48 02-322-204 เทคโนโลยีเวบ็ เพ่ือนวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Web Technology for Learning Innovation สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บ โพรโท คอลทีซีพี/ไอพี และเอชทีทีพี ระบบชื่อ การเช่ือมต่อ ชนิดของบริการบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โพรโทคอลมาตรฐาน ภาษาการโปรแกรมและภาษากากับสาหรับการ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้านเว็บ ชุดเครื่องมือและกรอบงาน การออกแบบและ การพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ภาษากากับไฮเปอร์เท็กซ์แบบ พลวัต เว็บเพจแบบพลวัต โปรแกรมต่อประสานร่วมสาหรับเกตเวย์ การเขียน สคริปท์ด้านผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ระบบฐานข้อมูลสาหรับโปรแกรมประยุกต์ ด้านเว็บ เว็บเซอร์วิส ความปลอดภัยของระบบงานบนเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ หลักการบริหารจัดการเว็บไซต์ ศึกษาและฝึกปฏิบัติกรณีเทคโนโลยีเว็บเพ่ือ นวตั กรรมการเรียนรู้ Architectures and technologies of the Internet and World Wide Web, TCP/ IP and HTTP protocols, namespace, interconnection, types of Internet services; Standard protocols. Programming languages and markup languages for web application development, development tools and frameworks; Design and development of websites; Design of user interfaces; Dynamic Hypertext Markup Language; Dynamic web pages; Common Gateway Interfaces; Client- side and Server- side scripting; Database systems for web applications; Web Service; Security on World Wide Web system; Website administration principles, used case and practice in web technology for learning innovation
49 02-322-106 การคิดเชิงการออกแบบเพื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Design Thinking for Learning Innovation หลักของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ในสถานการณ์ ประเด็น ปัญหา และความต้องการในรูปแบบต่างๆ ท่ีมีผลต่อการออกแบบและพัฒนา นวัตกรรมการเรียนรู้ หลักการวิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของผู้ใช้ และ/ หรือ ผู้บริโภค อย่างสร้างสรรค์ หลักการเผยแพร่นวตั กรรมการเรียนรู้ การเลือกใช้ เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั การแกป้ ญั หา Principles of design thinking design thinking process in various situations, issues, and needs affecting the design and development of learning innovations problem analysis principles and the needs of users and / or consumers creatively principles of disseminating learning innovations choosing the right technology for solving the specific problem 02-322-107 คอมพิวเตอรก์ ราฟกิ เพอื่ งานสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม 3(2-2-5) Computer Graphic for Creative Innovation หลักการ ทฤษฎีองค์ประกอบ ประเภทของวัตถุกราฟิก 2 มิติ และ 3 มิติ หลักการ คิดสร้างสรรค์สาหรับงานออกแบบภาพ0 ทฤษฏีสี และ การจัดองค์ประกอบภาพ ทฤษฏีการจัดแสง หลักการแสดงผลภาพและอุปกรณ์แสดงผล 2 มิติ และ 3 มิติ หลักการออกแบบและสร้างภาพกราฟิกเพื่อการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ และฝึกปฏิบตั ิการใช้โปรแกรมประยุกต์ด้านคอมพิวเตอร์กราฟกิ เพื่องานสร้างสรรค์ นวัตกรรม Principles of component theory of 2 D and 3 D objects principles of creativity for graphic design color theory and composition lighting theory principles of visual rendering and 2 D and 3 D display devices principles of graphic design and creation for learning innovation. And practice using computer graphics applications for creative work
50 02-322-205 การออกแบบและผลิตสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ พ่ือการเรียนรู้ 3(2-2-5) Electronic Media Design and Production for Learning หลักการเบื้องต้นของการออกแบบ ทฤษฎีส่ือประสม รูปทรงและองค์ประกอบ ศิลปะ หลักการการวาดภาพ ลายเส้นและแรงเงา การออกแบบตัวอักษร การ ออกแบบพ้ืนผิววัตถุ การออกแบบสื่อชนิดต่างๆ เพ่ือใช้ในการสร้างนวัตกรรมการ เรยี นรู้ หลกั การพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ การประยกุ ต์หลกั การออกแบบมาใช้กบั การผลิตส่ือดิจิทัลประเภทต่างๆ การใช้เครื่องมือทางซอฟต์แวร์เพื่อสร้างส่ือดิจิทัล เสียง ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ ภาพเคล่ือนไหว โดยฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมเพื่อสร้าง นวัตกรรมการเรยี นรู้ Basic principles of design multimedia theory shapes and art elements drawing principles lines and shadow font design surface design design of various media types to use in creating learning innovation principles for development of learning innovation ppplication of design principles to production of various types of digital media using software tools to create digital media, sound, still images, video, animation by practicing using the program to create learning innovation 02-322-301 นวัตกรรมการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมฐานสมรรถนะ 3(2-2-5) Innovation for Training Competency-Based Curriculum Development ศึกษาหลักการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมฐานสมรรถนะเพ่ือยกระดับสถาน ประกอบการให้เป็นองค์การแห่งดิจิทัล การนานวัตกรรมดิจิทัลที่เกี่ยวข้องเป็น เครื่องมือสาหรับการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในแตล่ ะกิจกรรม การประเมินผลการ พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติการพัฒนาระบบเพื่อบริหารจัดการการเรียนรู้ หลักสตู รฐานสมรรถนะ Study the principles of training competency- based curriculum development to a digital organization transformation, implementation of relevant digital innovations as a tool for learning management in each appropriate activities, evaluation of curriculum development, practice in the development of learning management system for competency-based curriculum
51 02-323-206 การจัดการนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(3-0-6) Learning Innovation Management ทฤษฎีนวัตกรรมและนวัตกรรมการเรียนรู้ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการ นวัตกรรมการเรียนรู้ หลักการพัฒนาองค์ความรู้สู่การสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ใน องค์กร การวิเคราะห์ปัญหา และ การบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการนวัตกรรมการเรียนรู้ การใช้นวัตกรรม การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์กร และการเปลี่ยนแปลงเชิงเทคโนโลยี ความเป็นไปได้เชงิ พาณิชยข์ องนวตั กรรมการเรยี นรู้ Innovation theory and learning innovation concepts and theories about learning innovation management principles of knowledge development to create learning innovations in the organization problem analysis and knowledge management in organizations the impact of using technology to manage learning innovations using learning innovation to build an organization and technological change commercial possibilities of learning innovation 02-323-207 หลักการความมั่นคงทางไซเบอร์ 3(3-0-6) Cyber Security Principles มุมมองและผลกระทบ เป้าหมายของนโยบายและกลไก บริการทางความมั่นคง กลไก และการโต้ตอบ การโจมตีทางไซเบอร์และการตรวจหา ระบบประกัน ระดับสูง ช่องโหว่ ภัยคุกคาม และความเส่ียง ระบบอาพราง ความมั่นคงท่ีสามารถ ใช้ประโยชน์ได้ ภาพรวมของวิทยาการรหัสลับ พื้นฐานของมัลแวร์, การย้ายและ การกู้คืน สารสนเทศส่วนบุคคล ประเด็นด้านปฏิบัติการ และความต้องการในการ รายงาน Perspectives and impact, policy goals and mechanisms, security services, mechanisms, and countermeasures, cyber- attacks and detection, high assurance systems, vulnerabilities, threats, and risk, anonymity systems, usable security, cryptography overview, malware fundamentals, mitigation and recovery, personal information, operational issues and reporting requirements
52 02-323-208 เทคโนโลยรี วมระบบ 3(2-2-5) Integrated Systems Technology การรวมโมดูล การจัดรูปแบบและการแลกเปล่ียนข้อมูล โปรโตคอลการการส่ือสาร ระหว่างระบบ การเขียนโปรแกรมเชิงบูรณาการ เทคนิคการเขียนสคริปต์ การ ป้องกันการบูรณาการ Integrating various modules, data mapping and exchange, intersystem communication protocols, Integrative programming, scripting technique, defensible integration 02-323-209 การออกแบบประสบการณผใู้ ชส้ าหรับนวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) User Experience Design for Learning Innovation หลักการและแนวคิดพื้นฐานในการโตตอบระหว่างคอมพิวเตอร์กับมนุษย์ การโต ตอบแบบกราฟิก การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์จากประสบการณ์มนุษย์สาหรับ นวัตกรรมการเรียน การสร้างโมเดลต้นแบบ พฤติกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ใน รูปแบบต่างๆ การยศาสตร์ การออกแบบส่วนปฏิสัมพันธ์บนอุปกรณ์ และ แพลตฟอรม์ เทคโนโลยแี บบต่างๆ การวดั และการประเมินความพึงพอใจของผใู้ ช้ Principles and basic concepts of interaction between computers and human graphical interaction design of the human experience interaction for learning innovation human learning behavior in various forms, ergonomics design, interaction on devices and various technology platforms evaluation of user satisfaction
53 02-323-302 โมบายแอปพลิเคชนั สาหรบั นวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Mobile Application for Learning Innovation หลักการเขียนโปรแกรมสาหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ การเลือกใช้เคร่ืองมือสาหรับการ เขียนโปรแกรมสาหรับอุปกรณ์เคล่ือนท่ี การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของโมบาย แอปพลิเคชั่น การออกแบบกราฟิกและส่ือประสมเคลื่อนไหวสาหรับโมบาย แอปพลิเคช่นั เทคนิคการปฏสิ มั พนั ธส์ าหรับผูใ้ ชบ้ นโมบายแอปพลเิ คช่ัน การจดั การ วิธีการปฏิสัมพันธ์ด้วยสัมผัสและท่าทาง รูปแบบของการแจ้งเตือน การพัฒนาโม บายแอปพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการ iOS และระบบปฏิบัติการ Android เพื่อใช้ เป็นนวตั กรรมการเรยี นรู้ Principles of mobile programming, tool selection for mobile programming; user interface design of mobile application, design of graphics and animation for mobile application, interaction techniques for mobile application users; touch handling and gestures; patterns of notifications; development of iOS- based and Android- based mobile application to be used as learning innovation 02-323-303 การออกแบบและพัฒนาซอฟแวรเ์ ชงิ นวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Software Design and Development for Learning Innovation หลักการการออกแบบซอฟต์แวร์และสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ วธิ ีการในการพฒั นา ซอฟต์แวร์เชิงนวัตกรรมการเรียนรู้ การกาหนดปัญหา และการศึกษาความเป็นไป ได้ การวินิจฉัยความต้องการของสารสนเทศ การวิเคราะห์ความต้องการและคุณ ลักษณะเฉพาะทางตรรกศาสตร์ การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ระบบ การ ออกแบบทางตรรกศาสตร์และการออกแบบทางกายภาพ การพัฒนาระบบและ ทดสอบระบบ การติดตั้ง และบารุงรักษาระบบ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิง ประสทิ ธภิ าพของการพฒั นาซอฟตแ์ วรเ์ ชิงนวตั กรรมการเรยี นรู้ Principles of software design and software architecture, methods of software development for learning innovation, problem identification and feasibility studies, information requirements determination, requirement analysis and logical specification, system development tools; logical design and physical design, program development and testing; system installation and maintenance, efficiency factor analysis of software development for learning innovation
54 02-323-304 กระบวนทัศนข์ องระบบ 3(3-0-6) System Paradigms ทักษะและเครื่องมือในการรวบรวมความต้องการ สถาปัตยกรรมของระบบ การ จัดซื้อจัดหา การทดสอบและการประกันคุณภาพ การรวมและการปรับใช้ การ กากับดูแลระบบ กิจกรรมการดาเนินงาน โดเมนการปฏิบัติการ การวิเคราะห์ ประสิทธิภาพ การบริหารโครงการซอฟต์แวร์ด้วยหลักการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สมัยใหม่ เชน่ อไจล์ การสรา้ งตน้ แบบ สกรมั การโปรแกรมแบบเขม้ ข้น เปน็ ตน้ Skills and tools to gather requirements; system architecture; acquisition and sourcing; testing and quality assurance; integration and deployment; system governance; operational activities; operational domains; performance analysis, software project management using software engineering such as agile, prototyping, scrum, extreme programming etc. 02-323-305 การออกแบบสิง่ แวดล้อมและตวั ละคร 3(2-2-5) Character and Environment Design การออกแบบและสรา้ งโมเดลของตวั ละคร โครงสร้าง สัดส่วน กระดูก องคป์ ระกอบ ของร่างกาย มนุษย์และสัตว์ สร้างการเคลื่อนไหว บุคลิกตัวละคร ฉากหลัง สิ่งแวดล้อม สถาปัตยกรรมส่ิงปลูกสร้างและธรรมชาติ การให้บรรยากาศ โดยใช้ ชดุ คาสงั่ และโปรแกรม 3 มติ ิ Design and modeling of characters, structure, proportion, bones, body composition of human and animals create movement, characters, background, environment, architecture, buildings and nature , atmosphere by using the command set and the 3D program 02-323-306 โครงงานทางวชิ าชีพ 1 3(2-2-5) Project 1 เลือกสรรจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย และเทคโนโลยี เพอ่ื ให้เห็นแนวทางการใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา Topics selected from areas in information technology keep up with the new technology and knowledge to visualize the guidelines for use in education
55 02-323-401 โครงงานทางวิชาชพี 2 3(0-6-3) Project 2 ค้ น ค ว้ า เ พ่ื อ ก า ห น ด หั ว ข้ อ โ ค ร ง ง า น ท า ง น วั ต ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ เอกสารงานวิจัยและการดาเนินงานตามโครงงาน และฝึกปฏิบัติตาม หวั ข้อโครงงาน Research project to determine the topic of educational information technology, document research and implementation projects, practice in accord with the topic and project 02-324-210 ขอ้ มลู ขนาดใหญ่เพือ่ นวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Big Data for Learning Innovation คุณลักษณะของข้อมูลขนาดใหญ่ องค์ประกอบข้อมูลขนาดใหญ่ การคานวณแบบ กระจาย คลาวด์และข้อมูลขนาดใหญ่ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ ฐานข้อมูลการ ปฏิบัติการ รากฐานของฮาดูป หลักการพื้นฐานการทาซ้าข้อมูล เคร่ืองมือและ เทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ การนาข้อมูลขนาดใหญ่ไปใช้งาน โซลูช่ัน ของขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Characteristics of big data; big data component; distributed computing; cloud and big data; big data management; operational database; Hadoop foundation; data replication principles; tools and techniques for big data analytics; big data implementation; big data solution 02-324-307 ปญั ญาประดษิ ฐ์เพอ่ื นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Artificial Intelligent for Learning Innovation หลกั การและผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ วธิ ีการเรยี นรู้ของเคร่อื ง การเรยี นรูเ้ ชิงลึก หลักการและจริยธรรมในการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ แนวทางในการประยุกต์ใช้ ปัญญาประดิษฐ์เพื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติการพัฒนาแอปพลิเคชัน ปัญญาประดิษฐเ์ พือ่ นวัตกรรมการเรียนรู้ Artificial Intelligent principle and impacts, machine learning, deep learning, principles and ethics in the development of artificial intelligence, guidelines for applying artificial intelligence for learning innovation, practice in developing artificial intelligence applications for learning innovation
56 02-324-308 การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ 3(2-2-5) Object Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุพ้ืนฐาน ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ชนิด ขอ้ มูลแบบนามธรรมในการเขยี นโปรแกรมเชิงวตั ถุ วัตถุ คลาส แอททรบิ ิว เมทอดและ เมทอดโอเวอร์โหลด คอนสตัคเตอร์ ดีสตัคเตอร์ การห่อหุ้มข้อมูลและการซ่อนข้อมูล การทาคสาสคอมโพสิช่ัน การสืบทอด โพลีมอร์ฟริซึม อินเทอเฟส การนากลับมาใช้ ใหม่ Introductory object oriented programming and language; abstract data types in object oriented programming; objects; classes; attributes; methods and method overloading; constructor and destructor; encapsulation and information hiding; class composition; inheritance; polymorphism; interface; reuse 02-323-402 อนิ เทอร์เน็ตของสรรพสงิ่ เพอ่ื นวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Internet of Things for Learning Innovation หลักการของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งเพ่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ เซนเซอร์ อุปกรณ์ อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง วิธีการติดต้ังแพลตฟอร์มของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง แพลตฟอร์มเครือข่ายสาหรับอินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง การเขียนโปรแกรมบอร์ด ไมโครคอนโทรลเลอร์ การเขียนโปรแกรมภาษาซี การเช่ือมต่ออุปกรณ์ผ่าน โพรโตคอลสาหรับอินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง การนาเสนอข้อมูลด้วยภาพบน แพลตฟอรม์ ของอนิ เทอร์เน็ตของสรรพสง่ิ Principles of Internet of Things for learning innovation, sensors, Internet of Things devices, set up Internet of Things platfor, networking platform for Internet of Things, micro-controller board programming, connecting devices through Internet of Things protocols, visualizing data on Internet of Things platform
57 02-324-211 ระบบความเปน็ จรงิ เสมือนเพือ่ ประสบการณ์เรียนรู้ 3(2-2-5) Virtual Reality Systems for Learning Experience ความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับระบบเสมือนจริง เทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งานระบบ เสมือนจริงเพื่อสร้างประสบการณ์เรียนรู้ ทฤษฏีระบบเสมือนจริง รูปแบบ เทคโนโลยีเสมือนจริง เช่น Virtual Reality (VR) เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality (AR) และเทคโนโลยีผสมผสานโลกจริง Mixed Reality (MR) หลักการสร้างสภาพแวดล้อมเสมือนและสภาพแวดล้อมคอมพิวเตอร์ โหมด การโต้ตอบ การทาใหเ้ คล่อื นไหวในสภาพแวดลอ้ มเสมือน การจาลองกายภาพ และ ปัจจัยของมนุษย์ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบเสมือน รวมท้ัง เคร่อื งมือในการพฒั นาการประยกุ ตใ์ ช้งานระบบเสมอื นเพือ่ ประสบการณเ์ รยี นรู้ Basic knowledge about virtual systems technology and virtual reality system applications to create learning experiences virtual theory for instance Virtual Reality (VR), Augmented Reality (AR) and Mixed Reality ( MR) , principles of creating virtual environment and computer environment interactive mode animation in a virtual environment physical simulation and human factors, hardware and software related to virtual systems Including tools for developing virtualized applications for a learning experience 02-324-212 การพฒั นาเกมเพอื่ การเรยี นรู้ 3(2-2-5) Gamification for Learning ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์และปฏิบัติเก่ียวกับความรู้เบื้องต้นในการออกแบบส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ประเภทเกม การวางแผนการออกแบบ การร่างแบบ และการ เลือกใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับความคิดสร้างสรรค์ให้ ศึกษาและ วิเคราะห์ด้วยกระบวนการ ศึกษาค้นคว้าและสัมมนา พร้อมท้ังการรายงานและ นาเสนอร่วมกัน Studying, analyzing and practicing basic knowledge in designing electronic games. planning, design, drafting and selection of computer programs for creative thinking, study and analyze by process research and seminar including reporting and presentation together
58 02-324-309 เทคโนโลยีความเป็นจรงิ เสรมิ เพ่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Augmented Reality Technology for Learning Innovation หลักการของเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม การวเิ คราะห์ภาพ การคานวณตาแหน่ง เชิง 3 มิติ หลักการสร้างโมเดล 2 มิติ และ 3 มิติ กับงานความเป็นจริงเสริม หลักการสร้าง AR มาร์คเกอร์ การทางานกับเออาร์เอนจิน การจับความเคล่ือนไหว เทคนิคการปฏิสัมพันธ์ และการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ เช่น เกมความเป็นจริง เสรมิ บนอุปกรณเ์ คลอ่ื นที่ Principle of augmented reality technology image analysis 3 D position calculation principles of 2 D and3 D modelling with augmented reality principles of AR’ s markers working with AR engine motion capture principles interaction techniques and creating learning innovations such as augmented reality games on mobile devices 02-324-403 การสร้างภาพเคลอ่ื นไหว 3 มติ ิ 3(2-2-5) 3D Animation หลักการสร้างภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ การสร้างโครงสร้างการเคล่ือนไหว การจัดแสง การจัดมุมมองและกล้อง หลักการสร้างวัตถุและตัวละครให้เคลื่อนไหว หลักการ ถ่ายทอดบุคลิก อารมณ์ให้กับตัวละคร เพ่ือการเคลื่อนไหวให้เหมาะสมกับตัวละคร การควบคุมการเคลื่อนท่ีโดยหลักการทางฟิสิกส์ การใช้งานของ ข้อต่อ Joint กระดกู การใช้เทคนิค Rigging Invert Kenimatic (IK) Forward Kenimatic Principles of creating 3D animation, creating motion structure, lighting, perspective viewing, and camera principles for creating objects and characters for animation principles of personality expressing emotions for the characters for proper motions for each character physics principles for motion control the use of joints and bones the use of rigging techniques for character movement by using inverse/ forward kinematics and custom rigging
59 02-324-310 พฤตกิ รรมองคก์ ารและการจัดการความรู้ 3(2-2-5) Organizational Behavior and Knowledge Management การวิเคราะห์พฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มอย่างครบถ้วน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ เข้าใจถึงวิธีการท่ีองค์กรสามารถมีส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและในเวลา เดียวกันจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตการทางานของพนักงาน หัวข้อ ได้แก่ แรงจูงใจพฤติกรรมการให้รางวัลความเครยี ดพฤติกรรมบุคคลและกลมุ่ ความขัดแยง้ อานาจและการเมืองความเป็นผู้นาการออกแบบงานโครงสร้างองค์กรการตัดสินใจ การสื่อสารและการเปล่ียนแปลงและการพัฒนาองค์กร การจัดการความรู้เบ้ืองต้น และการเข้าใจถึงคุณค่าของการจัดการความรู้ในองค์กร การสร้างความรู้ความ เข้าใจและสร้างความรู้ในองค์กรความสาคัญของทีมจัดการความรู้และการสร้าง องค์กรแห่งการเรียนรู้ การแบ่งปันความรู้ในชุมชน ความท้าทายท่ีเผชิญในการ จดั การความรู้ Comprehensive analysis of individual and group behavior in organizations. Its purpose is to provide an understanding of how organizations can be managed more effectively and at the same time enhance the quality of employees work life, topics include motivation, rewarding behavior, stress, individual and group behavior, conflict, power and politics, leadership, job design, organizational structure, decision- making, communication and organizational change and development introduction to knowledge management and to understand the value of knowledge management in organizations. How knowledge is generated, captured and codified in organizations The importance of the knowledge managing teams and building a learning organization. knowledge sharing across communities the challenges faced in knowledge management
60 02-324-311 เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่อื การพฒั นามนุษย์ 3(3-0-6) Digital Technology for People Development แนวคิดการจัดการและการพัฒนามนุษย์ กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ของมนุษย์ ระบบสารสนเทศเพื่อทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการพัฒนามนุษย์ใน องคก์ ร Principle of people management and development, development process of People Learning, HRIS and digital technology for people development in organization 02-324-404 เทคนิคการเปน็ กระบวนกร 3(2-2-5) Facilitator Technique ความรู้ท่ีจาเป็นเก่ียวกับเทคนิคการฝึกอบรม และการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม สมรรถนะของกระบวนกร การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการในองค์กรที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทุนมนุษย์ การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย การสร้างความ เชอ่ื ม่ันในตนเอง ศิลปะการพูดและการพฒั นาบคุ ลิกภาพ ภาวะการเป็นผนู้ า เทคนิค การบรรยาย เทคนิคการใช้คาถาม คาตอบ เทคนิคการสร้างแรงจูงใจ การ จัดรูปแบบกิจกรรมการอบรม การสร้างบรรยากาศในการฝึกอบรม วิธีการสร้าง กจิ กรรมสัมพันธ์ Essential knowledge about training techniques and participatory learning, competency of facilitator, ฟnalysis of problems and needs in organizations related to human capital development, target group analysis, building self confidence, art of speech and personality development, leadership, presenting techniques, techniques for using questions, answers, motivation techniques, formatting of training activities, creating a training atmosphere, methods of building relationship
61 02-324-405 นวัตกรรมสาหรบั ผูถ้ ่ายทอดองคค์ วามรู้ 3(2-2-5) Innovation for Knowledge Transferer ศึกษาหลักการท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ กระบวนการการฝึก ฐานสมรรถนะ หลักการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการจัดการถ่ายทอดองค์ ความรู้ การใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ทเี่ กย่ี วข้องกับการถา่ ยทอดองคค์ วามรทู้ ุกรูปแบบท้ังแบบ อัตโนมัติ ก่ึงอัตโนมัติและแบบพื้นฐาน หลักการเลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็น เคร่ืองมือพัฒนาแหล่งความรู้ที่เหมาะสม หลักการส่ือสารภายในองค์กร หลักการ ประเมินคุณภาพ และ ประสิทธิภาพของนวัตกรรมการเรียนรู้ หลักการวัดและ ประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้ Study the principles related to the process of knowledge transfer, process for competency base training, principles of design and development of innovative knowledge transfer management, the use of materials related to the transfer of all forms of knowledge both automatic and semi- automatic, basic principles of selecting digital technology as a tool to develop appropriate knowledge sources, principles of internal communication, principles for evaluating the quality and efficiency of learning innovations, principles of measuring and evaluating learning outcomes 02-324-213 ความรเู้ บอื้ งตน้ การจดั การธรุ กิจและนวัตกรรม 3(3-0-6) Fundamentals of Business and Innovation ลักษณะพื้นฐานของธุรกิจและนวัตกรรม องค์ประกอบสาคัญที่ใช้ในการประกอบ ธุรกิจและการจัดการนวัตกรรม ได้แก่ การจัดการ การบัญชี การเงิน การตลาด การบริหารงานบคุ คล และการบริหารสานักงาน ตลอดจนปญั หาท่ีเกี่ยวข้องในการ ดาเนนิ ธุรกิจ รวมทัง้ จรรยาบรรณของนักธรุ กจิ Basic characteristics of business and innovation, key components used in business operations and innovation management such as management, accounting, finance, marketing, personnel management and office administration as well as problems related to business operations Including business ethics
62 02-324-312 การพาณชิ ย์และการตลาดดจิ ิทลั 3(2-2-5) Digital Commerce and Marketing ลักษณะของการตลาดดิจิทัลในประเทศและระหว่างประเทศ การวิเคราะห์สภาพ ทางการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของการตลาด พฤติกรรมผู้บริโภค การวิจัยตลาด กระบวนการเลือกตลาด การกาหนดและควบคุมส่วนผสมทางการตลาดสาหรับ สินค้านวัตกรรม กลยุทธ์ทางด้านการตลาดเชิงนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนา ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางธุรกิจ และการตลาดอเิ ล็กทรอนิกส์ Characteristics of domestic and international digital market, analysis of political, social and economic environments in market perspective, consumer behaviour, market research developing business, market selection process, planning and controlling on marketing mix for innovative products, innovative marketing strategies for developing competitiveness and electronic marketing 02-324-406 การเป็นผปู้ ระกอบการสาหรบั ธุรกจิ นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Entrepreneurship for Learning Innovation Business คุณลักษณะของผูประกอบการสาหรับธุรกิจนวัตกรรมการเรียนรู้ ทักษะท่ีจาเป็น ของผูประกอบการ การพัฒนาและประเมินโอกาสของการประกอบการธุรกิจ นวัตกรรมการเรยี นรู้ บทบาทและความรบั ผิดชอบของผูรวมลงทุนในการสรางธุรกิจ ใหม การพัฒนาแผนสาหรับธุรกิจใหม กระบวนการการสรางธุรกิจใหม จริยธรรม ของการเปนผูประกอบการ ประเด็นอน่ื ท่ีสาคัญในการจัดการการประกอบการ skills for entrepreneurs, developing and evaluating entrepreneurial for Learning Innovation opportunities, roles and responsibilities of venture capitalists in creating new ventures, developing plan for new ventures, processes of new venture creation, other important issues in entrepreneurial management, ethics of entrepreneurship
63 02-324-407 พาณชิ ยกรรมเทคโนโลยสี าหรบั นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Technology Commercialization for Learning Innovation ความต้องการเทคโนโลยีและการเปล่ียนแปลงเชิงเทคโนโลยีนวัตกรรมการเรียนรู้ เชิงเทคโนโลยี โอกาสและความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ของเทคโนโลยีสาหรับ นวตั กรรมการเรียนรู้ แผนท่ีเหมาะสมสาหรับการค้าเทคโนโลยีนวัตกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สัญญาท่ีเกี่ยวข้องในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการ ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา The needs of technology and technological changes, technological learning innovation, technology opportunities and commercial viability of technology for learning innovation, appropriate learning innovation technology commercialization plans, product development, contracts relation to technology transfer intellectual property management
64 02-000-301 การเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสาคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การ เลอื กสถานประกอบการ หลักการสมั ภาษณง์ านอาชีพ วฒั นธรรมองคก์ ร การพัฒนา บุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การ ประกันสงั คม กจิ กรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคณุ ภาพและความปลอดภัย ในการทางาน ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ การใช้งาน ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร การเขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน ทักษะการ วางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสบื คน้ ขอ้ มูล Basic knowledge of forms and process of professional experience, importance of professional experience, application letters preparation, workplace selections, job interview, organizational culture, personality development, professional morality, virtue ethics, labor laws, social security, 5S’ s Keys, systems of quality assurance and safety standards at work, English communication in the workplace, report writing, presentations, planning skills, analytical skills, immediate problem solving skills, decision making, basic concepts of information technology, IT laws, and information retrieval หมายเหตุ: การประเมนิ ผลเปน็ S และ U
65 02-000-302 สหกจิ ศกึ ษา 6(0-40-0) Cooperative Education วชิ าบงั คับก่อน : 02-000-301 การเตรียมความพรอ้ มฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานที่ ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ของนักศึกษา เพ่ือเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบตั ิงาน ท้ังรูปแบบของงาน ประจาหรือโครงงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบ การบริหารงานบคุ คลของสถานทปี่ ฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน มหี น้าท่ี รับผิดชอบแน่นอน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมายจากสถาน ประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้ คาปรึกษาระหวา่ งปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่าง เป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน ทาให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงจาก การปฏิบัติงาน เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความพร้อมในการทางาน และ สามารถทางานได้ทันทหี ลงั สาเร็จการศึกษา Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 16- week minimum of placement in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, an opportunity to enhance a student’ s in- school learning while developing greater awareness and understanding of the real world of work to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment immediately after graduation หมายเหต:ุ การประเมินผลเป็น S และ U
66 02-000-303 สหกิจศกึ ษาตา่ งประเทศ 6(0-40-0) International Cooperative Education วิชาบังคบั ก่อน : 02-000-301 การเตรียมความพร้อมฝึก ประสบการณว์ ชิ าชพี Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานท่ี ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศกึ ษา เพ่ือเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน ทั้งรูปแบบของงานประจาหรอื โครงงาน เป็นระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานใน ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานท่ีปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีหน้าที่รับผิดชอบแน่นอน นักศึกษา ต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มี อาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและ การประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏบิ ัติงาน ทาให้นักศกึ ษา ได้รับประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงาน เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความพร้อมใน การทางาน และสามารถทางานไดท้ นั ทหี ลงั สาเร็จการศกึ ษา Practice in a workplace as a temporary full- time employee in a relevant position that suits a student’ s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 16- week minimum of placement, with at least 12- week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, an opportunity to enhance a student’ s in- school learning while developing greater awareness and understanding of the real world of work to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment immediately after graduation หมายเหต:ุ การประเมนิ ผลเป็น S และ U
67 02-000-304 ฝึกงาน 3(0-20-0) Apprenticeship วชิ าบังคบั ก่อน : 02-000-301 การเตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลาของ สถานท่ีปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพื่อเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็น ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานท่ีปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานที่ ได้รบั มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเตม็ ความสามารถ มีอาจารยน์ ิเทศและ ผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการ เตรียมนกั ศึกษาสงู่ านท่นี กั ศึกษาสนใจและพฒั นาทักษะวชิ าชีพสาหรบั การทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8- week minimum of placement in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ: การประเมนิ ผลเปน็ S และ U
68 02-000-305 ฝกึ งานตา่ งประเทศ 3(0-20-0) International Apprenticeship วิชาบังคับกอ่ น : 02-000-301 การเตรียมความพรอ้ มฝึก ประสบการณว์ ิชาชพี Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการนอกประเทศ เสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็ม เวลาของสถานที่ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับ ความรู้ความสามารถของนักศึกษา เพ่ือเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎกี ับการปฏิบัตงิ าน เป็นระยะเวลารวมไมน่ ้อยกว่า 8 สปั ดาห์ โดยตอ้ งเป็นการปฏบิ ัติงานในต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานท่ี ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับ มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้ นิเทศงานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพ่ือเป็นการ เตรยี มนักศกึ ษาสู่งานที่นกั ศกึ ษาสนใจและพฒั นาทกั ษะวิชาชพี สาหรบั การทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8- week minimum of placement, with at least 6- week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ: การประเมนิ ผลเป็น S และ U
69 02-000-306 ปัญหาพิเศษจากสถานประกอบการ 3(0-6-3) Workplace Special Problem วชิ าบงั คับกอ่ น : 02-000-304 ฝกึ งาน หรอื 02-000-305 ฝึกงานต่างประเทศ Pre-requisite :02-000-304 Apprenticeship Or 02-000-305 International Apprenticeship การนาโจทย์ปัญหาท่ีได้จากสถานประกอบการ ท้ังภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ รัฐบาล หรอื ชุมชน ท่ีนักศึกษาไดอ้ อกทาการฝึกประสบการณ์ ทัง้ ในรปู แบบของการฝึกงาน ปฏิบัติงานภาคสนาม หรืออ่ืนๆ เพื่อนามาศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้ความรู้ทางด้าน วชิ าชีพของนกั ศึกษา มาทาการประยกุ ตห์ าวธิ ี การแกป้ ญั หา การพฒั นาวธิ กี าร หรือ กระบวนการ โดยจัดทาตามรูปแบบของโครงงาน โดยมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญใน สาขาวิชาให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษา โดยมีส่วนร่วมจากบุคลากรของ สถาน ประกอบการหรือชมุ ชนน้นั Analysis of problems a student gains during his or her apprenticeship, amid fieldwork, or in other activities while undertaking a job training course in a private sector, a state enterprise, a government agency, or a community placement, use of a student’ s in- school learning and transitions to professional applications of resolution skills and method and process development skills through a research project under supervision of an academic expert in the field in cooperation with a cooperative education coordinator from the workplace หมายเหตุ: การประเมินผลเปน็ S และ U
70 02-000-309 ปฏิบตั งิ านภาคสนาม 2(0-6-3) Fieldwork การให้นักศึกษา เข้าไปสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมในการทางานเป็นระยะเวลา ส้ัน ๆ ต่อเน่ืองตลอดภาคการศึกษา มีการกาหนดเน้ือหาการปฏิบัติงานภาคสนามท่ี สอคคล้องกับสาขาวิชาชีพ และเหมาะสมกับความรู้ภาคทฤษีของนักศึกษาตามแต่ ละช้ันปี ทั้งนี้ต้องมีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาผู้เรียนด้านความปลอดภัย การ ป้องกันโรคติดตอ่ หรือข้อพึงระวัง ก่อนปฏิบัติงานภาคสนาม เปิดโอกาสให้นักศึกษา ไ ด้ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ค ว า ม รู้ ภ า ค ท ฤ ษ ฎี จ า ก ชั้ น เ รี ย น กั บ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ภ า ย ใ ต้ สภาพแวดลอ้ มจรงิ โดยอาจการนาวธิ กี ารเรยี นร้ใู นลกั ษณะของ การเรียนโดยใช้งาน เป็นฐาน การเรียนจากสภาพสังคม การเรียนด้วยการให้บริการชุมชน หรือรูปแบบ อื่น มีการประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะท้ังระหว่างและส้ินสุดการปฏิบัติงาน ภาคสนาม มีการนาเสนอท้ังในรูปแบบของรายงานหน้าช้ันเรียน และรูปแบบ รายงาน Observation of and short- term participation in a working setting throughout a certain semester, appropriate content for fieldwork operation in line with professional studies and a student’ s academic knowledge level, preparation for a student of safety assurance, workplace health control, and placement precautions all in a workplace before doing fieldwork, exposure of applications of theories and principles learned in the classroom to work in a field setting, knowledge and new skills while performing a task in a community workplace via work-base learning, community learning, service learning, or other frameworks, evaluation of a student during and at the end of a fieldwork term through a research project presentation and academic paper หมายเหตุ: การประเมนิ ผลเปน็ S และ U
71 02-000-310 การติดตามพฤติกรรมการทางาน 2(0-6-3) Job Shadowing การกาหนดให้นักศึกษาเพอื่ เข้าไปสังเกตพฤติกรรมของการทางานของบคุ คล โดยมี การกาหนดผู้ท่ีเข้าไปสังเกตพฤติพกรรมการทางาน และต้องมีการเตรียมความ พร้อมนักศึกษา ก่อนการติดตามพฤติกรรมการทางาน เช่น แผนการติดตาม กิจกรรมที่ต้องติดตาม เป็นต้น นักศึกษาสามารถเรียนรู้หรือติดตามพฤติกรรมการ ทางานของผู้ที่เข้าไปสังเกตพฤติพกรรมการทางาน ได้โดยการสังเกต การพูดคุย และการทางานร่วมกับผู้ท่ีเข้าไปสังเกตพฤติพกรรมการทางาน ประเมินผลด้วยการ สะท้อนความคิด ทั้งตัวนักศึกษาเอง นักศึกษาด้วยกันเองและกับอาจารย์ในรูปของ การสนทนากลุ่มย่อย โดยอาจเชิญผู้ท่ีเข้าไปสังเกตพฤติพกรรมร่วมการสนทนากลุ่ม ยอ่ ย เพ่ือแลกเปล่ยี นประสบการณ์ โดยมกี ารนาเสนอทง้ั ในรูปแบบของรายงานหน้า ช้นั เรยี น และรูปแบบรายงาน Observation of people in a working community for day-to-day activities as they perform their regular job duties, preparation for cooperative education strategies before a shadowing process, such as of a follow- up of professional plans and agendas, insight into a particular career for career awareness and exploration through workplace observation, talks, cooperation involvements, assessment of thought reflection of a student, among peers, and with a cooperative education teacher in the course through focus group discussions, invitation for observers to join the discussions for exchanges of workplace experience, evaluation on both a research project presentation and academic paper หมายเหต:ุ การประเมนิ ผลเปน็ S และ U
72 02-000-311 การฝกึ เฉพาะตาแหน่ง 3(0-16-8) Practicum การฝึกตรงตามสาขาวิชาชีพของนักศึกษา ในสถานที่ปฏิบัติงานเป็นระยะเวลานาน เพียงพอ นักศึกษาสามารถเรียนควบคู่กับการทางาน เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและ สมรรถนะตามวิชาชีพ การฝึกเฉพาะตาแหน่งต้องเหมาะสมกับความรู้ทางทฤษฎี ตามช้นั ปขี องนักศึกษา และสามารถดาเนินการควบคู่กับการเรียนในชน้ั ปที ี่สูงขึ้น มี การเตรียมความพร้อมนักศึกษาเบ้ืองต้นเก่ียวกับทักษะที่จาเป็นต่อการทางาน มีผู้ นิเทศงาน ผู้สอน หรอื ครูฝกึ ใหค้ าปรึกษาและติดตามความก้าวหน้าของนกั ศกึ ษา มี การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่างการฝึก ทั้งกับนักศึกษาด้วยกันเองและกับผู้ นิเทศงาน ผู้สอน หรือครูฝึก มีการประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะท้ังระหว่างการฝึก และเม่ือส้ินสุดการฝึก มีการนาเสนอทั้งในรูปแบบของรายงานหน้าชั้นเรียน และ รปู แบบรายงาน Exposure of a student to his or her professional role by completing sufficient hours in the field of his or her academic curriculum and by applying and sharing the knowledge that he or she has gained from his or her academic studies, an appropriate placement or practicum for a student’ s academic knowledge level, course completion possible during his or her progress to a higher year in his or her university study, basic preparation for a student of necessary working skills under supervision and follow-up of a cooperative education coordinator form a workplace, exchanges of workplace setting experience during a placement or practicum among peers and between a supervisor and a student, evaluation of a student both during and after a placement or practicum through a research project presentation and academic paper หมายเหต:ุ การประเมนิ ผลเปน็ S และ U
73 02-000-312 การฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ ภายหลังสาเร็จการเรยี นทฤษฎี 6(0-40-0) Post-course Internship วชิ าบงั คับกอ่ น : 02-000-301 เตรียมความพร้อมฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience การฝึกปฏบิ ตั หิ ลังจากการเรียนภาคทฤษฎีครบตามหลักสูตรแลว้ หรอื เกือบครบตาม หลักสูตร ในสถานที่ปฏิบัติงาน มีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาท้ังทักษะทางด้าน วิชาการและทักษะที่จาเป็นต่อการทางาน ท้ังน้ีอาจเป็นการฝึกปฏิบัติควบคู่กับการ เรียนในสถานศึกษา เน้นการฝึกปฏิบัติงานประจาหรือโครงงานท่ีตรงตามสาขา วชิ าชีพ ผู้เรียนมีการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ ทั้งระหว่างการฝึกและเม่ือสิ้นสุดการ ฝึกกับผู้เรียนด้วยกันเองและกับผู้สอน ประเมินผลเม่ือสิ้นสุดการฝึกทั้งการส่ง รายงานและการนาเสนอผลงาน มีการนาเสนอท้ังในรูปแบบของรายงานหน้าช้ัน เรียน และรูปแบบรายงาน Practice in a workplace after or almost after completion of theoretical studies of a curriculum, preparation for necessary academic and professional skills to practical working situations, probably during the university studies, focus on a full- time placement or a relevant professional project, exchanges of professional reflection during and at the end of an internship among peers and with a cooperative education teacher, evaluation of a student at the end of an internship through a research project presentation and academic paper หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S และ U
74 4.3 ชอื่ -สกลุ ตาแหนง่ และคณุ วุฒขิ องอาจารย์ 4.3.1 อาจารย์ประจาหลกั สูตร ชื่อ-นามสกุล ภาระการสอน ชม./สัปดาห/์ ปกี ารศึกษา ลาดับ ตาแหน่งวิชาการ ผลงานวิชาการ คณุ วฒุ ิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 12 12 12 12 ชื่อสถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศึกษา 12 12 12 12 1 นางสาวปิยนันท์ ปานน่มิ * Pannim, P., Suwannatthachote, P. and 12 12 12 12 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (เทคโนโลยกี ารศึกษา) Numprasertchai, S. (2018). Investigation 12 12 12 12 ปร.ด. (ธรุ กิจเทคโนโลยแี ละการจัดการนวตั กรรม), of Instructional Design on Reading 12 12 12 12 จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2562 Comprehension Affect the Demand for วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), Mobile Application for Students with มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร,์ 2554 Learning Disabilities. Proceedings of the ค.ม. (โสตทศั นศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 2018 2nd International Conference on บธ.บ. (คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ), สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, Education and E-Learning - ICEEL 2545 2018, Bali, Indonesia, pp.104-108. 2 นายวเิ ชษฐ์ พลายมาศ Plaimart, W. and Tangwannawit, S. (2016). อาจารย์ The Development of Occupational ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี Competency Analytical Standard Model พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2558 using Prototyping Functional Analysis พบ.ม. (สถติ ปิ ระยกุ ต์ คอมพิวเตอร์), สถาบันบัณฑติ พัฒ (FPA). International Journal of Applied นบรหิ ารศาสตร,์ 2538 Computer Technology and Information พธ.บ. (ปรชั ญา-ตรรกศาสตร)์ , มหาจฬุ าลงกรณร์ าช Systems. Volume 6 (1). October 2016 – วิทยาลยั , 2533 March 2017. pp.1-6. 3 นางสาวมธุรส ผ่านเมือง Panmuang, M. And Tangprasert, S. (2019). อาจารย์ Authentication and Authorization System. ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี In The 7th International Conference on พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2560 Robotics, Informatics, and Intelligence วท.ม. (เทคโนโลยีการจดั การระบบสารสนเทศ), control Technology (RIIT2019), 13-15 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, 2553 December 2019 Bangkok, Thailand, ศ.บ. (บรหิ ารธรุ กจิ ), สถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเด็จ pp.52-57. เจ้าพระยา, 2544 4 นายวรพันธ์ สาระสรุ ีย์ภรณ์ Waraphan Sarasureeporn, Jaturapith อาจารย์ Krohkaew, Pongpon Nilaphruek, Niti M.Sc. (Electrical Engineering), Leibniz University Witthayawiroj and Wichet Plaimart. Hannover, Germany, 2550 (2019). The Development of Computer วท.บ. (วิทยาการคอมพวิ เตอร์สถาบันเทคโนโลยรี าช Skill and Information Technology มงคล, 2541 Examination Framework for RMUTT Students. In The E-Learning Forum Asia 2019 (eLFAsia), 29-31 May 2019 Bangkok, Thailand, pp.71-75 5 นายกิติภมู ิ วิภาหสั น์ Plaimart, W., Pikulthong, M., Vipahasna, K., อาจารย์ Pannim, P., & Rangrongratana, R. (2019). Ph.D. (Information Communications and Innovative Ecosystem for Human Capital Technologies), Asian Instituted of Technology, Development to Drive the Digital Economy in 2562 Industrial Areas in Thailand. Proceeding of M.S. (Computer and Information Science), University The International Conference on Science of South Australia, South Australia, Australia, 2544 and Technology (2019 TICST). 22-24
75 วท.บ. (วิทยาการคอมพวิ เตอร์), สถาบันเทคโนโลยีราช November 2019 National Pingtung University มงคล, 2540 Taiwan, PP.54 – 60. หมายเหตุ * ประธานหลกั สูตร ผลงานวชิ าการ 4.3.2 อาจารย์ผ้สู อน Pannim, P., Suwannatthachote, P. and Numprasertchai, S. (2018). Investigation of ชื่อ-นามสกุล Instructional Design on Reading ภาระการสอน ชม./สปั ดาห์/ Comprehension Affect the Demand for ปีการศกึ ษา ลาดับ ตาแหนง่ วิชาการ Mobile Application for Students with คณุ วฒุ ิ – สาขาวชิ า Learning Disabilities. Proceedings of the 2563 2564 2565 2566 2018 2nd International Conference on 12 12 12 12 ช่ือสถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเร็จการศกึ ษา Education and E-Learning - ICEEL 2018, Bali, Indonesia, pp.104-108. 12 12 12 12 1 นางสาวปยิ นันท์ ปานนิม่ Plaimart, W. and Tangwannawit, S. (2016). The Development of Occupational 12 12 12 12 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) Competency Analytical Standard Model using Prototyping Functional Analysis 12 12 12 12 ปร.ด. (ธุรกิจเทคโนโลยีและการจดั การนวตั กรรม), (FPA). International Journal of Applied Computer Technology and Information จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2562 Systems. Volume 6 (1). October 2016 – March 2017. pp.1-6. วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), Tangprasert, S., and Panmuang, M. (2019). Authentication and Authorization System. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2554 In The 7th International Conference on Robotics, Informatics, and Intelligence ค.ม. (โสตทัศนศึกษา), จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2549 control Technology (RIIT2019), 13-15 December 2019 Bangkok, Thailand, pp.52- บธ.บ. (คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ), สถาบันเทคโนโลยีราช 57. มงคล, 2545 Jaturapith Krohkaew, Pongpon Nilaphruek, Waraphan Sarasureeporn,Niti 2 นายวิเชษฐ์ พลายมาศ Witthayawiroj and Wichet Plaimart. (2019). The Development of Computer Skill and อาจารย์ Information Technology Examination Framework for RMUTT Students. In The E- ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี Learning Forum Asia 2019 (eLFAsia), 29-31 May 2019 Bangkok, Thailand, pp.71-75. พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2558 พบ.ม. (สถติ ิประยุกต์ คอมพวิ เตอร์), สถาบนั บณั ฑติ พัฒ นบริหารศาสตร,์ 2538 พธ.บ. (ปรัชญา-ตรรกศาสตร)์ , มหาจุฬาลงกรณร์ าช วิทยาลัย, 2533 3 นางสาวมธรุ ส ผ่านเมือง อาจารย์ ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2560 วท.ม. (เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ), มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553 ศ.บ. (บริหารธุรกจิ ), สถาบนั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา, 2544 4 นายวรพันธ์ สาระสุรยี ์ภรณ์ อาจารย์ M.Sc. (Electrical Engineering), Leibniz University Hannover, Germany, 2550 วท.บ. (วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์), สถาบนั เทคโนโลยีราช มงคล, 2541 5 นางสาวนวพรรษ จันทร์คา นวพรรษ จันทร์คา และเกียรตศิ ักด์ิ พันธล์ าเจียก. 12 12 12 12 (2562). การพฒั นาคอรส์ แวรเ์ พ่ือการเรียนรแู้ บบยู อาจารย์ บิควติ ัสทม่ี ตี อ่ ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ด้านการคดิ สรา้ งสรรค์ในระดบั อุดมศกึ ษา. ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา), วารสารวชิ าการนวัตกรรมสอื่ สารสังคม. 7(1). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2547 เดอื นมกราคม-มถิ ุนายน 2562. น. 104-112. ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา), มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หม่บู า้ นจอมบึง ราชบุรี, 2538
76 ชื่อ-นามสกลุ ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ ลาดับ ตาแหนง่ วิชาการ ผลงานวิชาการ ปีการศึกษา คุณวุฒิ – สาขาวชิ า 2563 2564 2565 2566 ช่ือสถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเร็จการศึกษา 6 นายกติ ิภูมิ วิภาหัสน์ Plaimart, W., Pikulthong, M., Vipahasna, K., 3333 อาจารย์ Pannim, P., & Rangrongratana, R. (2019). Ph.D. (Information Communications and Innovative Ecosystem for Human Capital Technologies), Asian Instituted of Technology, Development to Drive the Digital Economy in 2562 Industrial Areas in Thailand. Proceeding of The M.S. (Computer and Information Science), International Conference on Science and University of South Australia, South Australia, Technology (2019 TICST). 22-24 November Australia, 2544 2019 National Pingtung University Taiwan, วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร์), สถาบนั เทคโนโลยีราช PP.54 – 60. มงคล, 2540 7 นางสาวปริญญา บรรณเภสัช Bunnaphesut, P. (2016). Development of 3 3 3 3 อาจารย์ an Effective Electronic Learning for ศษ.ด. (เทคโนโลยกี ารศึกษา), University, International Journal of มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2557 Education Science and Research. pp.115- วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม, 121. 2547 บธ.บ. (คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ), มหาวิทยาลยั ศรีปทุม, 2542 8 นางวาสนา ศิลปร์ งุ่ ธรรม วาสนา ศิลป์ร่งุ ธรรม. (2561). พฤติกรรมการ - 33 - อาจารย์ ปรับตวั ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นของธรุ กจิ โล ปร.ด. (บรหิ ารธรุ กิจ), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราช จสิ ติกส์และภาคการคา้ . วารสารดษุ ฎบี ัณฑิตทาง มงคลธัญบุรี, 2557 สังคมศาสตร.์ 8 (พิเศษ). น. 242-254. (0.80) บธ.ม. (การจดั การ), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจา้ คุณทหารลาดกระบัง, 2543 วท.บ. (บรหิ ารธรุ กิจเกษตร), สถาบนั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง, 2539 ศ.บ. รฐั ศาสตร์ (บรหิ ารรัฐกิจ), มหาวิทยาลัย รามคาแหง, 2538 9 นางสาวฐิติมา พลู เพชร ฐติ มิ า พลู เพชร, ระชานนท์ ทวีผล และมรกต - 33 - อาจารย์ กาแพงเพชร. (2562). การสร้างอตั ลกั ษณข์ อง ปร.ด. (การจดั การ), มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร, 2561 ผลติ ภัณฑ์เพ่ือยกระดับผลิตภณั ฑ์ชุมชนเพชร ศศ.ม. (จิตวิทยาอตุ สาหกรรมและองคก์ าร), สมุทรคีรโี ครงการเศรษฐกิจชมุ ชนครบวงจร บา้ น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื , เพชรเพลินดิน. วารสารบัณฑติ ศกึ ษา 2556 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม รป.บ (การบรหิ ารงานบคุ คล), ราชูปถัมภ์ . ปีที่ 13 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์, 2540 สงิ หาคม 2562). น. 136-153. 10 นางสาวทศพร แสงสว่าง Sangsawang, T. (2017). Constructivism 3333 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ด้านเทคโนโลยกี ารศกึ ษา) Perspective on Multimedia Games for ปร.ด. (นวตั กรรมการเรียนรู้ทางเทคโนโลยี), Hearing Impaired Children. New Trends มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี, 2553 and Issues Proceedings on Humanities and ศษ.ม. (เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา), Social Sciences, 3(7), pp.100-108. มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช, 2546 คบ. (บรรณารักษศาสตร)์ , สถาบนั ราชภัฎพระนคร, 2539
77 ชื่อ-นามสกุล ภาระการสอน ชม./สปั ดาห์/ ลาดับ ตาแหนง่ วิชาการ ผลงานวชิ าการ ปกี ารศึกษา คณุ วุฒิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 ชือ่ สถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศึกษา 11 นายเทยี มยศ ปะสาวะโน Pasawano, T. (2015). Results of Enhanced 3 3 3 3 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (ดา้ นเทคโนโลยแี ละส่อื สาร Learning with The Edutainment การศึกษา) Format. Procedia-Social and Behavioral ศษ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา), Sciences. 176, pp.946-951. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2553 ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 2545 นศ.บ. (วิทยโุ ทรทศั น)์ , มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช , 2540 12 นายเมธี พกิ ุลทอง Pigultong, M. (2018). Expectations of 3333 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (ดา้ นเทคโนโลยที างการศกึ ษา) Hands-on Instructional Quality in the 21st ปร.ด. (เทคโนโลยเี ทคนคิ ศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั Century Amongst Undergraduate Student: เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2558 A Case Study at RMUTT. Advanced ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา), มหาวทิ ยาลยั เกษตร Science Letters. 24(4), pp. 4507-4510. ศาตร์, 2539 ศษ.บ. (โสตทศั นศกึ ษา), มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง, 2532 12 นายธนะรตั น์ ธนากจิ เจรญิ สขุ ธนะรตั น์ ธนากจิ เจริญสขุ และเยาวลักษณ์ พิพัฒน์ - 3 3 - อาจารย์ จาเรญิ กุล. (2561). การพัฒนาคอร์สแวรแ์ บบใช้ ปร.ด. (เทคโนโลยีการศกึ ษา), มหาวทิ ยาลัยบรู พา, โครงการเป็นฐานเพอ่ื การเรยี นรแู้ บบยูบคิ วิตัส 2555 สาหรับนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี. วารสาร กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา), มหาวทิ ยาลยั ศกึ ษาศาสตร์ปริทัศน.์ ปีท่ี 33 ฉบบั ที่ 2 ศรีนครินวิโวฒ, 2541 (พฤษภาคม – สิงหาคม) น. 87-94. กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ วิโวฒ, 2525 13 นายยงยทุ ธ ศรีแสงออ่ น ธนะรตั น์ ธนากจิ เจริญสขุ , ยงยุทธ ศรแี สงอ่อน, ศิ - 3 3 - อาจารย์ รลิ ักษณ์ อึง้ เจรญิ สุกานต์ และโอบเอือ้ ตอ่ สกุล. ค.อ.ม. (เทคโนโลยเี ทคนิคศกึ ษา), สถาบันเทคโนโลยี พระ (2562). การพัฒนารูปแบบคอร์สแวรเ์ พือ่ การ จอมเกล้าพระนครเหนอื , 2548 เรยี นรู้แบบยูบิควติ สั สาหรับนักศกึ ษา ค.บ. (เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา), สถาบัน ระดบั อดุ มศึกษา. การประชมุ วชิ าการระดับชาติ เทคโนโลยรี าชมงคล, 2507 ด้านนวตั กรรมเพ่ือการเรียนรู้ และส่งิ ประดษิ ฐ์ 2562 ครัง้ ที่ 3. 28 มิถุนายน 2562. ศูนย์ นวตั กรรมและความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธญั บุร.ี น. 139-146. 14 นายปกรณ์เกยี รต์ิ เศวตเมธกิ ุล Sawetmethikul, P. (2019). A Research - 33 - ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ (ดา้ นวิศวกรรมไฟฟ้า) Project for Precision Agriculture D.Eng (Electrical Engineering), Nippon Institute Enhancement: A Water Treatment of Technology, Japan, 2553 Machine using Fine Filtration and วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา้ ), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอม Ultrasonication Techniques, ICIET 2019, เกลา้ พระนครเหนือ, 2548 Pattaya. Thailand. pp.45-59. วศ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์-โทรคมนาคม), สถาบัน เทคโนโลยรี าชมงคล, 2543 ค.อ.บ. (ไฟฟา้ –ไฟฟ้าสื่อสาร), สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลา้ ธนบุรี, 2540
78 ชื่อ-นามสกลุ ภาระการสอน ชม./สัปดาห/์ ปีการศึกษา ลาดับ ตาแหนง่ วชิ าการ ผลงานวิชาการ คุณวฒุ ิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 - 33 - ชื่อสถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเร็จการศึกษา - 33 - 15 นายปองพล นิลพฤกษ์ Nilaphruek, P., Kanchanasatian, K., and - 33 - อาจารย์ Yoosooka, B. (2018). A Prototype of Soil M.Sc. (Computer Science), Asian Institute of Monitoring and Notification System in Technology, 2555 Durian Farm: A Case Study of Bueng Ka วท.บ. (วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์), มหาวทิ ยาลัย Sam, Nong Suea, Pathum Thani. The เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี, 2553 Research Journal of Rajamangala University of Technology Thanyaburi (RJ- RMUTT), Vol.17 No. 1, pp.33-44. 16 นายจตุรพิธ เกราะแก้ว Nilaphruek, P., and Krohkaew, J. (2019). ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ Class Attendance Management System วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพวิ เตอร)์ , สถาบนั เทคโนโลยี พระ using Multiple Conditions. Proc. of จอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง, 2550 eLearning forum Asia 2019, Thailand, pp. วศ.บ. (วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์), สถาบันเทคโนโลยี พระ 60-60. จอมเกล้าเจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง, 2540 17 นายพิเชฐ คณุ ากรวงศ์ Kunakornvong, P. and Sooraksa, P. (2017). อาจารย์ Unified Histogram Equalization for Defect ปร.ด. (เทคโนโลยกี ารบันทึกขอ้ มลู ), สถาบนั เทคโนโลยี Detection on Air Bearing Surfaces. พระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั , 2560 International Journal of Innovative วศ.ม. (วิศวกรรมสารสนเทศ), สถาบนั เทคโนโลยี พระ Computing Information and Control, ICIC จอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั , 2551 International, 13(1), pp.1-21. วศ.บ. (วิศวกรรมสารสนเทศ), สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง, 2548 4.3.3 อาจารยพ์ ิเศษ ตาแหน่ง สถานที่ทางาน ภาควชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณ ลาดบั ชอ่ื -สกุล คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ทหารลาดกระบงั 1 ผศ.ดร.กนั ต์พงษ์ วรรตั นป์ ญั ญา สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 2 ผศ.ดร.ศิริรัตน์ ชานาญรบ พระนคร 3 ดร.อาณตั ิ รตั นถริ กลุ สาขาวิชาระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธุรกจิ คณะบรหิ ารธรุ กจิ และเทคโนโลยี สุวรรณภูมิ 4 ดร.ชนนกิ านต์ รอดมรณ์ สารสนเทศ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ข้อมลู และการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ 5 อ.สรุ ยิ ะ พนิ ิจการ วเิ คราะหเ์ ชิงสถติ ิ ภาควิชาสถติ ิประยกุ ต์ คณะ พระนครเหนอื วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 6 ว่าที่ ร.ต. ดร.องอาจ อ่นุ อนันต์ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาควชิ า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต คณิตศาสตร์ สถิตแิ ละคอมพิวเตอร์ กาแพงแสน คณะศลิ ปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ ทปี่ รึกษาอิสระ ดา้ นระบบงานเทคโนโลยี หา้ งหุ้นส่วนจากดั โอพีเอที สารสนเทศ และหนุ้ สว่ นผจู้ ดั การ
79 5. องคป์ ระกอบเกีย่ วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรอื สหกิจศกึ ษา) จากความต้องการของสถานประกอบการที่เห็นว่าบัณฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ ทางานจริง ดังน้ันหลักสูตรจึงได้กาหนดรายวิชาการฝึกปฏิบัติจริงภายหลังสาเร็จการเรียนทฤษฎี ซ่ึงจะจัดอยู่ ในกลุ่มวิชาเสริมสร้างประสบการณ์ในวิชาชพี แต่ในทางปฏิบัตแิ ล้วมหาวิทยาลยั ฯ มีความต้องการใหน้ ักศึกษา ทุกคนลงทะเบียนรายวิชานี้ เว้นแต่กรณีท่ีนักศึกษามีปัญหาไม่สามารถฝึกในรายวิชาวิชาการฝึกปฏิบัติจริง ภายหลังสาเร็จการเรียนทฤษฎีได้ก็จะเป็นการอนุโลมให้เรียนรายวิชาฝึกงานแทน วิชาการฝึกปฏิบัติจริง ภายหลงั สาเร็จการเรียนทฤษฎี 5.1 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของประสบการณภ์ าคสนาม ความคาดหวงั ในผลการเรียนรปู้ ระสบการณ์ภาคสนามของนกั ศกึ ษา มดี งั นี้ 5.1.1 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณทางวิชาชีพครู และความรบั ผิดชอบในการทางาน 5.1.2 มีทักษะในการปฏบิ ัตงิ านจริงในส่วนทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 5.1.3 เข้าใจหลักการ กระบวนการปฏิบัติงานด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างถอ่ งแท้ เพอื่ การวิเคราะหป์ ัญหาได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 5.1.4 สามารถใชบ้ รู ณาการความรทู้ างดา้ นนวัตกรรมการเรยี นรแู้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื นาไป แกป้ ัญหาหนา้ งานไดอ้ ย่างเหมาะสม 5.1.5 สามารถสอื่ สารกบั กลุ่มคนไดห้ ลากหลาย มีมนษุ ยสัมพนั ธแ์ ละสามารถทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้ 5.1.6 มคี วามกลา้ ในการแสดงออก และนาความคิดสร้างสรรค์ไปใชป้ ระโยชน์ในงานได้ 5.2 ชว่ งเวลา ภาคการศึกษาท่ี 2 ของปกี ารศกึ ษาที่ 4 5.3 การจดั เวลาและตารางสอน จัดเตม็ เวลาใน 1 ภาคการศกึ ษา 6. ขอ้ กาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรอื งานวิจยั นักศึกษาทุกคนต้องทาโครงการทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในรายวิชาหัวข้อ พิเศษทางนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ และรายวิชาการวิจัยทางนวัตกรรมการเรียนรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีหัวข้อที่สอดคล้องกับสาขา และต้องเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อ สร้างนวตั กรรมใหม่ๆ หรือเน้นการแก้ปญั หาท่ีเกิดในภาคอตุ สาหกรรมและสถานประกอบการ โดยใช้หลักการ ทางทฤษฎีอ้างอิง และเมื่อโครงการเสร็จสิ้นสามารถนาไปใช้งานได้จริง และมีการสอบวัดความรู้พร้อมกับ รายงานท่ีตอ้ งนาสง่ ตามรูปแบบ ระยะเวลาตามที่หลักสตู รกาหนด 6.1 คาอธบิ ายโดยย่อ โครงการทางนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนักศึกษาสนใจ ที่ได้รับความเห็นชอบ จากอาจารย์ท่ีปรึกษา ซ่ึงสามารถอธิบายทฤษฎีและหลักการท่ีนามาใช้ในการทาโครงการ วัตถุประสงค์ ขอบเขต ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับจากการทาโครงการ ท่ีสามารถทาเสร็จภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
80 6.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ใหน้ ักศกึ ษาสามารถ 6.2.1 วางแผน กาหนดกรอบแนวคดิ และวธิ ดี าเนนิ งานในการทาโครงการทางวชิ าการอยา่ งเปน็ ระบบ ไดด้ ว้ ยตนเอง 6.2.2 ดาเนินโครงการทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โดยใช้ความรู้ท้ังภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ดุลยพินิจ เทคนิควิจัยหรือเทคนิคคานวณ และการวิเคราะห์ เพ่ือหาข้อสรุปท่ีสมบูรณ์ที่ขยาย องคค์ วามรูเ้ ดมิ หรือแนวทางปฏบิ ตั ิได้อย่างมนี ัยสาคญั 6.2.3 สืบค้น ตีความ และใช้ความรู้ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพ่ือแก้ไขปัญหาหรือจัดการกับ บรบิ ทใหมท่ างวชิ าการและวิชาชีพ 6.2.4 ส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้การส่ือสารด้วยปากเปล่าและการเขียน รวมทั้งสามารถ นาเสนอรายงานแบบเป็นทางการไดด้ ี 6.3 ชว่ งเวลา ภาคการศึกษาท่ี 2 ของปกี ารศกึ ษาท่ี 3 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ของปีการศึกษาท่ี 4 6.4 จานวนหน่วยกิต 6 หนว่ ยกิต 6.5 การเตรียมการ มีการกาหนดชัว่ โมงการใหค้ าปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษา ใหข้ ้อมูลข่าวสารเก่ยี วกบั โครงการ เป็นสมุดบันทกึ และปรับขอ้ มูลใหเ้ ป็นปัจจบุ นั อกี ทง้ั มภี าพตัวอย่างโครงการ 6.6 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทาโครงการ ที่บันทึกในสมุดให้คาปรึกษาโดยอาจารย์ท่ีปรึกษา และประเมินผลจากรายงานที่ได้กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา นาเสนอผลงานและการ ดาเนินงาน โดยโครงการต้องสามารถทางานได้ตามขอบเขตข้ันต้นโดยเฉพาะส่วนที่ทางานหลักของโครงการ และจดั สอบโดยนาเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสอบไม่น้อยกวา่ 3 คน หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมินผล 1. การพฒั นาคุณลกั ษณะพิเศษของนกั ศกึ ษา กลยทุ ธห์ รือกจิ กรรมของนักศกึ ษา - นาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยที่เกี่ยวข้องมาบูรณาการกับ คณุ ลักษณะพิเศษ 1) ด้านความชานาญด้านเทคโนโลยี การเรียนการสอน และการประกอบอาชพี - นาความรู้ในช้ันเรียนไปประยุกต์ใช้ในงานท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั วชิ าชีพ
81 - หมั่นฝึกปฏิบัติในรายวิชาชีพและชุดวิชาท่ีสนใจ เพื่อให้มีสมรรถะ (Competecy) ท่ีเกิดจากความรู้ ความเข้าใจ และ ทักษะการปฏิบัติ 2) ด้านบุคลกิ ภาพ - หม่ันฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือท้ังในและนอกเวลา เรียน - มีการสอดแทรกเก่ียวกับ การแต่งกาย การเข้า สังคม เทคนิคการเจรจา การสื่อสาร รวมถึงการมี มนุษยสัมพันธ์ และการวางตัวในการทางานในบาง รายวิชาทเ่ี กี่ยวข้อง และในกิจกรรมปฐมนเิ ทศ และ ปัจฉิมนเิ ทศ 3) ดา้ นภาวะผ้นู า ความรบั ผิดชอบ มีวินัยใน - เสริมสร้างให้เป็นผู้มีความขยัน หมั่นเพียร ใฝ่เรียน ตนเอง และ เปน็ ผูใ้ ฝ่เรียนรู้ ใฝ่รู้ - เพาะบ่มทัศนคติ ให้เป็นผู้ที่ทักษะการเรียนรู้ตลอด ชีวิต ให้รู้เท่าทันโลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต มี ทักษะชีวิต เพ่ือสร้างงานหรือสัมมาอาชีพ บน พ้ืนฐานของความพอเพียง - กาหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมสม่าเสมอ และ ตรงต่อเวลา - ให้มีการทางานกลุ่มและมอบหมายให้นักศึกษา หมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าในการดาเนินกิจกรรมเพื่อ ฝึกด้านภาวะผู้นาในรายวิชาของหลักสูตร และ กิจกรรมของภาควิชา 4) ด้านผรู้ ว่ มสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม - จัดการเรียนการสอนโดยมุ่งเน้นการพัฒนา ทักษะ ความคิสร้างสรรค์ ความคิดเชิงออกแบบ บูรณาการ คณุ ลกั ษณะพิเศษ ข้ามศาสตร์ มีคุณลักษณะการเป็นผู้ประกอบการ 5) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี พัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยี เพ่อื แกป้ ัญหาสงั คม และ พลเมอื งท่เี ข้มแข็ง กลยทุ ธห์ รอื กจิ กรรมของนกั ศกึ ษา - จัดการเรียนการสอนหรือจัดกิจกรรมท่ีมีการเรียนรู้ ด้วยตนเองมีวิธีการปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยันหม่ันเพียร สานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบต่อหนา้ ทแี่ ละสงั คม
82 - ในกิจกรรมการเรียนการสอนปลูกฝังจิตสานึก รัก ชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด สร้างจิตสานึกเป็นพลเมือง ไทย พลเมอื งโลก - ส่งเสริ มใหร้ ่วมกจิ กรรมทีส่ ร้างให้เป็นผมู้ จี ิตอาสา รัก ประชาธิปไตย รักความยุติธรรม อนุรักษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้เป็นผ้ใู ส่ใจในธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และ การอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างสนั ติ 2. การพฒั นาผลการเรยี นรูห้ มวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนนิ ชวี ิต บนพ้นื ฐานเศรษฐกิจพอเพียง 2) สามารถวเิ คราะห์ประเดน็ คณุ ธรรม จริยธรรม 3) ซือ่ สตั ย์ ขยนั อดทน มีวินัย ตรงตอ่ เวลา เคารพกฎระเบียบและขอ้ บังคบั ขององค์กรและสังคม 1.2 กลยุทธ์การสอนทีใ่ ชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) จดั กิจกรรมเปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม 2) สอดแทรกประเด็นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่ีกาลงั พูดคยุ ในสังคม 3) สอดแทรกความซือ่ สตั ย์ตอ่ ตนเอง และสังคม ใหค้ วามสาคญั ในวินยั การตรงตอ่ เวลา การส่ง งานภายในเวลาที่กาหนด เนน้ เร่ืองการแตง่ กายและปฏบิ ตั ติ นทีเ่ หมาะสม ถกู ตอ้ ง ตาม ระเบยี บข้อบงั คับของมหาวิทยาลยั 1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) พจิ ารณาจากกจิ กรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมของนักศึกษา 2) การอภิปรายในชั้นเรยี นเกี่ยวกบั ประเด็นคุณธรรม จรยิ ธรรม 3) การขานช่อื การให้คะแนนการเขา้ ช้นั เรียนและการส่งงานตรงเวลา 4) สงั เกตพฤติกรรมของนักศกึ ษาในการปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ตา่ ง ๆ อย่างตอ่ เนือ่ ง 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรูด้ า้ นความรู้ 1) มคี วามรู้และทกั ษะพนื้ ฐาน เพอื่ นาไปต่อยอดองคค์ วามรู้ หรือนาความรไู้ ปสู่การสร้าง นวัตกรรม 2) มีความร้ทู นั ตอ่ ความก้าวหน้าและการเปลยี่ นแปลง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั การเป็นผปู้ ระกอบการ
83 2.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ชพ้ ฒั นาการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ 1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเนน้ หลกั ทางทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิ เพื่อใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ 2) จดั ใหม้ กี ารเรยี นรู้จากประสบการณ์ตรง และสถานการณท์ ่เี ปน็ ปัจจุบัน 3) จดั ให้มีการเรยี นรูจ้ ากสถานการณ์จรงิ โดยการศกึ ษาดงู านในสถานประกอบการ 2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี รายงานทมี่ อบหมาย และผลงานและการปฏบิ ตั กิ าร 2) ประเมนิ จากรายงานผลการศกึ ษาดงู าน 3) ประเมนิ จากการปฎิบัติตามข้อกาหนด ระเบียบ ขอ้ บังคบั 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) มที กั ษะการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองตลอดชีวติ 2) สามารถแก้ไขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 3) สามารถใชข้ ้อมลู ประมวลผล และวิเคราะหข์ ้อมลู ไดอ้ ย่างเป็นระบบ 3.2 กลยทุ ธ์การสอนทีใ่ ชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ด้านทักษะทางปัญญา 1) ให้นกั ศึกษาฝึกการค้นหาความรู้ใหมอ่ ยู่ตลอดเวลา 2) ส่งเสริมการเรยี นรจู้ ากการแก้ปญั หา (Problem Based Instruction) 3) มอบหมายงานที่สง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะห์และสังเคราะห์ 3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นร้ดู ้านทักษะทางปญั ญา 1) ประเมินจากรายงาน ผลการคน้ ควา้ 2) ประเมินจากการรายงานผลการดาเนนิ งานและการแก้ปัญหา ผลการปฏบิ ัตกิ ารจาก สถานการณจ์ รงิ 3) ประเมนิ จากการทดสอบ การวิเคราะหก์ รณศี กึ ษาต่าง ๆ 4. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ 1) มีบุคลิกภาพและมนษุ ยส์ มั พันธ์ท่ีดี สามารถเปน็ ผู้นาและผตู้ ามทีด่ แี ละทางานเปน็ ทมี ได้ 2) มสี านึกสาธารณะและจติ อาสา เป็นพลเมืองท่ีมคี ุณคา่ ตอ่ สงั คมไทยและสงั คมโลก 3) มคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม 4.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใชพ้ ัฒนาการเรยี นรูด้ า้ นทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความ รบั ผดิ ชอบ 1) กาหนดการทางานกลมุ่ โดยให้หมนุ เวยี นการเปน็ ผู้นาและผ้รู ายงาน 2) ใหค้ าแนะนาในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมสโมสร กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัยฯ 3) ใหค้ วามสาคญั ในการแบง่ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบและการใหค้ วามรว่ มมือ 4.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ
84 1) ประเมนิ ผลจากแบบประเมินตนเองและกจิ กรรมกลมุ่ 2) พิจารณาจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา 3) ประเมินจากการรายงานหน้าชน้ั เรียนและจากการสงั เกตพฤตกิ รรม 5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนคิ ทางสถติ ิและคณติ ศาสตร์ทีเ่ กี่ยวข้องมาใชใ้ นการ ดารงชีวิตและปฏบิ ัติงานได้อยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื ค้นเพ่ือนามาวิเคราะหแ์ ละสนบั สนนุ การ ตัดสนิ ใจ 3) สามารถเลือกรปู แบบของการสื่อสารและการนาเสนอทีเ่ หมาะสมตอ่ บคุ คลท่ีหลากหลาย 5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สง่ เสรมิ ให้เหน็ ความสาคญั และฝึกใหม้ ีการตดั สนิ ใจบนฐานข้อมูลและขอ้ มลู เชงิ ตัวเลข 2) มอบหมายงานคน้ ควา้ องค์ความรู้จากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆและใหน้ ักศึกษานาเสนอหน้าช้ัน 3) การใช้ศกั ยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงานที่ไดร้ บั มอบหมาย และฝกึ การนาเสนอผลงานโดยเนน้ ความสาคญั ของการใช้ภาษา และบุคลิกภาพ 5.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) ประเมินจากงานทีม่ อบหมาย ความสามารถในการคานวณดว้ ยหลักคณิตศาสตร์เชงิ เลข 2) พจิ ารณาจากรายงานการคน้ คว้าขอ้ มูล วธิ กี ารนาขอ้ มลู ออกมานาเสนอ และการประยุกตใ์ ช้ งาน 3) พิจารณาจากวิธีการนาเสนอ การใชข้ อ้ มูล 3. การพฒั นาผลการเรียนร้หู มวดวิชาเฉพาะ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) มีความขยนั อดทน รับผิดชอบ และตรงต่อเวลา 2) มคี วามซอ่ื สัตยเ์ สียสละและบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม 3) มีระเบียบวนิ ัยและปฏบิ ัตติ ามกฎขอ้ บงั คับขององคก์ รและสงั คม 1.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรู้ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม 2) ปลกู ฝงั จรรยาบรรณในวชิ าเฉพาะ 3) ใชก้ รณีศึกษาและอภิปราย 4) สอดแทรกประมวลกฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกบั จรรยาบรรณ
85 5) บรรยายพิเศษโดยผมู้ ีประสบการณห์ รอื ผู้นาทางศาสนาตา่ งๆ 6) ผ้สู อนประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี 7) เสรมิ สร้างประสบการณต์ รงโดยเขา้ ร่วมสหกจิ ศกึ ษา 8) อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาและฝ่ายพฒั นานกั ศึกษา ต้องดแู ลนักศึกษาอยา่ งใกลช้ ดิ 9) จดั ให้เขา้ รว่ มการฝึกอบรมและพัฒนาดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1) สงั เกตการณ์แสดงพฤตกิ รรมของนกั ศกึ ษา 2) ผลการทางานกล่มุ 3) ผลการเข้ารว่ มกจิ กรรม 4) ประเมินจากสหกจิ ศึกษา 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1) ความร้เู กยี่ วกบั นวัตกรรมการเรียนร้แู ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ความร้เู ก่ยี วกับการจัดการนวตั กรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยสี ารสนเทศสาหรับการพัฒนา มนษุ ยแ์ ละองคก์ รแบบดิจิทลั 3) บูรณาการเก่ยี วกับนวตั กรรมการเรยี นรู้และนวัตกรรมการเรียนรแู้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ 1) ใชก้ ารสอนหลายรปู แบบ โดยเนน้ หลกั ทางทฤษฎแี ละการปฏบิ ัตเิ พอ่ื ใหเ้ กดิ องค์ความรู้ 2) ใชก้ ิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลางหลากหลายรปู แบบ 3) ให้นักศึกษาปฏิบัติ โดยนาหลักการและทฤษฎมี าประยกุ ต์ใช้ 4) จดั ใหม้ กี ารเรียนรู้ โดยการศกึ ษาดงู าน 2.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สาหรบั การปฏบิ ัติประเมนิ จากผลงานและการ ปฏิบตั กิ าร 2) การสอบกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรียน 3) ประเมินจากรายงานและผลงานมอบหมาย 4) ประเมินจากรายวิชาการฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นทักษะทางปัญญา 1) มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั หลกั และกระบวนการคน้ หาขอ้ เทจ็ จริง การทาความเขา้ ใจ และ การประเมนิ ข้อมูล จากแหลง่ ขอ้ มูลท่ีหลากหลาย 2) บรู ณาการความร้เู พ่ือใช้ในการแกป้ ัญหาดา้ นนวัตกรรมการเรยี นร้แู ละเทคโนโลยีสารสนเทศ
86 4) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือใช้ในการแก้ปัญหา การปรับตัว และเสนอแนะแนวทางในการ แก้ปัญหา ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ โดยคานงึ ถึงความร้ทู างทฤษฎแี ละประสบการณจ์ ากการ ปฏบิ ตั ิ 3.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรยี นรูด้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) การแก้ปัญหาและปัญหาทซ่ี บั ซ้อน เชงิ สรา้ งสรรค์ 2) การใช้แผนผงั ความคิด 3) กรณศี กึ ษาทางการประยกุ ตเ์ ทคโนโลยดี ิจิทลั และนวตั กรรมการเรียนรู้ 4) การอภปิ รายกล่มุ 5) การปฏบิ ัตงิ านจริง 6) วิธีการสอนแบบวิจยั เปน็ ฐาน 7) วธิ กี ารสอนแบบปัญหาเป็นฐาน 8) วธิ ีการสอนแบบโครงการเปน็ ฐาน 9) เข้ารว่ มสหกิจศกึ ษา 3.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะทางปัญญา 1) การปฏบิ ัติงาน 2) ผลงานนักศกึ ษา 3) แบบทดสอบปฏบิ ตั ิ 4) รายวิชาสหกจิ ศกึ ษาหรอื ฝกึ งาน 4. ทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับบทบาทหนา้ ที่และความรบั ผิดชอบของตนเองและผอู้ ่นื ในการ ทางานและการอยูร่ ว่ มกนั อย่างเปน็ กลั ยาณมติ ร 2) ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของการมีความรับผิดชอบ และสร้างความสมั พันธท์ ดี่ ี สามารถทางาน รว่ มกบั ผอู้ ่นื เปน็ ผูน้ าและผตู้ ามทดี่ ี 3) มกี ารพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างตอ่ เน่อื ง 4.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ 1) ทางานกลุ่ม 2) ปลูกฝังใหม้ คี วามรบั ผิดชอบต่องานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 3) เขา้ รว่ มสหกจิ ศกึ ษา 4) อภปิ รายและเสวนา 4.3 กลยุทธก์ ารประเมินผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) สงั เกตบทบาท พฤตกิ รรมและการแสดงออกร่วมกบั ผอู้ นื่
87 2) คณุ ภาพของผลงาน 3) ผลการประเมนิ สหกิจศึกษา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรดู้ ้านทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การใช้ภาษาพดู ภาษาเขยี น เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ คณิตศาสตร์และสถิติพืน้ ฐาน เพื่อการส่อื สาร การเรียนรู้ การเก็บรวบรวมและนาเสนอขอ้ มลู 2) ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของการใชภ้ าษาพูด ภาษาเขียน เทคโนโลยีสารสนเทศ และคณิตศาสตร์ และสถิติพ้ืนฐาน ในการส่อื สาร การเรียนรู้ การเกบ็ รวบรวมและนาเสนอขอ้ มลู 3) ใช้ภาษาพูด ภาษาเขยี น เทคโนโลยสี ารสนเทศ และคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิพื้นฐานในการ สือ่ สาร การเรยี นรู้ การเกบ็ รวบรวมและนาเสนอขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรียนรดู้ ้านทักษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอื่ สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) จดั ศูนยก์ ารเรียนรู้ด้วยตนเอง และหอ้ งปฏิบัติการเพือ่ สืบค้นขอ้ มลู และการใชซ้ อฟทแ์ วร์ทาง เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและนวัตกรรมการเรยี นรู้ 2) ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ บูรณาการกับรายวชิ าอ่นื ๆ 3) ฝกึ แก้ปัญหาหรือโจทยท์ ่ีจาเป็นโดยใช้สถิติ 4) วเิ คราะห์ขอ้ มลู และการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลจากการศกึ ษาแบบโครงการเป็นฐาน 5) ทักษะทางการสื่อสาร ด้านการเขยี น การพูด การฟงั การนาเสนอ อย่างสรา้ งสรรค์ 5.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู า้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สอบขอ้ เขยี น สอบปฏบิ ตั ิ 2) คณุ ภาพผลงานของนกั ศึกษา 3) ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 4) การใชค้ อมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ นการสบื คน้ ขอ้ มูล 6. ทกั ษะพสิ ยั 6.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทกั ษะนวัตกรรมการเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถใชน้ วัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพฒั นาระบบการพัฒนามนุษย์ 3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการออกแบบระบบการเปลยี่ นผ่านสอู่ งคก์ รดิจทิ ัล 6.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ชพ้ ัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นทักษะนวตั กรรมการเรียนรแู้ ละเทคโนโลยี สารสนเทศ 1) การสอนท่เี นน้ ปฏบิ ตั แิ บบ (Hands-on) และแบบโครงงาน (Project-Based Learning)
88 2) การให้ผู้เชย่ี วชาญในวชิ าชีพจากสถานประกอบการมีสว่ นร่วมในการออกแบบ พัฒนา และ บริหารหลักสูตร 3) การใชผ้ ู้เชย่ี วชาญจากสถานประกอบการมาเป็นอาจารยพ์ ิเศษ 4) การฝึกวิชาชพี ในสถานประกอบการท่ีทาความรว่ มมือ 6.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านทักษะนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ประเมินผลสมรรถนะวิชาชีพโดยองค์กรวชิ าชพี ภายนอก 2) พิจารณาจากโครงงานและผลจากการฝกึ ปฏิบตั ิแบบ (Hands-on) 3) การใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญในวิชาชีพจากสถานประกอบการภายนอกมสี ว่ นรว่ มในการพจิ ารณาและ ปรบั ปรงุ การเรียนการสอน 4. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู้ ากหลักสตู รสูร่ ายวชิ า (Curriculum Mapping)
8 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห ความรบั ผิดชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใน 1) มคี วามรูแ้ ละทกั ษะพนื้ ฐาน 1) มที กั ษะการแ การดาเนินชีวิต บนพ้ืน เพ่ือนาไปต่อยอดองค์ความรู้ ด้วยตนเองตล ฐานเศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื นาความรไู้ ปสกู่ ารสรา้ ง 2) สามารถแก้ไข 2) สามารถวเิ คราะห์ นวตั กรรม เสนอแนวทาง ประเด็นคุณธรรม 2) มคี วามรูท้ นั ต่อ อย่างสร้างสร จริยธรรม ความก้าวหนา้ และการ 3) สามารถใช้ขอ้ 3) ซ่อื สัตย์ ขยัน อดทน มี เปลี่ยนแปลง และวเิ คราะห วนิ ัย ตรงตอ่ เวลา เคารพ 3) สามารถนาความรไู้ ปปรบั ใช้ เป็นระบบ กฎระเบียบและข้อบงั คบั ใหเ้ หมาะสมกบั การเปน็ ขององค์กรและสังคม ผูป้ ระกอบการ
9 หลักสตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป ความรับผดิ ชอบรอง ทางปญั ญา 4. ทกั ษะความสัมพันธร์ ะหวา่ ง 5. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิง บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ แสวงหาความรู้ 1) มบี คุ ลิกภาพและมนุษย์ 1) สามารถเลือกและ ลอดชีวิต สมั พนั ธ์ท่ดี ี สามารถเปน็ ผู้นา ประยกุ ตใ์ ช้เทคนิคทาง ขปัญหาได้ และ และผู้ตามทดี่ แี ละทางาน สถิตแิ ละคณติ ศาสตรท์ ี่ งการแกไ้ ขได้ เป็นทมี ได้ เกย่ี ว รรค์ 2) มสี านกึ สาธารณะและจติ ข้องมาใช้ในการดาชีวิต อมลู ประมวลผล และปฏิบตั ิงานได้อย่าง ห์ข้อมูลได้อยา่ ง อาสา เปน็ พลเมืองท่ีมคี ณุ ค่า เหมาะสม ตอ่ สงั คมไทยและสังคมโลก 2) สามารถใชง้ านเทคโนโลยี 3) มีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม สารสนเทศในการสบื คน้ เพ่ือนามาวเิ คราะหแ์ ละ สนบั สนุนการตัดสนิ ใจ 3) สามารถเลือกรปู แบบของ การสือ่ สารและการ นาเสนอท่เี หมาะสมตอ่ บคุ คลท่หี ลากหลาย
9 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห ความรับผดิ ชอบหลัก รายวชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 01-110-004 สงั คมกบั ส่ิงแวดล้อม 123 1 01-110-007 การส่อื สารกบั สังคม 01-110-009 การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและสังคม 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การพัฒนาที่ยั่งยนื 01-110-017 คณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี องพลเมืองยคุ ใหม่ 01-110-018 อินเทรนดอ์ ย่างเปน็ สุข 01-110-019 คดิ เชิงรกุ แบบพอเพยี ง 01-010-025 มองชีวิตผ่านฟิล์ม 01-210-017 การค้นควา้ และการเขยี นรายงานเชิงวชิ าการ 01-210-018 การสืบค้นสารสนเทศ 01-210-019 การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 01-210-020 จติ วิทยาประยุกต์เพื่อการทางาน 01-210-023 มหศั จรรยแ์ หง่ รัก
0 หลักสตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ก ความรับผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการวิเคราะห์ ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร 123 ระหวา่ งบุคคล และการใช้เทคโนโลยี 1 23 และความ รับผดิ ชอบ สารสนเทศ 123 123
9 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใน 1) มคี วามรูแ้ ละทกั ษะพืน้ ฐาน 1) มีทกั ษะการแ การดาเนนิ ชวี ิต บนพ้นื เพ่อื นาไปต่อยอดองค์ ดว้ ยตนเองตล ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรู้ หรือนาความร้ไู ปสู่ การสร้างนวัตกรรม 2) สามารถแกไ้ ข 2) สามารถวเิ คราะห์ประเด็น เสนอแนวทา คุณธรรม จรยิ ธรรม 2) มีความรู้ทันต่อ อย่างสรา้ งสร ความกา้ วหนา้ และการ 3) ซื่อสตั ย์ ขยัน อดทน มี เปลี่ยนแปลง 3) สามารถใช้ขอ้ วนิ ัย ตรงต่อเวลา เคารพ และวิเคราะห กฎระเบียบและข้อบังคบั 3) สามารถนาความร้ไู ปปรับใช้ เป็นระบบ ขององคก์ รและสังคม ให้เหมาะสมกบั การเป็น ผูป้ ระกอบการ
1 หลกั สตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ความรับผดิ ชอบรอง ทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่าง 5. ทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิง บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ แสวงหาความรู้ 1) มบี ุคลิกภาพและมนุษย์ 1) สามารถเลือกและ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ ทางสถติ ิ ลอดชีวิต สัมพันธ์ท่ดี ี สามารถเป็น และคณิตศาสตร์ทีเ่ ก่ียว ขอ้ งมาใชใ้ นการดาชีวติ ขปญั หาได้ และ ผูน้ าและผู้ตามทด่ี ีและ และปฏิบตั ิงานได้อยา่ ง เหมาะสม างการแก้ไขได้ ทางานเป็นทีมได้ 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยี รรค์ 2) มสี านกึ สาธารณะและจติ สารสนเทศในการสืบค้น เพอื่ นามาวเิ คราะหแ์ ละ อมลู ประมวลผล อาสา เป็นพลเมอื งท่ีมี สนับสนุนการตดั สนิ ใจ ห์ขอ้ มูลได้อยา่ ง คุณค่าต่อสงั คมไทยและ สังคมโลก 3) มคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม 3) สามารถเลือกรปู แบบของ การสอื่ สารและการ นาเสนอที่เหมาะสมต่อ บุคคลทห่ี ลากหลาย
9 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห ความรับผิดชอบหลัก รายวชิ า 1. คุณธรรม จริยธรรม 01-610-003 นันทนาการ 123 1 01-610-005 การจดั และการบรหิ ารคา่ ยพักแรม 01-610-009 สุขภาพเพอ่ื ชีวิต 01-610-011 กิจกรรมทางกายเพือ่ สขุ ภาวะ 01-610-012 สุขภาพเพื่อการดารงชีวิตสาหรับคนรุ่นใหม่ 01-610-014 ทกั ษะกีฬาเพ่อื สุขภาพ 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 1 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร 2 01-310-001 ภาษาไทยเพือ่ การสอื่ สาร 01-310-015 การอา่ นและการเขยี นเชิงสร้างสรรค์ 01-310-016 ภาษาไทยเพ่ือการนาเสนองานแบบมอื อาชพี 01-320-006 ภาษาองั กฤษเพ่ือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 01-320-015 ภาษาองั กฤษสาหรบั ธรุ กิจออนไลน์ O ●● ●● ●● ● ●● ●●
2 หลักสตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป ก ความรบั ผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข ระหว่างบคุ คลและ การส่ือสาร และการ ความรบั ผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1 2 3 123 1 2 3 1 2 3 ● ●● ● O● ● O● O● O● ●● ● OO ●● O O ● ●● O● O ● OO O
9 แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะท 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใน 1) มคี วามรูแ้ ละทกั ษะพืน้ ฐาน 1) มีทกั ษะการแ การดาเนินชวี ิต บนพน้ื เพ่อื นาไปต่อยอดองค์ ดว้ ยตนเองตล ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรู้ หรือนาความร้ไู ปสู่ 2) สามารถแกไ้ ข 2) สามารถวิเคราะห์ การสร้างนวัตกรรม เสนอแนวทา ประเดน็ คุณธรรม 2) มีความรู้ทันต่อ อย่างสรา้ งสร จรยิ ธรรม ความกา้ วหนา้ และการ 3) สามารถใช้ขอ้ 3) ซือ่ สัตย์ ขยัน อดทน มี เปลี่ยนแปลง และวิเคราะห วินยั ตรงตอ่ เวลา เคารพ 3) สามารถนาความร้ไู ปปรับใช้ เป็นระบบ กฎระเบียบและขอ้ บงั คับ ให้เหมาะสมกบั การเป็น ขององค์กรและสังคม ผู้ประกอบการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201