Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Description: หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

47 02-201-107 โครงสร้างขอ้ มูลและขนั้ ตอนวธิ ี 3(2-3-5) Data Structure and Algorithm โครงสร้างข้อมูลเบ้อื งต้น โครงสร้างข้อมูลแบบต่างๆ เช่น อาร์เรย์ สแตค คิว ลิงค์ลิสต์ ต้นไม้ และกราฟ การวิเคราะห์ข้ันตอนวิธีพ้ืนฐาน ข้ันตอนวิธีการเรียงลาดับและการ คน้ หาขอ้ มลู การเลือกใช้ขน้ั ตอนวิธีแบบต่างๆ และการวดั ประสทิ ธิภาพ ในการทางาน กับโครงสร้างข้อมูลชนดิ ตา่ งๆ Basic data structures, various type of data structures such as array,stacks, queues, linked list, trees and graphs, basic algorithms analysis, sorting and searching algorithms, the selection of various algorithms and measuring the effectiveness 02-201-201 โครงสรา้ งและสถาปตั ยกรรมคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) Computer Organization and Architecture หลักการเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ วิวัฒนาการและการ พัฒนา ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชั่นการทางานของคอมพิวเตอร์ การ เช่ือมตอ่ และบสั ของระบบ หลัการทางานของหนว่ ยความจาชนิดตา่ งๆ หนว่ ยแสดงผล และนาเข้าข้อมูล หลักการทางานของหน่วยประมวลผลกลาง การคานวณทาง คณิตศาสตร์และตรรกะ การพัฒนาโครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบนั Principles of computer organization and architecture, the evolution and computer performance developments, computer function, connections and bus systems, types of memory, input and output unit, central processor units, arithmetic and logical, development of modern computer organization and architecture

48 02-201-202 การเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ 3(2-3-5) Microcontroller Programming ความรู้เกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ โครงสร้างภายใน วงจรการเชื่อมต่อและการ ติดต่อสื่อสาร การต่อวงจรอินพุตและเอาต์พุต การใช้ภาษาและโครงสร้างโปรแกรม ชนิดข้อมูล การกาหนดตัวแปรและค่าคงท่ี ตวั ดาเนินการ โครงสร้างโปรแกรม การใช้ ฟังก์ช่ัน การเรียกใช้ไลบรารี่ การเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ การประยุกต์ใช้ ไมโครคอนโทรลเลอร์เพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ Knowledge of microcontrollers, internal structure, circuit and communication, input and output circuits, programming languages and structures, data types, variable and constants definitions, function programs, library decralation, device control programming, microcontroller apply to inventions 02-201-203 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 3(3-0-6) System Analysis and Design องค์ประกอบของระบบ วัฏจักรการพัฒนาระบบ การศึกษาความเป็นไปได้ของ ระบบงาน วิเคราะห์ระบบ กระบวนวิธีและเครื่องมือวิเคราะห์ระบบ การออกแบบ ระบบ การพฒั นาระบบงานการนาไปใชง้ านและประเมนิ ผลได้ System component, system development cycle, system feasibility study, system analysis, analysis methodologies and tools, system design, system development, system implementation and evaluation 02-201-204 เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5) Computer Networks ภาพรวมของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานแบบจาลองโอเอสไอโมเดลและ อินเทอร์เน็ต แนวคิดและองค์ประกอบของระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายแลน ช้ัน กายภาพ การสลบั เส้นทาง และการคน้ หาเส้นทาง Overview of computer network technologies, networking standards, the OSI model and the Internet model, network components and concepts, LAN technologies, physical layer, switching, and basic routing

49 02-201-205 ระบบฐานขอ้ มูล 3(2-3-5) Database Systems พ้ืนฐานของฐานข้อมูล หลักการและความสาคัญ การสร้างตัวแบบข้อมูล ฐานข้อมูล แบบสัมพนั ธ์ การสรา้ งตัวแบบดว้ ยเอนทิตี-รเี ลชน่ั ชิป การปรับตารางฐานข้อมูลให้เปน็ บรรทัดฐาน ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง การออกแบบฐานข้อมูล การออกแบบ เชิง กายภาพและเชงิ ตรรกะ การก้คู ืนและความม่ันคงฐานข้อมูล ระบบจดั การฐานข้อมูล Fundamental of database, concept and importance, data models, the relational database model, entity-relationship modeling, normalization of database tables, structure query language ( SQL) , database design, physical and logical design, database recovery and security, database management systems 02-201-206 วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ 3(3-0-6) Software Engineering ประวัติความเป็นมา และนิยามของวิศวกรรมซอฟต์แวร์ กระบวนการในการพัฒนา ซอฟต์แวร์ การบริหารโครงการพัฒนาซอฟต์แวร์ ความต้องการด้านซอฟต์แวร์ การ กาหนดคุณลักษณะและการออกแบบซอฟต์แวร์ การประเมินราคาและเวลา การ ประเมินคุณค่าของซอฟต์แวร์ การทดสอบ การปรับปรุงและการบารุงรักษา ซอฟต์แวร์ History and definition of software engineering, software development process, software project management, software requirements, configuration and software design, cost and time estimation, software evaluation, testing, updating, and software maintenance 02-201-301 คณิตศาสตร์ดสิ ครีต 3(3-0-6) Discrete Mathematics คณิตศาสตร์ดิสครีต พื้นฐานเทคนิคการนับ ทฤษฎีเซต การใช้เหตุผลในเชิง คณิตศาสตร์ การพิสูจน์ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชั่น พีชคณิตบูลีน ทฤษฎีกราฟและการ นาไปใชง้ าน ทฤษฏีออโตเมตา้ Discrete structure, basic counting techniques, set theory, using the mathematical reasons, proof, relation, function, boolean algebra, graph and application and automata theory

50 02-201-302 การเตรียมโครงการ 1(1-0-2) Pre-Project ขั้นตอนและระเบียบการเสนอหัวข้อโครงการ การทบทวนวรรณกรรม การวิเคราะห์ ปญั หาและความเป็นไปได้ของโครงการ การวางแผนและออกแบบขั้นตอนของการทา โครงการ การนาเสนอและอภปิ รายในด้านวชิ าชพี เฉพาะ การเขียนรายงาน และวธิ ีการนาเสนอปรญิ ญานิพนธ์ Proposal topic regulations and procedures, literature review, problem definition and project feasibility, designing and planning of the project, presentation and discussion in field, report writing and project presented method 02-201-303 โครงการ 3(1-6-4) Project การวางแผนการสร้างโครงการ ค้นคว้าหัวข้อท่ีมีความสัมพันธ์กับโครงการ วิเคราะห์ ออกแบบและสร้างโครงการ การเลือกใช้เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมี ประสิทธภิ าพ ตลอดจนประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีในการสร้าง อนั เกิดประโยชน์ตอ่ สาย วิชาที่เรียนมาโดยตรง หรือตอ่ สังคมส่วนรวม Projects planing, project related topics researching, analysis designs and project implementations, using efficiency tools and equipments, as well as applied to implementation technology usefulness on their fields or public societies 02-201-207 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5) Special Topics in Computer Engineering วิชาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย ในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นที่ น่าสนใจในปจั จบุ ัน Subjects related to modern technology In computer engineering Which is interesting today

51 02-201-208 เทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ นต็ ออฟติง 3(2-3-5) Internet of Things Technology ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการของอินเตอร์เน็ตของสรรพส่ิง เทคโนโลยีที่ช่วยให้ สรรพส่ิงรับรู้ข้อมูลในบริบทแวดล้อม เทคโนโลยีการสื่อสารท้ังแบบมีสายและไร้สาย เครือข่ายเซ็นเซอร์ การแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างระบบปฏิบัติการแบบต่างๆ และ เทคโนโลยีท่ีช่วยให้สรรพส่ิงประมวลผลข้อมูลของตนเองได้ กรณีศึกษาแอพพลิเคชัน เก่ยี วกบั อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพส่งิ Study and practice the principles of the Internet of Things. technology that allows information to be perceived in context wire and wireless communication technologies. sensor network exchange of information any operating systems and technology that allows your data processing Case Study of Internet of things applications 02-201-209 ความปลอดภยั ในระบบคอมพิวเตอร์ 3(3-0-6) Computer Security เทคนิคของการรักษาความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบนโยบาย ความปลอดภัย การแบ่งกลุ่มของข้อมูลและการควบคุมการเข้าถึง การออกแบบ โครงสร้างพนื้ ฐานของความปลอดภัย การแบ่งส่วนเครือข่าย การวิเคราะห์ความเส่ียง เครือข่ายส่วนตัวเสมือน การเพิ่มความแข็งแกร่งให้ระบบ การประเมินหาจุดอ่อน ระบบการตรวจสอบและป้องกันผู้บุกรุก ไฟล์วอลล์ ความปลอดภัยในระดับ แอปพลิเคชัน โครงสร้างพ้ืนฐานของกุญแจสาธารณะ การบริหารความปลอดภัยและ ไวรัสคอมพิวเตอร์ Computer security techniques, security policy design, information classification and access control, security infrastructure design, network partitioning, risk analysis, virtual private network, platform hardening, vulnerability assessment, intrusion detection systems, firewall, application security, public key infrastructure, security management and computer virus

52 02-201-210 การออกแบบและพฒั นาเว็บ 3(2-3-5) Web Design and Development ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ ทฤษฎีสีและการออกแบบ โครงสร้างของเว็บไซต์ การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิกสาหรับเว็บไซต์ เทคนิควิธีการออกแบบเว็บไซต์ โดยใช้โปรแกรมประยุกต์ และการเชื่อมต่อไปสู่ อนิ เทอรเ์ นต็ ฝงั่ ไคลเอนต์และฝง่ั เซิร์ฟเวอร์ Introduction about website, website design, color theory and how to design site map, graphic user interface design for website, application software to web create and technique, web programming how to upload and web development for client and server 02-201-211 เหมืองข้อมลู 3(2-3-5) Data Mining แนวคิดของการคนพบองคความรูในฐานขอมูลและการทาเหมืองขอมูล เทคนิคกอน การประมวลผลขอมูล พ้ืนฐานของการทาเหมือง ขอมูลและแนวคิดเชิงพรรณนา อัลกอริธึมการสรางตัวแบบเพ่ือการทานาย การคนพบความสัมพันธในการทาเหมือง ขอมูล การจัดกลุมขอมูล เทคนิคการประเมินตัวแบบ การเรียนรู จากตัวแบบท่ี หลากหลาย และกรณีศึกษาทีเ่ กีย่ วของกบั การทาเหมอื งขอมูลในปจจบุ นั The concept of knowledge discovery in database and mining. techniques before processing data. the basics of Mining descriptive information and concepts algorithm to create models for prediction discovering the relationship in data mining grouping data evaluation techniques learning from a variety of styles and the case study related to the current mining

53 02-201-212 เทคโนโลยีเวบ็ 3(2-3-5) Web Technology เทคโนโลยีเว็บ โพรโทคอลและภาษามาตรฐาน โครงสร้างและองค์ประกอบของ เวบ็ ไซต์ ระบบการนาทาง สอ่ื ดิจิทลั สภาวะแวดล้อมของเวบ็ แอพพลเิ คชัน การพัฒนา แอพพลิเคชันบนเว็บฝ่ังไคลเอนต์และฝั่งเซิร์ฟเวอร์ สถาปัตยกรรมเอ็นเทียร์ กระบวนการพัฒนาท่ีเน้นผู้ใช้ การใช้ประโยชน์ได้และความสะดวกในการเข้าใช้ วศิ วกรรมสารสนเทศ เครอื่ งมอื สาหรับการพัฒนาแอปปลเิ คชนั เทคโนโลยเี ว็บเซอร์วิส ประเด็นทางสังคมและความม่ันคงของระบบ การฝึกปฏิบัติ การออกแบบ และสร้าง เว็บไซต์ด้วยการใช้เครื่องมือช่วย โดยเน้นการใช้ประโยชน์ได้ การสร้างส่ือประกอบที่ เหมาะสม Protocol and standard languages site structure and elements digital media navigation web application environment client- side and server- side application development enier architecture user- focused development process usability and ease of access Information engineering development tools web services technology social and security issues practice, design and build websites with the help of tools with emphasis on usability creating the right media 02-201-304 การพฒั นาสื่อการสอนและการจัดการบทเรยี นออนไลน์ 3(2-3-5) Instructional Media Development and E-Learning Management ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ การ วิเคราะห์วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์เนื้อหาและกลยุทธ์ด้านการเรียนการสอน ศึกษา แนวคิด หลักการออกแบบ การพัฒนาส่ือการสอนและบทเรียนแบบต่างๆ การ ออกแบบ พัฒนา และการจดั การบทเรยี นโดยใช่เครื่องมือออนไลน์ Introduction to computer instruction, type of computer instruction, objective analysis, content and strategy analysis, concepts design, principles developing Instruction media and lesson design, development and management of online tools

54 02-201-305 การพฒั นาและติดตัง้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-3-5) Information Technology System Development and Implementation การฝึกปฏิบัติการตดิ ตัง้ ระบบสารสนเทศบนเครือข่าย เครือข่ายแลนเสมือนโพรโทคอ ลการจัดเส้นทางบริเวณกว้าง การแจกจ่าย IP (DHCP) โดยอุปกรณ์จัดเส้นทางและ อปุ กรณ์สวิทช์เลเยอร์ 3 การแปลงเลขท่ีอยู่ของเครือข่าย เครือข่ายไร้สาย การบริหาร เครือข่ายและการเฝ้าระวัง โพรโทคอล การบริหารเครือข่าย SMNP แนวคิดเครื่อง เสมือนและคลาวด์ ระบบจัดการชื่อโดเมน โพรโทคอล LDAP การพิสูจน์ตัวตนของ เครือขา่ ย การบริการอเี มล เคร่อื งแม่ขา่ ยเว็บ เครอื ขา่ ยส่วนตัวเสมือน Implementing IT services over networks, virtual LAN ( VLAN) , enterprise routing protocol, dynamic host configuration protocol (DHCP) services by router and layer- 3 switch, network address translation, wireless LAN ( WLAN) , network management and monitoring, simple network management protocol ( SNMP) , virtual machine and cloud concept, domain name system, lightweight directory access protocol ( LDAP) , network authentication, electronic mail service, web server, virtual private network 02-201-306 การเขยี นโปรแกรมบนอุปกรณพ์ กพา 3(2-3-5) Portable Devices Programming กระบวนการพัฒนาซอฟท์แวร์บนอุปกรณเ์ คลื่อนท่ี การออกแบบกราฟิกเพ่ือติดต่อกบั ผู้ใช้ แพลตฟอร์มของ ซอฟท์แวร์บนอุปกรณ์เคล่ือนท่ี ช่องทางการจัดจาหน่าย ซอฟท์แวร์ของอุปกรณ์เคล่ือนที่ การฝึกปฎิบัติการพัฒนาซอฟท์แวร์บนอุปกรณ์ เคลอ่ื นที่ The development procedure in device, graphic design to connect plaform user in software device, software market to device and pratices software develop device

55 02-201-307 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมตารางคานวณทางวศิ วกรรม 3(2-3-5) Spreadsheet Program for Engineering Applications พื้นฐานของซอฟต์แวร์ตารางคานวณ การสร้างตาราง การป้อนข้อมูล การแก้ไขข้อมลู การเรียงลาดับข้อมูล การสร้างแผนภูมิ สูตรและฟังก์ชั่น การวิเคราะห์ สรุป และการ นาเสนอขอ้ มูล การประยุกตใ์ ชซ้ อฟต์แวรก์ ับงานวิศวกรรม Fundamentals of spreadsheet software, table creating, data inputting, data editing, data sorting, graph creating, formula and functions, data analysis, data conclusions and presentations, spreadsheet software application for engineering 02-201-308 การออกแบบการตดิ ต่อระหวา่ งมนษุ ยก์ บั คอมพวิ เตอร์ 3(3-0-6) Human Computer Interaction Design แนวคิดของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การออกแบบกราฟิกเพ่ือ ตดิ ต่อกับผู้ใช้(GUI) องค์ประกอบมนุษย์ในซอฟต์แวร์เชิงโต้ตอบ ทฤษฎี หลักการ และ แนวทางการจัดการกระบวนการออกแบบ การทวนสอบและการประเมินผล ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการออกแบบ การควบคุมโดยตรง และสภาพแวดล้อมเสมือนจริง เคร่ืองมือในการปฏิสัมพันธ์ เวลาในการตอบสนองและอตั ราการแสดงผล รูปแบบการ นาเสนอ การใหค้ วามช่วยเหลือ การค้นหาสารสนเทศ Concepts of interaction between human and computer, graphic design, user interface ( GUI) software components in human interactive theory and guidelines for managing the design process, verification and evaluation, software tools, direct control, and virtual environments, tool in social interaction, response time and display rate, presentation format, assistance, search information

56 02-201-309 เทคโนโลยหี ุน่ ยนต์ 3(2-3-5) Robotics Technology ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง หลักการทางาน วงจรควบคุม ประกอบหุ่นยนต์ ขนาดเล็กแบบควบคุมด้วยมือและแบบอัตโนมัติโดยใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ทดสอบการทางานของวงจรโดยใช้โปรแกรมจาลอง และการเขียนโปรแกรมควบคุม การทางานของหนุ่ ยนตเ์ บ้อื งตน้ Practice on the structure of the control circuits of small, manual and automatic control robots using electrical and electronic equipment test the circuit by using a simulator programming and programming of robots 02-201-310 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 2(1-3-3) Computer Technology เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ ในด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูลและการใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปในการประมวลผลคา การสร้างตารางงานและการนาเสนองาน การสืบค้นสารสนเทศด้วยอินเทอร์เน็ต กฎหมายและจริยธรรมที่เก่ียวข้องกับ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ และการประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอร์ในงานตามสาขาท่เี กี่ยวข้อง Computer system technology, software and hardware, computer network system, security of computer systems, application software, word processing, spreadsheet and presentation, information searching by the internet, law and ethics in computer technology and apply to related field

57 02-201-311 เกมมิฟิเคช่นั 3(2-3-5) Gamification ประวัติเทคโนโลยีวีดิโอเกมและเกมคอมพิวเตอร์ หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ การสร้างเกมคอมพิวเตอร์แบบสองมิติและสามมิติเบื้องต้น การแสดงภาพและสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบสามมิติ การแสดงภาพภูมิประเทศและภาพพ้ืนหลัง การสร้าง โพลีกอน พ้ืนผิว การสร้างรูปแบบจาลองของสถานที่และอุปกรณ์ของเกม การพัฒนา เกมสาหรบั คอมพวิ เตอร์และสมารท์ โฟน การประยุกต์ใชเ้ กมทางด้านการศึกษา History of technology, video games and computer games. Computer Game Design Principles Creating two-dimensional and three-dimensional computer games. Visualization and creation of three- dimensional animation terrain and background images create polygon surfaces to create a model of the game's place and equipment game development for PCs and smartphones application of educational games 02-201-312 ความรเู้ บอื้ งต้นทางปญั ญาประดษิ ฐ์ 3(3-0-6) Introduction to Artificial Intelligence ความรู้เบื้องต้นวิวัฒนาการของการนาเสนอองค์ความรู้และตรรกะ ฟัซซ่ีลอจิก การเรียนรู้ของเครื่องจักร โครงข่ายประสาทเทียม ระบบหลายตัวจัดการ การจดจา และแยกแยะรูปแบบ และการประยุกต์ใช้ทางวิศวกรรม อุตสาหกรรมและ ชวี ติ ประจาวนั Basic knowledge, the evolution of knowledge presentation and logic, fuzzy logic, machine learning Artificial neural network Multi system manager Pattern recognition and identification And engineering applications Industry and daily life.

58 02-201-313 ข้อมูลขนาดใหญ่ 3(2-3-5) Big Data องค์ประกอบข้อมูลขนาดใหญ่ การคานวณแบบกระจาย คลาวดแ์ ละข้อมูลขนาดใหญ่ การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ หลักการพ้ืนฐานการทาซ้าข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ขนาดใหญ่ การนาขอ้ มลู ขนาดใหญ่ไปใช้งาน โซลูชน่ั ของข้อมูลขนาดใหญ่ Big data element Distributed calculation Cloud and big data, Big data management, Basic principles of data duplication Big data analysis Bringing big data to use Big data so 02-000-201 การเตรยี มความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสาคัญ ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถาน ประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทางาน ความรู้ เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ การใช้งานภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การ เขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการ แก้ปญั หาเฉพาะหน้าและการตดั สินใจ ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและ กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสืบคน้ ข้อมูล Basic knowledge of forms and process of professional experience, importance of professional experience, application letters preparation, workplace selections, job interview, organizational culture, personality development, professional morality, virtue ethics, labor laws, social security, 5S’s Keys, systems of quality assurance and safety standards at work, English communication in the workplace, report writing, presentations, planning skills, analytical skills, immediate problem solving skills, decision making, basic concepts of information technology, IT laws, and information retrieval หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเปน็ S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

59 02-000-202 ฝกึ งาน 3(0-40-0) Apprenticeship วชิ าบังคบั กอ่ น : 02-000-201 การเตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ Pre-requisite :02-000-201 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลาของสถานท่ี ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศึกษา เพ่ือเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรือ 280 ชั่วโมง ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานที่ ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ งานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่ งานท่นี กั ศกึ ษาสนใจและพัฒนาทักษะวชิ าชีพสาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full- time employee in a relevant position that suits a student’ s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum or 280 hours of placement in compliance with the workplace’ s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow- up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

60 02-000-203 ฝึกงานตา่ งประเทศ 3(0-40-0) International Apprenticeship วิชาบงั คบั กอ่ น : 02-000-201 การเตรยี มความพรอ้ มฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ Pre-requisite :02-000-201 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการนอกประเทศ เสมือนเป็นพนักงานชว่ั คราวเต็มเวลา ของสถานท่ีปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพ่ือเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็น ระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ หรือ 280 ช่ัวโมง โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานใน ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานที่ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ งานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการ ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการเตรียมนักศึกษาสู่ งานที่นักศึกษาสนใจและพฒั นาทกั ษะวิชาชพี สาหรับการทางาน Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum or 280 hours of placement, with at least 6- week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S (Satisfactiory) และ U (Unsatisfactiory)

61 3.2 ชือ่ -สกลุ ตาแหน่ง และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ลาดับ ชอื่ -นามสกุล ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ ตาแหน่งวิชาการ ปกี ารศึกษา คุณวุฒิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 ชอ่ื สถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเรจ็ การศึกษา 1 นายกติ ติ จ้ยุ กาจร * กิตติ จุ้ยกาจร. (2561). การหาประสิทธิภาพของ 10 13 10 13 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร)์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านอินเทอร์เน็ตแบบ ค.อ.ม.(เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ปรับเหมาะกรณีศึกษา เรื่องหน่วยความจา วิชา พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2553 โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์. การ ค.อ.บ.(เทคโนโลยคี อมพิวเตอร)์ , สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ประชุมวิชาการระดับชาติด้านนวัตกรรมเพื่อการ พระนครเหนอื , 2543 เรียนรู้และส่ิงประดิษฐ์ครั้งที่ 2 ประจาปี 2561. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัด ปทมุ ธานี. 18 กรกฎาคม 2561. น.368-387. 2 นายอคั รวุฒิ ปรมะปุญญา อัครวุฒิ ปรมะปุญญา, สุพจน์ นิตย์สุวัฒน์ และ 10 10 13 13 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์) มนต์ชัย เทียนทอง. (2559). การพัฒนาระบบ ปร.ด. (คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ), สนับสนุนการเรียนซ่อมเสริมด้วยระบบจัดการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2559 เน้ือหาการเรียนรู้ แบบปรับเหมาะโดยใช้ออน ค.อ.ม.(คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ), โทโลยี. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี, 2546 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 6( 2). ค.อ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร)์ , สถาบนั เทคโนโลยีราช กรกฎาคม - ธนั วาคม 2559. น.130-144. มงคล, 2541 3 นายจกั รี รศั มีฉาย จักรี รัศมีฉาย, ธัญญะ นามโคตร และสิรินาถ ชอ้อน 10 13 13 13 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์) ชม. (2562). ระบบบันทึกข้อมูลสภาพแวดล้อม ค.อ.ม.(คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลยั สาหรับระบบเกษตรอัจฉริยะโดยใช้เครือข่าย LoRa. เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ,ี 2543 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 ด้าน วศ.บ.(วศิ วกรรมอิเล็กทรอนิกส)์ , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้และสิ่งประดิษฐ์ ประจาปี 2545 2562. 28 มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ค.อ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ -สอ่ื สาร), วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละ ราชมงคลธญั บุรี จังหวดั ปทมุ ธานี. น.674-679. อาชีวศกึ ษา, 2532 4 นางสิรพิ ร อ้งั โสภา สิริพร อั้งโสภา, สุราษฎร์ พรมจันทร์ และสิริลักษณ์ 10 13 13 10 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์) หาญวัฒนานุกุล. (2558). รูปแบบการให้คาปรึกษา ปร.ด. (วจิ ยั และพฒั นาการสอนเทคนคิ ศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั แ น ะ น า นั ก ศึ ก ษ า ฝึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชี พ ค รู . เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2556 วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอม ค.อ.ม.(คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวิทยาลยั เกล้าพระนครเหนือ. 6(2). กรกฎาคม-ธันวาคม เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ,ี 2545 2558. น. 40-48 ค.อ.บ.(วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์), สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, 2541 5 นายณฐั ภณ หรรษกรคณโชค ณัฐภณ หรรษกรคณโชค. (2562). การพัฒนาเกมส์ 13 10 13 10 อาจารย์ คอมพิวเตอร์ทายคาศัพท์ภาษาอังกฤษโทอิค 100 ค.อ.ม. (เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร)์ , มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระ คาศัพท์. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม จอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2558 ระดับชาติ คร้ังท่ี 11. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม อส.บ. (เทคโนโลยวี ศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์), มหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินธร์ วทิ ยาเขตวังไกลกงั วล, 2556 19 - 20 มนี าคม 2562. น. 5-13.

62 3.2.2 อาจารยผ์ ้สู อน ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./ สัปดาห/์ ลาดับ ชอ่ื -นามสกลุ ตาแหนง่ วชิ าการ ปกี ารศกึ ษา คุณวุฒิ – สาขาวิชา 2563 2564 2565 2566 ช่อื สถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเรจ็ การศึกษา 1 นายอคั ครัตน์ พลู กระจ่าง วรวธุ ปลืม้ จติ ร, สักรินทร์ อยูผ่ อ่ ง, อคั ครัตน์ พูลก 3 3 3 3 รองศาสตราจารย์ ระจา่ ง และจิระศกั ด์ิ วติ ตะ. (2561). การประเมิน ค.อ.ด. (วจิ ยั และพฒั นาหลกั สตู ร), สถาบนั เทคโนโลยพี ระ หลกั สตู รการพฒั นาครบู ัญชีอาสาเพอื่ การถา่ ยทอด จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2550 ความรกู้ ารจดั ทาบญั ชีครัวเรอื น. การประชมุ วชิ าการ ค.อ.ม. (เครือ่ งกล), สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนคร ระดบั ชาติ \"การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ คร้ังที่ 2 เหนอื , 2542 ประจาปี 2561. 25 พฤษภาคม 2561. น.43-50. ค.อ.บ. (เครอ่ื งกล), สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระ นครเหนือ, 2539 2 นายปริญญา มีสขุ ปรญิ ญา มสี ขุ , บุญธิดา เอื้อพิพฒั นากลู , นันทภ์ ัส 3 3 3 3 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ กร ฤทธพิ์ นิชชชั วาล, นรรจพร เรอื งไพศาล และ ค.ด.(วธิ ีวทิ ยาการวิจยั การศึกษา),จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั อรพนิ ท์ สุขยศ. (2561). การพฒั นาอาจารย์ ,2551 ต้นแบบการสอนระดับมหาวิทยาลยั (RMUTT ศศ.ม.(จติ วทิ ยาวิทยาการ) ),จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,2546 Model): แนวคดิ จากฟนิ แลนดส์ ู่ไทย. วารสารครุ ค.บ.(การสอนวทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป-ชีววิทยา) ),จุฬาลงกรณ์ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . 46(2). เดอื น มหาวทิ ยาลยั ,2540 เมษายน-มถิ ุนายน 2561. น. 314-329. 3 นายณฐั พล จนี พุ งศ์ Prathumtong Trirat, Nattaphon Jeenuphong, 4 4 4 4 อาจารย์ Suvit SatJasit , Kaanwarin Polanunt, Usaporn ค.อ.ด.(บรหิ ารอาชีวศึกษาและเทคนคิ ศึกษา), สถาบนั Swekwi, Aramsri Aarpha-adul and เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2554 Parujee Charoenphao. (2018). Media Design ค.อ.ม.(เทคนิคศึกษา), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระ to Promote Cultural Tourism in Ayutthaya. นครเหนือ, 2540 International Conference on the e-CASE & กศ.บ.(เทคโนโลยที างการศึกษา), มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิ e-Tech in Osaka, Japan. 1-3 April 2018. โรฒประสานมติ ร, 2530 12(1). P.227-243. 4 นายบญั ชา แสนโสดา จิรพงษ์ จิตตะโคตร์ม สมั ฤทธิ์ ทมิ ามฃ, สายนั ต์ 20 20 20 20 อาจารย์ เกล้ียงสนิ , บญั ชา แสนโสดา, ประเสรฐิ ปน่ิ ปฐมรฐั , วศ.ด. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า บญุ ทัน ศรีบญุ เรอื งและ สายชล ชดุ เจือจีน. (2561). เจ้าคุณทหารลาดกระบงั , 2561 การประยกุ ต์ใช้เรโซแนนซอ์ ินเวอรเ์ ตอร์ วศ.ม. (วศิ วกรรมอเิ ล็กทรอนกิ ส)์ , สถาบันเทคโนโลยีพระ กึง่ บริดจ์สาหรบั เครอ่ื งลา้ งอลั ตราโซนิกส์.การประชุม จอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบัง, 2548 วชิ าการงานวจิ ัยและพฒั นาเชิงประยกุ ต์ คร้งั ที่ 10 วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา้ -อิเลก็ ทรอนกิ ส)์ , สถาบนั เทคโนโลยี (ECTI-CARD 2018). 26-29 มถิ นุ ายน 2561. น. ราชมงคล, 2539 746-749. 5 นายอตเิ ทพ ไขเ่ พชร อตเิ ทพ ไขเ่ พชร และอรา่ มศรี อาภาอดุล. (2562). 20 20 - - ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ การพฒั นาครวู ชิ าชีพเพอื่ การจดั การเรยี นรู้ใน ค.อ.ม. (ไฟฟา้ ), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนคร ศตวรรษที่ 21. การประชมุ วิชาการระดับชาติ คร้ังที่ เหนือ, 2534 3 ด้านนวัตกรรมเพอื่ การเรยี นรู้และสง่ิ ประดิษฐ์ วศ.บ. (ไฟฟา้ - อเิ ล็กทรอนิกส)์ , สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลยั 2533 เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี จังหวดั ปทมุ ธาน.ี น. ค.อ.บ. (ไฟฟา้ -ไฟฟา้ สอ่ื สาร), วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและ 903-916. อาชีวศกึ ษา, 2526

63 ชือ่ -นามสกลุ ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./ ลาดับ ตาแหนง่ วิชาการ สัปดาห์/ คณุ วฒุ ิ – สาขาวชิ า ปกี ารศึกษา ช่ือสถาบนั , ปี พ.ศ. ทส่ี าเร็จการศกึ ษา 2563 2564 2565 2566 6 นายจักรี รัศมีฉาย จักรี รศั มฉี าย, ธัญญะ นามโคตร และสิริ 5 5 5 5 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร)์ นาถ ชออ้ นชม. (2562). ระบบบนั ทกึ ข้อมูล ค.อ.ม.(คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ), สภาพแวดลอ้ ม สาหรับระบบเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี, อจั ฉรยิ ะโดยใชเ้ ครอื ข่าย LoRa. การ 2543 ประชุมวชิ าการระดับชาติ ครงั้ ที่ 3 ด้าน วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์), สถาบัน นวตั กรรมเพื่อการเรียนรแู้ ละสง่ิ ประดิษฐ์ เทคโนโลยรี าชมงคล, 2545 ประจาปี 2562. 28 มถิ ุนายน 2562. ค.อ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟ้า-สือ่ สาร), วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เทคโนโลยีและอาชีวศกึ ษา, 2532 จงั หวัดปทมุ ธาน.ี น.674-679. 7 นายธนติ บญุ ใส ธนติ บญุ ใส และสริ ิลักษณ์ หาญวฒั นานุ 5 5 5 5 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ กูล. (2562). การศึกษารปู แบบบูรณาการ ค.อ.ม.(ไฟฟ้า), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษารว่ มกับปญั หาเปน็ ฐาน เกลา้ พระนครเหนือ, 2534 สาหรบั วศิ วกรรมศึกษา: การวิจัยเอกสาร. วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ),สถาบนั เทคโลยี การประชุมวิชาการระดับชาติ คร้งั ท่ี 3 ดา้ น ราชมงคล, 2544 นวัตกรรมเพื่อการเรยี นรู้และสิง่ ประดิษฐ์ ค.อ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ประจาปี 2562. 28 มิถนุ ายน 2562. พระจอมเกล้าพระนครเหนอื , 2529 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวดั ปทุมธาน.ี น.879-890. 8 นายธวชั ชัย คาแดง ชัยรัตน์ หงษ์ทอง,นายอภิรมย์ ชูเมฆา และ 5 5 5 5 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ค.อ.ม. (เครือ่ งกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอม ผศ.ธวัชชัย คาแดง (2560).การ เกลา้ พระนครเหนือ, 2546 เปรียบเทียบความสามารถการเหลา ค.อ.บ. (อุตสาหการ-เชื่อมประกอบ),สถาบนั กา้ นมะพร้าวด้วยเครอื่ งเหลากา้ นมะพร้าว เทคโนโลยี ราชมงคล (เทเวศร์), 2539 กับคน. การประชมุ วชิ าการเสนอ ผลงานวิจัยระดบั ชาติ คร้ัง 2(RTUNC 9 นายวราวุธ สวุ ลัย 2017). วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2560. น. 307-314. M.Eng (Mechatronics), Asian Institute of Technology (AIT), 2560 Warawut Suwalia. (2018). Construct 5 5 5 5 ค.อ.บ. (วศิ วกรรมเมคคาทรอนิกส)์ , มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2557 and control of feet gait mechanisms for walking training. The 4th International Conference on Engineering, Applied Sciences and Technology (ICEAST 2018). 4-7 July 2018. P.135-138.

64 ชือ่ -นามสกุล ภาระการสอน ชม./ ลาดบั ตาแหน่งวชิ าการ ผลงานวิชาการ สัปดาห/์ คุณวฒุ ิ – สาขาวชิ า ปีการศกึ ษา ชื่อสถาบัน, ปี พ.ศ. ทส่ี าเรจ็ การศึกษา 2563 2564 2565 2566 10 นายณัฐภณ หรรษกรคณโชค ณฐั ภณ หรรษกรคณโชค. (2562). การ 5555 พฒั นาเกมสค์ อมพิวเตอรท์ ายคาศัพท์ อาจารย์ ค.อ.ม. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์), มหาวทิ ยาลัย ภาษาองั กฤษโทอคิ 100 คาศพั ท์. การ เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2558 ประชมุ วิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม อส.บ. (เทคโนโลยวี ิศวกรรมคอมพิวเตอร)์ , ระดบั ชาติ คร้ังที่ 11. คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระ (วิทยาเขตไกลกังวล), 2556 จอมเกล้าพระนครเหนือ. 19 - 20 มีนาคม 2562. น. 3-9. 11 นางสาวอญั ญารตั น์ ประสนั ใจ สมพร วงษ์เพ็ง และอญั ญารัตน์ ประสันใจ. 5 5 5 5 อาจารย์ (2561). การลดเวลาในการเจาะรูแผน่ กนั วศ.ม. (เทคโนโลยีวัสดุ), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ล่ืน. การประชุมวชิ าการขา่ ยงานวศิ วกรรม พระจอมเกล้าธนบรุ ี, 2556 อตุ สาหการ. โรงแรมสนุ ีย์แกรนด์ โฮเทล ค.อ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ), มหาวิทยาลยั แอน คอนเวนชน่ั เซน็ เตอร์ จังหวัด เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ,ี 2553 อุบลราชธาน.ี 23-26 กรกฎาคม 2561. น. 515-518 12 นายจริ วฒั น์ ใจอู่ จริ วัฒน์ ใจอ.ู่ (2562).กระดาษธรรมชาติ 5 5 5 5 อาจารย์ จากหญ้าแฝกผสมเสน้ ใยพอลแิ ลคติคแอซดิ วศ.ม. (วิศวกรรมการจัดการ), มหาวิทยาลยั เกษม สาหรบั พิมพ์นามบตั ร. การประชุมวิชาการ บณั ฑิต, 2550 ราชมงคลดา้ นเทคโนโลยกี ารผลิตและการ ค.อ.บ. (อุตสาหการออกแบบการผลติ ), สถาบนั จดั การ 2019. 30-31 พฤษภาคม 2562. เทคโนโลยรี าชมงคล (เทเวศร์), 2541 โรงแรมดิเอ็มเพรส จงั หวัดเชียงใหม.่ 13 นายเรวตั ซ่อมสขุ เรวัต ซ่อมสขุ และชัยรัตน์ หงส์ทอง. 5555 อาจารย์ (2560). ปัจจัยท่ีมผี ลต่อประสทิ ธภิ าพการ วศ.ม. (การจดั การวิศวกรรม), มหาวิทยาลยั เกษม ทางานไซโคลนสครับเบอร์แบบแรงดนั น้า บัณฑิต, 2546 สงู . การประชุมวิชาการข่ายงานวศิ วกรรม ค.อ.บ. (วศิ วกรรมอุตสาหการ), สถาบนั เทคโนโลยี อตุ สาหการ ประจาปี พ.ศ.2560. 12-15 ราชมงคล, 2542 กรกฎาคม 2560. ณ โรงแรมดิเอม็ เพรส จงั หวดั เชียงใหม.่ 14 นายสุเมธ เทศกลุ สเุ มธ เทศกุล, อคั ครตั น์ พลู กระจ่าง และ 5 5 5 5 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ อรา่ มศรี อาภาอดลุ . (2562). สมรรถนะ ค.อ.ม. (ไฟฟ้า), มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอม ของครูพเี่ ลยี้ ง ในการฝกึ ประสบการณ์ เกล้าพระนครเหนือ, 2545 วชิ าชพี ครูชา่ งอตุ สาหกรรม. การประชุม วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ), สถาบันเทคโนโลยีราช วชิ าการระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 3 ดา้ นนวัตกรรม มงคล, 2544 เพ่ือการเรยี นรู้และส่ิงประดิษฐ์ ประจาปี ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า), สถาบันเทคโนโลยีราช 2562. 28 มถิ นุ ายน 2562. มหาวทิ ยาลัย มงคล, 2538 เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัด ปทุมธาน.ี น.871-878.

65 ชอื่ -นามสกุล ภาระการสอน ชม./ ตาแหน่งวชิ าการ ลาดับ คณุ วุฒิ – สาขาวิชา ผลงานวชิ าการ สัปดาห์/ 15 ช่ือสถาบนั , ปี พ.ศ. ท่สี าเรจ็ การศกึ ษา ปกี ารศึกษา 16 นางวไิ ลวรรณ ศรสี งคราม 2563 2564 2565 2566 รองศาสตราจารย์ 17 ค.ด. (วิธีวิทยาการวจิ ยั การศกึ ษา), จฬุ าลงกรณ์ Williawan Srisongkram. (2015). The 5555 18 มหาวทิ ยาลัย, 2555 19 กศม. (จิตวทิ ยาการพัฒนาการ), มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริ Effects of Learning Styles and other นทรวโิ รฒประสานมิตร, 2539 วท.บ. (จติ วิทยา)มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ Psychological Variables on Predicting to ประสานมติ ร, 2532 Students’ Academic Achievement นายเดชฤทธิ์ มณีธรรม รองศาสตราจารย์ Based on Learning Evaluation Method D.Eng (Mechatronics), สถาบันเทคโนโลยีแหง่ เอเชีย , 2553 in Adolescent Problem and Guidance ค.อ.ม. (เครื่องกล), สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2538 Class. Silpakorn University Journal of อส.บ. (ขนถา่ ยวสั ดุ), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2532 Social Sciences, Humanities, and Arts. นายชัยรตั น์ หงสท์ อง 14(3). p1-26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วศ.ม. (วศิ วกรรมความปลอดภยั ), Dechrit Maneetham and Sivhour Leng . 5 5 5 5 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2549 ค.อ.บ. (อุตสาหการ-เช่ือมประกอบ), สถาบัน (2018). Scorbot-ER 4U Using Forward เทคโนโลยีราชมงคล, 2540 Kinematics Modelling and Analysis. World Academy นายธนัช ศรีพนม of Science, Engineering and Technology ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ International Journal of Mechanical and ค.อ.ม. (เคร่ืองกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ Mechatronics Engineering, 12(2). pp. พระนครเหนอื , 2542 162-168. วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล), สถาบนั เทคโนโลยรี าช มงคล, 2539 ผศ.ชยั รัตน์ หงษ์ทอง,นายอภริ มย์ ชเู มฆาและ 5 5 5 5 นายทรงธรรม ดวี านิชสกลุ อาจารย์ ผศ.ธวัชชัย คาแดง (2560).การเปรยี บเทียบ ปร.ด. (วิจยั และพฒั นาการสอนทางเทคนคิ ศกึ ษา), ความสามารถการเหลาก้าน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , มะพรา้ วดว้ ยเคร่อื งเหลาก้านมะพร้าวกับคน. 2558 การประชมุ วชิ าการเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ค.อ.ม. (เครอ่ื งกล), สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า ครงั้ 2 (RTUNC 2017). วันท่ี 26-27 พระนครเหนอื , 2542 กรกฎาคม 2560. น.307-314. ค.อ.บ. (วิศวกรรมเครือ่ งกล), สถาบันเทคโนโลยพี ระ จอมเกล้าพระนครเหนอื , 2537 วชริ ะ แสงรศั มี, ธนชั ศรีพนม. (2560). 5555 ประสิทธภิ าพแผงบงั แดดหน้าต่างกง่ึ โปร่งแสงที่ สง่ ผลกระทบต่อค่าการถ่ายเทความร้อน. วารสารหนา้ จ่ัว.สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม. 32(2017). มกราคม - ธันวาคม 2560. น.F03 –F20. Deewanichsakul, S. and Sramoon, 5555 B.(2018) The Training Package Development on Bottle Glass Forming in Blow and Blow Process for Glass Forming Operators. 3rd Technical and Vocational Education & Training International Conference 26 Nov – 27 Nov 2018, KSL Hotel & Resort, Johor, Malaysia, p 27.

66 ลาดบั ชอื่ -นามสกลุ ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./ ตาแหนง่ วิชาการ สปั ดาห์/ คุณวฒุ ิ – สาขาวชิ า ปีการศกึ ษา ชือ่ สถาบนั , ปี พ.ศ. ท่ีสาเร็จการศึกษา 2563 2564 2565 2566 20 ดร.ณัฐพงษ์ โตมนั่ Arnon Niyomphol, Manodch 5555 Boontonglek, Pratoomtong Trirat, อาจารย์ ปร.ด. (วิจยั และพัฒนาการสอนทางเทคนคิ ศกึ ษา), Seksan Sakonthawat, Artip Sornsujitra มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื , and Parujee Charoenphao. (2019).The 2557 Development of Paradigm, Model, and กศ.ม. (อุตสาหกรรมศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, Mechanism for Teacher Development 2551 Based on the Area Network Concept: A อส.บ. (เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกสก์ าลัง), สถาบนั Case Study of the Faculty of Industrial เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546 Education, Faculty of Fine and Applied Art, and Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The 4th International Conference on Innovative Education and Technology (ICIET 2019). 11-13 July 2019. Pattaya Chonburi. P.39-44. 21 นายอภริ มย์ ชเู มฆา อภิรมย์ ชเู มฆา และ ดลหทยั ชเู มฆา. (2561). 5 5 5 5 อาจารย์ การทดสอบและประเมินผลเครอื่ งยอ่ ยเปลอื ก วศ.ม. (เทคโนโลยกี ารผลติ ทางอุตสาหกรรม), มะพร้าว. วารสารวิทยาศาสตรเ์ กษตร. 12-13 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2554 กรกฎาคม 2561. 49(4). วศ.บ. (วศิ วกรรมหลังการเก็บเกย่ี วและแปรสภาพ น.307-310. ผลผลติ เกษตร), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบรุ ี, 2540 22 นายสมพร วงษเ์ พง็ สมพร วงษ์เพง็ และอัญญารัตน์ ประสนั ใจ. 5555 อาจารย์ (2561). การลดเวลาในการเจาะรแู ผน่ กนั ล่ืน. วศ.ม. (วศิ วกรรมอตุ สาหการ), มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี การประชมุ วชิ าการข่ายงานวศิ วกรรมอตุ สาห ราชมงคลธญั บุร,ี 2554 การ. โรงแรมสนุ ยี ์แกรนด์ โฮเทล แอน คอน อส.บ. (เทคโนโลยอี ุตสาหการ), มหาวทิ ยาลยั เวนชัน่ เซ็นเตอร์ จงั หวดั อุบลราชธาน.ี 23-26 เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี, 2550 กรกฎาคม 2561. น.515-518. 23 นายอดุ มศักด์ิ จันทรทาโพ ปกรณ์เกยี รติ์ เศวตเมธกิ ลุ ฒ อุดมศักด์ิ จนั ทรทา 5 5 5 5 อาจารย์ โพ และสมสนิ วางขุนทด. (2561). การจาแนก M.Sc. (Computer Science), Asian Institute of ความชนื้ ขา้ วเปลอื กมาตรฐานดว้ ยโพรบยา่ น Technology (AIT), 2549 ไมโครเวฟอยา่ งงา่ ยโดยโหมดการวดั คลน่ื วท.บ. (วิทยาการคอมพวิ เตอร)์ , มหาวิทยาลัยศรปี ทุม, สะทอ้ นกลับ. การประชมุ วิชาการงานวจิ ยั และ 2546 พัฒนาเชิงประยุกต์ ครงั้ ที่ 10 (ECTI-CARD 2018). 26-29 มถิ นุ ายน 2561. น.127-130.

67 ลาดับ ชอ่ื -นามสกุล ผลงานวิชาการ ภาระการสอน ชม./ ตาแหนง่ วิชาการ สัปดาห/์ คุณวุฒิ – สาขาวชิ า ปกี ารศกึ ษา ชอื่ สถาบนั , ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศกึ ษา 2563 2564 2565 2566 24 นางบรรเลง สระมูล Arnon Niyomphol, Parinya Meesuk, 5 5 5 5 อาจารย์ Tongluck Boontham, Nattapong ศศ.ม. (บรรษรกั ษ์ศาสตร์และสารนเิ ทศศาสตร)์ , Tomun and Banleng Sramoon จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , 2548 (2017). The Development of ค.ม. (การวิจยั การศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั ศรีนคริ Teacher Spirit Preparation Package นทรวิโรฒ, 2547 for Pre-Service Teacher at กศ.บ. (บรรณารกั ษ์ศาสตร)์ , มหาวิทยาลัยศรนี คริ Vocational Education. Advanced นทรวโิ รฒ บางแสน, 2529 Journal of Technical and Vocational Education (AJTVE). 1(3). p. 63-67. 25 นายวเิ ชียร เถ่อื นเครือวลั ย์ สมศักดิ์ แก่นทอง, วเิ ชียร เถ่ือนเครือวัลย์ 5 5 5 5 อาจารย์ และ ศริ ิชยั ตอ่ สกลุ .(2559) อทิ ธิพลของ วศ.ม. (การจดั การอุตสาหกรรม), สถาบัน กระบวนทางความร้อนต่อสมบตั ิทางกลของ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546 เหล็กกล้า AISI 1045 ที่ผ่านการเชอ่ื มด้วย วศ.บ. (วศิ วกรรมอุตสาหการ), สถาบนั เทคโนโลยี ความเสยี ดทานสาหรับอตุ สาหกรรมการ ราชมงคล, 2542 เชอ่ื มเพลา. Naresuan University ค.อ.บ. (อุตสาหการเครื่องมือกล), วิทยาลัย Engineering Journal, January-June เทคโนโลยีและอาชีวศกึ ษา, 2528 2016 Vol.11 No.1, pp. 85-92. 26 นางสาวรินรดี ปาปะใน รินรดี ปาปะใน. (2561). การศึกษาตดิ ตาม 5 5 5 5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อตั ราการจา้ งงาน การศกึ ษาตอ่ ของ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน), จุฬาลงกรณ์ นักเรยี นทเี่ ข้ารว่ มโครงการจัดการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัย, 2555 รปู แบบทวภิ าคีแบบพเิ ศษ เขตพืน้ ทพ่ี ิเศษ ค.ม. (นิเทศการศกึ ษาและพัฒนาหลักสตู ร), ในสถานประกอบการเพื่อสนับสนนุ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2546 โครงการกองทุนการศึกษา ร่นุ ท่ี 2. การ ค.บ. (วิทยาศาสตร์ท่ัวไป), สถาบนั ราชภัฎพระ ประชุมวชิ าการระดับชาติ \"การศกึ ษาเพื่อ นคร, 2528 พัฒนาการเรยี นรู้ ครัง้ ท่ี 2 ประจาปี 2561. 25 พฤษภาคม 2561. น. 593-606. 27 นายมานพ ตนั ตระบณั ฑิตย์ ณัฐ แก้วสกลุ ,เรืองศกั ด์ิ ภูธรธราช,มานพ 5 5 5 5 รองศาสตราจารย์ ตันตระบัณฑติ ย์,อัญญารตั น์ ประสันใจ M.Eng. (Agricultural Machinery ,อมรรตั น์ กงแก้ว และขันติ สมุ งั สะ. Engineering), Asian Institute of (2560). การศกึ ษาความสามารถในการ Technology, 2538 เช่ือมเหล็กกล้าความแขง็ แรงสูงสาหรับงาน Dipl.-Ing. (FH) (Mechanical Engineering), โครงสร้างเหลก็ ดว้ ยกระบวนการเชื่อมแบบ University of Applied Science Cologne, GMAW. การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ 2525 วศิ วกรรมวิจัย ครง้ั ที่ 1. โรงแรมการ์เด้น คลฟิ รสี อรท์ แอนด์ สปา พัทยา จังหวัด ชลบรุ ี. 28-29 มถิ นุ ายน 2560. น.4.

68 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรอื สหกจิ ศึกษา) 4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูข้ องประสบการณภ์ าคสนาม องคป์ ระกอบเกีย่ วกบั ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู 4.1.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณว์ ิชาชีพครู ความคาดหวังในผลการเรียนรูป้ ระสบการณ์วิชาชีพครู ของคุณลักษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์ ดังน้ี 1) เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดม่ันในวิชาชีพครู (Engaged Teacher) มีจิตวิญญาณ และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ปฏิบัติหน้าท่ีตามอุดมการณ์ความเป็นครูด้วยความรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ อุทิศตนและทุ่มเทในการพัฒนาการ เรยี นร้แู ละผลประโยชนส์ งู สุดแก่ผเู้ รียน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างทีด่ ที ัง้ ทางดา้ นวิชาการและวชิ าชีพ 2) ผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ (Learner & Literate) และมีปัญญา เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่เรียนรู้และรอบรู้ตลอดเวลา มีศักยภาพ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหา พัฒนาความรู้และค้นหานวัตกรรมใหม่มาพัฒนาผู้เรียน มีความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) รู้เท่าทันส่ือ เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลง สารสนเทศสมัยใหม่ สามารถเผชิญและก้าวทันกับการ เปลี่ยนแปลงในโลกดจิ ิทลั และโลกอนาคต 3) ผู้มีความสามารถสูงในการบูรณาการข้ามศาสตร์ (Innovative Teacher) การจัดการ เรียนรู้ และสร้างนวตั กรรม มีทักษะ สมรรถนะและประสบการณ์ในการปฏบิ ัติงาน ด้วยความเช่ียวชาญในงาน อาชีพท่ีเก่ียวข้อง มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ใช้ศาสตร์การสอน ท้ังด้านทฤษฎี และปฏิบัติเพ่ือ จัดการเรียนรู้ด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ด้วยความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็นระบบ คิดวิเคราะห์ และคิดแก้ปัญหา โดยใชเ้ ทคโนโลยี และกลยทุ ธก์ ารสอนท่ีทันสมยั ในการทาหนา้ ทีเ่ ป็นครใู นสถานศึกษา หรอื ผูส้ อนงานในสถาน ประกอบการ เพื่อจัดการเรียนรู้และอานวยการ หรือผู้สอนงาน ให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง มีวิจารณญาณในการคน้ หาข้อมลู ทถ่ี ูกต้องเหมาะสม และกระตุ้นผูเ้ รียนให้ค้นหาความสามารถของตวั เอง และ ส่งเสริมให้ใช้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ เพ่ือแก้ไข พัฒนางาน และสร้างนวัตกรรม และมีส่วนร่วมใน การพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวิชาชีพครู สามารถสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรมเพื่อไปพัฒนาผู้เรียน ให้เตม็ ตามศักยภาพ ตลอดจนสามารถประยกุ ตค์ วามรูไ้ ปใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคมได้ด้วยตนเอง 4) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็งและใส่ใจสังคม เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น มีจิตสานึกไทย สานึกสากล เป็นพลเมืองตื่นรู้ เป็นพลเมืองทีดีของไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์ มีความยุติธรรม เท่าเทียม เสมอภาค รู้ถูก รู้ผิด รู้ชอบ ชั่ว ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมบนหลักการประชาธิปไตย มี ภาวะผู้นา สามารถทางานร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเป็นอย่างดี มีสัมพนั ธภาพท่ีดแี ละร่วมมือกับผู้ปกครอง และชุมชนเพ่ือส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น และการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ ประชาคมโลกอย่างสันติ รวมทั้งมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ และมีคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง ประสงคต์ ามมาตรฐานวิชาชพี ครู

69 4.1.2 ช่วงเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 และ 2 ช้นั ปีการศึกษาที่ 4 4.1.3 การจัดเวลาและตารางสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 และ 2 ชั้นปีการศึกษาท่ี 4 ทุกสปั ดาห์ 4.2 องค์ประกอบเกีย่ วกับประสบการณ์ชีพเฉพาะสาขา 4.2.1 มาตรฐานผลการเรียนรขู้ องประสบการณ์วิชาชพี เฉพาะสาขา จากความต้องการของสถานประกอบการที่เห็นว่าบณั ฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ ทางานจริง ดังนั้นหลักสูตรจึงได้กาหนดรายวิชาฝึกงาน ซึ่งจะจัดอยู่ในรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพในสถาน ประกอบการความคาดหวงั ในผลการเรียนรู้ประสบการณภ์ าคสนามของนกั ศกึ ษา มดี งั นี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นแบบอย่างท่ีดีและความรับผิดชอบ ในการทางานหนา้ ท่ีครู มจี ติ สาธารณะ และเสียสละให้สังคม 2) มีทักษะในการปฏิบตั ิงานจริงด้านคอมพิวเตอร์ จากสถานประกอบการ และมคี วามเข้าใจในทฤษฎี และการปฏิบตั ิจรงิ มากยิง่ ขึน้ 3) บูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อนาไปแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ ในสถานประกอบการได้อย่าง เหมาะสม คิดวิเคราะห์ สร้างสรรคส์ ิ่งใหมๆ่ ได้ 4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสืบค้น ขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ และถา่ ยทอดเทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5) มรี ะเบียบวนิ ยั ตรงเวลา เข้าใจวัฒนธรรมองค์กรและสามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สถานประกอบการได้ 6) มคี วามกลา้ ในการแสดงออก และนาความคดิ สร้างสรรค์ไปใชป้ ระโยชน์ในงานได้ 4.2.2 ชว่ งเวลา หลักสตู รสป่ี ี ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ของช้นั ปกี ารศึกษาที่ 2 หลกั สตู รต่อเนือ่ ง ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน ของชน้ั ปกี ารศึกษาท่ี 1 5. ข้อกาหนดเก่ียวกบั การทาโครงงานหรืองานวิจยั ข้อกาหนดในการทาโครงการ ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ หรือเพ่ือการสร้างนวัตกรรม ใหม่ ๆ ในงาน โดยให้สร้างช้ินในด้าน และบูรณาการด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ให้มีหลักทฤษฎีอ้างอิงและ สามารถนาไปใชง้ านจริงได้เมื่อโครงการสาเร็จ โดยมีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ 2-3 คน โดยจะต้องมีรายงาน ท่ีต้องนาส่งตามรูปแบบและระยะเวลาตามที่หลักสูตรกาหนดอย่างถูกต้อง หรือเป็นโครงการท่ีมุ่งเน้นการ สร้างผลงานวจิ ัย/นวัตกรรมทางดา้ นอตุ สาหกรรม 5.1 คาอธบิ ายโดยย่อ วางแผนขัน้ ตอนและระเบียบการเสนอหวั ข้อโครงการ การทบทวนวรรณกรรม การวเิ คราะห์ปญั หา และความเป็นไปได้ของโครงการ การวางแผนการสร้างโครงการด้านคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ออกแบบและ สร้างโครงการ การเลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใน การสร้าง อนั เกดิ ประโยชนต์ อ่ วชิ าชีพดา้ นคอมพิวเตอร์ หรือตอ่ สงั คมส่วนรวม และการนาเสนอผลงาน

70 5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นักศึกษาสามารถทางานเป็นทีม มีความเช่ียวชาญในการใช้เคร่ืองมือ มีทักษะในวิชาชีพในการทา โครงการ โครงการสามารถเป็นตน้ แบบในการพัฒนาต่อได้ 5.3 ชว่ งเวลา ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาท่ี 2 ของปกี ารศึกษาที่ 3 5.4 จานวนหนว่ ยกติ 3 หน่วยกิต 5.5 การเตรยี มการ มีคู่มือการทาโครงการ มีการกาหนดช่ัวโมงการให้คาปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษาให้ข้อมูล ขา่ วสารเกี่ยวกบั โครงการเปน็ สมุดบนั ทึก และปรับขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ ันอยเู่ สมอ อีกท้งั มภี าพตัวอย่างโครงการ 5.6 กระบวนการประเมนิ ผล ประเมินความก้าวหน้าในการทาโครงการ จากสมุดบันทึก โดยอาจารย์ท่ีปรึกษา และประเมิน คะแนนจากรายงานท่ีไดก้ าหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลาและช้ินงาน ซ่ึงสามารถทางานไดใ้ นข้ันต้น โดยเฉพาะส่วนที่ทางานหลักของโครงการ และจัดสอบโดยนาเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสอบไม่น้อย กวา่ 3 คน

71 หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล 1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนักศกึ ษา คุณลักษณะพเิ ศษ กลยทุ ธห์ รอื กจิ กรรมของนกั ศกึ ษา ดา้ นบุคลกิ ภาพ - มีการสอดแทรกเก่ยี วกับ การแตง่ กาย การ เขา้ สังคม เทคนคิ การเจรจา สอ่ื สาร การมี มนุษยสมั พนั ธ์ และการวางตัวในการทางานใน บางรายวิชาท่เี ก่ียวข้อง และในกิจกรรม ปฐมนเิ ทศและปจั ฉิมนิเทศ ดา้ นภาวะผนู้ า และความรับผิดชอบ - กาหนดให้นักศึกษาเรยี นและเขา้ รว่ มกิจกรรม ตลอดจนมีวนิ ัยในตนเอง สมา่ เสมอและตรงตอ่ เวลา - ใหม้ กี ารทางานกลุ่มและมอบหมายใหน้ กั ศกึ ษา หมนุ เวยี นกันเปน็ หวั หน้าในการดาเนนิ กจิ กรรม เพอื่ ฝกึ ดา้ นภาวะผู้นาในรายวชิ าของหลักสูตร และกิจกรรมของภาควิชา - จัดการเรยี นการสอนหรือจัดกจิ กรรมท่มี กี าร เรยี นรู้ด้วยตนเอง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ - มีวิธีการปลกู ฝงั ใหน้ ักศึกษามคี ุณธรรม วิชาชพี จริยธรรมมรี ะเบียบวินัย ตรงตอ่ เวลา ซือ่ สัตย์ สุจริต ขยันหม่ันเพียร สานึก ในจรรยาวิชาชีพ รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทแ่ี ละสงั คม ด้านความเป็นครชู า่ ง - เปน็ ฝกึ ผูเ้ รยี นใหเ้ ปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ ลงมือทาไดจ้ รงิ และเช่ยี วชาญดา้ นทฤษฎี - เป็นผ้ทู ส่ี ามารถถา่ ยทอดความรไู้ ด้อยา่ งแม่นยา ท้งั ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ - มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของความ เปน็ ครชู า่ ง - เปน็ ผมู้ คี วามใฝร่ ู้ แสวงหาความรูร้ อบตัวอยู่ ตลอดเวลา

72 2. การพัฒนาผลการเรียนรใู้ นแตล่ ะดา้ น 2.1 หมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 1) มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนินชวี ิต บนพ้นื ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง 2) สามารถวเิ คราะหป์ ระเด็นคณุ ธรรม จริยธรรม 3) ซอื่ สตั ย์ ขยนั อดทน มีวนิ ัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บงั คับขององค์กร และสงั คม 1.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรยี นรูด้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม 1) จดั กจิ กรรมเป็นประโยชนต์ อ่ สังคม 2) สอดแทรกประเดน็ คณุ ธรรม จริยธรรมทกี่ าลงั พูดคยุ ในสังคม 3) สอดแทรกความซอ่ื สัตย์ต่อตนเอง และสังคม ให้ความสาคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาท่ีกาหนด เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม ถกู ตอ้ ง ตามระเบยี บขอ้ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั 1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) พิจารณาจากกิจกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักศกึ ษา 2) การอภปิ รายในชัน้ เรียนเก่ียวกับประเด็นคุณธรรม จริยธรรม 3) การขานชอื่ การให้คะแนนการเขา้ ชน้ั เรยี นและการสง่ งานตรงเวลา 4) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรยี นรูด้ ้านความรู้ 1) มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน เพ่ือนาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนาความรู้ไปสู่การ สรา้ งนวตั กรรม 2) มคี วามรทู้ ันตอ่ ความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกบั การเปน็ ผูป้ ระกอบการ 2.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ใี ช้พฒั นาการเรยี นรดู้ ้านความรู้ 1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ 2) จัดใหม้ กี ารเรียนรูจ้ ากประสบการณต์ รง และสถานการณ์ท่เี ปน็ ปจั จบุ ัน 3) จดั ให้มีการเรยี นรู้จากสถานการณ์จรงิ โดยการศึกษาดูงานในสถานประกอบการ

73 2.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี รายงานท่ีมอบหมาย และผลงานและการ ปฏิบตั กิ าร 2) ประเมนิ จากรายงานผลการศกึ ษาดงู าน 3) ประเมินจากการปฏบิ ตั ติ ามข้อกาหนด ระเบียบ ขอ้ บงั คับ 3. ทักษะทางปญั ญา 3.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะทางปญั ญา 1) มที กั ษะการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองตลอดชีวติ 2) สามารถแกไ้ ขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแกไ้ ขได้อยา่ งสร้างสรรค์ 3) สามารถใชข้ ้อมลู ประมวลผล และวิเคราะหข์ อ้ มูลไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 3.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ดา้ นทักษะทางปญั ญา 1) ใหน้ ักศกึ ษาฝกึ การคน้ หาความรใู้ หมอ่ ยู่ตลอดเวลา 2) ส่งเสริมการเรียนรจู้ ากการแก้ปัญหา (Problem Based Instruction) 3) มอบหมายงานท่สี ง่ เสรมิ การคดิ วิเคราะห์และสังเคราะห์ 3.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปญั ญา 1) ประเมินจากรายงาน ผลการค้นควา้ 2) ประเมินจากการรายงานผลการดาเนินงานและการแก้ปัญหา ผลการปฏิบัติการจาก สถานการณ์จรงิ 3) ประเมินจากการทดสอบ การวเิ คราะหก์ รณีศึกษาต่างๆ 4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ 1) มบี คุ ลกิ ภาพและมนษุ ย์สัมพันธท์ ี่ดี สามารถเปน็ ผู้นาและผู้ตามท่ดี แี ละทางานเป็นทีม ได้ 2) มีสานึกสาธารณะและจติ อาสา เปน็ พลเมอื งท่มี คี ณุ คา่ ตอ่ สังคมไทยและสังคมโลก 3) มีความรับผิดชอบตอ่ สังคม 4.2 กลยุทธ์การสอนทีใ่ ช้พฒั นาการเรยี นรดู้ า้ นทักษะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและ ความรับผิดชอบ 1) กาหนดการทางานกลุม่ โดยใหห้ มุนเวียนการเป็นผนู้ าและผรู้ ายงาน 2) ใหค้ าแนะนาในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมสโมสร กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัยฯ 3) ให้ความสาคัญในการแบ่งหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบและการใหค้ วามรว่ มมอื 4.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและ ความรับผิดชอบ 1) ประเมนิ ผลจากแบบประเมนิ ตนเองและกิจกรรมกลุ่ม

74 2) พิจารณาจากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา 3) ประเมนิ จากการรายงานหน้าชน้ั เรยี นและจากการสงั เกตพฤติกรรม 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ใน การดารงชวี ติ และปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพ่ือนามาวิเคราะห์และสนับสนุน การตดั สนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการส่ือสารและการนาเสนอที่เหมาะสมต่อบุคคลที่ หลากหลาย 5.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้พัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ส่งเสริมให้เห็นความสาคัญ และฝึกให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิง ตวั เลข 2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานาเสนอ หน้าชนั้ 3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงานท่ี ได้รับมอบหมาย และฝึกการนาเสนอผลงานโดยเน้นความสาคัญของการใช้ภาษาและ บุคลกิ ภาพ 5.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) ประเมินจากงานที่มอบหมาย ความสามารถในการคานวณด้วยหลักคณิตศาสตร์ เชงิ เลข 2) พิจารณาจากรายงานการค้นคว้าข้อมูล วิธีการนาข้อมูลออกมานาเสนอและการ ประยกุ ตใ์ ชง้ าน 3) พจิ ารณาจากวิธีการนาเสนอ การใชข้ อ้ มลู 2.1 หมวดวิชาเฉพาะ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) แสดงออกซึ่งความรักและศรัทธาและภูมิใจในวชิ าชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู

75 2) มีจิตอาสา จติ สาธารณะ อดทนอดกล้นั มคี วามเสยี สละ รับผิดชอบและซือ่ สัตย์ตอ่ งาน ที่ไดร้ ับมอบหมายทั้งด้านวชิ าการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ และ เสริมสรา้ งการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื 3) มีค่านิยมและคุณลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ การเคารพสิทธิ และให้เกียรตคิ นอื่น มีความสามัคคีและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และใช้เหตุผลและปัญญาใน การดาเนินชีวิตและการตดั สนิ ใจ 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวนิ ิจฉัย จัดการและคิด แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานและ สภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลยพินิจทางค่านิยม บรรทัดฐาน ทางสังคม ความรู้สึกของผู้อื่นและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มีจิตสานึกในการธารง ความโปร่งใสของสังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นและความไม่ ถกู ต้อง ไมใ่ ชข้ อ้ มูลบิดเบอื น หรอื การลอกเลียนผลงาน 1.2 กลยุทธก์ ารสอนท่ใี ชพ้ ฒั นาการเรียนรู้ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 1) การวิเคราะห์แบบวิภาษวิธี (Dialectics) ในประเดน็ วกิ ฤตด้านคุณธรรมจริยธรรมของ สังคมและวชิ าการ รวมทั้งประเด็นวกิ ฤตของจรรยาบรรณวิชาชพี ครแู ละเป็นพลเมืองที่ เขม้ แข็งตามยุทธศาสตร์ชาติ 2) การเรียนรู้โดยการปฏิสัมพันธ์เชิงปฏิบัติการ (Interactive action learning) และ กรณศี กึ ษา (Case study) ทสี่ อดคลอ้ งกบั วชิ าชพี ครแู ละวิชาชพี ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 3) การใช้บทบาทสมมติในการแสดงออกทาง ความคิด คาพูด การกระทา เพ่ือการอยู่ ร่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ บนพื้นฐานความแตกต่างระหวา่ งบุคคล วฒั นธรรมและชุมชน 4) การสืบสอบทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของคุณธรรมจริยธรรม การวัดคุณธรรม จรยิ ธรรมเพอื่ นาไปประยุกตใ์ ช้ในการประกอบวิชาชพี ครแู ละวิชาชีพท่เี กย่ี วข้อง 5) การเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู เพ่ือประเมินและสง่ เสริมคา่ นยิ มความเป็นครู 1.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) วัดและประเมนิ จากผลการวเิ คราะหแ์ บบวิภาษวธิ ี 2) วดั และประเมินจากการทากิจกรรมกลมุ่ เชงิ ปฏิบัติการและกรณีศึกษา 3) วดั และประเมินจากผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมในการแสดงบทบาทสมมติ 4) วัดและประเมินจากผลงานการสืบสอบพัฒนาการของคุณธรรมจริยธรรม การวัด คณุ ธรรมจริยธรรม 5) วัดและประเมินจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเป็นครูเป็นรายปีตลอด หลักสูตร

76 2. ความรู้ 2.1 ผลการเรียนร้ดู ้านความรู้ 1) มคี วามรอบรใู้ นหลกั การ แนวคิด ทฤษฎี เน้ือหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยม ของครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จิตวิทยาสาหรับครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพ่ือจัดการเรียนรู้และ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรและวิทยาการการจัดการ เรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารการศึกษาและการเรียนรู้ การวัดประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ การวจิ ัยและการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือพัฒนา ผู้เรียน และภาษาเพ่ือการส่ือสารสาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะ เทคโนโลยีและดิจิทัล ทักษะการทางานวิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือ สร้างสรรค์ และทักษะศตวรรษท่ี 21 มีความรู้ ความเข้าใจในการบูรณาการความรู้กับ การปฏิบัติจริงและการบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) และมคี วามรู้ในการประยุกต์ใช้ 2) มีความรู้และเนื้อหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่างลึกซึ้ง ถ่องแท้ รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/หรือ มาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้ เคร่อื งมอื การซ่อมแซม การบารุงรักษา การสรา้ ง การพัฒนากระบวนการ ข้ันตอน ใน การทางาน โดยคานึงถึง ผลดีและผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และ ชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริโภค สามารถติดตามความก้าวหน้าด้าน วิทยาการที่เก่ียวข้องและนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม โดย มีผลลัพธ์การเรียนรูแ้ ละเน้ือหาสาระด้านมาตรฐานผลการเรยี นร้ดู า้ นความรขู้ องแต่ละ สาขาวิชา ผู้เรียนสามารถแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบายความรู้ ทางด้านคอมพิวเตอร์ข้ันสูง ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับระบบและข้อมูล ออกแบบและวิเคราะห์ระบบงาน ด้านคอมพิวเตอร์เพ่ือ แก้ปัญหาท่ีเก่ียวข้อง สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาและการ ฝึกอบรม เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการ มีความสามารถในการใช้งานและ การสร้างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมทั้งเคร่ืองมือที่เก่ียวของกับวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ เพื่อการสร้างผลงาน พัฒนาองค์ความรู้และแก้ปัญหางาน ด้าน คอมพิวเตอร์ มคี วามสามารถในการเลือกใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ สอื่ การสอนและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ที่หลากหลายและทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ีเน้น ทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อจัดการเรียนรู้และปฏิบัติงาน ในสถานศึกษาและสถาน ประกอบการ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะในสาขาอาชีพและทักษะตามมาตรฐาน อาชีพ - พ้ืนฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1) พ้ืนฐานทางวิศวกรรม

77 คอมพิวเตอร์ ดา้ นฮารด์ แวร์และซอฟตแ์ วร์ 2) การเขยี นโปรแกรม 3) ระบบฐานขอ้ มูล 4) เครือข่ายข้อมูล 5) ระบบสมองกลฝังตัว 6) ปัญญาประดิษฐ์ 7) การเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) 8) การรักษาความปลอดภัยเก่ียวกับระบบและข้อมูล 9) การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และการศึกษา 10) วิทยาการ หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และการศึกษา 11) มาตรฐาน อตุ สาหกรรมหรือมาตรฐานอนื่ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3) เข้าใจชุมชน เข้าใจชีวิต มีความรู้ บริบทอุตสาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวฒั นธรรม สามารถเผชิญและเท่าทัน กับการเปล่ียนแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตและพฒั นาตน พฒั นางาน และพัฒนาผเู้ รยี น 4) มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ เพ่ือการสื่อสาร ตาม มาตรฐาน 5) ตระหนักรู้ เห็นคุณค่าและความสาคัญของศาสตร์พระราชาเพือ่ การพฒั นาท่ียั่งยืนและ นามา ประยกุ ต์ใชใ้ นการพฒั นาตน พัฒนาผเู้ รยี น พฒั นางานและพฒั นาชมุ ชน 2.2 กลยุทธ์การสอนท่ใี ชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1) การวเิ คราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้และการเรียนรู้แบบต่าง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 ที่ สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาทางวชิ าการและวชิ าชพี ทีท่ ันต่อการเปลี่ยนแปลงในระดับตา่ ง ๆ 2) กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสาหรับการทบทวนวรรณกรรม สรุป องคค์ วามร้เู กย่ี วกบั การบูรณาการทฤษฎีและหลกั การสาคญั ทางวิชาชพี ครแู ละวิชาชีพ เฉพาะทางที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้และการฝึกอบรม รวมทั้งเพ่ือการ พัฒนานวัตกรรมในสาขาอาชพี ที่เกี่ยวขอ้ ง 3) การมอบหมายโครงงานสาหรับการวิเคราะห์สมรรถนะอาชีพเพอ่ื กาหนดหัวข้อการบรู ณาการความรู้ ทักษะปฏิบัติและเจตคติ รวมท้ังการวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชา และหลักสตู รการฝึกอบรมอาชีพเฉพาะทาง 4) การเรียนรู้ร่วมมือจากโจทย์ตัวอย่างในสถานประกอบการจริงเพื่อประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้วชิ าชีพเฉพาะทาง รวมทั้งกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา การวิจัยดว้ ย วธิ กี ารทเ่ี หมาะสมตามหลกั การทางวิชาชพี ของสาขาอาชีพต่างๆ ให้เกดิ ประโยชน์ในวง กว้าง 5) การเรียนรู้แบบสืบสอบ (Inquiry method) เก่ียวกับมาตรฐานและระบบต่าง ๆ ที่ เกยี่ วข้องกบั วิชาชพี ครแู ละวชิ าชพี เฉพาะทางของแต่ละสาขาอาชพี 6) การเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสริมความเปน็ ครู 2.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ 1) วดั และประเมนิ จากผลการวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์องคค์ วามร้แู ละการเรียนรแู้ บบ

78 ตา่ ง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 2) วัดและประเมินจากผลการทากจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบเน้นผ้เู รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง 3) วัดและประเมินจากผลจากโครงงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย 4) วัดและประเมนิ จากการเรยี นรู้รว่ มมือจากโจทยต์ ัวอย่างในสถานประกอบการจรงิ 5) วัดและประเมินผลการเรียนรู้แบบสืบสอบเก่ียวกับมาตรฐานและระบบต่าง ๆ ที่ เก่ียวขอ้ ง 6) วัดและประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครเู ป็นรายปีตลอด หลกั สตู ร 3. ทกั ษะทางปัญญา 3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปญั ญา 1) สามารถคิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูลสื่อสารสนเทศ จาก แหล่งขอ้ มลู ที่หลากหลายอย่างรเู้ ท่าทนั เปน็ พลเมอื งตืน่ รู้ มีสานึกสากล สามารถเผชิญ และก้าวทันกับการเปล่ียนแปลงในโลกยุคดิจิทัล เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์มและโลก อนาคต นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และวินิจฉัยแก้ปัญหาและพัฒนางานได้ อย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงถึงความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ค่านิยม แนวคิด นโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ บรรทัดฐานทางสังคมและผลกระทบท่ี อาจเกดิ ข้ึน 2) สามารถคิดริเร่ิมและพฒั นางานอยา่ งสร้างสรรค์ 3) สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทาวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้าง ผลิตภาพ หรือ ผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นผู้สร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรม รวมท้ังการถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน สถานประกอบการและสังคม 3.2 กลยทุ ธ์การสอนด้านทกั ษะทางปัญญา 1) การค้นหาและวิเคราะห์เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ข้อมูลสารสนเทศทางวิชาการและวิชาชีพ ในบริบทต่าง ๆ เพ่อื ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านและการจดั การเรยี นร้ใู นวชิ าชพี เฉพาะทาง 2) การคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรมและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ในสาขาอาชีพ ได้ด้วยตัวเองผ่านกระบวนการวิจัย (Research-based learning) ท่ีสอดคล้องกับ โจทยว์ จิ ยั จากสถานประกอบการในสาขาวิชาชีพเฉพาะทางท่ีเกย่ี วขอ้ ง 3) การจัดการศึกษาและทากิจกรรมกลุ่มท่ีเน้นผลลัพธ์เป็นฐาน (Outcome based Education) และสมรรถนะเป็นฐาน (Competency based Education) ในรูปแบบ ต่างๆ ท่ีเน้นการส่งเสริมกระบวนทัศน์วิสัยทัศน์ สอดคล้องกับการพัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้และพัฒนาทางวิชาชีพเฉพาะบนพ้ืนฐานความต้องการของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ผู้ปกครองและชมุ ชน 4) การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสริมความเปน็ ครู

79 3.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะทางปญั ญา 1) วดั และประเมินจากผลการคน้ หาและวิเคราะหเ์ กีย่ วกบั ข้อเท็จจริง ขอ้ มลู สารสนเทศ 2) วัดและประเมินจากผลการทาวิจัยเพื่อการคิดค้น การประดิษฐ์ การสร้างนวัตกรรม และ พฒั นาองคค์ วามรูใ้ หม่ 3) วัดและประเมินจากผลการทากิจกรรมกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์เป็นฐาน (Outcome based Education) และสมรรถนะเป็นฐาน (Competency based Education) ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ 4) วดั และประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเป็นครเู ป็นรายปตี ลอดหลักสูตร 4. ทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ 4.1 ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ 1) รับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจผู้อื่น มีความคิดเชงิ บวก มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และทาง สังคม 2) ทางานร่วมกับผู้อ่นื ทางานเป็นทีม เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี มีสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสานึก รับผิดชอบต่อสว่ นรวมท้งั ด้าน เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม สามารถพัฒนาผ้เู รยี น ให้เกดิ ความภาคภมู ิใจและเห็นคณุ ค่าในตนเอง ในวชิ าชีพ เคารพในเกยี รตแิ ละศักดิ์ศรี ของผู้อนื่ และความเปน็ มนุษย์ 3) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวม สามารถช่วยเหลือและแก้ปญั หาตนเอง กล่มุ และระหวา่ งกลุ่มไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ 4) มีภาวะผู้นาทางวิชาการและวิชาชีพ มีความเข้มแข็งและกล้าหาญทางจริยธรรม สามารถชี้นา และถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชนและสังคมอย่าง สร้างสรรค์ 4.2 กลยุทธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผดิ ชอบ 1) การเรียนแบบมีส่วนร่วมปฏิบัติการ (Participative learning through action) เพ่ือ ทากิจกรรมการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การคิดให้ความเห็นและการรับฟงั ความเห็นแบบสะทอ้ นกลบั (Reflective thinking) 2) การเป็นผู้นาแบบมีส่วนร่วม (Shared leadership) ในการนาเสนองานวิชาการ ทางด้านวิชาชีพครูและวิชาชีพเฉพาะทาง และการกระทาตนในบทบาทของผู้ตามท่ีดี เพ่อื การสนบั สนุนใหเ้ กดิ การทางานร่วมกันอยา่ งมีความสุขและมีประสทิ ธิภาพ 3) การทากิจกรรมกลุ่มเพ่ือการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ปกครองและ ชมุ ชนรวมทั้งการสร้างเครอื ข่ายสนบั สนนุ การเรียนรู้รว่ มกันของแต่ละสาขาอาชีพ

80 4) การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครู 4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รบั ผิดชอบ 1) วดั และประเมนิ จากผลการเรยี นแบบมสี ว่ นร่วมปฏบิ ตั กิ าร 2) วดั และประเมินจากบทบาทการเป็นผูน้ าและผู้ตามที่ดี 3) วดั และประเมนิ จากผลการทากิจกรรมกลมุ่ เพื่อการสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์และเครือข่าย 4) วัดและประเมินจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ครเู ปน็ รายปตี ลอดหลกั สูตร 5. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ 1) วิเคราะห์เชิงตัวเลข สาหรับข้อมูลและสารสนเทศ ทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ หรือ คณติ ศาสตร์ เพอ่ื เข้าใจองค์ความรู้ หรือประเดน็ ปญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและถูกต้อง 2) ส่ือสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มตา่ งๆ อย่างมีประสิทธภิ าพด้วยวิธกี ารหลากหลายท้ัง การพดู การเขียน และการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรม ทเ่ี หมาะสม 3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอฟปลิเคชั่นหรือ เพล็ตฟอร์ม รวมท้ังอุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จาเปน็ สาหรับ การจัดการเรียนรู้ การ วิจัย การทางาน และการประชุม รวมทั้งสามารถติดตามความก้าวหน้า การจัดการ และสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจท่ีดี ในการตรวจสอบความน่าเช่ือถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีกทั้งตระหนักถึงการ ละเมิดลขิ สิทธแ์ิ ละการลอกเลียนผลงาน 5.2 กลยทุ ธก์ ารสอนดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1) สง่ เสริมการสบื คน้ และตคี วามขอ้ มูลขา่ วสารในสังคม สารสนเทศทางวชิ าชีพครูและ วชิ าชพี เฉพาะทางโดยใช้เทคโนโลยีทีท่ ันสมยั เพอื่ วเิ คราะหแ์ ละนาเสนอผา่ นการพดู การเขยี น ด้วยภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2) เทคนิคและทกั ษะในการคานวณเชิงตวั เลข เชิงสถติ ิ เพ่ือการวิเคราะห์ขอ้ มลู ทาง วิชาชีพครูท่สี อดคล้องกับการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น และทางวิชาชพี เฉพาะทางท่ี สอดคลอ้ งกับการพัฒนางานในสาขาอาชีพตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ท่ี ันสมยั 3) การเขา้ รว่ มกิจกรรมเสรมิ ความเป็นครเู ป็นรายปตี ลอดหลักสตู ร

81 5.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอื่ สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) วดั และประเมินจากผลการสืบค้นและตคี วามและนาเสนอสารสนเทศด้วยเทคโนโลยีที่ ทนั สมัย 2) วัดและประเมินจากผลการคานวณเชิงตัวเลข เชิงสถิติสาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้เทคโนโลยที ่ที ันสมยั 3) วัดและประเมินจากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเสรมิ ความเป็นครเู ปน็ รายปีตลอดหลกั สูตร 6. ด้านวธิ ีวทิ ยาการจัดการเรียนรู้ 6.1 ผลการเรยี นรูด้ ้านทักษะดา้ นวธิ วี ิทยาการจัดการเรยี นรู้ 1) มีความเชี่ยวชาญในการจดั การเรียนรู้ และสอนงาน ด้วยรูปแบบ วิธีการที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สามารถออกแบบและสร้างหลักสูตรรายวชิ าในช้ันเรียน หรือหลักสูตรฝึกอบรม วางแผนและออกแบบเนื้อหาสาระและกิจกรรมการจัดการ เรียนรู้ บริหารจัดการช้ันเรียน และ/หรือสถานประกอบการ ใช้สื่อและเทคโนโลยี วัด และประเมินผลเพอ่ื พัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ 2) มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดการเรียนรู้ หรือ สอนงานได้อย่างหลากหลายเพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ทั้ง ผ้เู รยี นปกติหรอื ทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ หรือตา่ งวฒั นธรรม 3) จดั กจิ กรรมและออกแบบการจดั การเรียนร้ใู หผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัติและการทางานในสถานการณ์จริงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาการ คิด การทางาน การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทา เป็น โดยบูรณาการการทางานกับการเรียนรู้และคุณธรรมจริยธรรม สามารถประยุกต์ ความรู้มาใชเ้ พอื่ ป้องกนั แก้ไขปญั หา และพฒั นา 4) สร้างบรรยากาศ และจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภูมิปัญญาทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ มีความสามารถใน การประสานงานและสร้างความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชน ทุกฝา่ ย เพ่ืออานวยความสะดวกและร่วมมือกันพัฒนาผเู้ รียนให้มีความรอบรู้ มีปญั ญา รู้คดิ และเกดิ การใฝร่ ู้อย่างต่อเนือ่ งให้เตม็ ตามศกั ยภาพ 5) นาทักษะศตวรรษที่ 21 และเทคโนโลยี มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน และพฒั นาตนเอง เชน่ ทักษะการเรยี นรู้ (Learning Skills) ทกั ษะการรู้เรือ่ ง(Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการทางานแบบร่วมมือ และดาเนินชีวิต ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใชพ้ ฒั นาทกั ษะดา้ นวิธีวิทยาการจดั การเรยี นรู้ 1) การจัดการเรยี นการสอนทง้ั ภาคทฤษฎแี ละปฏิบตั ิทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับสาขาวิชาชีพ

82 2) การพฒั นารูปแบบการเรยี นรูท้ ่รี องรบั กบั ความแตกต่างของผูเ้ รยี น 3) การบูรณาการการเรยี นรูท้ ร่ี องรบั กบั การศกึ ษาตลอดชวี ิต 4) การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเปน็ ครู 6.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลทักษะด้านวธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ 1) วดั และประเมินจากผลการฝึกภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิท่เี ก่ียวข้องกบั สาขาวชิ าชพี 2) วัดและประเมนิ รปู แบบการเรียนรูท้ ีร่ องรบั กบั ความแตกตา่ งของผเู้ รยี น 3) วดั และประเมนิ การบูรณาการการเรยี นรทู้ รี่ องรับกบั การศกึ ษาตลอดชีวติ 4) วัดและประเมินจากการเข้ารว่ มกิจกรรมเสริมความเปน็ ครู 2. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง (ตามที่ระบุในหมวดที่ 4 ข้อ 2) โดยระบุว่าเป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง ซ่ึงบางรายวิชาอาจไม่นาสู่ผลการ เรยี นร้บู างเรอื่ งกไ็ ด้ จะแสดงเปน็ เอกสารแนบทา้ ยก็ได้ ผลการเรยี นรู้หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป 1. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 1) มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการดาเนนิ ชวี ิต บนพื้นฐานเศรษฐกจิ พอเพียง 2) สามารถวเิ คราะห์ประเด็นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3) ซ่อื สตั ย์ ขยนั อดทน มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ขององค์กรและสงั คม 2. ความรู้ 1) มคี วามร้แู ละทกั ษะพื้นฐาน เพ่ือนาไปตอ่ ยอดองค์ความรู้ หรอื นาความรไู้ ปสู่การสร้างนวัตกรรม 2) มีความรู้ทนั ตอ่ ความกา้ วหน้าและการเปลย่ี นแปลง 3) สามารถนาความรูไ้ ปปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกับการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 1) มที กั ษะการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองตลอดชวี ติ 2) สามารถแก้ไขปญั หาได้ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถใชข้ อ้ มลู ประมวลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้อย่างเป็นระบบ 4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 1) มีบคุ ลิกภาพและมนุษยส์ มั พันธท์ ด่ี ี สามารถเป็นผ้นู าและผตู้ ามที่ดีและทางานเปน็ ทีมได้ 2) มีสานกึ สาธารณะและจิตอาสา เปน็ พลเมอื งทมี่ คี ณุ ค่าต่อสังคมไทยและสงั คมโลก 3) มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

83 5. ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถเลอื กและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติและคณติ ศาสตรท์ ี่เกย่ี วข้องมาใช้ในการดารงชีวติ และปฏิบตั ิงานได้อย่างเหมาะสม 2) สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพ่ือนามาวิเคราะห์และสนับสนุนการ ตัดสินใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการส่ือสารและการนาเสนอที่เหมาะสมต่อบคุ คลทีห่ ลากหลาย

8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญ 1) มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน เพื่อ 1) มีทักษะการแสวงหา ดาเนนิ ชีวติ บนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชีวติ ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรไู้ ปสกู่ ารสร้างนวัตกรรม 2) สามารถแก้ไขปัญห 2) สามารถวิเคราะห์ประเด็น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทางการแ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการเปลยี่ นแปลง สรา้ งสรรค์ 3) ซอื่ สัตย์ ขยนั อดทน มีวนิ ัย ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อมูล ป ต่อเวลา เคารพกฎระเบยี บและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข้อมูลไ ขอ้ บังคบั ขององคก์ รและสงั คม ผู้ประกอบการ ระบบ

4 าหรับหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป ญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข บคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ าความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ ท่ีดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ หาได้ และ ตามที่ดแี ละทางานเปน็ ทีมได้ ท่ีเก่ียวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต ก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบตั ิงานได้อย่างเหมาะสม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ 2) สามารถใช้ ง านเทค โน โ ล ยี ประมวลผล สงั คมไทยและสงั คมโลก ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น เ พ่ื อ ได้อย่างเป็น 3) มคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม นามาวิเคราะห์และสนับสนุนการ 74 ตดั สินใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ท่ี เหมาะสมต่อบคุ คลทีห่ ลากหลาย

8 แผนที่แสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห  ความรบั ผดิ ชอบหลัก 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม รายวชิ า 1 23 01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ การพฒั นาทย่ี ่งั ยนื   01-210-022 วิถีธรรมวิถไี ทย  01-610-003 นันทนาการ  01-610-014 ทักษะกฬี าเพอ่ื สขุ ภาพ  01-320-001 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสือ่ สาร 1  01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร 2  01-310-001 ภาษาไทยเพอ่ื การส่อื สาร O 01-310-006 การอ่านและการเขยี นเชิงวิชาการ  01-320-010 ภาษาองั กฤษเพ่ือการทดสอบ  01-320-012 การฟงั และการพูดภาษาองั กฤษสาหรบั งานบรกิ ารดา้ นเทคนิค 

5 หลกั สตู รสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาทัว่ ไป ก  ความรบั ผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ ปญั ญา ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ระหวา่ งบุคคล ตวั เลข การ และความ สอื่ สารและการ รับผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 123123123123       75            O  O O O    O O O O O   OOO O

8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญ 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน เพ่ือ 1) มีทักษะการแสวงหาค ดาเนนิ ชวี ิต บนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชีวติ ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ความร้ไู ปสู่การสรา้ งนวตั กรรม 2) สามารถแก้ไขปัญห 2) สามารถวิเคราะหป์ ระเด็น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทางการแก้ไ คณุ ธรรม จริยธรรม และการเปลยี่ นแปลง สรา้ งสรรค์ 3) ซอื่ สัตย์ ขยนั อดทน มวี ินยั ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อมูล ปร ต่อเวลา เคารพกฎระเบยี บและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข้อมูลได ข้อบังคบั ขององคก์ รและสงั คม ผู้ประกอบการ ระบบ

6 าหรบั หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป ญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข บคุ คลและความรบั ผิดชอบ การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ ที่ดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ าได้ และ ตามทีด่ แี ละทางานเป็นทีมได้ ท่ีเก่ียวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ท่ี มี คุ ณ ค่ า ต่ อ 2) สามารถใช้ ง านเทค โน โ ล ยี ระมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น เ พ่ื อ ด้อย่างเป็น 3) มีความรับผิดชอบต่อสังคม นามาวิเคราะหแ์ ละสนับสนุนการ ตัดสนิ ใจ 76 3) สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บคุ คลทห่ี ลากหลาย

8 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากห  ความรบั ผดิ ชอบหลกั 1. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รายวิชา 01-320-022 การสรรสรา้ งละครและหนงั สน้ั ภาษาองั กฤษ 123 01-330-002 การสนทนาภาษาจีนเบื้องต้น 01-330-007 สนทนาภาษาญี่ปุน่ เบอ้ื งตน้ O 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 09-000-002 การใชง้ านโปรแกรมสาเรจ็ รปู เพือ่ งานมลั ติมีเดีย  09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการตดั สินใจ 09-111-051 คณติ ศาสตร์ในชวี ิตประจาวัน  09-121-001 สถิติในชวี ติ ประจาวัน 09-130-002 อินเทอร์เน็ตทกุ สรรพสิง่ ในชวี ิตประจาวัน  09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 00-100-101 อัตลกั ษณ์แหง่ ราชมงคลธญั บรุ ี  00-100-201 มหาวิทยาลยั สเี ขียว  O  O  O OO

7 หลกั สตู รสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป ก O ความรับผดิ ชอบรอง 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทาง 4. ทักษะ 5. ทกั ษะการ ปัญญา ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข ระหวา่ งบุคคลและ การส่ือสารและการ ความรบั ผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1 2 3 1 23 1 2 3 1 2 3  OO  O O   O      77   O O O O O  O O  O O O O O O O   O   O O O O  O   O 

8 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ สา 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะท 1) มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการ 1) มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อ 1) มีทักษะการแส ดาเนนิ ชีวติ บนพื้น นาไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนา ตนเองตลอดชวี ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ความรไู้ ปสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม 2) สามารถแก้ไข 2) สามารถวิเคราะห์ประเด็น 2) มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า เสนอแนวทาง คณุ ธรรม จริยธรรม และการเปลย่ี นแปลง สร้างสรรค์ 3) ซ่อื สัตย์ ขยัน อดทน มีวินยั ตรง 3) สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ให้ 3) สามารถใช้ข้อ ตอ่ เวลา เคารพกฎระเบียบและ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร เ ป็ น และวิเคราะห์ข ข้อบงั คบั ขององคก์ รและสังคม ผู้ประกอบการ ระบบ

8 าหรบั หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป ทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง 5. ทักษะการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข บคุ คลและความรบั ผิดชอบ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สวงหาความรู้ด้วย 1) มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ 1) สามารถเลือกและประยุกต์ใช้ วติ ท่ีดี สามารถเป็นผู้นาและผู้ เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ ขปัญหาได้ และ ตามที่ดีและทางานเป็นทีมได้ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการดารงชีวิต งการแก้ไขได้อย่าง 2) มีสานึกสาธารณะและจิตอาสา และปฏิบัติงานได้อยา่ งเหมาะสม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ท่ี มี คุ ณ ค่ า ต่ อ 2) สามารถใช้ ง านเทค โน โ ล ยี อมูล ประมวลผล สังคมไทยและสังคมโลก ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ก า ร สื บ ค้ น เ พื่ อ ข้อมูลได้อย่างเป็น 3) มีความรบั ผิดชอบต่อสังคม นามาวเิ คราะหแ์ ละสนบั สนุนการ 78 ตดั สนิ ใจ 3) สามารถเลือกรูปแบบของการ สื่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น า เ ส น อ ท่ี เหมาะสมตอ่ บุคคลที่หลากหลาย

8 แผนทแ่ี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู้ ากห  ความรับผดิ ชอบหลกั 1. คุณธรรม จริยธรรม รายวชิ า 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ 12 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ 

9 หลกั สตู รสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป O ความรบั ผิดชอบรอง ม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ ปัญญา ความสัมพนั ธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ระหวา่ งบคุ คล ตวั เลข การ และความ สือ่ สารและการ รับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 3123123123123    O  O 79

90 หมวดวชิ าเฉพาะ 1. คณุ ธรรม จริยธรรม 1) แสดงออกซึ่งความรักและศรัทธาและภูมิใจในวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู และ ปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2) มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกล้ัน มีความเสียสละ รับผิดชอบและซ่ือสัตย์ต่องาน ท่ี ได้รับมอบหมายทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดแี ก่ศิษย์ ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ และเสริมสร้างการ พัฒนาที่ยั่งยนื 3) มีค่านยิ มและคณุ ลักษณะเป็นประชาธิปไตย คอื การเคารพสทิ ธิ และให้เกียรตคิ นอ่นื มีความ สามัคคีและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และใช้เหตุผลและปัญญาในการดาเนิน ชวี ติ และการตดั สินใจ 4) มีความกล้าหาญและแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวินิจฉัย จัดการและคิด แก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้องเหมาะสมกับสังคม การทางานและ สภาพแวดลอ้ ม โดยอาศยั หลกั การ เหตผุ ลและใช้ดุลยพนิ จิ ทางค่านยิ ม บรรทดั ฐานทางสังคม ความรู้สึกของผู้อื่นและประโยชน์ของสังคมส่วนรวม มีจิตสานึกในการธารงความโปร่งใสของ สังคมและประเทศชาติ ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นและความไม่ถูกต้อง ไม่ใช้ข้อมูลบิดเบือน หรือการลอกเลยี นผลงาน 2. ความรู้ 1) มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาสาระด้านวิชาชีพของครู อาทิ ค่านิยมของ ครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จิตวิทยาสาหรับ ครู จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรและวิทยาการการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมและ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารการศกึ ษาและการเรียนรู้ การวัดประเมินการศกึ ษาและ การเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และภาษาเพ่ือการส่ือสาร สาหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะเทคโนโลยีและดิจิทัล ทักษะการทางาน วิจัยและวัดประเมิน ทักษะการร่วมมือสร้างสรรค์ และทักษะศตวรรษที่ 21 มีความรู้ ความ เข้าใจในการบูรณาการความรู้กับการปฏิบัติจริงและการบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบูร ณาการการสอน (TPACK) การสอนแบบ STEM ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) และมีความรู้ ในการประยกุ ต์ใช้ 2) มีความรู้และเน้ือหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติ อย่าง ลึกซึ้ง ถ่องแท้ รวมท้ังบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอตุ สาหกรรมและ/หรือมาตรฐานอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วข้องในสาขาวิชาเฉพาะต่าง ๆ มคี วามสามารถในการใชเ้ คร่ืองมือ การซอ่ มแซม การ บารุงรักษา การสร้าง การพฒั นากระบวนการ ข้ันตอน ในการทางาน โดยคานึงถึง ผลดแี ละ ผลเสีย ความปลอดภัยของอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และชีวิตและทรัพย์สินของผู้ปฏิบัติงานและ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook