3 หลกั สตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ความรับผดิ ชอบรอง ทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่าง 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ตัวเลข การสอื่ สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ แสวงหาความรู้ 1) มบี ุคลิกภาพและมนุษย์ 1) สามารถเลอื กและ ประยุกตใ์ ชเ้ ทคนคิ ทางสถิติ ลอดชีวิต สัมพันธ์ท่ดี ี สามารถเป็น และคณิตศาสตร์ท่ีเกย่ี ว ขอ้ งมาใช้ในการดาชวี ติ ขปญั หาได้ และ ผูน้ าและผู้ตามทด่ี ีและ และปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่าง เหมาะสม างการแก้ไขได้ ทางานเป็นทีมได้ 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยี รรค์ 2) มสี านกึ สาธารณะและจติ สารสนเทศในการสืบค้น เพ่ือนามาวิเคราะห์และ อมลู ประมวลผล อาสา เป็นพลเมอื งท่ีมี สนับสนุนการตดั สินใจ ห์ขอ้ มูลได้อยา่ ง คุณค่าต่อสงั คมไทยและ สังคมโลก 3) มคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม 3) สามารถเลอื กรปู แบบของ การสือ่ สารและการ นาเสนอที่เหมาะสมตอ่ บุคคลท่หี ลากหลาย
9 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จาก ความรับผดิ ชอบหลัก รายวชิ า 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 01-320-021 การใชส้ อ่ื ดิจทิ ลั ในการเรียนภาษาอังกฤษ 123 1 01-330-001 ภาษาจนี พน้ื ฐาน ●● 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบือ้ งต้น ●● 01-330-006 ภาษาญ่ปี ุ่นพน้ื ฐาน ●● 01-330-007 การสนทนาภาษาญ่ีปุ่นเบือ้ งต้น ● 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี ●● สารสนเทศ ● 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพ่ืองานมัลตมิ ีเดีย 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การตดั สนิ ใจ ● 09-111-001 การคดิ และการให้เหตุผล ● 09-111-051 คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจาวนั O ●● 09-121-001 สถิติในชวี ิตประจาวัน O ●● 09-121-002 สถิตเิ บ้ืองต้นสาหรับนวัตกรรม ●● ●●
4 กหลกั สตู รสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ก ความรับผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ ปัญญา ความสมั พันธ์ วิเคราะห์เชิงตวั เลข ระหว่างบุคคลและ การสอื่ สาร และการ ความรบั ผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 1231231 2 3 1 2 3 ●● O ● ●●● OO ●●● OO ● ● ●●● OO ● ●O ● ● ●O O ● ●O O ● O●O ● ●O O●O ● OO ●O O ●● ● OO ● O ●● ●O ●O ●
9 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะท 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ใน 1) มีความรแู้ ละทกั ษะพ้ืนฐาน 1) มีทักษะการแ การดาเนนิ ชวี ิต บนพ้ืน เพ่อื นาไปตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ ดว้ ยตนเองตล ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง หรือนาความรู้ไปสกู่ ารสร้าง นวตั กรรม 2) สามารถแกไ้ ข 2) สามารถวเิ คราะห์ประเด็น เสนอแนวทาง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2) มีความรทู้ นั ตอ่ อยา่ งสร้างสร ความกา้ วหนา้ และการ 3) ซ่ือสัตย์ ขยนั อดทน มี เปลี่ยนแปลง 3) สามารถใช้ข้อ วนิ ยั ตรงต่อเวลา เคารพ และวิเคราะห กฎระเบียบและขอ้ บังคบั 3) สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ เป็นระบบ ขององค์กรและสังคม ให้เหมาะสมกบั การเปน็ ผู้ประกอบการ
5 หลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป ความรับผดิ ชอบรอง ทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง 5. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง บุคคลและความรับผิดชอบ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ แสวงหาความรู้ 1) มบี ุคลิกภาพและมนษุ ย์ 1) สามารถเลอื กและ ลอดชีวิต สมั พันธ์ทด่ี ี สามารถเป็น ประยุกตใ์ ช้เทคนิคทางสถติ ิ ขปญั หาได้ และ ผนู้ าและผู้ตามที่ดีและ และคณติ ศาสตรท์ เี่ กย่ี ว งการแก้ไขได้ ทางานเปน็ ทีมได้ ข้องมาใช้ในการดาชวี ติ รรค์ 2) มีสานึกสาธารณะและจิต และปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ ง อมลู ประมวลผล เหมาะสม ห์ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ ง อาสา เป็นพลเมืองท่ีมีคุณค่า 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยี ตอ่ สังคมไทยและสังคมโลก สารสนเทศในการสืบคน้ 3) มีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม เพอื่ นามาวิเคราะห์และ สนบั สนุนการตัดสนิ ใจ 3) สามารถเลอื กรปู แบบของ การสอื่ สารและการ นาเสนอท่เี หมาะสมต่อ บุคคลทห่ี ลากหลาย
9 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู ากห ความรับผดิ ชอบหลัก รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 09-130-001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารสีเขียว 12 3 09-130-002 อินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพสง่ิ ในชวี ิตประจาวัน O● 09-130-003 ชวี ติ ดิจทิ ลั O● 09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม O● 09-410-001 กา้ วทนั เทคโนโลยี 00-100-101 อตั ลักษณแ์ ห่งราชมงคลธัญบรุ ี ● 00-100-201 มหาวทิ ยาลัยสเี ขียว ●O O 00-100-202 การคิดเชิงออกแบบ ●O ● 00-100-301 ความเปน็ ผู้ประกอบการ ●O O 00-100-302 นวัตกรรมเพ่อื ชุมชน 09-090-013 การจัดการสารสนเทศเพอื่ ผปู้ ระกอบการ ●● O● ●
6 หลกั สตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ ปญั ญา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง วิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข 123 การสอ่ื สาร และการ ●O บุคคลและความ ●O รับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี ●O สารสนเทศ O● 12 3 12 3 1 23 ●O ● ●OO O ● OO ● ●OO ● O ● OO O ●OO O OO O ●● ● O OO ●● ●● ● O ●O ●O ● O● ●O ● ●● O● ●● O O● ● ● ●O ● ● ● OO O● O ●
9 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ า ความรับผดิ ชอบหลกั 1 คณุ ธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทัก บคุ ค 1) มีความขยนั อดทน 1) ความร้เู กี่ยวกบั 1) มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับ 1) มีค รบั ผดิ ชอบ และตรง ตอ่ เวลา นวตั กรรมการเรียนรู้และ หลักและกระบวนการค้นหา บท 2) มคี วามซอ่ื สัตย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ขอ้ เท็จจรงิ การทาความ รับผ เสียสละและบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 2) ความร้เู กีย่ วกับการ เข้าใจ และการประเมนิ ผู้อ 3) มรี ะเบยี บวินัยและ จัดการนวัตกรรมการ ขอ้ มูล จากแหลง่ ขอ้ มูลท่ี ร่วม ปฏิบัตติ ามกฎ ขอ้ บงั คับขององค์กร เรยี นรแู้ ละเทคโนโลยี หลากหลาย 2) ตระ และสงั คม สารสนเทศสาหรับการ 2) บูรณาการความรูเ้ พอ่ื ใช้ใน ควา พฒั นามนษุ ยแ์ ละองค์กร การแก้ปญั หาด้านนวตั กรรม ควา แบบดิจิทัล การเรียนร้แู ละเทคโนโลยี ทาง 3) บูรณาการเกย่ี วกบั สารสนเทศ และ นวตั กรรมการเรียนรูแ้ ละ 3) สามารถวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพ่ือ 3) มีก เทคโนโลยสี ารสนเทศ ใชใ้ นการแกป้ ญั หา การ วชิ า ปรบั ตวั และเสนอแนะ แนวทางในการแก้ปัญหา ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยคานงึ ถึงความรู้ทาง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏบิ ัติ
7 ากหลกั สูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง กษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง 5 ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การ 6. ทกั ษะพิสยั คลและความรับผดิ ชอบ ส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับ 1) มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหนา้ ที่และความ ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี การเรยี นรู้และ ผดิ ชอบของตนเองและ สารสนเทศและคณติ ศาสตร์และ เทคโนโลยี อ่ืนในการทางานและการอยู่ สถติ ิพนื้ ฐาน เพื่อการสอ่ื สาร การ สารสนเทศ มกันอย่างเป็นกัลยาณมติ ร เรยี นรู้ การเก็บรวบรวมและ ะหนักถงึ คณุ คา่ ของการมี นาเสนอข้อมูล 2) สามารถใช้ ามรบั ผิดชอบและสรา้ ง เทคโนโลยี ามสมั พันธ์ทด่ี ีสามารถ 2) ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของการใชภ้ าษา สารสนเทศในการ งานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ เป็นผ้นู า พูด ภาษาเขียน เทคโนโลยี พัฒนาระบบการ ะผู้ตามท่ีดี สารสนเทศและคณิตศาสตร์และ พัฒนามนษุ ย์ การพัฒนาตนเองและ สถติ ิพน้ื ฐาน ในการสอื่ สาร การ าชีพอย่างตอ่ เนอื่ ง เรียนรู้ การเก็บรวบรวมและ 3) สามารถใช้ นาเสนอขอ้ มูล เทคโนโลยี สารสนเทศในการ 3) ใช้ภาษาพูด ภาษาเขยี น เทคโนโลยี ออกแบบระบบการ สารสนเทศ และคณิตศาสตรแ์ ละ เปลยี่ นผ่านสอู่ งค์กร สถิตพิ น้ื ฐานในการสอื่ สาร การ ดิจิทลั เรยี นรู้ การเก็บรวบรวมและ นาเสนอขอ้ มูลได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ
9 แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู า ความรับผดิ ชอบหลกั รายวชิ า 1 คุณธรรม 2 ความรู้ จริยธรรม 1 2 3 123 02-321-101 พ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ 02-321-102 คณิตศาสตร์สาหรับนกั เทคโนโลยี สารสนเทศ 1 02-321-201 คณติ ศาสตร์สาหรับนักเทคโนโลยี สารสนเทศ 2 02-321-202 ฟิสิกสส์ าหรับการสรา้ งโมเดล 3 มิติ 02-322-103 การปฏิบตั วิ ชิ าชพี สากล 02-322-104 การจดั การสารสนเทศเพอื่ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ 02-322-105 เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 02-322-203 เทคโนโลยแี พลตฟอรม์ 02-322-204 เทคโนโลยีเวบ็ เพ่อื นวตั กรรมการเรยี นรู้ 02-322-106 การคิดเชงิ การออกแบบเพ่อื นวตั กรรม การเรียนรู้
8 ากหลักสูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 4 ทกั ษะ 5 ทักษะการวเิ คราะห์ 6. ทกั ษะพสิ ยั 3 ทักษะทาง ความสัมพันธ์ เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร ปัญญา ระหวา่ งบคุ คลและ และการใชเ้ ทคโนโลยี ความรบั ผิดชอบ สารสนเทศ 12312 3 1 2 3 123
9 แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทกั ษะทางปญั ญา 4 ทัก บุคค 1) มีความขยนั อดทน 1) ความร้เู กย่ี วกับ 1) มีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับ 1) มคี รับผดิ ชอบ และตรง ตอ่ เวลา นวัตกรรมการเรียนรู้ หลักและกระบวนการคน้ หา บท 2) มคี วามซื่อสัตย์ และเทคโนโลยี ข้อเทจ็ จรงิ การทาความ รับ เสียสละและบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ สารสนเทศ เขา้ ใจ และการประเมินข้อมูล ผู้อ ส่วนรวม 2) ความรเู้ กย่ี วกบั การ จากแหลง่ ข้อมลู ที่หลากหลาย อย 3) มีระเบยี บวินัยและ ปฏิบตั ิตามกฎ จดั การนวัตกรรมการ 2) บรู ณาการความรู้เพอ่ื ใชใ้ น กลั ข้อบังคับขององคก์ ร และสังคม เรียนรแู้ ละเทคโนโลยี การแกป้ ัญหาดา้ นนวัตกรรม 2) ตร สารสนเทศสาหรับการ การเรยี นรแู้ ละเทคโนโลยี คว พัฒนามนุษยแ์ ละ สารสนเทศ คว องคก์ รแบบดจิ ิทัล 3) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพอื่ ทา 3) บูรณาการเกยี่ วกบั ใชใ้ นการแกป้ ญั หา การ แล นวัตกรรมการเรียนรแู้ ละ ปรบั ตวั และเสนอแนะ 3) มีก เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางในการแกป้ ญั หา วิชา ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงถงึ ความรู้ทาง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏบิ ตั ิ
9 ากหลักสตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรับผดิ ชอบรอง กษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง 5 ทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การ 6. ทักษะพสิ ยั คลและความรบั ผิดชอบ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับ 1) มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหน้าทแี่ ละความ ภาษาพูด ภาษาเขยี น เทคโนโลยี การเรยี นรแู้ ละ บผดิ ชอบของตนเองและ สารสนเทศและคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี อ่ืนในการทางานและการ สถติ พิ ื้นฐาน เพ่ือการสือ่ สาร การ สารสนเทศ ยู่ร่วมกนั อย่างเปน็ เรยี นรู้ การเก็บรวบรวมและ ลยาณมิตร นาเสนอขอ้ มลู 2) สามารถใช้เทคโนโลยี ระหนักถึงคณุ คา่ ของการมี สารสนเทศในการ วามรบั ผดิ ชอบและสรา้ ง 2) ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของการใชภ้ าษา พฒั นาระบบการ วามสัมพนั ธ์ทดี่ ีสามารถ พดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี พฒั นามนษุ ย์ างานร่วมกับผอู้ นื่ เป็นผู้นา สารสนเทศและคณิตศาสตร์และ ละผูต้ ามท่ีดี สถิตพิ ืน้ ฐาน ในการสื่อสาร การ 3) สามารถใช้ การพัฒนาตนเองและ เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ เทคโนโลยี าชพี อยา่ งต่อเน่อื ง นาเสนอข้อมลู สารสนเทศในการ ออกแบบระบบการ 3) ใชภ้ าษาพดู ภาษาเขยี น เทคโนโลยี เปลยี่ นผา่ นสูอ่ งค์กร สารสนเทศ และคณติ ศาสตร์และ ดจิ ทิ ัล สถิตพิ ื้นฐานในการสอื่ สาร การ เรียนรู้ การเก็บรวบรวมและ นาเสนอข้อมูลได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ
10 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรับผดิ ชอบหลกั รายวชิ า 1 คณุ ธรรม 2 ความรู้ จรยิ ธรรม 1 2 3 123 02-322-107 คอมพวิ เตอรก์ ราฟิกเพอื่ งาน สรา้ งสรรค์นวตั กรรม 02-322-205 การออกแบบและผลิตสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์เพ่อื การเรียนรู้ 02-322-301 นวตั กรรมการพฒั นาหลักสตู ร ฝึกอบรมฐานสมรรถนะ 02-323-206 การจดั การนวัตกรรมการเรียนรู้ 02-323-207 หลกั การความมั่นคงทางไซเบอร์ 02-323-208 เทคโนโลยรี วมระบบ 02-323-209 การออกแบบประสบการณผ์ ใู้ ช้ สาหรับนวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-323-302 โมบายแอปพลิเคชนั สาหรับนวตั กรรม การเรยี นรู้ 02-323-303 การออกแบบและพฒั นาซอฟแวร์เชงิ นวัตกรรมการเรยี นรู้
00 ากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 4 ทักษะ 5 ทกั ษะการวเิ คราะห์ 6. ทักษะพสิ ัย 3 ทกั ษะทาง ความสัมพันธ์ เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร ปญั ญา ระหว่างบุคคลและ และการใชเ้ ทคโนโลยี ความรับผดิ ชอบ สารสนเทศ 12312 3 1 2 3 12 3
10 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรับผดิ ชอบหลัก 1 คุณธรรม จรยิ ธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปญั ญา 4 ทกั บคุ ค 1) มีความขยันอดทน 1) ความรู้เกย่ี วกับ 1) มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ียวกบั 1) มคี รับผิดชอบ และตรง ต่อเวลา นวัตกรรมการเรียนรู้ หลักและกระบวนการค้นหา บท 2) มคี วามซือ่ สัตย์ และเทคโนโลยี ขอ้ เท็จจรงิ การทาความ รับ เสียสละและบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม สารสนเทศ เขา้ ใจ และการประเมนิ ข้อมูล ผู้อ 3) มรี ะเบยี บวนิ ัยและ 2) ความรูเ้ กย่ี วกบั การ จากแหล่งขอ้ มลู ท่ีหลากหลาย อย ปฏิบตั ิตามกฎ ข้อบังคบั ขององค์กร จัดการนวตั กรรมการ 2) บูรณาการความร้เู พือ่ ใช้ใน กลั และสงั คม เรยี นรู้และเทคโนโลยี การแก้ปญั หาดา้ นนวตั กรรม 2) ตระ สารสนเทศสาหรับการ การเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยี ควา พฒั นามนษุ ยแ์ ละองค์กร สารสนเทศ ควา แบบดจิ ทิ ัล 3) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพือ่ ทาง 3) บูรณาการเกยี่ วกบั ใช้ในการแก้ปัญหา การ และ นวตั กรรมการเรียนรูแ้ ละ ปรบั ตวั และเสนอแนะ 3) มีก เทคโนโลยสี ารสนเทศ แนวทางในการแก้ปัญหา วชิ า ต่างๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ โดยคานงึ ถึงความรู้ทาง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏบิ ตั ิ
01 ากหลักสูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรับผดิ ชอบรอง กษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง 5 ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การ 6. ทักษะพิสยั คลและความรบั ผดิ ชอบ สอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับ 1) มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหนา้ ทแ่ี ละความ บผิดชอบของตนเองและ ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี การเรียนรู้และ อ่นื ในการทางานและการ ยรู่ ว่ มกันอย่างเป็น สารสนเทศและคณติ ศาสตร์และ เทคโนโลยี ลยาณมติ ร ะหนกั ถึงคุณคา่ ของการมี สถติ ิพ้นื ฐาน เพ่ือการสื่อสาร การ สารสนเทศ ามรบั ผิดชอบและสร้าง ามสมั พันธ์ทีด่ ีสามารถ เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ 2) สามารถใช้ งานรว่ มกับผอู้ ่ืนเปน็ ผู้นา ะผูต้ ามท่ดี ี นาเสนอข้อมลู เทคโนโลยี การพัฒนาตนเองและ าชีพอย่างตอ่ เน่ือง 2) ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการใช้ภาษา สารสนเทศในการ พูด ภาษาเขียน เทคโนโลยี พฒั นาระบบการ สารสนเทศและคณิตศาสตรแ์ ละ พฒั นามนษุ ย์ สถติ พิ นื้ ฐาน ในการสื่อสาร การ 3) สามารถใช้ เรยี นรู้ การเก็บรวบรวมและ เทคโนโลยี นาเสนอข้อมูล สารสนเทศในการ 3) ใช้ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี ออกแบบระบบการ สารสนเทศ และคณติ ศาสตรแ์ ละ เปลย่ี นผ่านสอู่ งค์กร สถติ ิพ้ืนฐานในการสือ่ สาร การ ดจิ ิทัล เรียนรู้ การเก็บรวบรวมและ นาเสนอขอ้ มูลได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ
10 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผิดชอบหลกั รายวิชา 1 คณุ ธรรม 2 ความรู้ จรยิ ธรรม 1 2 3 123 02-323-304 กระบวนทศั นข์ องระบบ 02-323-305 การออกแบบสิ่งแวดลอ้ มและตวั ละคร 02-323-306 โครงงานทางวชิ าชีพ 1 02-323-401 โครงงานทางวิชาชีพ 2 02-324-210 ข้อมูลขนาดใหญ่เพอื่ นวัตกรรมการ เรียนรู้ 02-324-307 ปัญญาประดษิ ฐเ์ พือ่ นวตั กรรมการ เรียนรู้ 02-324-308 การเขยี นโปรแกรมเชงิ วตั ถุ 02-323-402 อินเทอรเ์ น็ตของสรรพส่งิ เพ่อื นวัตกรรมการเรียนรู้ 02-324-211 ระบบความเป็นจริงเสมือนเพือ่ ประสบการณเ์ รยี นรู้
02 ากหลักสูตรสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรับผดิ ชอบรอง 3 ทักษะทาง 4 ทกั ษะ 5 ทกั ษะการ 6. ทกั ษะพสิ ยั ปัญญา ความสมั พันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข 12 3 ระหวา่ งบคุ คลและ การสือ่ สาร และการ ความรับผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี 12312 3 สารสนเทศ 12 3
10 แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผดิ ชอบหลกั 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทกั ษะทางปัญญา 4 ทกั บุคค 1) มคี วามขยันอดทน 1) ความรู้เกี่ยวกับ 1) มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับ 1) มคี ว รับผดิ ชอบ และตรง ตอ่ เวลา นวัตกรรมการเรียนรู้ หลกั และกระบวนการค้นหา บท 2) มคี วามซอื่ สตั ย์ และเทคโนโลยี ข้อเทจ็ จริง การทาความ รับผ เสยี สละและบาเพญ็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม สารสนเทศ เข้าใจ และการประเมนิ ข้อมลู ผู้อืน่ 3) มรี ะเบยี บวนิ ัยและ 2) ความรู้เกยี่ วกบั การ จากแหลง่ ข้อมลู ที่หลากหลาย รว่ ม ปฏิบัติตามกฎ ข้อบงั คบั ขององค์กร จดั การนวัตกรรมการ 2) บรู ณาการความรเู้ พ่ือใช้ใน 2) ตระ และสังคม เรียนรแู้ ละเทคโนโลยี การแกป้ ัญหาด้านนวตั กรรม ควา สารสนเทศสาหรับการ การเรยี นรแู้ ละเทคโนโลยี ควา พัฒนามนุษย์และองคก์ ร สารสนเทศ ทาง แบบดิจทิ ัล 3) สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่อื และ 3) บูรณาการเก่ยี วกับ ใชใ้ นการแกป้ ัญหา การ 3) มีก นวัตกรรมการเรียนรแู้ ละ ปรบั ตัว และเสนอแนะ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางในการแก้ปญั หา ตา่ งๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคานงึ ถึงความรู้ทาง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏบิ ัติ
03 ากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง กษะความสัมพนั ธร์ ะหว่าง 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ 6. ทักษะพิสยั คลและความรับผดิ ชอบ สื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั 1) มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหนา้ ที่และความ ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี การเรียนรู้และ ผดิ ชอบของตนเองและ สารสนเทศและคณิตศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี นในการทางานและการอยู่ สถติ ิพ้นื ฐาน เพ่ือการสอื่ สาร การ สารสนเทศ มกันอยา่ งเป็นกลั ยาณมิตร เรียนรู้ การเก็บรวบรวมและ ะหนักถงึ คณุ คา่ ของการมี นาเสนอขอ้ มูล 2) สามารถใช้ ามรับผดิ ชอบและสร้าง เทคโนโลยี ามสมั พันธ์ท่ดี ีสามารถ 2) ตระหนักถึงคณุ คา่ ของการใช้ภาษา สารสนเทศในการ งานรว่ มกับผอู้ ่ืนเปน็ ผ้นู า พูด ภาษาเขียน เทคโนโลยี พัฒนาระบบการ ะผตู้ ามท่ีดี สารสนเทศและคณิตศาสตรแ์ ละ พัฒนามนษุ ย์ การพฒั นาตนเองและ สถติ พิ ืน้ ฐาน ในการสือ่ สาร การ าชพี อยา่ งต่อเน่ือง เรียนรู้ การเก็บรวบรวมและ 3) สามารถใช้ นาเสนอข้อมูล เทคโนโลยี สารสนเทศในการ 3) ใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยี ออกแบบระบบการ สารสนเทศ และคณิตศาสตรแ์ ละ เปลี่ยนผ่านสอู่ งค์กร สถิตพิ ื้นฐานในการส่อื สาร การ ดจิ ิทลั เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ นาเสนอขอ้ มูลได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ
10 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผดิ ชอบหลกั รายวชิ า 1 คุณธรรม 2 ความรู้ จรยิ ธรรม 1 2 3 123 02-324-212 การพฒั นาเกมเพื่อการเรียนรู้ 02-324-309 เทคโนโลยคี วามเป็นจรงิ เสริมเพ่ือ นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-324-403 การสร้างภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ 02-324-310 พฤตกิ รรมองคก์ ารและการจดั การ ความรู้ 02-324-311 เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่อื การพฒั นา มนษุ ย์ 02-324-404 เทคนิคการเปน็ กระบวนกร 02-323-405 นวตั กรรมสาหรบั ผถู้ ่ายทอด องคค์ วามรู้ 02-324-213 ความรูเ้ บอื้ งต้นการจดั การธรุ กิจ และนวตั กรรม 02-324-312 การพาณิชย์และการตลาดดจิ ทิ ลั
04 ากหลกั สูตรสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรับผดิ ชอบรอง 3 ทักษะทาง 4 ทักษะ 5 ทักษะการ 6. ทักษะพสิ ัย ปญั ญา ความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข 12 3 ระหว่างบคุ คลและ การสื่อสาร และการ ความรบั ผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี 12312 3 สารสนเทศ 12 3
10 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผิดชอบหลกั 1 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทกั บุคค 1) มีความขยนั อดทน 1) ความรู้เกย่ี วกบั นวตั กรรม 1) มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั 1) มคี ว รับผดิ ชอบ และตรง ต่อเวลา การเรยี นรูแ้ ละเทคโนโลยี หลักและกระบวนการคน้ หา บท 2) มคี วามซอ่ื สัตย์ สารสนเทศ ข้อเทจ็ จริง การทาความ รับผ เสยี สละและบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 2) ความรเู้ กย่ี วกบั การ เข้าใจ และการประเมนิ ข้อมูล ผู้อืน่ 3) มรี ะเบยี บวนิ ัยและ จัดการนวัตกรรมการ จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่หลากหลาย รว่ ม ปฏิบตั ติ ามกฎ ขอ้ บังคับขององค์กร เรียนรแู้ ละเทคโนโลยี 2) บรู ณาการความรเู้ พือ่ ใชใ้ น 2) ตระ และสงั คม สารสนเทศสาหรบั การ การแกป้ ญั หาด้านนวัตกรรม ควา พฒั นามนษุ ย์และองคก์ ร การเรยี นรู้และเทคโนโลยี ควา แบบดิจทิ ลั สารสนเทศ ทาง 3) บูรณาการเก่ียวกบั 3) สามารถวิเคราะห์ข้อมลู เพอ่ื และ นวตั กรรมการเรียนร้แู ละ ใช้ในการแก้ปญั หา การ 3) มีก เทคโนโลยีสารสนเทศ ปรับตัว และเสนอแนะ วิชา แนวทางในการแก้ปัญหา ตา่ งๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ โดยคานงึ ถึงความรูท้ าง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏบิ ตั ิ
05 ากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง กษะความสัมพนั ธร์ ะหว่าง 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ 6. ทักษะพิสยั คลและความรับผดิ ชอบ สื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั 1) มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหนา้ ที่และความ ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี การเรียนรู้และ ผดิ ชอบของตนเองและ สารสนเทศและคณิตศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี นในการทางานและการอยู่ สถติ ิพ้นื ฐาน เพ่ือการสอื่ สาร การ สารสนเทศ มกันอยา่ งเป็นกลั ยาณมิตร เรียนรู้ การเกบ็ รวบรวมและ ะหนักถงึ คณุ คา่ ของการมี นาเสนอขอ้ มูล 2) สามารถใช้ ามรับผดิ ชอบและสร้าง เทคโนโลยี ามสมั พันธ์ท่ดี ีสามารถ 2) ตระหนักถึงคณุ คา่ ของการใช้ภาษา สารสนเทศในการ งานรว่ มกับผอู้ ่ืนเปน็ ผ้นู า พูด ภาษาเขียน เทคโนโลยี พัฒนาระบบการ ะผตู้ ามท่ีดี สารสนเทศและคณิตศาสตรแ์ ละ พัฒนามนษุ ย์ การพฒั นาตนเองและ สถติ พิ ืน้ ฐาน ในการสือ่ สาร การ าชพี อยา่ งต่อเนอ่ื ง เรียนรู้ การเกบ็ รวบรวมและ 3) สามารถใช้ นาเสนอข้อมูล เทคโนโลยี สารสนเทศในการ 3) ใช้ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี ออกแบบระบบการ สารสนเทศ และคณิตศาสตรแ์ ละ เปลี่ยนผ่านสอู่ งค์กร สถิตพิ ื้นฐานในการส่อื สาร การ ดจิ ิทลั เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ นาเสนอขอ้ มูลได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ
10 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรับผดิ ชอบหลกั รายวชิ า 1 คณุ ธรรม 2 ความรู้ จรยิ ธรรม 1 2 3 123 02-324-406 การเปน็ ผ้ปู ระกอบการสาหรบั ธรุ กิจ นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-324-407 พาณิชยกรรมเทคโนโลยสี าหรบั นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-000-301 การเตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 02-000-302 สหกิจศึกษา 02-000-303 สหกิจศกึ ษาต่างประเทศ 02-000-304 ฝึกงาน 02-000-305 ฝึกงานต่างประเทศ 02-000-306 ปญั หาพเิ ศษจากสถานประกอบการ 02-000-309 ปฏบิ ัติงานภาคสนาม 02-000-310 การตดิ ตามพฤตกิ รรมการทางาน 02-000-311 การฝกึ เฉพาะตาแหนง่
06 ากหลกั สูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 4 ทกั ษะ 5 ทักษะการวเิ คราะห์ 6. ทกั ษะพสิ ยั 3 ทกั ษะทาง ความสัมพนั ธ์ เชิงตวั เลข การส่อื สาร ปัญญา ระหวา่ งบคุ คลและ และการใช้เทคโนโลยี ความรับผดิ ชอบ สารสนเทศ 12312 3 1 2 3 12 3
10 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผิดชอบหลัก 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทกั บคุ ค 1)มีความขยนั อดทน 1) ความรู้เกี่ยวกับ 1) มีความร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับ 1) มคี รับผิดชอบ และตรงต่อ บท เวลา นวัตกรรมการเรียนรู้ หลกั และกระบวนการคน้ หา รบั ผอู้ 2)มคี วามซื่อสัตยเ์ สยี สละ และเทคโนโลยี ขอ้ เท็จจรงิ การทาความ อย และบาเพ็ญประโยชน์ กัล ต่อส่วนรวม สารสนเทศ เข้าใจ และการประเมิน 2) ตร 3) มีระเบยี บวนิ ัยและ 2) ความรู้เกยี่ วกบั การ ขอ้ มลู จากแหล่งข้อมลู ที่ คว ปฏิบตั ติ ามกฎ คว ขอ้ บงั คบั ขององค์กร จัดการนวตั กรรมการ หลากหลาย ทา และสงั คม แล เรียนร้แู ละเทคโนโลยี 2) บูรณาการความรเู้ พอ่ื ใชใ้ น 3) มกี สารสนเทศสาหรบั การ การแกป้ ญั หาด้านนวัตกรรม วชิ พฒั นามนุษย์และ การเรยี นรแู้ ละเทคโนโลยี องค์กรแบบดจิ ทิ ัล สารสนเทศ 3) บรู ณาการเกยี่ วกับ 3) สามารถวิเคราะหข์ อ้ มูลเพ่อื นวตั กรรมการเรียนรแู้ ละ ใชใ้ นการแกป้ ัญหา การ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ปรบั ตัว และเสนอแนะ แนวทางในการแกป้ ญั หา ตา่ งๆ ได้อยา่ งสร้างสรรค์ โดยคานึงถึงความรู้ทาง ทฤษฎี และประสบการณ์ จากการปฏิบัติ
07 ากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ ก ความรับผดิ ชอบรอง กษะความสัมพันธ์ระหวา่ ง 5 ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การ 6. ทักษะพสิ ยั คลและความรับผิดชอบ สอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั 1) มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการใช้ 1) สามารถใช้นวตั กรรม ทบาทหน้าทีแ่ ละความ บผดิ ชอบของตนเองและ ภาษาพดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี การเรยี นรแู้ ละ อนื่ ในการทางานและการ ย่รู ่วมกนั อยา่ งเปน็ สารสนเทศและคณติ ศาสตร์และ เทคโนโลยี ลยาณมิตร ระหนกั ถึงคุณคา่ ของการมี สถติ พิ ้ืนฐาน เพ่ือการสื่อสาร การ สารสนเทศ วามรบั ผิดชอบและสรา้ ง วามสมั พนั ธท์ ด่ี สี ามารถ เรียนรู้ การเกบ็ รวบรวมและ 2) สามารถใช้เทคโนโลยี างานร่วมกบั ผ้อู ่นื เปน็ ผนู้ า ละผู้ตามทด่ี ี นาเสนอข้อมลู สารสนเทศในการ การพฒั นาตนเองและ ชาชพี อย่างต่อเนือ่ ง 2) ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของการใช้ภาษา พัฒนาระบบการ พดู ภาษาเขียน เทคโนโลยี พัฒนามนษุ ย์ สารสนเทศและคณติ ศาสตรแ์ ละ 3) สามารถใช้ สถิตพิ ื้นฐาน ในการสอ่ื สาร การ เทคโนโลยี เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ สารสนเทศในการ นาเสนอขอ้ มูล ออกแบบระบบการ 3) ใชภ้ าษาพูด ภาษาเขยี น เทคโนโลยี เปลี่ยนผา่ นสูอ่ งค์กร สารสนเทศ และคณติ ศาสตรแ์ ละ ดจิ ทิ ัล สถิตพิ น้ื ฐานในการสื่อสาร การ เรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและ นาเสนอขอ้ มลู ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ
10 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จา ความรบั ผิดชอบหลกั รายวชิ า 1 คุณธรรม 2 ความรู้ จริยธรรม 1 2 3 123 02-000-312 การฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ ภายหลงั สาเรจ็ การ เรียนทฤษฎี
08 ากหลักสูตรสรู่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าเฉพาะ ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 4 ทักษะ 5 ทกั ษะการวเิ คราะห์ 6. ทกั ษะพสิ ยั 3 ทักษะทาง ความสมั พนั ธ์ เชงิ ตวั เลข การส่ือสาร ปญั ญา ระหวา่ งบคุ คลและ และการใช้เทคโนโลยี ความรบั ผิดชอบ สารสนเทศ 12312 3 1 2 3 12 3
109 หมวดท่ี 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนักศึกษา 1. กฎระเบยี บหรอื หลกั เกณฑใ์ นการใหร้ ะดับคะแนน (เกรด) ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี เร่อื ง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี (ภาคผนวก ช) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนกั ศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูข้ ณะนกั ศกึ ษายังไมส่ าเร็จการศึกษา 1. อาจารย์ผู้สอนดาเนินการสอน ประเมินผลการเรียนรูต้ ามจุดมุ่งหมายรายวิชา และเป็นไป ตามเกณฑก์ ารวดั ประเมินผลที่กาหนดไวใ้ น มคอ. 3 รายละเอยี ดของรายวชิ า 2. กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมพิจารณาผลการเรยี นรู้ทกุ รายวิชาในด้านของความ ยุติธรรมความเหมาะสม แล้วนาผลจากการประชุมพิจารณาผลการเรียนรู้ของกรรมการผู้รับผิดชอบ หลักสตู รเสนอต่อคณะกรรมการประจาคณะพจิ ารณา 3. กรณีที่เป็นรายวิชาที่สอนหลายคน อาจารย์ผู้สอนร่วมกันพิจารณาผลการเรียนรู้เพ่ือ นาไปใช้พจิ ารณาการเรยี นการสอนตอ่ ไป 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรหู้ ลังนักศึกษาสาเรจ็ การศกึ ษา 1. ประเมินภาวะการได้งานทาของบัณฑิตในด้านระยะเวลาในการหางานทา ความเห็นต่อ ความรู้ ความสามารถ ความม่ันใจของบณั ฑิตในการประกอบการงานอาชพี 2. ประเมินผลการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการโดยขอเข้าสัมภาษณ์ หรือส่ง แบบสอบถาม เพื่อประเมนิ ความพึงพอใจต่อบัณฑิตทีจ่ บการศึกษา 3. ประเมนิ ตาแหน่งของบัณฑติ 4. ประเมินจากสถานศึกษาอ่นื ในกรณที ีบ่ ณั ฑิตศึกษาต่อ โดยสง่ แบบสอบถามในระดบั ความ พึงพอใจในด้านความรู้ ความพร้อมและสมบัติดา้ นอื่นๆ 3. เกณฑ์การสาเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สตู ร 3.1 นักศกึ ษาทีม่ สี ทิ ธ์ไิ ด้รบั ปริญญา อนปุ รญิ ญา หรอื ประกาศนยี บัตร ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิครบถ้วน ดังต่อไปนี้ 3.1.1 โดยต้องเรยี นครบ ตามจานวนหน่วยกิตทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสูตร และตอ้ งไดร้ ะดบั คะแนนเฉล่ียไม่ตา่ กว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดบั คะแนนหรอื เทียบเท่า 3.1.2 เปน็ ผมู้ คี ณุ สมบัติเหมาะสมกบั การเป็นบัณฑิตและไมม่ ีหนส้ี นิ ผูกพันต่อมหาวทิ ยาลยั 3.1.3 ตามเกณฑข์ ้อบงั คับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ว่าดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบบั เพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) 3.1.4 ตามเกณฑ์ประกาศเกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรกี ่อนสาเรจ็ การศกึ ษา (ภาคผนวก ซ) (ฉบบั ที่ 2)
110 3.2 นกั ศกึ ษาทมี่ ีสิทธแิ์ สดงความจานงขอสาเรจ็ การศึกษา ตอ้ งมคี ณุ สมบัตคิ รบถว้ น ดงั นี้ 3.2.1 โดยต้องเรยี นครบ ตามจานวนหนว่ ยกติ ที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตร และตอ้ งได้ระดบั คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรอื เทียบเทา่ 3.2.2 เปน็ ผมู้ คี ณุ สมบตั ิเหมาะสมกับการเปน็ บัณฑิตและไมม่ หี นี้สนิ ผูกพันต่อมหาวทิ ยาลยั 3.2.3 ตามเกณฑ์ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบบั เพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) 3.2.4 ตามเกณฑ์ประกาศเกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีก่อนสาเร็จการศึกษา (ภาคผนวค ซ) (ฉบับที่ 2)
111 หมวดท่ี 6 การพฒั นาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ 1.1 อาจารย์ใหม่ทุกคนต้องเข้าร่วมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องทักษะกระบวนการเรียน การสอนตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ฯ 1.2 มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และความเข้าใจนโยบายของ มหาวิทยาลัย /คณะ รวมทัง้ หลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน การวจิ ัย และการประกันคณุ ภาพ 1.3 ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ เช่น การศึกษาต่อ การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการและ วชิ าชีพในองค์กรอื่นๆ การประชุมทางวิชาการ เพื่อเพิม่ ประสบการณใ์ นด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการบรกิ ารวชิ าการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. การพฒั นาความร้แู ละทกั ษะใหแ้ กอ่ าจารย์ 2.1 การพฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมนิ ผล 1) จัดให้มกี ารฝกึ อบรมเพอื่ เพมิ่ ทกั ษะการจัดการดา้ นการเรียนการสอน เช่น การจัดทาสื่อการ สอน การวดั ผลและประเมินผลที่ดแี ละทันสมัย การใชโ้ ปรแกรมเฉพาะสาขาในการคานวณผล เปน็ ต้น 2) ส่งเสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ด้านการเรียนการสอน เช่น การประชุมทางวิชาการท้ังใน และตา่ งประเทศ เพ่อื เพมิ่ ประสบการณแ์ ละพฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนอื่ ง 2.2 การพฒั นาวชิ าการและวชิ าชพี ด้านตา่ ง ๆ 1) ส่งเสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ เช่น การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการ และวิชาชีพใน องค์กรอ่ืนๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมประสบการณ์การวิจัยและ การ บรกิ ารวชิ าการ 2) สนับสนุนให้อาจารย์เข้ารับประสบการณ์ตรง ณ สถานประกอบการตามนโยบายของ มหาวทิ ยาลยั ฯ 3) ส่งเสรมิ การทาผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ 4) มีการกระต้นุ อาจารย์เขา้ ร่วมทางานเป็นกลมุ่ วจิ ัย และสรา้ งเครือข่ายการวิจัย 5) การมสี ่วนร่วมในกิจกรรมบริการวชิ าการ โดยเฉพาะกับชุมชนท้องถิ่น เพอื่ ส่งเสรมิ ให้มีการ พฒั นาวชิ าการเพือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน
112 หมวดท่ี 7 การประกันคณุ ภาพหลักสตู ร 1. การกากับมาตรฐาน เพ่ือให้การดาเนินการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรม การเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) ได้มาตรฐานทางการศึกษา และ มาตรฐานวิชาชีพ คณะกรรมการไดด้ าเนินการกากับมาตรฐานของหลกั สูตรดังน้ี 1.1 การบรหิ ารจดั การหลักสูตรตามเกณฑม์ าตรฐานทก่ี าหนด การบริหารจัดการหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ทาให้ผลิตบัณฑิตท่ีมี คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คณะกรรมการจึงได้กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตรดังน้ี 1.1.1 ดาเนินการบริหารจัดการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2552 1.1.2 ดาเนินงาน และการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีความเชื่อมโยงกับปรัชญา ปณิธาน เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของทั้งมหาวิทยาลัยฯ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และภาควิชาเทคโนโลยี และส่ือสารการศึกษา และให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานทั้ง 12 ตัวบ่งช้ีที่มาตรฐานคุณวุฒิ สาขาวิชาชพี กาหนด 1.1.3 ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรให้เป็นไปตามรอบการ ประเมินในแต่ละปีการศึกษา และจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศกึ ษาของหลกั สูตร 1.1.4 การบริหารจัดการหลักสูตร เพ่ือให้การดาเนินงานการบริหารหลักสูตรเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ ได้มาตรฐานคุณภาพที่กาหนดไว้ คณะกรรมการจึงมีการดาเนินการ กากับมาตรฐานในการบริหารหลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบด้วยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่น้อย กว่า 3 คน ทาหน้าที่วางแผนและการจัดการเรียนการสอน การประเมิน การประกันคุณภาพและการ พฒั นาหลักสูตร ซ่ึงมีแนวทางการบริหารหลกั สตู รเพอื่ บรรลเุ ป้าหมาย ดังนี้ 1) ก่อนเปิดภาคเรียน มีการประชุมคณาจารย์ท่ีสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ านวัตกรรมการเรียนรแู้ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ ยืนยันการจดั ตารางสอน และมอบหมายให้ คณาจารย์เตรียมความพร้อมในเร่ืองเครอื่ งมือ อปุ กรณ์ประกอบการเรยี นการสอน สื่อการสอน เอกสาร ประกอบการสอนตา่ งๆ 2) ในระดับคณะฯ มีการแต่งต้ังคณะกรรมการประเมินหลักสูตรในทกุ ๆ ด้าน 3) จัดให้มีการประเมนิ ผลการสอนทุกภาคเรียน 4) แจ้งผลการประเมนิ ให้ อาจารย์ผูส้ อนทราบ เพ่ือทาการปรับปรงุ ต่อไป
113 5) เม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละปีการศกึ ษา จะต้องส่งผลการประเมินใหค้ ณะ เพื่อรายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู รตอ่ มหาวิทยาลยั ฯ 6) ดาเนินการปรับปรุงหลกั สูตรทกุ 5 ปี โดยมแี นวทางดาเนนิ การดังน้ี เป้าหมาย การดาเนินการ การประเมนิ ผล 1. พัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยโดย 1.จัดทาหลักสูตรให้สอดคล้อง 1.หลักสูตรมีความทันสมัย อาจารย์และนักศึกษาสามารถ กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง แ ล ะ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง ก้าวทันหรือเป็นผู้นาในการ ตลาดแรงงาน สมา่ เสมอ ส ร้ า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ๆ 2.ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย ทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยมีการพิจารณาปรับปรุง และเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั สูตรทกุ 5 ปี 2. มีการประเมินมาตรฐาน 1. แต่งต้ังกรรมการประเมิน 1. ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ของหลกั สูตรอย่างสมา่ เสมอ หลักสูตร แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ห ลั ก สู ต ร 2. ตรวจสอบและปรับปรุง ให้มีคณุ ภาพ หลักสูตรให้มีคุณภาพภายใน 2. ผลการประเมินหลักสูตร ระยะเวลา 3 ปี โดยผทู้ รงคุณวฒุ ิภายใน 3. มีการประเมินหลักสูตรโดย 3. ผลการประเมินหลักสูตร คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอก ภายในทุกปี และภายนอก อย่างน้อยทกุ 5 ปี 2. บัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2563) มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพที่มีความเป็นเลิศทางด้านความรู้ และทักษะในการปฏิบัติ ประยุกต์ใช้งาน และถ่ายทอดทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศ มีความสามารถในการบริหารจัดการ ตลอดจนการประสานงาน และติดตามผลการ ปฏิบัติงาน ให้บัณฑิตมีความเป็นผู้นา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ พฒั นาตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอและ ปลูกฝังให้มีมนุษยสัมพันธ์ คุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อหน้าที่ สังคม สิ่งแวดล้อม ทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยอยู่ในกากับดูแลของคณะกรรมการรับผิดชอบ หลักสตู ร และผู้บรหิ ารระดับภาควชิ าฯ และคณะฯ โดยได้ดาเนนิ การเพือ่ ประกันคณุ ภาพบณั ฑติ ดังนี้ 2.1 คุณภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ หลักสูตรผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีผลลัพธ์การเรียนรู้ 6 ด้าน ดงั น้ี
114 2.1.1 คณุ ธรรม จริยธรรม 1) ซอื่ สัตย์ ขยัน อดทน มวี ินยั และตรงต่อเวลา 2) มีความเสียสละและมีจติ สาธารณะ 3) ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบ และขอ้ บงั คบั ขององคก์ รและสังคม 2.1.2 ความรู้ 1) มคี วามร้แู ละทักษะในเนอื้ หาวิชาที่ศึกษา 2) สามารถบรู ณาการความรทู้ ีศ่ กึ ษากับความรดู้ ้านศลิ ปวฒั นธรรมหรอื ศาสตร์อืน่ ๆ ท่ี เกีย่ วข้อง 3) สามารถนาความรมู้ าปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์และงานทรี่ บั ผิดชอบ 2.1.3 ทักษะทางปญั ญา 1) สามารถประมวลผล วิเคราะห์ และสรปุ ขอ้ มูลความรู้ 2) สามารถจดั การความคิดได้ 3) สามารถประยุกตค์ วามรู้ และแกป้ ญั หาได้ 4) สามารถคดิ สร้างสรรค์งานนวตั กรรม 2.1.4 ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) มีมนษุ ยสัมพันธ์ทด่ี ี มมี ารยาททางสังคมและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม 2) มีภาวะการเปน็ ผ้นู าและผ้ตู ามที่ดี สามารถทางานเป็นทมี ได้ 3) สามารถปรับตัวเขา้ กับสถานการณ์และการเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี 2.1.5 ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) มที ักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข 2) สามารถใชภ้ าษาเพอื่ การสื่อสารไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์ 3) สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์และนาเสนอได้ 4) สามารถเชือ่ มองค์ความรแู้ ละมที ักษะในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง 2.1.6 ทักษะการปฏบิ ัตแิ ละการจัดการเรยี นรู้ 1) สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ 2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพฒั นาระบบการพัฒนามนษุ ย์ 3) สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการออกแบบระบบการเปลย่ี นผา่ นสอู่ งค์กร ดิจทิ ลั 3. นักศกึ ษา บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกเป็นนักศึกษาในหลักสูตร ต้องมีคุณสมบัติและความพร้อมในการเรียน ตลอดหลักสูตรจนสาเร็จการศึกษาตามเวลาท่ีกาหนด หลักสูตรมีการดาเนินการเพื่อประกันคุณภาพ นกั ศึกษาดงั นี้
115 3.1 การรับนักศกึ ษา เกณฑ์ในการรับนักศกึ ษาหลกั สูตรไดก้ าหนดให้มีการรบั นกั ศกึ ษาใน 2 ระบบ คอื 3.1.1 ระบบการคัดเลือกแบบโควตา การรับนักศึกษาให้เป็นเป็นไปตามระเบียบการสอบ คัดเลือกแบบโควตาของมหาวิทยาลัยฯ วุฒิที่รับเข้าศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพประกาศนียบัตร (ปวช.) ทุกประเภทสาขา 3.1.2 ระบบการคัดเลือกแบบสอบตรง การรับนักศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบการคัดเลือกเข้า ศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยฯ หรือการคัดเลือกตามวิธีการท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด วฒุ ิที่ รับเข้าศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพประกาศนียบัตร (ปวช.) ทุก ประเภทสาขา 3.2 การสง่ เสรมิ และการพัฒนานักศกึ ษา เป็นการเตรียมนักศึกษาให้มีความพร้อมทางการเรียน เพ่ือเพิ่มทักษะในการเรยี นรู้ท่ีจะส่งผลตอ่ อตั ราการสาเร็จการศึกษา และความพึงพอใจต่อหลักสตู ร โดยมกี ารพัฒนานกั ศึกษาอย่างต่อเนือ่ งตลอด ระยะ 4 ปี หลักสูตรได้ดาเนนิ การดงั น้ี 3.2.1 หลักสูตรได้เตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาก่อนเข้าศึกษา โดยการจัดปฐมนิเทศ นักศึกษาใหม่ เพอ่ื แนะนา และสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกบั ระบบการเรยี นการสอนในระดับมหาวิทยาลยั ฯ 3.2.2 หลักสูตรได้มีการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 3.3 ผลทีเ่ กิดกับนกั ศึกษา 3.3.1 การคงอย่ขู องนกั ศึกษาในหลักสูตรอย่ใู นระดบั มาก 3.3.2 การสาเร็จการศกึ ษาเปน็ ไปตามแผนระยะเวลาที่กาหนด 3.3.3 ความพึงพอใจในการจัดการการเรยี นการสอนในหลกั สูตรอยใู่ นระดับสูง 3.3.4 คุณภาพของนักศึกษา และบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา โดยภาวะการมีงานทาและความพึง พอใจของผใู้ ช้บัณฑิตอยใู่ นระดับมาก 3.4 การอทุ ธรณข์ องนกั ศกึ ษา 3.4.1 กรณีท่ีนักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใด สามารถท่ีจะย่ืนคาร้อง ขอดูกระดาษคาตอบในการสอบตลอดจนดคู ะแนนและวิธีการประเมนิ ของอาจารย์ในแตล่ ะรายวิชาได้ 3.4.2 นกั ศึกษาสามารถเสนอความคิดเหน็ ในด้านการเรียนการสอนของอาจารย์ 3.4.3 นักศึกษาสามารถอทุ ธรณ์ในกรณที ีไ่ ม่ได้รับความยุติธรรม หมายเหตุ นกั ศกึ ษาสามารถรอ้ งเรยี นได้ทางเวบ็ ไซต์ของคณะฯ หรอื ทางตู้รบั ความคิดเห็น 4. อาจารย์ อาจารย์เป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการผลิตบัณฑิต จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงในการคัดเลือกอาจารย์ให้ ไดอ้ าจารยท์ ี่มีคุณภาพเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท ปรัชญา วิสัยทศั นข์ องสถาบนั และหลกั สูตร จึงต้อง มีการวางระบบประกันคุณภาพเพ่ือให้ได้อาจารย์ท่ีมีคุณสมบัติท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพให้เป็นไป
116 ตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 และเกณฑข์ องมหาวิทยาลยั ฯ กาหนดไว้ ตลอดจน มกี ารพัฒนาศกั ยภาพให้สงู ยิ่งขึ้น 4.1 การบริหารอาจารย์ การคัดเลือกอาจารย์ใหม่ หลักสูตรได้ดาเนินการตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยการกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ใหม่ให้เป็นไปตาม มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรี และเกณฑข์ องมหาวิทยาลยั ฯ ทีไ่ ดก้ าหนดไว้ ดังนี้ 4.1.1 สาเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา นวตั กรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา หรือสาขาอื่นๆท่ีเกี่ยวข้อง และมีประสบการณท์ างานดา้ นการสอนมาไม่ตา่ กวา่ 2 ปี 4.1.2 มคี ะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบรุ ี พ.ศ.2559 เร่อื ง มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของอาจารย์ประจา 4.2 การพัฒนาอาจารยใ์ หม่ อาจารย์ใหม่ของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2563) ทุกคนจะไดร้ ับการเตรียมความพร้อมในการเป็นอาจารย์ใหม่ทั้ง ในระดับมหาวิทยาลัยและระดับคณะ หรือภาควิชา โดยจะมีการเตรียมความพร้อมให้กับอาจารย์ใหม่ ดังท่ีระบุไว้ในหมวดที่ 6 ขอ้ ท่ี 6.1 4.3 การพัฒนาอาจารย์ 4.3.1 การพัฒนาทกั ษะการจดั การเรยี นการสอน การวัดและการประเมินผล 1) จัดให้มีการฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมทักษะการจัดการด้านการเรียนการสอน เช่น การจัดทาส่ือ การสอน การวดั ผลและประเมินผลที่ดีและทันสมัย การใชโ้ ปรแกรมเฉพาะสาขาในการคานวณผล เป็น ต้น 2) ส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ด้านการเรียนการสอน เช่น การประชุมทางวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ เพื่อเพิ่มประสบการณ์และพัฒนาทกั ษะการจดั การเรยี นการสอนอย่างตอ่ เนือ่ ง 4.3.2 การพัฒนาวิชาการและวชิ าชพี ด้านต่าง ๆ 1) ส่งเสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ เช่น การฝึกอบรม การดูงานทางวิชาการ และวิชาชีพใน องค์กรอ่ืนๆ การประชุมวิชาการทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมประสบการณ์การวิจัยและการบริการ วชิ าการ 2) สนับสนุนให้อาจารย์เข้ารับประสบการณ์ตรง ณ สถานประกอบการตามนโยบายของ มหาวิทยาลยั ฯ 3) ส่งเสริมการทาผลงานทางวิชาการของอาจารย์ในสาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศ 4) มีการกระตุ้นอาจารย์เข้าร่วมทางานเป็นกลุม่ วจิ ยั และสรา้ งเครอื ข่าย
117 5) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการ โดยเฉพาะกับชุมชนท้องถิ่น เพ่ือส่งเสริมให้มี การพฒั นาวชิ าการเพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อชมุ ชน 5. หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผเู้ รียน คณะกรรมการได้ดาเนนิ การจดั ทาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ านวัตกรรมการเรยี นรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 โดยมีระบบการเปิด-ปิด หลักสูตรเป็นไปตามแนวปฏิบัติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุ รีและมีคาส่ังแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร และคณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรในการดาเนินงานเพื่อนา หลกั สตู รไปใช้ 5.1 การบริหารจัดการหลักสตู ร 5.1.1 ออกแบบร่างหลกั สตู ร โดยแต่งต้งั คาส่ังคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร และคณะกรรมการ รับผิดชอบหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และสอดคล้องกับแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2559 – 2564) ท่ใี หค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาคณุ ภาพและสงั คมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ โดยมี สว่ นเกีย่ วขอ้ งตอ่ การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ พฒั นาเศรษฐกิจ โดยการสรา้ งความร่วมมอื ระหวา่ งภาครัฐ และภาคเอกชนในการพฒั นากาลังคนและแรงงานให้มีทักษะความร้แู ละสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความ ตอ้ งการของตลาดแรงงานเพอ่ื ยกระดับและพฒั นาสมรรถนะแรงงานไทยด้วยเทคโนโลยี 5.1.2 การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร คณะกรรมการประจาคณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมเหน็ ชอบใน หลักสูตร นาเสนอต่อคณะกรรมการด้านหลักสูตรและการเรียนการสอนของสภามหาวิทยาลัยฯเพอื่ ให้ ความเหน็ ชอบกรอบโครงสรา้ งของหลกั สตู ร 5.1.3 ดาเนินการวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก สถานประกอบการภาครัฐและ เอกชน ผู้ใชบ้ ัณฑติ และศษิ ยเ์ กา่ เพ่อื นาเสนอตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารวิชาการและวิจยั คณะกรรมการ สภาวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะกรรมการด้านหลักสูตรและการเรียนการ สอนของสภามหาวิทยาลัยฯ และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีพิจารณา ใหค้ วามเหน็ ชอบ และดาเนินการเปดิ ใช้หลกั สูตร 5.1.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรวางระบบผู้สอนและผู้เรียน และการประเมินผู้เรียนโดย คณะกรรมการผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู รจะดาเนินการจดั การเรียนการสอนให้เป็นไปตามแผนท่กี าหนด 5.1.5 เมื่อการจัดการเรียนการสอนครบกาหนดในการพัฒนา ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ พัฒนาหลักสูตร เพื่อการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิชาการ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา ในการกาหนดผ้สู อน อาจารย์ประจาหลักสตู รพิจารณาจานวนช่วั โมงสอนในรายวิชาให้แก่อาจารย์
118 ผู้สอนตามความถนัดและเชีย่ วชาญของแตล่ ะบุคคล และจัดให้มีจานวนชัว่ โมงท่ีเหมาะสมและใกล้เคียง กัน โดยผู้สอนตอ้ งเปน็ ผูม้ ีความรู้ความชานาญ มีความเชี่ยวชาญในการสอนวชิ าน้ัน โดยมีเกณฑก์ ารวาง ระบบผสู้ อนดงั นี้ 5.2.1 คณะกรรมการบริหารคณะกาหนดภาระการสอน และแจ้งประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร บัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศทราบ เพื่อใช้ประกอบการกาหนด ผู้สอน 5.2.2 อาจารย์ประจาหลักสูตรร่วมพิจารณาอาจารย์ผู้สอน โดยกาหนดผู้สอนในรายวิชาต่างๆ ตามความเหมาะสมโดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา ความเช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน การทาวิจัย ประสบการณก์ ารทางานดา้ นวิชาชพี ในรายวิชานนั้ ๆ และมีการจัดการเรยี นร้ทู ีท่ าใหผ้ เู้ รียนบรรลุผลตาม ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวังอยา่ งดเี ป็นหลกั 5.2.3 อาจารย์ประจาหลักสูตรได้เสนอช่ืออาจารย์ผู้สอน ให้ฝ่ายวิชาการและงานวิจัย เสนอ คณะกรรมการบรหิ ารคณะ เพือ่ พิจารณา 5.2.4 ฝ่ายวชิ าการและงานทะเบียน สรุปรายชือ่ อาจารย์ผู้สอน จานวนวชิ าท่ีสอน จานวนกลุ่มท่ี สอน นาเสนอรองคณบดฝี า่ ยวิชาการและวจิ ัย และนาเสนอคณะกรรมการบรหิ ารคณะ 5.2.5 ประธานหลักสูตรแจ้งรายวิชาที่เปิดสอนและมอบหมายผู้รับผิดชอบรายวิชาดาเนินการ จัดทารายละเอียดรายวชิ าตามแบบ มคอ. 3 ในระบบสารสนเทศของสานกั ส่งเสริมวชิ าการและทะเบยี น มทร.ธัญบุรี ทั้งน้ีจากการดาเนินงานการจัดทารายละเอียดวิชาตามแบบ มคอ. 3 ผ่านระบบ พบว่า อาจารย์ผู้สอนบางรายวิชาไม่สามารถกรอกข้อมูลในระบบได้ จึงติดต่อประสานงานไปยังเจ้าหน้าที่ท่ี รบั ผดิ ชอบระบบตรวจสอบปัญหาการเขา้ ระบบ 5.2.6 เม่ือส้ินสุดในแต่ภาคการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน จัดทา มคอ.5 เพอ่ื สรุปผลการสอนในแต่ละรายวชิ า แล้วจัดส่ง มคอ.5 ไปยังกรรมการประจาหลักสูตร ภายใน 30 วนั หลังจากปิดภาคเรียน 5.2.7 อาจารย์ประจาหลักสูตรดาเนินการประชุม เพื่อสรุปผลและพิจารณาจากรายงาน มคอ.5 เพ่ือนาไปปรบั ปรุงและหาทางแก้ไขจากประเดน็ ขอ้ เสนอแนะของผสู้ อนแต่ละรายวชิ า 5.3 การประเมินผู้เรยี น 5.3.1 มีการประเมินโดยให้ผู้เรียนประเมินตนเอง และอาจารย์ประเมินผู้เรียน และการประเมิน ผู้เรียนจากการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยผู้รับผิดชอบและอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาเป็นผู้ ประเมินและตดิ ตามผลการประเมนิ ตามแบบประเมินท่ีได้กาหนด 5.3.2 คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าท่ีกากับดูแลการประเมินให้เป็นไปตามที่ กาหนดในแตล่ ะรายวชิ า 5.4 การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามแผนการศึกษาท่ไี ดก้ าหนดไว้
119 5.5 ผลการดาเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศึกษาแห่งขาติ มีการประเมินผลการดาเนินงานหลักสูตรทุกปีการศึกษาตามตัวบ่งช้ี การดาเนินงานตามกรอบ มาตรฐานระดับอุดมศึกษาท่ีได้กาหนดไว้และผลการดาเนินงานอยู่ในระดับดี โดยคณะกรรมการ รับผิดชอบหลักสตู รเปน็ ผู้รายงานการดาเนนิ งานในแตล่ ะปีการศกึ ษา 6. สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ปัจจัยสาคัญในการสนับสนุนการเรียนรู้ ประกอบด้วยส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ท้ังภายในและ ภายนอกห้องเรียน ความพร้อมทางด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยี คณะกรรมหลักสูตรจึงได้ดาเนินการ จัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตารา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ์ และวัสดุครุภณั ฑ์ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในช้นั เรียน และสร้างสภาพแวดล้อม ใหเ้ หมาะสมกบั การเรยี นรู้ และใหเ้ ป็นไปตามเกณฑก์ ารรบั รองมาตรฐานหลกั สตู ร 6.1 ทรัพยากรการเรียนการสอน 6.1.1 อาคารสถานที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้วางแผนการบริหาร และดาเนินการด้าน อาคาร สถานที่ เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน โดยจัดตง้ั อาคารศกึ ษาศาสตร์ 2 อย่ใู นสงั กดั คณะครุศาสตร์ ต้ังอยู่ภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเทคโนโลยี 39 หมู่ท่ี 1 ถนนรังสิต-นครนายก ตาบลคลองหก อาเภอธญั บุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 6.1.2 หอ้ งเรยี น/ห้องปฏิบตั กิ าร จานวนห้องเรียนท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร มีห้องบรรยาย จานวน 12 ห้อง จานวนห้องปฏิบัติการ 6 ห้อง ดังนี้ 1) ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีดิจิทัล 2) ห้องปฏิบัติการตัดต่อ รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา 3) ห้องปฏิบตั ิการถ่ายภาพน่ิง 4) ห้องปฏิบตั ิการบนั ทึกและตัดต่อเสียง เพือ่ การศกึ ษา 5) หอ้ งปฏิบัติการกราฟกิ เพ่ือการศึกษา และ 6) ห้องปฏบิ ัติการมลั ติมีเดีย 6.1.3 ห้องสมดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดให้มีห้องสมุดกลางของมหาวิทยาลัยท่ีสานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.) ซ่ึงเป็นอาคาร 5 ช้ัน เปิดให้บริการ วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 8.30-24.00 น. วนั เสาร์-วันอาทิตย์ เวลา 8.30-21.00 น. เว้นวนั หยุดนักขัตฤกษ์ โดยจัดให้มีห้อง ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย 12 ห้อง และมฐี านข้อมูลท่ีสามารถให้นักศึกษาสืบค้นขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง 6.2 การจดั การทรัพยากรการเรยี นการสอน 1) คณะกรรมการรับผิดชอบหลักสูตร มีหน้าที่กากับดูแลการใช้ทรัพยากรการเรียนการสอน วางแผนจดั หา และตดิ ตามการใชท้ รัพยากรการเรียนการสอนของหลักสูตร 2) อาจารย์ผูส้ อนในแตล่ ะรายวชิ าสามารถเสนอช่ือ สื่อ หนังสือ ตารา และวสั ดุอปุ กรณท์ ี่ใช้ใน การเรยี นการสอน เพ่อื เสนอต่อคณะกรรมการบรหิ ารคณะฯ พจิ ารณา และขออนมุ ัติ
120 6.3 การประเมินความเพียงพอของทรพั ยากร คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบหลักสตู ร มีหน้าท่ีประเมนิ ความต้องการ และความพอเพยี งของ ทรพั ยากร โดยประเมินจากอาจารย์และนักศึกษา 7. ตัวบง่ ชี้ผลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators) ผลการดาเนินการบรรลตุ ามเปา้ หมายตัวบง่ ช้ที ั้งหมดอยใู่ นเกณฑด์ ตี อ่ เน่อื ง 2 ปี การศึกษาเพอื่ ตดิ ตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งน้ีเกณฑก์ ารประเมินผ่าน คือ มกี ารดาเนนิ งานตามขอ้ 1-5 และอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 ของตัวบ่งชีผ้ ลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในแตล่ ะปี ดชั นบี ง่ ชผี้ ลการดาเนนิ งาน ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปที ี่ 3 ปที ี่ 4 ปีท่ี 5 1. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร มกี ารประชมุ หลกั สูตรเพ่ือวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลกั สตู ร อย่างนอ้ ยปีการศึกษา X X X X X ละ 2 ครงั้ 2. มีรายละเอียดของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.2 ทส่ี อดคลอ้ งกบั กรอบ X X X X X มาตรฐานคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ หรือมาตรฐานคณุ วฒุ ิสาขา/สาขาวชิ า 3. มรี ายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้าม)ี ตามแบบ มคอ.3 และมคอ. 4 อย่างนอ้ ยกอ่ น X X X X X การเปดิ สอนในแตล่ ะภาคการศึกษาใหค้ รบทุกรายวชิ า 4. จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของรายวชิ า และรายงานผลการ ดาเนนิ การของประสบการณภ์ าคสนาม ตามแบบ มคอ. 5 และ X X X X X มคอ. 6 ภายใน 30 วนั หลงั ส้นิ สุดภาคการศึกษาทเ่ี ปดิ สอนให้ ครบทกุ รายวชิ า 5. จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ. 7 X X X X X ภายใน 60 วนั หลังสนิ้ สดุ ปีการศกึ ษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ทกี่ าหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้าม)ี อย่างนอ้ ยร้อยละ 25 ของ X X X X X รายวิชาในหมวดวิชาชีพเฉพาะ ทเี่ ปดิ สอนในแตล่ ะปีการศกึ ษา 7. มีการพัฒนา/ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอน กลยทุ ธก์ าร สอน หรอื การประเมินผลการเรียนรูจ้ ากผลการประเมนิ การ XXX X ดาเนินงานในรายงาน ใน มคอ. 7 ปีที่แล้ว 8. อาจารยใ์ หมท่ กุ คน ไดร้ บั การปฐมนเิ ทศหรอื คาแนะนาด้าน การ X X X X X จดั การเรยี นการสอน และจดั ใหม้ รี ะบบอาจารยพ์ ี่เล้ยี ง 9. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รและอาจารย์ประจาหลกั สูตรทกุ คน ได้รบั การพฒั นาทางวชิ าการ และ/หรอื วชิ าชีพ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ X X X X X หนง่ึ ครง้ั
121 ดัชนีบ่งชผี้ ลการดาเนินงาน ปีท่ี 1 ปีที่ 2 ปีท่ี 3 ปที ่ี 4 ปีท่ี 5 10. จานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการจดั การเรยี นการสอน (ถา้ ม)ี ได้รบั X X X X X การพฒั นาวชิ าการ และ/หรือวิชาชีพ อยา่ งนอ้ ยปลี ะหนงึ่ ครง้ั 11. ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาปสี ดุ ทา้ ย/บณั ฑติ ใหมท่ มี่ ีตอ่ XX คุณภาพหลักสตู ร เฉลย่ี ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 12. ระดบั ความพงึ พอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมตี อ่ บัณฑติ ใหม่ เฉลี่ย X ไม่น้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเต็ม 5 รวมตวั บ่งชีบ้ งั คบั ทต่ี อ้ งดาเนินการ (ขอ้ 1-5) ในแตล่ ะปี 5555 5 รวมตัวบ่งชใ้ี นแต่ละปี (ตามทค่ี ณะ/วิทยาลัยกาหนด) 9 10 10 11 12
122 หมวดท่ี 8 การประเมิน และปรับปรงุ การดาเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสทิ ธผิ ลของการสอน 1.1 การประเมินกลยทุ ธก์ ารสอน ช่วงก่อนการสอนควรมีการประเมินกลยุทธ์การสอนโดยทีมผู้สอนหรือระดับภาควิชา และ/ หรือการปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรหรือวิธีการสอน ส่วนช่วงหลังการสอนควรมีการ วเิ คราะหผ์ ลการประเมินการสอน โดยนักศกึ ษาและการวิเคราะหผ์ ลการเรยี นของนักศกึ ษา ด้านกระบวนการนาผลการประเมินไปปรับปรุง สามารถทาโดยรวบรวมปัญหา/ข้อเสนอแนะ เพอ่ื ปรบั ปรุงและนาเสนอตอ่ ประธานหลักสูตรและทมี ผู้สอนนาไปปรับปรงุ และรายงานผลตอ่ ไป 1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยุทธก์ ารสอน 1) ประเมนิ โดยนักศกึ ษาในแตล่ ะสาขาวชิ า 2) การสังเกตการณ์ของผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตร/ประธานหลักสูตร และ/หรือทีมผสู้ อน 3) ภาพรวมของหลกั สูตรประเมินโดยบัณฑิตใหม่ 4) การทดสอบผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษาเทยี บเคยี งกบั สถาบนั อ่นื ในหลักสูตรเดียวกนั 2. การประเมนิ หลกั สตู รในภาพรวม การประเมนิ หลักสตู รในภาพรวม โดยสารวจขอ้ มูลจาก 2.1 นักศึกษาชั้นปสี ุดทา้ ย/บณั ฑิตใหม่ 2.2 สถานประกอบการ 2.3 ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 2.4 ผลสมั ฤทธิ์ของบณั ฑติ 3. การประเมนิ ผลการดาเนินงานตามรายละเอยี ดหลกั สูตร มีการประเมินผลการดาเนินงานตามหลักสูตร ตามดัชนีตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานที่ระบุใน หมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยดาเนินการตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก ของสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) 4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรบั ปรงุ หลักสูตรและแผนกลยทุ ธ์การสอน 4.1 รวบรวมขอ้ เสนอแนะ/ข้อมูล จากการประเมนิ จากนกั ศกึ ษา ผใู้ ช้บัณฑิต ผ้ทู รงคณุ วุฒิ 4.2 วิเคราะห์ทบทวนขอ้ มลู ขา้ งตน้ โดยผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร/ประธานหลักสูตร 4.3 เสนอการปรับปรุงหลักสตู รและแผนกลยทุ ธ์ (ถ้ามี)
123 ภาคผนวก ก คาสั่งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รฯ ข ประวัติ ผลงานทางวชิ าการ และประสบการสอนของอาจารย์ประจา หลักสูตร ค ข้อบงั คับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรวี ่าดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2550 ง ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ วี า่ ด้วยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556 จ ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ีว่าด้วยการจดั การ ระบบสหกิจศกึ ษา พ.ศ. 2550 ฉ ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีวา่ ดว้ ยการเทียบโอนผล การเรยี น พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เรือ่ งเกณฑก์ ารวัด และประเมนิ ผลการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ซ เกณฑม์ าตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญา ตรีกอ่ นสาเรจ็ การศกึ ษา ฌ ตารางสรุปการวเิ คราะหห์ ลักสูตรแบบสมรรถนะ ญ กจิ กรรมในหลกั สูตร
124 ภาคผนวก ก คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู รฯ
125
126
127
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201