิ วศ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาการบริหารจัดการและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม Environmental problems caused by science and technology development, principle and process of green technology, life cycle assessment, eco- design, case studies of management and appropriate use of environmental–friendly technology

39 09-090-011 การสอ่ื สารวทิ ยาศาสตรแ์ ละการสร้างความตระหนกั ดา้ นวิทยาศาสตร์ 2(1-2-3) Science Communication and Public Awareness ความรู้เกี่ยวกับการส่ือสารวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน ความจาเป็นของการสื่อสารวิทยาศาสตร์กับประชาชน สื่อมวลชน และหน่วยงาน ภาครัฐท่ีเกี่ยวข้อง ปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ ประชาชน ประวัตคิ วามเป็นมาของการส่ือสารวิทยาศาสตร์ ปรัชญาและแนวคิดตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกับการส่ือสารวิทยาศาสตร์ ปญั หาสาคญั ในการส่อื สารวิทยาศาสตรก์ ับผู้ฟัง ท่ัวไป ความสาคัญของการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในการ ส่ือสารวิทยาศาสตร์ อิทธิพลของส่ือ ศูนย์เรียนรู้ การเมือง ประวัติศาสตร์ และค่านยิ ม ทางวัฒนธรรมท่ีมีต่อความสนใจด้านวิทยาศาสตร์ของประชาชน รูปแบบของการ ส่ือสารในบรบิ ทตา่ ง ๆ การให้ขอ้ มลู ขา่ วสารและความรทู้ างวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณะ ความถูกต้องและความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตร์ Knowledge of science communication, contemporary science and technology related to daily life, necessity of communicating science with the public, media as well as the government, factors affecting public opinion and attitudes towards science and technology, history and the development of science communication, philosophy and models of science communication in different contexts, problems in communicating science with non- expert audiences, the importance of public awareness of science and ethical issue in communicating science, the influence of media, learning centers, politics, history and cultural values on public’ s interest in science, science communication in different context, publicizing scientific information, correctness and reliability of scientific information

40 00-100-101 อัตลกั ษณแ์ ห่งราชมงคลธญั บุรี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสังคม การมีจิตใจริเริ่ม การเร่ิมต้นทางานที่มีเป้าหมายชัดเจน การลาดับ ความสาคญั ของงาน และความรับผิดชอบตอ่ งานอย่างมอื อาชีพ การพฒั นาบคุ ลิกภาพ การมีจิตสาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนภายใต้กฎระเบียบและ หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย หลักในการใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizingthings, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวทิ ยาลัยสีเขยี ว 1(0-2-1) Green University วิธปี ฏิบัตติ นเพือ่ เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม การใชพ้ ลงั งานและทรัพยากรอยา่ งคุ้มค่า มี ความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึก รับผิดชอบ การแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ท่ีดีต่อ สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking วิกระบวนการคิดเชิงออกแบบท่ีมุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภณั ฑ์หรอื นวัตกรรมท่ีตอบโจทย์ สร้างไอเดียท่ีหลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพ่ือทดลองและ ทดสอบความคิดทางนวตั กรรมท่เี กดิ ขึน้ Human- centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions

41 00-100-301 ความเปน็ ผู้ประกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงนิ การเปน็ ผปู้ ระกอบการท่ีประสบความสาเร็จ การ จดั ทาแบบจาลองธุรกิจ Business trends and concept, development of entrepreneur characteristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 09-111-141 แคลคูลัสสาหรบั วศิ วกร 1 3(3-0-6) Calculus for Engineers 1 ฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเน่ือง การหาอนุพันธ์ รูปแบบยังไม่กาหนด การประยุกต์ ของอนุพันธ์ การหาปริพันธ์ เทคนิคของการหาปริพันธ์ การประยุกต์ของปริพันธ์ จากัดเขต พีชคณิตเวกเตอรใ์ นสามมิติ Functions limits and continuity, differentiation, indeterminate forms, applications of differentiation, integration, techniques of integration, applications of definite integral, algebra of vectors in three - dimensional space 09-122-103 สถิติท่ัวไป 3(3-0-6) General Statistics สถิติเชิงพรรณนา ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัว แปรส่มุ การสมุ่ ตวั อยา่ งและการแจกแจงของตวั อยา่ ง การประมาณค่าของประชากร กลุ่มเดียว การทดสอบสมมติฐานสาหรับประชากรกลุ่มเดียว การทดสอบไคกาลัง สอง Descriptive statistics, probability, random variable, probability distribution of random variable, sampling and sampling distribution, estimation of one population, hypothesis testing for one population, chi-square test

42 09-410-040 ฟสิ ิกสท์ ั่วไป 3(2-3-5) General Physics ความรู้พ้ืนฐานทางกลศาสตร์ ความร้อน คล่ืนกล ไฟฟ้า-แม่เหล็ก แสง และ ความก้าวหน้าทางฟิสิกส์ ปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับกลศาสตร์ ความร้อน คล่ืนกล ไฟฟา้ -แม่เหล็ก แสง Fundamental knowledge of mechanics, heat wave, electromagnetism, optics and advanced physics, laboratory practice in mechanic, heat, wave, electromagnetism and optic 02-231-201 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Mechanics หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ แรงและผลลัพธ์ของแรง การสมดุลแรงของ อนุภาคและวัตถุเกร็ง การวิเคราะห์แรงในช้ินส่วนของโครงสร้าง แรงกระจาย สถิตศาสตร์ของไหล แรงเสียดทาน จุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ โมเมนต์ความเฉอ่ื ยของพื้นท่ี และหลกั การของงานเสมือน Principles of basic mechanics, force and output of force, force equilibrium of solid, force analysis in member of structure, distribution force, fluid mechanics, friction, center of mass and center of gravity, moment of inertia for area and virtual work

43 02-291-213 ความแขง็ แรงของวสั ดุ 3(3-0-6) Strength of Materials วิชาบังคบั ก่อน: 02-231-201 กลศาสตร์วศิ วกรรม Prerequisite: 02-231-201 Engineering Mechanics หนว่ ยแรง หนว่ ยการยดื หดตวั ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงและหนว่ ยการยืดหด ตัว พลังงานเครียดภายใต้แรงดึงและแรงอัด หน่วยแรงที่ยอมให้ อัตราส่วนปัวซอง ท่อนวัสดุเชิงประกอบ หน่วยแรงในถังความดันผนังบาง หน่วยแรงเน่ืองจากการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ แรงบิดในวัสดุท่อนกลม แรงบิดในท่อผนังบาง การวิเคราะห์ หน่วยแรงและหน่วยการยืดหดตัว วงกลมมอร์ แรงเฉือนและแรงดัดในคาน ความสมั พนั ธร์ ะหว่างน้าหนกั บรรทกุ Stresses and strain, the relationship between stress and strain, strain energy under tension and compression, allowable stress, Poisson ratio, composite material, stress in the thin wall pressure vessel, stress due to temperature change, torque in circular rod material, torque in the thin wall vessel, analysis of stress and strain, Mohr circle, shear and bending moment in beams 02-291-204 การสารวจเบ้ืองตน้ 3(1-6-4) Fundamental of Survey ความรู้ท่ัวไปและปฏิบัติงานภาคสนามเก่ียวกับงานสารวจ การวัดระยะทาง การทา สามเหลี่ยม การทาระดับ วิธีการสารวจด้วยวงรอบ การปรับแก้ระยะทาง การทา ระดับตามแนวทางและการทาระดับตามแนวขวาง การคานวณปริมาณงานดิน การ สารวจเพื่องานก่อสร้าง การวางผัง การสารวจด้วยกล้องวัดมุม การรังวัดมุมราบ การหาความสงู ของอาคาร การสารวจดว้ ยเทคโนโลยสี มัยใหม่ Introduction and field work practice for surveying, distance measurements, triangulation surveying, leveling, traverse observation, corrected distance, contouring profile and crossection, earthwork computation, field work practice construction surveying, site planning, transit theodolite survey, direction, building height measurements surveying with modern technology and field work practice

44 02-291-208 วัสดกุ ่อสร้างและการทดสอบ 3(1-6-4) Construction Materials and Testing วิชาบังคบั ก่อน: 02-291-213 ความแข็งแรงของวัสดุ Prerequisite: 02-291-213 Strength of Materials กรรมวิธีการผลิต วัสดุก่อสร้างในงานสถาปัตยกรรม วัสดุก่อสร้างในงานวิศกรรม ปฏิบัติการการทดสอบ คุณสมบัติและมาตรฐานการทดสอบวัสดุก่อสร้าง เช่น คอนกรตี ไม้ เหลก็ อฐิ กระจก พลาสตกิ โลหะไม่มธี าตเุ หลก็ ในด้านการรบั แรง ตา่ งๆ เช่น แรงดึง แรงอัด แรงเฉอื น แรงดดั และแรงบิด เป็นต้น Production, laboratory, standards and properties of construction materials such as concrete, timber, steel, brick, glass, plastic, non-iron metal, materials testing on tensile force, compressive force, shearforce, bending moment, and torsional moment 02-291-209 ความปลอดภัยในงานกอ่ สรา้ ง 2(2-0-4) Safety in Construction หลักการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ระเบียบปฏิบัติและกฎหมาย ด้านอาชวี อนามยั และความปลอดภัย ระบบมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับ อาชีวอ นามัยและความปลอดภัย หลักการและเทคนิคที่เกี่ยวกับความปลอดภัย และ อาชีวอนามัยในงานกอ่ สรา้ ง Principles of occupational health and safety management, occupational health regulations and laws and safety, international standards system related to occupational health and safety, principles and techniques of safety and occupational health in construction

45 02-291-101 การเขียนแบบก่อสรา้ ง 3(1-6-4) Construction Drawing ปฏิบัติการเขียนแบบดว้ ยดินสอ และปากกาสาหรับเขียนแบบ ในระบบ 2 มิติ การ เขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในระบบ 2 มิติ การเขียนแบบสองมิติ การ เขียนแบบสถาปัตยกรรม การเขียนแบบวิศวกรรมโครงสร้าง การเขียนแบบ วิศวกรรมไฟฟ้า การเขียนแบบวิศวกรรมงานระบบสุขาภิบาล การเขียนแบบเพ่ือ นาเสนอโครงการ Drawing practice with a pencil and a pen for drawing 2 D system, 2 D drawing by computer program, architectural drawing, structural drawing, electrical drawing, sanitary system drawing, drawings for project presentation 02-291-103 ทฤษฎสี ถาปัตยกรรม 3(3-0-6) Architecture Theory ก า ร ศึ ก ษ า อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ท า ง ศิ ล ป ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ สถาปัตยกรรม การวิเคราะห์ข้อมูลและกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรม สว่ นประกอบอาคารเบื้องต้น ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับการเขียนแบบ Study of design components and art theory, architechture history, data analysis and architecture design process, building eliments (preliminary), basic knowledge of drawing 02-291-109 การจาลองสารสนเทศอาคารในงานกอ่ สร้าง 1 3(2-3-5) Building Information Modeling in Construction 1 วชิ าบงั คบั กอ่ น: 02291101 การเขยี นแบบก่อสรา้ ง Prerequisite: 02291101 Construction Drawing การประยุกต์โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับงานแบบจาลองสารสนเทศอาคาร ปฏบิ ัติการเขียนแบบก่อสรา้ ง 3 มติ ิ การใสข่ อ้ มลู ประกอบแบบในงานสถาปตั ยกรรม และงานโครงสร้าง Application of computer programs for building information model (BIM) system, 3D construction drawing practice, information input in model for architectural and structural work

46 02-291-303 ปฏิบตั ิการปฐพีกลศาสตร์ 1(0-3-1) Soil Mechanics Laboratory วชิ าบงั คบั กอ่ น: 02-291-213 ความแข็งแรงของวัสดุ Prerequisite: 02-291-213 Strength of Materials การจาแนกดนิ การสารวจดิน การไหลของน้าในดิน ความเค้นในดนิ การกระจาย ความเค้นในดิน กาลังต้านทานแรงเฉือนของดิน เสถียรภาพความลาดของดิน ทฤษฎีการยุบอัดตัวคายน้าและการทรุดตัวของดิน แรงดันด้านข้างของดิน ความสามารถในการรับน้าหนักของดิน การบดอัดดินและการปรับปรุงคุณภาพดิน ปฏิบัติการปฐพกี ลศาสตร์ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ การหาคุณสมบัตพิ นื้ ฐานเชิงกลของ Soil properties, soil classification, soil exploration, water flow through soils, stresses in soil, soil stress distribution, shear strength of soil, slope stability, soil consolidation, soil settlement, bearing capacity, soil compaction and soil impartment, practice of soil mechanics laboratory, basic mechanical properties of soil 02-291-309 การบรหิ ารงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Management วชิ าบงั คับกอ่ น: 02291202 เทคนคิ การกอ่ สร้าง Prerequisite: 02291202 Construction Techniques อุตสาหกรรมการก่อสร้างและรูปแบบการดาเนินธุรกิจ กระบวนการก่อสร้าง หลักการบริหารการประมาณราคาและการประมูลงานก่อสร้าง การวางแผนและ ควบคุมทรัพยากร การบริหารด้านการเงินและระบบบัญชี การควบคุมค่าใช้จ่าย การควบคุมคุณภาพงานและความปลอดภัย การบริหารสัญญา การบริหารและ จัดการระบบข้อมูล คอมพิวเตอร์กับการก่อสร้าง การวิเคราะห์และบริหารความ เส่ียง การบริหารความขดั แย้ง Construction industry and construction business model, principles of management, construction estimation and bidding, resources planning and controlling, financial and accounting management, quality control and safety, contract management, management information system, computer in construction, risk analysis and management, dispute management