Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Description: หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชานวตั กรรมการเรยี นรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสตู รใหม่ พ.ศ.2563) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม

2 คานา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ได้พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา นวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปีการศึกษา 2563 ไดด้ าเนินการพฒั นาหลักสูตรโดยยึด หลักการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะโดยให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาประเทศในทิศทางประเทศ ไทย 4.0 ยุทธศาสตร์ 20 ปีประเทศไทย และยุทธศาสตร์ 20 ปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอย่าง รวดเร็ว หลักสูตรฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงาน ออกแบบพฒั นาโปรแกรมเพือ่ การเรยี นรบู้ นเวบ็ และอปุ กรณเ์ คลอ่ื นท่ี พัฒนาเนอื้ หาดจิ ทิ ัลความจรงิ เสมือน รวมถึงพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ดิจิทัล พร้อมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ นอกจากน้ีในหลักสูตรฉบับน้ีได้กาหนดให้มี ระบบสหกิจศึกษา และการศึกษาดูงานในสถาน ประกอบการตลอดหลักสูตรเพ่ือเพ่ิมพูนทักษะในการปฏิบัติงาน เสริมสร้างประสบการณ์และรู้จัก แกป้ ัญหาในสภาพการทางานจริง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรฉบับนี้ จะมีประสิทธิภาพในการผลิตบัณฑิตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทมี่ ีคุณภาพคุณลักษณะที่พึงประสงคต์ ามความต้องการของตลาดแรงงานและสังคม อันจะนาไปสกู่ ารพฒั นาประเทศชาติทย่ี ัง่ ยนื ต่อไป คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

3 สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข หมวดที่ 1 1 ข้อมูลทัว่ ไป 8 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 10 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลกั สูตร 81 4 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมิน 99 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนกั ศึกษา 101 6 การพฒั นาคณาจารย์ 102 7 การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร 112 8 การประเมินและปรบั ปรุงการดาเนนิ การของหลักสูตร 114 ภาคผนวก 118 ก คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการพฒั นาหลกั สตู รฯ 130 ข ประวตั ิ ผลงานทางวิชาการ และประสบการสอนของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร ค ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีว่าด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญา 140 ตรี พ.ศ. 2550 ง ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีว่าด้วยการศึกษาระดับปรญิ ญา 142 ตรี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 จ ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีวา่ ด้วยการจดั การระบบสหกจิ 148 ศกึ ษา พ.ศ. 2550 ฉ ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรวี ่าดว้ ยการเทยี บโอนผลการ 156 เรียน พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี เรือ่ งเกณฑก์ ารวดั 160 และประเมินผลการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ซ เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี 163 ก่อนสาเรจ็ การศกึ ษา 165 ฌ ตารางสรปุ การวเิ คราะห์หลักสตู รแบบสมรรถนะ ญ กจิ กรรมในหลักสูตร

1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชานวตั กรรมการเรยี นร้แู ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2563 ชอื่ สถาบนั อดุ มศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวิชา คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สาขาวิชานวตั กรรมการเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ หมวดท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไป 1. ชื่อหลักสตู ร ภาษาไทย: หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชานวตั กรรมการเรียนรแู้ ละ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ: Bachelor of Science Program in Learning Innovation and Information Technology 2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวชิ า ชอ่ื เต็ม (ไทย): วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (นวตั กรรมการเรยี นรู้และ เทคโนโลยสี ารสนเทศ) ชอ่ื ย่อ (ไทย): วท.บ. (นวตั กรรมการเรียนรแู้ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ) ช่ือเตม็ (องั กฤษ): Bachelor of Science (Learning Innovation and Information Technology) ชือ่ ย่อ (องั กฤษ): B.Sc. (Learning Innovation and Information Technology) 3. วิชาเอก - 4. จานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลกั สตู ร 136 หนว่ ยกติ 5. รูปแบบของหลักสตู ร 5.1 รูปแบบ ระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู ร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลกั สูตร แบบทางวชิ าการ 5.3 ภาษาท่ีใช้ ภาษาไทย

2 5.4 การรับเขา้ ศกึ ษา รับนักศึกษาไทย และนักศกึ ษาต่างประเทศทีส่ ามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.5 ความรว่ มมอื กับสถาบันอืน่ เป็นหลกั สตู รเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั ฯ ที่จดั การเรียนการสอนโดยตรง 5.6 การใหป้ รญิ ญาแก่ผสู้ าเร็จการศกึ ษา ใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว 6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพิจารณาอนุมตั /ิ เหน็ ชอบหลักสตู ร  หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2563  หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. ............ สภาวิชาการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลักสตู รตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั ฯ ในการประชุม ครั้งท่ี 2/2563 วนั พฤหัสบดที ี่ 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 สภามหาวทิ ยาลยั ฯ ให้ความเหน็ ชอบหลักสตู ร ในการประชุม ครงั้ ที่ 3/2563 วนั ท่ี 25 มนี าคม 2563 เปิดสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 7. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลักสูตรคณุ ภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปกี ารศึกษา 2565 8. อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาเร็จการศึกษา 8.1 นกั พัฒนาโปรแกรมเพ่ือการเรยี นรูบ้ นเว็บและอุปกรณ์เคล่ือนท่ี 8.2 นกั พฒั นาเน้ือหาดจิ ทิ ัลด้วยเทคโนโลยคี วามเป็นจริงเสมือน 8.3 วทิ ยากรกระบวนกร (Facilitator) 8.4 ผู้ประกอบการสมยั ใหมด่ ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

3 9. ช่อื -สกุล ตาแหนง่ และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตร ชอ่ื -นามสกุล ผลงานทางวิชาการ ลาดบั ตาแหน่งทางวชิ าการ คณุ วุฒ-ิ สาขาวชิ า ชื่อสถาบนั , ปี พ.ศ. ทส่ี าเร็จการศึกษา 1 นางสาวปิยนนั ท์ ปานน่ิม* Pannim, P., Suwannatthachote, P. and ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (เทคโนโลยกี ารศึกษา) Numprasertchai, S. (2018). Investigation of ปร.ด. (ธุรกิจเทคโนโลยแี ละการจดั การนวัตกรรม), จฬุ าลงกรณ์ Instructional Design on Reading Comprehension มหาวทิ ยาลัย, 2562 Affect the Demand for Mobile Application for วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,์ 2554 Students with Learning Disabilities. Proceedings of ค.ม. (โสตทศั นศึกษา), จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 2549 the 2018 2nd International Conference on บธ.บ. (คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ), สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545 Education and E-Learning - ICEEL 2018, Bali, Indonesia, 7 November 2018, pp.104-108. 2 นายวเิ ชษฐ์ พลายมาศ Plaimart, W. and Tangwannawit, S. (2016). The อาจารย์ Development of Occupational Competency ปร.ด. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ Analytical Standard Model using Prototyping พระนครเหนอื , 2558 Functional Analysis (FPA). International Journal of พบ.ม. (สถิติประยกุ ต์ คอมพวิ เตอร์), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, Applied Computer Technology and Information 2538 Systems. Volume 6 (1), pp.1-6. พธ.บ. (ปรชั ญา-ตรรกศาสตร์), มหาจุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลัย, 2533 3 นางสาวมธรุ ส ผ่านเมือง Panmuang, M and Tangprasert, S. (2019). อาจารย์ Authentication and Authorization System. In The 7th ปร.ด. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า International Conference on Robotics, Informatics, พระนครเหนือ, 2560 and Intelligence control Technology (RIIT2019), 13- วท.ม. (เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ), มหาวิทยาลยั มหดิ ล, 15 December 2019 Bangkok, Thailand, pp.52-57. 2553 ศ.บ. (บริหารธรุ กิจ), สถาบนั ราชภฏั บา้ นสมเด็จเจา้ พระยา, 2544 4 นายวรพนั ธ์ สาระสรุ ยี ภ์ รณ์ Waraphan Sarasureeporn, Jaturapith Krohkaew, อาจารย์ Pongpon Nilaphruek, Niti Witthayawiroj and Wichet M.Sc. (Electrical Engineering), Leibniz University Hannover, Plaimart. (2019). The Development of Computer Germany, 2550 Skill and Information Technology Examination วท.บ. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร)์ , สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล, 2541 Framework for RMUTT Students. In The E-Learning Forum Asia 2019 (eLFAsia), 29-31 May 2019 Bangkok, Thailand, pp.71-75 5 นายกติ ิภูมิ วภิ าหัสน์ Plaimart, W., Pikulthong, M., Vipahasna, K., Pannim, P., & อาจารย์ Rangrongratana, R. (2019). Innovative Ecosystem for Ph.D. (Information Communications and Technologies), Human Capital Development to Drive the Digital Asian Instituted of Technology, 2562 Economy in Industrial Areas in Thailand. Proceeding of M.S. (Computer and Information Science), University of South The International Conference on Science and Australia, South Australia, Australia, 2544 Technology (2019 TICST). 22-24 November 2019 วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์), สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2540 National Pingtung University Taiwan, PP.54 – 60. หมายเหตุ *ประธานหลกั สูตร 10. สถานท่จี ดั การเรียนการสอน คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

4 11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาทจ่ี าเป็นตอ้ งนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมความพรอ้ มให้บัณฑิตมที ้ัง ความรู้และทักษะเพื่อเป็นกาลังคนท่ีมีสมรรถนะรองรับโลกศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงถือเป็นยุคแห่งการ เปล่ียนแปลงท้ังด้านสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี โดยท่ีเทคโนโลยีนั้นจะมีความก้าวหน้า และ สามารถเข้ามาเปลี่ยนรูปแบบการดาเนินชีวิต การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การประกอบธุรกิจ และ ระบบเศรษฐกิจโลก หรือที่เรียกว่า เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technologies) ดังน้ันองค์กร ท้ังภาครัฐ และเอกชนจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาศักยภาพทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ทรัพยากรมนุษย์เพื่อเปลี่ยนไปสู่การดาเนินธุรกิจและอุตสาหกรรมในโลกดิจิทัล ( Digital Transformation) การขับเคล่ือนประเทศภายใต้แผนพัฒนาประเทศตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560- 2579) และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 เพ่ือต้องการปฏิรูป ประเทศให้ก้าวไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเปน็ วสิ ัยทัศน์ที่จะเปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจท่ี ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เปลี่ยนโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้น้อย” เป็น “ทาน้อย ได้ มาก” เปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจากการ ขับเคลื่อนประเทศด้วย ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และ นวัตกรรม แต่ท้ังน้ีประเทศจะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายน้ีได้เลยหากแนวทางการปฏิรูปไม่มุ่งเน้นไปท่ี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ดังน้ันภาคอุตสาหกรรมท้ัง First S-Curve และ New S-Curve จาเป็นต้องวางรากฐานการสร้างและพัฒนากาลังคนให้มีความรู้และทักษะ โดยอาศัยนวัตกรรมการ เรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Learning Innovation and Information Technology) ท่ีจะเป็น เครื่องมืออันทรงพลังในการให้ถ่ายทอดความรู้ อบรมและฝึกฝนทักษะ อาทิเช่น ในปัจจุบัน ภาคอุตสาหกรรมเร่ิมนาเทคโนโลยีเสมือนจริง Immersive Technology (IM) ซึ่งได้นาความกลมกลืม ระหว่างโลกในความจริง (Physical World) กับ โลกจาลองแบบดิจิตอล (Digital World, Simulated World) ซึ่งเปน็ การสร้าง “ความร้สู ึกจมด่ิง” (Immersion) ลงไปในโลกเสมอื นน้ันจนคลา้ ยกบั อย่ใู นโลก ความเป็นจรงิ ในหลากหลายรูปแบบ เชน่ เทคโนโลยีเสมอื นจริง Virtual Reality (VR) เทคโนโลยคี วาม เป็นจริงเสริม Augmented Reality (AR) และเทคโนโลยีผสมผสานโลกจริง Mixed Reality (MR) มา ทาการจาลองภาพหรอื สถานการณเ์ หมอื นจริง เพ่ือตรวจการซอ่ มบารุง อบรมทักษะการปฏบิ ัตงิ าน เช่น การแพทย์ และ วิศวกรรม โดยการควบคุมผ่านส่วนต่อประสาน (User Interface) ท่ีทาให้การทางาน เป็นไปได้อย่างราบร่ืนมากข้ึนด้วยการสื่อสารข้อมูลผ่านทางภาพจาลอง 3 มิติ ดังนั้น VR/AR/MR จึง เปน็ เทคโนโลยีและนวัตกรรมท่สี ามารถสนบั สนนุ กระบวนการทางานของอตุ สาหกรรมและลดตน้ ทนุ ได้ ด้วยเทคโนโลยีท่ีตอบสนองการทางานครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ การซ่อมบารุง การฝึกอบรม และยังนามาสร้างเป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ในระบบโรงเรียนเพื่อกระตุ้นความคิด

5 สร้างสรรค์ (Creativity) การแก้ปัญหา (Problem Solving) และ การเรียนรู้เชิงปฏิบัติ (Active Learning) ไดอ้ กี ดว้ ย จากการสารวจโดย International Data Corporation (IDC) แสดงให้เห็นว่าภาคธุรกจิ กลุม่ การให้บริการจากท่ัวโลกมีการลงทุนในเทคโนโลยี AR/VR/MR มากถึง 64.5% ในปี 2019 และจะ เติบโตเป็นสัดส่วนมากกว่า 80% ในปี 2022 ภาคอุตสาหกรรมจะนาไปใช้งานในอนาคตมากขึ้นด้วย แนวโน้มท่ีเกินกว่า 100% โดยอตั ราการเติบโตของธรุ กจิ น้ี จะมีตวั เลขเฉลย่ี อยู่ที่ 69.6% ต่อปี และการ เติบโตของตลาด AR/VR/MR นี้จะยาวนานต่อไปอีกนบั สบิ ปี สาหรับในปี 2019 การนาไปใชง้ านในภาคการใชง้ านส่วนตวั นั้น อันดับหน่ึงคือตลาด Virtual Reality Game (128,000 ล้านบาท), Video/Feature Viewing (64,000 ลา้ นบาท) และ Augmented Reality Game (19,712 ล้านบาท) ส่วนภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมน้ันได้แก่การฝึกอบรม (57,600 ลา้ นบาท), การแสดงสนิ คา้ ของธุรกจิ คา้ ปลกี (17,856 ล้านบาท) และการดูแลรักษาเครื่องจักร (13,216 ล้านบาท) โดยการดแู ลรักษาเครื่องจักรนี้มีอนาคตที่จะเตบิ โตถึงปีละ 119.2% และเทียบเคยี งกับตลาด Augmented Reality Game ได้ในปี 2022 ตลาดท่ีใหญ่ท่ีสุดในปี 2019 คือสหรัฐอเมริกา (211,200 ล้านบาท) จีน (192,000 ล้านบาท), ญี่ปุ่น (56,320 ล้านบาท) และยุโรปตะวันตก (55,680 ล้านบาท) ตามลาดับ ส่วนประเทศท่ีมีอัตราการเติบโตสูงสุดสาหรับเทคโนโลยีนี้ได้แก่ แคนาดา, สหรัฐอเมริกา และจีน (ข้อมลู จาก IDC, December 6 2018) การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศ ได้มีการศึกษาและวิเคราะห์ความเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 แผนพัฒนามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 20 ปี พ.ศ. 2560-2579 และ แผนยุทธศาสตร์ 4 ปี พ.ศ. 2561-2564 คณะ ครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ภายใตก้ รอบนโยบาย แผนยุทธศาสตร์และแผนพฒั นาดังกล่าวจึงเป็นแนวทาง สาคัญที่นามาบูรณาการเพื่อให้ได้หลักสูตรท่ีเป็นเป็นหลักสูตรเฉพาะทาง บูรณาการสหวิทยาการ (Multidisciplinary) ตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของ ประเทศทมี่ งุ่ เน้นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมเพื่อบรกิ ารการเรยี นรู้ที่มีมลู คา่ สูง ท่ีภาคอุตสาหกรรมยังขาดแคลนบุคลากรในสายอาชีพนักพัฒนาทุนมนุษย์ที่ส่วนใหญ่มีความสามารถ เพียงแค่วิทยากร นักสันทนาการ และนักฝึกอบรม แต่ขาดความรู้ ความสามารถด้านการพัฒนา นวัตกรรมการเรียนรู้และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับนักพัฒนาระบบ (คุณสมชาย นิยมค้า, ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรบุคคลกลาง บริษัทบางกอกกลาส จากัด (มหาชน); คุณธีรศักด์ิ สงวน มานะศักด์ิ Technical HRD Manager Western Digital (Thailand) Company Limited; คณุ สมชาย บันลือเสนาะ ผู้จัดการสมาคมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ TIFFA; และ ดร.สุทธิพงษ์ สุวรรณสขุ ผูอ้ านวยการฝา่ ยทรัพยากรมนุษย์ บรษิ ทั โตโยต้าลสี ซิง่ (ประเทศไทย) จากัด ด้วยเหตุนี้คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้เห็นความจาเป็นอย่างเร่งด่วนในการเสนอ หลักสูตรสหวิทยาการท่ีได้ทาการบรู ณาการระหว่างนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเป็น

6 หลักสูตรที่เน้นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และคอมพิวเตอร์ ในการออกแบบและพัฒนานวตั กรรมเพ่ือ พัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital/Human Resource Development) เมื่อพิจารณาความต้องการ และความจาเป็นดงั กล่าวแล้วข้างตน้ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาจึงขอเปิดหลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือรองรับความต้องการของ ตลาดแรงงานท่มี ีแนวโนม้ สูงข้นึ ในปจั จบุ นั และอนาคต 11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาท้ังด้านสังคม และ วัฒนธรรมท้ังในระดับประเทศและนานาชาติ ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่น้ี การพัฒนาทุนมนุษย์ท้ังใน ระบบการศกึ ษา และ ภาคอตุ สาหกรรม ได้นาเทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรมกมาเรยี นรู้ มาบูรณา การเพ่ือสร้าง เน้ือหาดิจิทัล (Digital Content) เช่น เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน AR/VR/MR ที่ทา ให้การติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลสามารถทาได้อย่างสนใจ การท่องเท่ียวเสมือนจริง การอธิบาย ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์ การนาเสนอเนื้อหาสาระในรายวิชาเรียนด้วยระบบความเป็น จรงิ เสมือนในรปู แบบตา่ งๆ รวมถงึ แบบจาลองดา้ นวศิ วกรรม ด้านเคมี และ ด้านการแพทย์ เป็นตน้ นอกจากน้ัน นวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศยังไดถ้ ูกนามาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือใน การอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้รูปแบบอื่น อาทิเช่น เนื้อหาท่ีเป็นประโยชน์ในการซื้อ สินค้า และ บริการ ออนไลน์ ห้องสมุดเสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ที่ทางานเสมือนจริง ฯลฯ เทคโนโลยี สารสนเทศทาให้เกิดสภาพทางการทางาน แบบทุกสถานท่ีและทุกเวลา เม่ือการส่ือสารแบบสองทาง กา้ วหน้าและแพร่หลายขึ้น การโตต้ อบ ผ่านเครอื ขา่ ย ทาให้ เสมอื นมปี ฏสิ มั พันธ์ไดจ้ รงิ จึงสรุปได้ว่าหลักสูตรที่ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการเนื้อหาด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นแนวทางใหม่ท่ีรองรับตลาดแรงงานที่จะเติบโตข้ึนในเร่ืองของนักออกแบบ และพัฒนาเน้ือหาดจิ ทิ ลั เพอื่ การเรียนรซู้ ึง่ เปน็ หัวใจหลักของการพฒั นาทุนมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพฒั นาหลักสตู รและความเก่ยี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั 12.1 การพัฒนาหลกั สูตร แนวทางการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับทักษะและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ท่ีภาค การศึกษาต้องสามารถจัดการศึกษาให้เช่ือมโยงไปสู่โลกแห่งอาชีพได้น้ัน จึงเน้นทักษะสาคัญ 3 ด้าน ประกอบดว้ ย 1. ทักษะด้านการเรยี นรู้และนวตั กรรม 2. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี และ 3. ทักษะดา้ นชีวติ และอาชีพ ระบบหลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum & Instruction) ตามแนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้นสมรรถนะทางสาขาวิชาชีพเพื่อพัฒนา ทักษะแห่งอนาคตในศตวรรษท่ี 21 กาหนดไว้ว่า (3.1) สอนให้เกิดทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเนน้ เชงิ สหวิทยาการ (Interdisciplinary : ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากหลายสาขาวิชาประกอบกัน) ของวชิ าแกน หลัก (3.2) สร้างโอกาสท่ีจะประยุกตท์ ักษะเชิงบรู ณาการข้ามสาระเนื้อหา และสร้างระบบการเรียนรู้ท่ี เน้นสมรรถนะเป็นฐาน (Competency-based) (3.3) สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิงบูรณา

7 การท่ีมีเทคโนโลยีเป็นตัวเก้ือหนุนการเรียนรู้แบบสืบค้น และวิธีการเรียนจากการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based) 12.2 ความเกยี่ วข้องกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลัย จากความต้องการและความจาเป็นดังกล่าว เมื่อพิจารณาวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีท่กี าหนดไว้ว่า “มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรเี ป็นมหาวทิ ยาลยั นัก ปฏิบตั ิมืออาชีพช้ันนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวตั กรรม ในระดับประเทศและก้าวสู่ระดับสากล” ทั้งยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 20 ปี ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีใน 5 ปีแรกท่ีมี เป้าหมายเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งนวัตกรรม (Innovative University)” ประกอบกับคณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม มภี ารกจิ หลกั ในการผลิตบณั ฑิตมอื อาชพี ด้านการเรียนรู้ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม แต่ ปัจจุบันยังขาดหลักสูตรเชิงสหวิทยการที่บูรณาการระหว่างนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสร้างทุนมนุษย์เข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของประเทศ เม่ือพิจารณาความ ตอ้ งการและความจาเป็นในการเปิดหลักสูตร จึงขอเปดิ หลักสตู รในลักษณะดังกล่าวน้ขี ้ึนมา 13. ความสมั พันธ์กับหลักสูตรท่เี ปดิ สอนในคณะ/ภาควชิ าอื่นของมหาวทิ ยาลยั 13.1 กลุม่ วิชา/รายวชิ าในหลักสตู รนเ้ี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลักสูตรอืน่ หลักสูตรน้ีมีรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไปและวิชาเลือกเสรีที่จะต้องให้คณะ/วิทยาลัย ภายใน มหาวทิ ยาลัยฯ จดั การเรียนการสอนให้ 13.2 กลมุ่ วชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรท่ีเปดิ สอนให้ภาควิชา/หลกั สตู รอ่ืนตอ้ งมาเรยี น รายวิชาในหลักสูตรเปดิ โอกาสใหน้ ักศกึ ษาในคณะอื่นๆ สามารถเลอื กเรียนในรายวชิ าเลอื ก เสรีได้ และคาอธบิ ายรายวิชามีความยดื หยุ่น สามารถจัดการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีคุณภาพ 13.3 การบรหิ ารจดั การ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ท่ีดาเนินการสอน เพ่ือบริหาร จัดการเรียนการสอนใหม้ ีผลตามมาตรฐานการเรียนรู้เป็นไปตามท่ีระบุในหลกั สตู ร

8 หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สตู ร 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร 1.1 ปรชั ญา บัณฑิตสาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่มี สมรรถนะในการบูรณาการความรู้ดา้ นนวตั กรรมการเรียนรูแ้ ละเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื วางระบบการ พฒั นานวัตกรรมการเรียนรดู้ ิจทิ ลั ได้ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรอบรู้ทางด้านทฤษฎีและการปฏิบัติ ในการประยุกต์ศาสตร์ ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับพัฒนาบุคลากรในองค์กรท้ังภาครัฐและ เอกชน 1.2.2 เพ่ือผลิตบัณฑิตที่สร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้จากความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศในการพฒั นาบุคลากรในทุกระดบั ช้นั ภายใตส้ ังคมเศรษฐกิจและดจิ ทิ ัล 1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีสมรรถนะในการบูรณาการนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศในการออกแบบและพัฒนาระบบงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรเพื่อเปล่ียนผ่านสู่ องค์กรดิจิทลั 1.2.4 เพ่ือผลิตบัณฑิตเป็นผู้มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม เปน็ ผใู้ ฝ่รู้ และสามารถพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง 1.3 ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ระดับหลักสูตร (PLO) PLO1: ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการ แก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์ผลงาน หรือพัฒนาเป็นองค์ความรู้ใหม่ทางนวตั กรรมการเรยี นร้แู ละเทคโนโลยี สารสนเทศ PLO2: ใช้ทักษะ ความรู้ ทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการเป็น วทิ ยากรกระบวนกรเพอื่ พัฒนาบคุ ลากรในองค์กรท้งั ภาครัฐและเอกชน PLO3: มีทักษะทางวิชาชีพ แสดงออกถึงการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และมีเหตุผล มี ทักษะในการใช้เครือ่ งมือวิเคราะหพ์ ืน้ ฐาน เพือ่ นามาออกแบบระบบการเรียนรู้ PLO4: มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม สามารถส่ือสารและทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นได้

9 2. แผนพฒั นาปรบั ปรงุ แผนการพฒั นา/ กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน/ตัวบง่ ช้ี เปลย่ี นแปลง 1. ปรับปรุงหลักสูตรให้มี 1.1 ศึกษาปริทัศน์วรรณกรรม (Literature 1. รายงานผลการ มาตรฐานไม่ตา่ กว่าท่ี สกอ. Review) หลักสูตรที่เก่ียวข้องกับนวัตกรรมการ ดาเนินการและผล กาหนด และสอดคล้องกับ เรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งต่างประเทศ การประเมิน มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ และในประเทศ รวมท้ัง สมรรถนะ (Skill Set) หลักสูตร ระดับปริญญาตรี ทีจ่ าเป็นสาหรบั คนในศตวรรษท่ี 21 1.2 สารวจอุปสงค์และอุปทานเกี่ยวกับกาลังคน ในวิชาชีพนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ทั้ ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น (Executive Indeapt Interview) เพอ่ื นามาใช้ เป็นกรอบแนวคิดการพัฒนาองค์ความรู้ (Body of Knowledge Framework) ของหลักสตู ร 1. 3 ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร โ ด ย ใ ช้ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ ซึ่งประเมิน โดยนักศึกษา อาจารย์สถานประกอบการ และ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

10 หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซึ่ง เป็นภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไมน่ ้อยกว่าสบิ ห้าสัปดาหต์ ่อหนึ่งภาคการศึกษา ท้ังนี้ไม่รวม เวลาสาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบับเพิ่มเติม พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดรู ้อน มกี ารจดั การเรียนการสอนภาคการศกึ ษาฤดูร้อน โดยมรี ะยะเวลาศึกษาฤดูร้อน ซึง่ มีระยะเวลา ศึกษาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ท้ังนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการสอบ แต่ให้มีจานวนช่ัวโมงเรียนของแต่ละ รายวิชาเท่ากบั หน่งึ ภาคการศกึ ษาปกติ ซง่ึ ขนึ้ อย่กู บั การพิจารณาของคณะกรรมการประจาหลกั สูตร 1.3 การเทยี บเคยี งหนว่ ยกิตในระบบทวิภาค - 2. การดาเนินการหลกั สูตร 2.1 วนั -เวลาในดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นมถิ นุ ายน – กนั ยายน ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เดอื นพฤศจิกายน – กมุ ภาพันธ์ ภาคการศึกษาฤดรู ้อน เดอื นมีนาคม – พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบัตขิ องผูเ้ ขา้ ศกึ ษา 1. เป็นผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า ทุกสาขา ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ ประจาหลกั สตู ร 2. มีคุณสมบัติอ่ืน ๆ ตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วย การศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) และฉบับเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) 2.3 ปญั หาของนักศกึ ษาแรกเขา้ 1. นักศึกษามีพื้นฐานความรู้ ทักษะทางด้านการใช้ภาษาอังกฤษ และการคานวณทาง คณติ ศาสตร์อย่ใู นเกณฑ์พอใช้ ซึง่ จาเป็นอย่างย่ิงทจี่ ะตอ้ งได้รบั การพฒั นาคุณภาพใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ดี 2. นกั ศกึ ษามพี ้ืนฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่แี ตกตา่ งกัน 3. นักศึกษาประสบปัญหาด้านการปรับตัวจากระดับมัธยมศึกษา มาสู่รูปแบบการเรียนใน ระดับอดุ มศกึ ษา

11 2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนนิ การเพ่ือแก้ไขปญั หา/ขอ้ จากดั ของนักศกึ ษาในขอ้ 2.3 1. จัดให้มีการอบรมการปรับพ้ืนฐานเพ่ือพัฒนาทักษะทางดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ และการ คานวณทางคณติ ศาสตร์ 2. จัดให้มีการอบรมการปรับพ้ืนฐานเพ่ือทางด้านนวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี สารสนเทศ 3. มีการจดั ให้มอี าจารย์ท่ีปรึกษา และมีช่วั โมงพบอาจารยท์ ปี่ รึกษาทกุ สปั ดาห์ 2.5 แผนการรับนกั ศกึ ษาและผสู้ าเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศกึ ษา จานวนนักศกึ ษาแต่ละปกี ารศกึ ษา 2563 2564 2565 2566 2567 ช้นั ปที ่ี 1 60 60 60 60 60 ชนั้ ปีท่ี 2 - 60 60 60 60 ชน้ั ปที ี่ 3 - - 60 60 60 ชั้นปีที่ 4 - - - 60 60 รวม 60 120 180 240 240 คาดวา่ จะสาเรจ็ การศึกษา - - - 60 60 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรบั 2563 ปงี บประมาณ 2567 2564 2565 2566 คา่ บารุงการศึกษา และ 1,680,000 4,200,000 6,720,000 9,240,000 9,240,000 คา่ ลงทะเบยี น เงินอดุ หนนุ จากรัฐบาล 180,000 450,000 720,000 990,000 990,000 รวมรายรบั 1,860,000 4,650,000 7,440,000 10,230,000 10,230,000

12 2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หนว่ ย:บาท) หมวดเงนิ ปงี บประมาณ 2563 2564 2565 2566 2567 ก. งบดาเนินการ 1. ค่าใชจ้ า่ ยบุคลากร 2,550,000 2,703,000 2,865,180 3,037,091 3,219,316 2. คา่ ใชจ้ า่ ยดาเนินงาน (ไม่ 185,000 275,000 365,000 455,000 455,000 รวม 3) 3. ทนุ การศึกษา ----- 4. รายจา่ ยระดับ 840,000 2,100,000 3,360,000 4,620,000 4,620,000 มหาวิทยาลยั (รวม ก) 3,575,000 5,078,000 6,590,180 8,112,091 8,294,316 ข. งบลงทุน คา่ ครภุ ณั ฑ์ 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 (รวม ข) รวม (ก) + (ข) 3,925,000 5,428,000 6,940,180 8,462,091 8,644,316 จานวนนักศึกษา 60 120 180 240 240 ค่าใช้จา่ ยต่อหัวนักศกึ ษา 130,833.3 60,311.11 46,267.87 40,295.67 41,163.41 *หมายเหตุ คา่ ใชจ้ ่ายตอ่ หวั นักศึกษาตามระบบเหมาจ่าย รายละ 28,000 บาทต่อปี 2.7 ระบบการศึกษา  แบบชั้นเรียน  แบบทางไกลผา่ นสอ่ื สงิ่ พมิ พเ์ ปน็ หลัก  แบบทางไกลผา่ นสื่อแพร่ภาพและเสยี งเปน็ ส่ือหลกั  แบบทางไกลทางอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ป็นส่อื หลกั (E-learning)  แบบทางไกลทางอนิ เตอร์เนต  อืน่ ๆ (ระบ)ุ .................................................. 2.8 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวชิ า และการลงทะเบียนเรยี นขา้ มสถาบันอุดมศกึ ษา นกั ศึกษาท่เี คยศึกษาในสถาบนั อดุ มศึกษาอืน่ มาก่อน เม่ือเขา้ ศึกษาในหลักสตู รน้ี สามารถเทียบ โอนหน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญา ตรี พ.ศ. 2550 ระเบียบมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี วา่ ดว้ ยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2550 และระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552

13 30 หนว่ ยกติ 7 หน่วยกิต 3. หลักสูตร และอาจารยผ์ สู้ อน 3 หนว่ ยกติ 3.1 หลักสูตร 3 หนว่ ยกติ 3.1.1 จานวนหนว่ ยกิต รวมตลอดหลกั สูตร 136 หนว่ ยกิต 1 หนว่ ยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลกั สตู ร 12 หน่วยกติ 6 หน่วยกติ 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 6 หนว่ ยกติ 1.1 กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 6 หนว่ ยกติ สงั คมศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต มนษุ ย์ศาสตร์ 3 หนว่ ยกิต พลศกึ ษาและนนั ทนาการ 5 หนว่ ยกติ 1.2 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 100 หนว่ ยกติ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร 12 หน่วยกติ ภาษาเพ่มิ เตมิ 27 หน่วยกติ 1.3 กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวัตกรรม 15 หน่วยกิต เทคโนโลยสี ารสนเทศ 12 หนว่ ยกติ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และนวัตกรรม 30 หน่วยกติ 1.4 กลมุ่ วิชาบูรณาการและศาสตร์ผปู่ ระกอบการ 24 หนว่ ยกติ 7 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 6 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มวชิ าแกนวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.2 กล่มุ วชิ าพ้นื ฐานวชิ าชีพ 2.2.1 รายวชิ าทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2.2.2 รายวชิ าทางนวตั กรรมการเรยี นรู้ 2.3 กลุ่มวิชาชพี บงั คบั 2.4 กลมุ่ วชิ าชีพเลอื ก 2.5 กลมุ่ วชิ าเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ นวชิ าชีพ 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี

14 4. รายวชิ า 1. หมวดศึกษาทว่ั ไปไมน่ ้อยกวา่ 30 หนว่ ยกติ 1.1 กลมุ่ คุณคา่ แหง่ ชีวิตและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง ไมน่ อ้ ยกว่า 7 หน่วยกติ 1.1.1 รายวิชาสงั คมศาสตร์ ให้เลอื กศึกษาไมน่ ้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 01-110-004 สังคมกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Society and Environment 01-110-007 การส่อื สารกบั สังคม 3(3-0-6) Communication and Society 01-110-009 การพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสังคม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การพัฒนาท่ีย่งั ยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development 01-110-017 คุณภาพชวี ิตทดี่ ีของพลเมืองยุคใหม่ 3(3-0-6) Quality Life for New Generation 01-110-018 อินเทรนดอ์ ย่างเปน็ สุข 3(3-0-6) Happiness Trend 01-110-019 คิดเชงิ รุกแบบพอเพยี ง 3(3-0-6) Proactive Thinking of Sufficiency Economic 1.1.2 รายวชิ ามนุษยศาสตร์ ให้เลอื กศึกษาไมน่ ้อยกวา่ 3 หนว่ ยกติ จากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 01-010-025 มองชวี ิตผ่านฟลิ ์ม 3(3-0-6) Life on Films 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชิงวิชาการ 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing 01-210-018 การสืบคน้ สารสนเทศ 3(3-0-6) Information Retrieval 01-210-019 การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ 3(2-2-5) Personality Development 01-210-020 จิตวทิ ยาประยุกตเ์ พ่ือการทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work 01-210-023 มหศั จรรยแ์ ห่งรกั 3(3-0-6) Miracle of Love

15 1.1.3 รายวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ให้เลอื กศึกษาไมน่ อ้ ยกว่า 1 หนว่ ยกติ จากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation 01-610-005 การจัดและการบริหารค่ายพักแรม 3(3-0-6) Organizing and Managing Camps 01-610-009 สขุ ภาพเพือ่ ชีวิต 3(3-0-6) Health for Life 01-610-011 กิจกรรมทางกายเพอื่ สขุ ภาวะ 3(2-2-5) Physical Activities for Wellness 01-610-012 สขุ ภาพเพอื่ การดารงชีวติ สาหรับคนรนุ่ ใหม่ 3(2-2-5) Health for New Generation Living 01-610-014 ทกั ษะกฬี าเพอ่ื สขุ ภาพ 1(0-2-1) Sports Skills for health 1.2 กลุม่ รายวชิ าภาษาและการสือ่ สาร ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต 1.2.1 รายวชิ าภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร จานวน 6 หนว่ ยกติ ให้ศกึ ษาจากรายวชิ า ตอ่ ไปนี้ 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 1.2.2 รายวิชาภาษาเพิ่มเตมิ ใหเ้ ลือกศกึ ษาไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 01-310-001 ภาษาไทยเพ่อื การส่อื สาร 3(3-0-6) Thai for Communication 01-310-015 การอ่านและการเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ 3(3-0-6) Creative Reading and Writing 01-310-016 ภาษาไทยเพอ่ื การนาเสนองานแบบมอื อาชีพ 3(3-0-6) Thai for Professional Presentation 01-320-006 ภาษาอังกฤษเพอ่ื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(2-2-5) English for Science and Technology 01-320-015 ภาษาอังกฤษสาหรับธรุ กจิ ออนไลน์ 3(2-2-5) English for Online Business

01-320-021 16 3(2-2-5) 01-330-001 3(3-0-6) 01-330-002 การใชส้ ื่อดจิ ิทลั ในการเรยี นภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) 01-330-006 Using Digital Tools for English Learning 3(3-0-6) 01-330-007 ภาษาจนี พ้นื ฐาน 3(3-0-6) Basic Chinese การสนทนาภาษาจีนเบ้อื งต้น Basic Chinese Conversation ภาษาญป่ี ุ่นพ้ืนฐาน Basic Japanese สนทนาภาษาญ่ีปุน่ เบอื้ งตน้ Basic Japanese Conversation 1.3 กลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 1.3.1 รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ใหเ้ ลือก 1 รายวชิ า จานวน 3 หนว่ ยกิต จากรายวชิ า ดงั ตอ่ ไปน้ี 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รปู เพ่อื งานมัลติมเี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making 1.3.2 รายวชิ าวทิ ยาศาตรค์ ณติ ศาสตร์และนวัตกรรม ใหเ้ ลอื กเรียนอกี ไม่น้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ จากรายวิชาต่อไปนี้ 09-111-001 การคดิ และการให้เหตผุ ล 3(3-0-6) Thinking and Reasoning 09-111-051 คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจาวัน 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life 09-121-001 สถิติในชีวติ ประจาวนั 3(2-2-5) Statistical in Daily Life 09-121-002 สถิตเิ บ้อื งตน้ สาหรับนวัตกรรม 3(2-2-5) Basic Statistics for Innovation 09-130-001 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารสเี ขยี ว 3(3-0-6) Green ICT

17 09-130-002 อินเทอรเ์ น็ตทุกสรรพสงิ่ ในชวี ิตประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life 09-130-003 ชีวิตดจิ ิทลั 3(3-0-6) Digital Life 09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation 09-410-001 ก้าวทันเทคโนโลยี 3(3-0-6) Keep Pace with Technology 1.4 กลมุ่ บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 หน่วยกติ 1.4.1 รายวชิ าบรู ณาการและศาสตร์ผปู้ ระกอบการ ให้ศึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 00-100-101 อตั ลกั ษณแ์ หง่ ราชมงคลธญั บรุ ี 2(0-4-2) RMUTT Identity 00-100-201 มหาวิทยาลัยสีเขยี ว 1(0-2-1) Green University 00-100-202 การคดิ เชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking 00-100-301 ความเปน็ ผ้ปู ระกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship และสามารถเลอื กศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ได้จากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 1.4.2 รายวชิ าบรู ณาการและศาสตร์ผปู้ ระกอบการ 00-100-302 นวัตกรรมเพอ่ื ชุมชน 3(1-4-4) Innovation for the Community 09-090-013 การจดั การสารสนเทศเพอ่ื ผปู้ ระกอบการ 3(2-2-5) Information Management for Entrepreneur 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 100 หน่วยกติ 2.1 กลมุ่ วิชาแกนวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 12 หนว่ ยกติ ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 02-321-101 พ้ืนฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5) Foundation of Computer Programming 02-321-102 คณิตศาสตรส์ าหรบั นักเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 3(3-0-6) Mathematics for Information Technology 1 02-321-201 คณติ ศาสตรส์ าหรบั นกั เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3(3-0-6) Mathematics for Information Technology 2

18 02-321-202 ฟิสิกสส์ าหรบั การสร้างโมเดล 3 มติ ิ 3(2-2-5) Physics for 3D Modeling 2.2 กล่มุ วชิ าพื้นฐานวชิ าชพี 27 หน่วยกติ ให้ศึกษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 2.2.1 รายวิชาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวชิ าต่อไปน้ี 02-322-103 การปฏิบตั ิวิชาชพี สากล 3(2-2-5) Global Professional Practice 02-322-104 การจัดการสารสนเทศเพ่อื องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Information Management for Learning Organization 02-322-105 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) Computer Networking 02-322-203 เทคโนโลยีแพลตฟอร์ม 3(3-0-6) Platform Technology 02-322-204 เทคโนโลยเี ว็บเพ่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Web Technology for Learning Innovation 2.2.2 รายวิชาทางนวัตกรรมการเรียนรู้ 12 หนว่ ยกติ ให้ศึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 02-322-106 การคิดเชงิ การออกแบบเพอ่ื นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Design Thinking for Learning Innovation 02-322-107 คอมพวิ เตอร์กราฟิกเพื่องานสร้างสรรค์นวตั กรรม 3(2-2-5) Computer Graphic for Creative Innovation 02-322-205 การออกแบบและผลติ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์เพ่ือการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Electronic Media Design and Production for Learning 02-322-301 นวัตกรรมการพฒั นาหลกั สูตรฝึกอบรมฐานสมรรถนะ 3(2-2-5) Innovation for Training Competency-Based Curriculum Development 2.3 กลมุ่ วชิ าชพี บงั คบั 30 หน่วยกิต ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าดงั ต่อไปน้ี 02-323-206 การจดั การนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(3-0-6) Learning Innovation Management 02-323-207 หลกั การความมน่ั คงทางไซเบอร์ 3(3-0-6) Cyber Security Principles 02-323-208 เทคโนโลยีรวมระบบ 3(2-2-5) Integrated Systems Technology

19 02-323-209 การออกแบบประสบการณ์ผ้ใู ชส้ าหรับนวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) User Experience Design for Learning Innovation 02-323-302 โมบายแอปพลิเคชันสาหรบั นวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Mobile Application for Learning Innovation 02-323-303 การออกแบบและพัฒนาซอฟแวรเ์ ชงิ นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Software Design and Development for Learning Innovation 02-323-304 กระบวนทศั น์ของระบบ 3(3-0-6) System Paradigms 02-323-305 การออกแบบส่ิงแวดล้อมและตวั ละคร 3(2-2-5) Character and Environment Design 02-323-306 โครงงานทางวิชาชพี 1 3(2-2-5) Project 1 02-323-401 โครงงานทางวิชาชพี 2 3(0-6-3) Project 2 2.4 กลุม่ วิชาชพี เลอื ก 24 หน่วยกิต ใหเ้ ลือกจากชุดวชิ าตอ่ ไปนี้ อยา่ งนอ้ ย 2 ชดุ วชิ า 2.4.1 ชุดวิชาการพัฒนาซอฟตแ์ วร์นวัตกรรมการเรยี นรู้ 02-324-210 ข้อมูลขนาดใหญ่เพือ่ นวัตกรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Big Data for Learning Innovation 02-324-307 ปญั ญาประดษิ ฐเ์ พ่อื นวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Artificial Intelligent for Learning Innovation 02-324-308 การเขยี นโปรแกรมเชงิ วตั ถุ 3(2-2-5) Object Oriented Programming 02-323-402 อินเทอร์เนต็ ของสรรพส่งิ เพ่อื นวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Internet of Things for Learning Innovation 2.4.2 ชดุ วิชาเทคโนโลยีความเปน็ จรงิ เสมอื น 02-324-211 ระบบความเป็นจริงเสมอื นเพอ่ื ประสบการณเ์ รยี นรู้ 3(2-2-5) Virtual Reality Systems for Learning Experience 02-324-212 การพฒั นาเกมเพอื่ การเรียนรู้ 3(2-2-5) Gamification for Learning 02-324-309 เทคโนโลยคี วามเปน็ จรงิ เสริมเพ่ือนวัตกรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Augmented Reality Technology for learning innovation

20 02-324-403 การสร้างภาพเคลอ่ื นไหว 3 มติ ิ 3(2-2-5) 3D Animation 2.4.3 ชุดวชิ าการเปน็ วทิ ยากรกระบวนกร 02-324-310 พฤตกิ รรมองค์การและการจดั การความรู้ 3(2-2-5) Organizational Behavior and Knowledge Management 02-324-311 เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื่ การพฒั นามนุษย์ 3(3-0-6) Digital Technology for People Development 02-324-404 เทคนคิ การเป็นกระบวนกร 3(2-2-5) Facilitator Technique 02-323-405 นวัตกรรมสาหรบั ผูถ้ ่ายทอดองคค์ วามรู้ 3(2-2-5) Innovation for Knowledge Transferer 2.4.4 ชุดวชิ าการเปน็ ผปู้ ระกอบการนวตั กรรมการเรียนรู้ 02-324-213 ความรเู้ บอื้ งต้นการจดั การธุรกิจและนวตั กรรม 3(3-0-6) Fundamentals of Business and Innovation 02-324-312 การพาณิชย์และการตลาดดจิ ิทัล 3(2-2-5) Digital Commerce and Marketing 02-324-406 การเปน็ ผู้ประกอบการสาหรับธุรกิจนวตั กรรมการเรียนรู้ 3(2-2-5) Entrepreneurship for Learning Innovation Business 02-324-407 พาณชิ ยกรรมเทคโนโลยสี าหรับนวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) Technology Commercialization for Learning Innovation 2.5 รายวชิ ากลมุ่ วชิ าเสริมสรา้ งประสบการณ์ในวชิ าชพี ใหน้ ักศึกษาเลือกลงรายวชิ าในกลมุ่ วชิ าเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ นรายวชิ าชีพ จานวนไม่ นอ้ ยกวา่ 7 หนว่ ยกติ โดยศึกษา 1 หนว่ ยกิต จากรายวชิ า 02-000-301 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience และให้เลือกศกึ ษา 6 หนว่ ยกิต จากรายวิชาแบบสหกิจศึกษา หากมคี วามจาเป็นอาจเลอื ก ศึกษารายวิชาแบบฝึกงานหรอื รายวิชาอ่นื ๆ แทนได้ จากรายวชิ าต่อไปน้ี 02-000-302 สหกจิ ศกึ ษา 6(0-40-0) Cooperative Education 02-000-303 สหกิจศึกษาต่างประเทศ 6(0-40-0) International Cooperative Education

21 3(0-20-0) 3(0-20-0) รายวิชาแบบฝึกงาน จานวน 6 หนว่ ยกิต ให้เลอื กจากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี 3(0-6-3) 02-000-304 ฝึกงาน 2(0-6-3) Apprenticeship 2(0-6-3) 02-000-305 ฝกึ งานต่างประเทศ 3(0-16-8) 6(0-40-0) International Apprenticeship 02-000-306 ปัญหาพิเศษจากสถานประกอบการ Workplace Special Problem รายวิชาอ่นื ๆ ใหเ้ ลือกศึกษาเพ่มิ เติมจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 02-000-309 ปฏิบัติงานภาคสนาม Fieldwork 02-000-310 การตดิ ตามพฤตกิ รรมการทางาน Job Shadowing 02-000-311 การฝึกเฉพาะตาแหน่ง Practicum 02-000-312 การฝึกปฏิบตั ิจรงิ ภายหลงั สาเรจ็ การเรยี นทฤษฎี Post-course Internship 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนว่ ยกิต ให้เลือกศึกษาจากรายวชิ าที่เปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี โดยไม่ซ้า กับรายวชิ าทศ่ี ึกษามาแล้ว และตอ้ งไมเ่ ป็นรายวิชาที่กาหนดให้ศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิต โดยได้รบั ความ เหน็ ชอบจากอาจารย์ทปี่ รึกษา

22 4.1 แผนการศึกษาเสนอแนะ ปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 01-xxx-xxx เลอื กจากรายวิชามนุษยศาสตร์ 3 xx x 00-100-101 อตั ลกั ษณ์แห่งราชมงคลธญั บุรี 09-000-001 ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละ 2 04 2 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 01-610-0xx เลือกจากรายวิชาพลศกึ ษาหรือ 3 22 5 นันทนาการ 02-321-101 พ้นื ฐานการเขียนโปรแกรม 1 02 1 คอมพิวเตอร์ 02-322-103 การปฏิบัตวิ ิชาชีพสากล 3 22 5 02-322-106 การคดิ เชิงการออกแบบเพ่อื นวตั กรรมการเรยี นรู้ 3 22 5 3 22 5 รวม 18 หน่วยกติ ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 01-110-0xx เลือกจากรายวิชาสงั คมศาสตร์ 3 30 6 09- xxx-xxx เลือกจากรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละนวตั กรรม 3 xx x 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร 1 02-321-102 คณติ ศาสตรส์ าหรับนกั เทคโนโลยี 3 22 5 สารสนเทศ 1 3 30 6 02-322-104 การจัดการสารสนเทศเพื่อองค์กร แห่งการเรียนรู้ 3 22 5 02-322-105 เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 02-322-107 คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ เพอื่ งาน 3 30 6 สร้างสรรค์นวัตกรรม 3 22 5 รวม 21 หนว่ ยกิต

23 ปีท่ี 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 00-100-201 มหาลัยวทิ ยาลยั สเี ขียว 1 02 1 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 2 1 02 1 02-321-201 คณติ ศาสตรส์ าหรบั นกั เทคโนโลยี สารสนเทศ 2 3 22 5 02-322-203 เทคโนโลยีแพลตฟอร์ม 02-322-204 เทคโนโลยีเว็บเพือ่ นวตั กรรมการ 3 30 6 เรียนรู้ 02-322-205 การออกแบบและผลติ ส่อื 3 30 6 อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พ่อื การเรียนรู้ 3 22 5 02-323-206 การจัดการนวัตกรรมการเรยี นรู้ 3 22 5 รวม 3 30 6 20 หนว่ ยกติ ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย 3 ตนเอง 3 01-xxx-xxx เลือกจากรายวิชาภาษาเพ่ิมเติม 3 xx x 02-321-202 ฟสิ กิ สส์ าหรบั การสร้างโมเดล 3 มิติ 3 02-323-207 หลักการความมนั่ คงทางไซเบอร์ 3 22 5 02-323-208 เทคโนโลยรี วมระบบ 02-323-209 การออกแบบประสบการณผ์ ใู้ ช้ 3 30 6 สาหรบั นวัตกรรมการเรียนรู้ 02-324-xxx เลือกจากรายวิชาชีพเลอื ก 1 22 5 รวม 22 5 xx x 18 หน่วยกติ

24 ปที ี่ 3 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 01-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าภาษาเพ่ิมเติม 3 xx x 01-100-301 ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 02-322-301 นวัตกรรมการพฒั นาหลักสูตร 1 02 1 ฝกึ อบรมฐานสมรรถนะ 02-323-302 โมบายแอปพลิเคชนั สาหรับ 3 22 5 นวตั กรรมการเรยี นรู้ 02-323-303 การออกแบบและพัฒนาซอฟแวร์ 3 22 5 เชงิ นวตั กรรมการเรียนรู้ 02-324-xxx เลือกจากรายวิชาชีพเลอื ก 2 3 22 5 xx-xxx-xxx เลือกจากรายวชิ าเลอื กเสรี 1 3 xx x รวม 3 xx x 19 หน่วยกติ ปที ี่ 3 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 02-323-304 กระบวนทัศน์ของระบบ 3 30 6 02-323-305 การออกแบบสง่ิ แวดล้อมและตัว ละคร 3 22 5 02-323-306 โครงงานทางวชิ าชพี 1 02-324-xxx เลอื กจากรายวชิ าชีพเลือก 3 3 22 5 02-324-xxx เลือกจากรายวชิ าชพี เลือก 4 02-324-xxx เลือกจากรายวิชาชีพเลอื ก 5 3 xx x xx-xxx-xxx เลอื กจากรายวชิ าเลอื กเสรี 2 3 xx x รวม 3 xx x 3 xx x 21 หนว่ ยกิต

25 ปที ี่ 4 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 02-000-301 การเตรยี มความพร้อมฝกึ 10 ประสบการณว์ ชิ าชีพ 21 02-323-401 โครงงานทางวิชาชีพ 2 32 02-324-xxx เลือกจากรายวชิ าชีพเลือก 6 3x 2 5 02-324-xxx เลอื กจากรายวชิ าชพี เลอื ก 7 3x x x 02-324-xxx เลือกจากรายวิชาชพี เลอื ก 8 3x x x x x รวม 13 หนว่ ยกิต ปีท่ี 4 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 02-000-312 การฝึกปฏิบตั จิ ริงภายหลังสาเรจ็ การเรียนทฤษฎี 6 0 40 0 รวม 6 หนว่ ยกิต

26 4.2 คาอธบิ ายรายวิชา 01-110-004 สังคมกับสิ่งแวดลอ้ ม 3(3-0-6) Society and Environment ความสาคัญของสังคมกับสิ่งแวดล้อม แนวคิดพ้ืนฐานทางนิเวศวิทยากับการศึกษา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มลพิษส่ิงแวดล้อมและการควบคุม การ วเิ คราะห์ระบบและการประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมเพ่ือการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสม Importance of society and environment, basic concepts in ecology, natural resources and environment, environment pollution and control, system analysis and assessment of impacts on environment for appropriate environmental management 01-110-007 การสอื่ สารกับสังคม 3(3-0-6) Communication and Society ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับสังคม กระบวนการส่ือสารและทฤษฎีที่ เก่ียวข้อง อิทธิพลของการสื่อสารต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมนุษย์ในสังคม บทบาทของส่ือมวลชนที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ สังคมและวัฒนธรรมไทย การนายุทธวิธกี ารใช้ ส่ือประเภทต่างๆมาสนับสนุนการพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ วฒั นธรรม Relations of communication and society, communication processes and related theories, influences of communication on human behavior changes in society, roles of mass media influencing on Thai society and culture, applying strategies of different types of media to promote political, economic, social and cultural development

27 01-110-009 การพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสังคม 3(3-0-6) Development of Social and Life Quality ปรัชญาและหลักธรรมในการดารงชีวิตของบุคคลการสร้างแนวคิดและเจตคติของ ตนเอง หลักธรรมในการสร้างคุณภาพชีวิต บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของ บุคคล หลักการบริหารและการพัฒนาตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม เทคนิคการครองใจคน หลักการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาวชิ าชพี Philosophy and Dharma principles in daily life, creating their own ideas and attitudes, Dharma principles of creating life quality, individuals’ roles and responsibilities, management principles and self- development, participation in social activities, techniques of winning the one’ s hearts, principles for effective job development, ethics and codes of conduct 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพือ่ การพฒั นาที่ย่งั ยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพฒั นา เศรษฐกิจแบบยั่งยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือ นาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณีตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงที่ ประสบความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency- economy activities in Thailand

28 01-110-017 คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องพลเมอื งยคุ ใหม่ 3(3-0-6) Quality Life for New Generation ความหมายและความสาคัญของการมีคุณภาพชีวิตท่ีดี การปรับตัวและเข้าใจ วัฒนธรรมเพื่อเป็นสมาชิกท่ีดีในครอบครัว องค์กร สังคมและตระหนักใน ความสาคัญของสิ่งแวดล้อม หลักธรรมทางศาสนาสู่การเป็นพลเมืองที่ดี แนวคิด เกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานสู่การเป็นผู้นาท่ีมีประสิทธิภาพ การฝึกอบรมเพื่อ การส่ือสารในยุคใหม่ Meaning and importance of quality life, adaptation and understanding of culture as good members in families, organizations, societies, and realization of the importance of environment, religious principles towards good citizenship, concepts of motivation for work becoming an effective leader and communication in the modern age 01-110-018 อนิ เทรนด์อย่างเป็นสขุ 3(3-0-6) Happiness Trend คนไทยในสังคมยุค 4.0 มารยาทสังคมไทยในสังคมโลก สิทธิหน้าท่ีของคนไทย ตระหนกั ในสิ่งแวดล้อมเพ่อื สว่ นรวม การบริหารจดั การเศรษฐกจิ ในชีวติ ประจาวนั รู้ กฎหมายในการทางาน Thai citizens in Thailand 4.0, Thai etiquette in global society, rights and duties of Thai citizens, environmental awareness, financial management in daily life, law in the workplace 01-110-019 คดิ เชงิ รุกแบบพอเพียง 3(3-0-6) Proactive Thinking of Sufficiency Economy หลักการคิดเชิงรุก เข้าใจเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก คิดแบบไทยให้ก้าวหน้า พัฒนาบนพื้นฐานความพอเพียง สิทธิในทรัพยสินทางปัญญาที่ควรได้รับความ คุ้มครอง ตระหนักถึงสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือสว่ นรวม การวจิ ัยเชิงรกุ แบบพอเพยี ง Proactive thinking, Thai and Global economy, thinking in Thai progressive way, development on the basis of sufficiency, the rights for intellectual property that should be protected, environmental awareness for the common interest, proactive research on the basis of sufficiency economy

29 01-010-025 มองชวี ติ ผ่านฟลิ ์ม 3(3-0-6) Life on Films การเรยี นร้แู ละเข้าใจชวี ติ จากภาพยนตรผ์ า่ นมมุ มองเกย่ี วกับความจรงิ ของชวี ิต ความเปน็ มนุษย์ และการเปน็ สมาชิกท่ีดีของสังคม เพ่อื เข้าใจชวี ติ ของตนเองและ ผอู้ ื่นอันนาไปส่กู ารอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมสี นั ติสขุ Learning and understanding lives and realities from movies, being of man, citizenship, self and other’s understanding of living together in harmony 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Searching and Academic Report Writing วิธีการค้นคว้าสารสนเทศ การเข้าถึงและรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศ การ ประเมนิ การวิเคราะห์และการสังเคราะห์สารสนเทศ การเขยี นรายงานเชิงวิชาการ การอ้างองิ และบรรณานกุ รม Searching for information, having access to and collecting information resources, evaluating, analyzing, and synthesizing information, writing academic reports, references, and bibliographies 01-210-018 การสบื ค้นสารสนเทศ 3(3-0-6) Information Retrieval เทคนิคและกระบวนการสืบค้นสารสนเทศ การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุด การสืบค้นฐานข้อมูลสาขาวิทยาศาสตร์ การสืบค้นฐานข้อมูลสาขา สังคมศาสตร์ การสืบค้นฐานข้อมูลสหสาขาวิชา และการสืบค้นสารสนเทศบน อินเทอรเ์ นต็ Techniques and procedure of information retrieval, online public access cataloging, database retrieval in scientific, social science and interdisciplinary fields, and information retrieval on the Internet

30 01-210-019 การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3(2-2-5) Personality Development ความหมายและความสาคัญของการพัฒนาบุคลกิ ภาพ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล การวิเคราะห์และการประเมินบุคลิกภาพ ความฉลาดทางอารมณ์ การปรับตัวใน สังคมปัจจุบัน การเสริมสร้างสุขภาพจิต การพัฒนาเจตคติท่ีมีต่อตนเองและผู้อ่ืน การสื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย การแสดงออกอย่าง เหมาะสมและมารยาทสังคม Definition and the importance of personality development, individuals’ differences between , analyzing and assessing personality, emotional intelligence, self- adjustment in present society, mental health development, developing attitudes towards oneself and others, transaction and relationship, development of appearance, assertiveness, social manners 01-210-020 จติ วิทยาประยกุ ตเ์ พือ่ การทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาประยุกต์เพื่อการทางาน ปัจจัยทางจิตวิทยาท่ีมี ผลกระทบต่อพฤติกรรมการทางาน การพัฒนาตนเพ่ือการทางานที่มีประสิทธิภาพ แรงจูงใจในการทางาน การจัดการความเครียดจากการทางาน กลุ่มและทีมงาน การบริหารความขัดแย้ง รูปแบบภาวะผู้นาสมัยใหม่ องค์การ การบริหารทรัพยากร มนุษย์ในองค์การ กลยุทธ์ในการเสริมสร้างประสิทธผิ ลขององค์การ สภาพแวดล้อม และสุขภาพในการทางาน Introduction to applied psychology to work, psychological factors affecting work behavior, self- development for effective work, work motivation, work stress management, groups and teamwork, conflict management, modern leadership style, organization, human resource management in organization, strategies to enhance organizational effectiveness, work environment and health

31 01-210-023 มหศั จรรย์แหง่ รกั 3(3-0-6) Miracle of Love นิยามของความรัก ความรักกับความสุข ความรักในวัยเรียนกับความขัดแย้ง ความ ฉลาดรู้เร่ืองเพศ การจัดการชวี ิตรกั ใหส้ มดุลและมีความสุข การสร้างความสัมพันธท์ ่ี ย่ังยืน พัฒนาการของความรัก ความรักในองค์กรและสถาบัน ความรักโลกและ มนษุ ยชาติ ความเมตตากับการสรา้ งสันติภาพ Definition of love, love and happiness, conflict of love in university, sexual literacy, balancing love and happiness for life, building life-long relationship, development of love, love for the world and human beings, compassion and peace making 01-610-003 นันทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง ๆ และเลือก กจิ กรรมนนั ทนาการท่ีเหมาะสม General knowledge of recreation, types of recreational activities and selection of appropriate recreational activities 01-610-005 การจดั และการบรหิ ารค่ายพกั แรม 3(3-0-6) Organizing and Managing Camps หลักการจัดและการบริหารค่ายพักแรม ประเภทของค่ายพักแรมกิจกรรมค่ายพัก แรม ผู้นาค่ายพักแรม และการประเมินผลการจัดการค่ายพกั แรม Principles of camping arrangement management, types of camping, camping activities, camp leaders, evaluation of camping 01-610-009 สุขภาพเพ่ือชวี ิต 3(3-0-6) Health for Life ศึกษาเก่ียวกับพัฒนาการของมนุษย์ การปรับตัวของวัยรุ่นกับการพฒั นาบุคลิกภาพ หลักโภชนาการเพื่อสุขภาพ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ สมรรถภาพ ของการมสี ุขภาพทีด่ ี Human development, teenage adjustment and personality development, nutrition for health, advance of health science, and physical capability of good health

32 01-610-011 กิจกรรมทางกายเพือ่ สขุ ภาวะ 3(2-2-5) Physical Activities for Wellness ความหมาย ความสาคัญและขอบข่ายของกิจกรรมทางกาย ความรู้เก่ียวกับสุขภาพ และสมรรถภาพทางกาย ปัจจัยท่ีสัมพันธเ์ ก่ียวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ แนวทางใน การสร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย การประเมินสุขภาพและสมรรถภาพ ทางกายก่อนและหลังการออกกาลังกาย สมาธิกับการออกกาลังกาย ปฏิบัติกิจกรรม ทางกายอย่างน้อย 3 กิจกรรม โดยคานึงศักยภาพและความสนใจของแต่ละบุคคล และการปลูกฝังเจตคติทดี่ ีต่อการออกกาลังกาย Meaning, importance and scope of physical activities, knowledge about health and physical fitness, factors related to health promotion, guidelines for health and physical fitness, assessment of health and physical fitness before and after exercise, concentration and exercise, practice of physical activities for at least two activities, taking into account the potential and interest of the individual’ s instilling of positive attitudes towards exercises 01-610-012 สขุ ภาพเพื่อการดารงชวี ิตสาหรบั คนร่นุ ใหม่ 3(2-2-5) Health for New Generation Living ศึกษาแนวความคดิ เกยี่ วกับสขุ ภาพ องคป์ ระกอบของการมีสุขภาพดี การเสริมสร้าง สุขภาพโดยคานึงถึงหลักการทางพลศึกษา เน้นการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ โภชนาการกับสุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง การปฐม พยาบาล และการป้องกนั การบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและการเลน่ กฬี า Concepts about health, elements of good health, strengthening health by taking into account principles of physical education, focus on fitness, nutrition with health, self- test for physical fitness, first aid and prevention of injury from exercises and sports

33 01-610-014 ทักษะกีฬาเพ่ือสุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skills for health ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ สังคม การฝึกปฏิบัติทักษะพ้ืนฐานของชนิดกีฬาท่ีเลือก วิธีการเล่น และกติกาการ แข่งขนั General knowledge about the chosen sport, development of health on aspects of body, mind, emotion, and social, practice of basic skills of chosen sports, how to play the sport, sport rules for competition 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาทใ่ี ชใ้ นการบอกขอ้ มลู เก่ยี วกับตนเอง กิจวตั รประจาวัน ความ สนใจการสนทนาสั้น ๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสั้น ๆ การฟังและ อ่านข้อความส้นั ๆ จากสอ่ื ตา่ ง ๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเร่ือง อธิบาย และให้เหตผุ ล การสนทนาอย่าง ตอ่ เน่ืองในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายส้ัน ๆ การฟังและ การอา่ นเน้ือหาในเรื่องทเ่ี ก่ียวขอ้ งจากส่อื Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts

34 01-310-001 ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร 3(3-0-6) Thai for Communication หลักการส่ือสาร ความรู้พื้นฐานการใช้ภาษาไทย การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การ อา่ นจับใจความและวิเคราะห์ความ การเขียนเพื่อการสื่อสารในชีวติ ประจาวัน และ การพดู ในโอกาสต่าง ๆ Principles of communication, Thai language usage, critical listening, reading for main ideas and analysis, writing for communication in daily life and speaking on different occasions 01-310-015 การอ่านและการเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ 3(3-0-6) Creative Reading and Writing การสง่ เสรมิ ความคดิ สร้างสรรค์จากการอ่านและการเขียน การเลือกสรรวรรณกรรม การเรียบเรียงถ้อยคา การใช้โวหาร การเขียนย่อหน้า กลวิธีการสร้างสรรค์และ นาเสนอผลงานด้วยรูปแบบท่ีหลากหลายและเหมาะสมกับวชิ าชพี Promoting creative thinking from reading and writing, selecting literature, organizing words and phrases, making eloquence, paragraph writing, strategies for creation and presentation appropriate for particular professions 01-310-016 ภาษาไทยเพอื่ การนาเสนองานแบบมืออาชีพ 3(3-0-6) Thai for Professional Presentation ลักษณะ ความสาคัญ องค์ประกอบ และรูปแบบของการนาเสนอ การเตรียมความ พร้อมการใช้ส่ือ และศิลปะการใช้ภาษาไทยในการนาเสนอด้วยการพูดและการ เขียน Characteristics, importance, elements, and styles of presentation, preparation and use of media, stylistic use of Thai in oral and written presentation

35 01-320-006 ภาษาอังกฤษเพอ่ื วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(2-2-5) English for Science and Technology คาศัพท์ สานวน และโครงสร้างภาษา การฟงั พดู อา่ นและเขียน เพ่ือการส่ือสารใน สถานการณต์ ่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Vocabulary, expressions, language patterns, listening, speaking, reading and writing for communication based on environment, science and technology topics 01-320-015 ภาษาองั กฤษสาหรบั ธุรกิจออนไลน์ 3(2-2-5) English for Online Business คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการอธิบายสินค้าและโฆษณาสินค้าออนไลน์ การขอ ข้อมูลสินค้า การชาระสินค้าออนไลน์ การรับส่งสินค้า และการร้องเรียนเก่ียวกับ สินคา้ Vocabulary, expressions and language patterns for describing and advertising products online, asking about products, making online payment, delivering products, dealing with complaints 01-320-021 การใชส้ อ่ื ดจิ ทิ ลั ในการเรยี นภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Using Digital Tools for English Learning ประเภทของส่ือดิจิทัลสาหรับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้านการอ่าน การฟัง การพูด และการเขียน การใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทักษะด้านการอ่าน การฟัง การ พูด และการเขียนดว้ ยตนเอง Types of digital media for English skill development including listening, reading, speaking and writing, use of digital media for self- directed learning

36 01-330-001 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(3-0-6) Basic Chinese การใช้สัทอักษรโรมันกากับเสียง การเขียนตัวอักษรจีนโดยใช้มาตรฐานเดียวกับ สาธารณรัฐประชาชนจีน การฟังพูด การอ่าน และการเขียน ตัวเลข คาศัพท์และ ประโยคทีใ่ ช้บอ่ ยในชวี ิตประจาวนั Roman phonetic symbols for pronunciation, basic calligraphy, basic Chinese language skills: listening, speaking, reading and writing, numbers, words and sentences frequently used in everyday life 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบอ้ื งตน้ 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เน้นการออกเสียงท่ี ถูกตอ้ ง ความสามารถในการถา่ ยทอดความต้องการเปน็ ภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์ จาลองได้ Chinese listening and speaking on everyday life topics focusing on correct pronunciation and expressions by means of simulation 01-330-006 ภาษาญีป่ ุ่น 3(3-0-6) Basic Japanese อกั ษรญี่ป่นุ ฮิระงะนะและคะตะคะนะ คาศัพท์ในชัน้ เรยี น คาทักทายในชีวิตประจา วัน ตัวเลข รวมทั้งฝึกการสร้างรูปประโยคพื้นฐาน Japanese alphabets: Hiragana and Katakana, vocabulary, greeting words in daily life, numbers and constructing basic sentence structures 01-330-007 สนทนาภาษาญป่ี ุน่ เบื้องตน้ 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่างๆ โดยอาศัยสถานการณ์จาลองจาก สถานการณ์จริงท่ีผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจาวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้ อย่างคล่องแคล่ว เม่ือชานาญข้ึน สามารถนาคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มาประกอบ เพ่ือขยายขอบเขตของบทสนทนาใหก้ วา้ งต่อไป Various types of Japanese conversation in daily life, situational conversation practice with the focus on fluency and relevant vocabulary use for extension of conversation

37 09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พ้ืนฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อินเทอร์เน็ตและการสือ่ สารสงั คมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การส่ือสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรูท้ ว่ั ไปเกยี่ วกับโลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor ( Microsoft Word) , Spreadsheets ( Microsoft Excel) , Presentation (Microsoft PowerPoint), Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e- mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รูปเพ่อื งานมัลตมิ ีเดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีส่ือประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการส่ือประสม เช่น โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบ เวกเตอร์ โปรแกรมสรา้ งภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ิ โปรแกรมตดั ตอ่ ภาพวดี โิ อ โปรแกรม แปลงไฟล์ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานส่ือประสม และการเผยแพร่ ผลงานสอ่ื ประสมบนอินเทอร์เนต็ Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file

38 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใชง้ านโปรแกรมประยุกต์หรือระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น โปรแกรมตารางคานวณข้ันสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพ่ือผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิก รวมถึง เครื่องมืออานวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน เพ่ือ นาเสนอข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ Basic knowledge and theories of decision- making application of software or information system for decision- making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking 09-111-001 การคดิ และการให้เหตผุ ล 3(3-0-6) Thinking and Reasoning การคิดอย่างมีเหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ประพจน์ ตัวเชื่อมทาง ตรรกศาสตร์ ตารางคา่ ความจรงิ สัจนิรนั ดร์ ตัวบง่ ปรมิ าณ การอา้ งเหตุผล Rational thinking, mathematical reasoning, statements, logical connectives, truth table, tautology, quantifiers, arguments 09-111-051 คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจาวัน 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life การคานวณทางคณิตศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี ความสาคัญของ การออมเงิน เป้าหมายการออม การวางแผนใช้จ่ายและการออมอย่างมี ประสิทธิภาพ Basic mathematical calculations, ratio, percentages, taxes, essential of saving money, savings goals, effective spending and saving plan

39 09-111-051 สถติ ิในชวี ิตประจาวัน 3(2-2-5) Statistical in Daily Life ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจาวัน สถิติในสังคมมนุษย์ การเก็บ รวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล การหาตัวแทนข้อมูล การหาตาแหน่งและ การกระจายของข้อมูล การแปลความหมายและสรุปข้อมูล การนาเสนอข้อมูลท่ี เหมาะสมกับคุณลกั ษณะของขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ Meaning and the role of statistics in daily life, statistics in human society, data collection and data validation, information agent, position measurement and distribution measurement, interpretation and summary data, data characteristics and means of presentation, use of statistical software for data analysis 09-121-002 สถติ เิ บอ้ื งต้นสาหรับนวัตกรรม 3(2-2-5) Basic Statistics for Innovation ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม การศึกษาข้อมูลที่ เก่ียวข้องสาหรับการพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพ เครอ่ื งมือเพ่ือหาประสิทธภิ าพนวตั กรรม การตรวจสอบประสิทธิภาพนวัตกรรม Meaning and role of statistics in innovation development, study of relevant information for innovation development, tool and quality inspection to find innovative performance, innovation performance monitoring

40 09-130-001 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารสีเขยี ว 3(3-0-6) Green ICT บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและผลกระทบกับส่ิงแวดล้อม การทางานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ก่อให้เกิดปริมาณก๊าซเรือน กระจก วิธีลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ ปรับปรุง กระบวนการทางานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีผลกระทบกับ ส่งิ แวดลอ้ ม Roles of information and communication technologies and their impact on the environment, process of information and communication technology that contributes to greenhouse gas emissions, how to reduce greenhouse gas emissions by changing the rules and improving the of information workflow and communication technologies that affect environment 09-130-002 อนิ เทอร์เนต็ ทุกสรรพสิง่ ในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life แนวคิดพ้ืนฐานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง แนวโน้มและการพฒั นาของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง สถาปัตยกรรมของอปุ กรณ์สมาร์ตอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งในชีวิตประจาวัน ความปลอดภัย ในการใช้งานของอนิ เทอรเ์ นต็ ทุกสรรพส่ิง Basic concept of Internet of things (IoT), trend and development of IoT technology, architecture of smart devices of IoT, application of IoT technology in daily life, security in applications of IoT 09-130-003 ชีวิตดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Life เทคโนโลยีดิจิทัลเบื้องต้นในปัจจุบัน วิวัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยี ดิจิทัลที่มีผลกระทบกับชีวิตประจาวัน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับ ชวี ิตประจาวนั แนวโน้มและการพัฒนาเทคโนโลยดี ิจิทัลในอนาคต Introduction to digital technology, evolution of digital technology, applications and impacts of digital technology in daily life, trends and development of digital technology in the future

41 09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และส่ือท่ี หลากหลาย เพื่อนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ เกษตรกรรม วิศวกรรมและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการ ประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลง เพ่ือการ พัฒนาทย่ี ง่ั ยืน Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development 09-410-001 กา้ วทันเทคโนโลยี 3(3-0-6) Keep Pace with Technology แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์และการประยุกต์ในชีวิตประจาวัน การบูรณาการ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เทคโนโลยีอวกาศและการสื่อสาร โทรคมนาคม เทคโนโลยีนิวเคลียร์และการใช้ประโยชน์ทางสันติ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยีกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เทคโนโลยีกับการพัฒนาที่ ยั่งยนื Scientific concepts and their application in everyday life, integration of technologies related to everyday life, space technology and telecommunications, nuclear technology and peaceful uses, nanotechnology, materials technology, technology with life quality improvement, technology and sustainable development

42 00-100-101 อตั ลกั ษณ์แหง่ ราชมงคลธญั บุรี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี และสังคม การมีจิตใจริเร่ิม การเริ่มต้นทางานท่ีมีเป้าหมายชัดเจน การลาดับ ความสาคัญของงาน และความรับผิดชอบต่องานอย่างมืออาชีพ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ การมีจิตสาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนภายใต้กฎระเบียบและ หลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย หลักในการใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizingthings, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวทิ ยาลยั สีเขยี ว 1(0-2-1) Green University วิธปี ฏิบัตติ นเพือ่ เป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม การใชพ้ ลงั งานและทรพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ มี ความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึก รับผิดชอบ การแบ่งปันและช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ท่ีดีต่อ สงั คมและสงิ่ แวดล้อม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking วิกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบท่ีมุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือ นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ สร้างไอเดียท่ีหลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพ่ือทดลองและ ทดสอบความคดิ ทางนวตั กรรมทเี่ กิดขน้ึ Human- centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions

43 00-100-301 ความเป็นผู้ประกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการดา้ นการเงิน การเปน็ ผู้ประกอบการที่ประสบความสาเร็จ การ จัดทาแบบจาลองธุรกิจ Business trends and concept, development of entrepreneur characteristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 00-100-302 นวตั กรรมเพื่อชุมชน 3(1-4-4) Innovation for the Community ความหมาย หลักการ แนวคิด ความสาคัญ และการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ฝึกทักษะการ บริหารโครงการและการตัดสินใจในบริบทของเศรษฐกิจและสังคม การปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชุมชน ฝึกกระบวนการคิดในเชิงนวัตกรรม การ สร้างนวัตกรรมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการ พฒั นาท่ยี ั่งยนื Definitions, principles, concepts, significance, and application of sufficiency economy philosophy, the Royal Initiated Developmental Principals of His Majesty: Understand, Achieve, and Develop, practice a project management skill and decision making in the context of economic and social, work performance, use information technology for communities, practice innovative thinking processes, innovation creation for a better quality of life in the community by the process of participation for sustainable development

44 09-090-013 การจดั การสารสนเทศเพอื่ ผปู้ ระกอบการ 3(2-2-5) Information Management for Entrepreneur ความหมายและบทบาทของการจัดการข้อมูลหรับการเป็นผู้ประกอบการ ข้อมูล และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวางแผนและการตัดสนิ ใจบนพืน้ ฐานของข้อมลู การ เปล่ียนแปลงธุรกิจปัจจุบันโดยการสร้างและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจทิ ัลสมัยใหม่เพ่ือการแก้ปัญหาและการปรบั ปรงุ กระบวน การทางธรุ กจิ ระบบธุรกิจอัจฉรยิ ะ การบรหิ ารจดั การทรพั ยส์ นิ ดิจิทัล Meaning and role of information management for entrepreneurship, planning and decision making base on information, business transformation by creating and using novel digital technologies, utilization of new digital technologies to improve business operations, business intelligence, and managing digital assets 02-321-101 พนื้ ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-2-5) Foundation of Computer Programming ประโยคคาสั่ง ชนิดของข้อมูล ตวั แปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทาการนิพจน์ คาสั่ง แบบเงื่อนไข การเลือกทาและการวนซ้า โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์พอยน์เตอร์ การสร้างโปรแกรมย่อย การบันทึกและอ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูล การฝึกปฏิบัติ เขยี นโปรแกรมการประยกุ ต์ใชง้ านทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ Statement; data type; variable; constant value; expression operator; conditional statement; selection and loop; array; pointer; function; reading and writing files; programming practices; applications for information technology 02-321-102 คณิตศาสตร์สาหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 3(3-0-6) คณิตศาสตร์สาหร Mathematics for Information Technology 1 Mathematics a ระบบฐานของจานวนและทฤษฏีจานวนเบื้องต้น ตรรกศาสตร์ และการประยุกต์ เซต ฟังก์ชัน ลาดับ ผลบวก และการประยุกต์ การให้เหตุผลเชิงคณิตศาสตร์ พีชคณติ แบบบลู และการประยุกต์ Base/ radix system of numbers and basic number theory, logic and applications, sets, functions, sequences, sums and applications, mathematical reasoning Boolean algebra and application

45 02-321-201 คณิตศาสตร์สาหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 3(3-0-6) Mathematics for Information Technology 2 หลักการพ้ืนฐานของอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ พ้ืนฐานทฤษฏีของกราฟและการ ประยุกต์ของกราฟ ปัญหาการหาวิถีสั้นที่สุด และการประยุกต์ โมเดลต้นไม้ ข่ายงาน การวิเคราะห์ความคลาดเคล่ือน Basic principles of mathematical induction, introduction to graph theory and its applications, shortest path problems solutions, trees, networks, error analysis 02-321-202 ฟิสกิ สส์ าหรับการสร้างโมเดล 3 มติ ิ 3(2-2-5) Physics for 3D Modeling แนวคิดทางจลนศาสตร์ และ พลศาสตร์ของอนุภาค หลักการพ้ืนฐานของงานและ พลังงาน โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่แบบหมุน พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง คุณสมบัติความยืดหยุ่นของสสาร การเคล่ือนที่แบบแกว่งกวัด กลศาสตร์ของไหล อณุ หพลศาสตร์ การประยกุ ต์กระบวนคดิ ทางฟสิ ิกส์ในงานโมเดล 3 มติ ิ Kinetic and particle dynamics concepts Basic principles of work and energy momentum and collisions Rotating motion Dynamics of rigid body The elastic properties of matter Oscillating motion fluid mechanics, thermodynamics, application of physics concepts in 3 D models

46 02-322-103 การปฏบิ ตั วิ ิชาชพี สากล 3(2-2-5) Global Professional Practice ความเป็นมืออาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัญหาวิชาชีพและความรับผิดชอบ ธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการทรัพยากร การระบุและการ ประเมินความเสี่ยง ประเด็นด้านจริยธรรมกฎหมายและความเป็นส่วนตัว ทรัพย์สนิ ทางปัญญา การทางานเป็นทีมและการจัดการความขัดแย้ง ทักษะการจ้างงานและ อาชีพในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ The professionalism in the field of information technology, professional issues and responsibilities, IT governance and resource management, risk identification and evaluation, ethical, legal, and privacy issues, intellectual property, communications teamwork and conflict management, employability skills and careers in information technology 02-322-104 การจดั การสารสนเทศเพือ่ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ 3(2-2-5) Information Management for Learning Organization ทฤษฎีพ้ืนฐาน แนวคิด โครงสร้างข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล การ ออกแบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ และการจัดการฐานข้อมูล ภาษาเอสคิว แอลเบื้องต้น การประยุกต์ระบบฐานข้อมูลในด้านต่างๆ ศึกษากรณีและฝึก ปฏิบตั ิการจัดการสารสนเทศเพอื่ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ Introduction to basic technical, concepts, data structures, architecture for database system, relational database design and database management system, introduction to SQL application of database in any areas, used case and practice in information management for learning organization

47 02-322-105 เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) Computer Networking มุมมองและผลกระทบ พ้ืนฐานเครือข่าย เลเยอร์ระดับกายภาพ การเชื่อมต่อ เครือข่ายและข้ามเครือข่าย การจัดเส้นทาง สวิตซ์และการเช่ือมต่อเครือข่ายต่าง ชนิดกนั แอปพลเิ คชันสาหรับบริการเครือข่าย การจัดการเครือขา่ ย Perspectives and impact, foundations of networking, physical layer, networking and interconnectivity, Routing, switching, and internetworking, application networking services, network management 02-322-203 เทคโนโลยแี พลตฟอร์ม 3(3-0-6) Platform Technology ระบบปฏิบัติการ ลักษณะเฉพาะของระบบปฏิบัติการ การเลือก การปรับใช้ การ รวมระบบ และการบริหารแพลตฟอร์มหรือส่วนประกอบ การคานวณโครงสร้าง พ้ืนฐาน สถาปตั ยกรรมและองค์กร สภาพแวดลอ้ มการทางานของแอปพลิเคชนั Operating systems, respective characteristics of operating systems computing infrastructures, selection, deployment, integration and administration of platforms or components, architecture and organization, application execution environment