หลกั สูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ (4 ป)ี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอดุ มศกึ ษาวิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม
2 หลกั สูตรครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ (4 ปี) (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2563) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม
ก คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559) ซ่งึ ในปี 2562 ไดม้ ี ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์อตุสาหกรรม (หลักสูตรส่ีปี) พ.ศ. 2562 และได้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาจาก 5 ปีการศึกษา เป็น 4 ปี การศึกษา ซึ่งทางคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมได้ทาการพัฒนาหลักสูตรเป็นหลักสูตรครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (4 ปี) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ท้ังน้ีมีการ จัดการเรียนการสอนท้ังแบบหลักสูตรส่ีปี ซ่ึงในปกี ารศึกษา 2563 ไดด้ าเนินการปรับปรุงหลักสูตรเพ่ือให้ เป็นไปตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556 กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2552 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) และแผนพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2559-2564) รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงานทั้ง ภาครัฐบาลและเอกชนตามเทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีครูผู้สอนและฝึกอบรมสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ พร้อม ทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ นอกจากนี้ในหลักสูตรฉบับนี้ได้กาหนดให้มีการเรียนรู้ในกลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์ในวิชาชีพครู จานวน 2 ภาคการศึกษาและการฝึกงานในสถานประกอบการในภาคการศึกษาฤดูร้อน เพ่ือเพิ่มพูน ทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน เสรมิ สรา้ งประสบการณ์และรู้จกั แกป้ ัญหาในสภาพการทางานจริง คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลกั สูตรฉบบั นี้จะมีประสิทธิภาพในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ที่มีคุณภาพคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ตามความต้องการของตลาดแรงงานและสังคม อันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศชาติท่ียั่งยืน ตอ่ ไป คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
ข หนา้ ก สารบัญ ข คานา 1 สารบญั 11 หมวดท่ี 12 63 1 ข้อมลู ท่วั ไป 96 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สตู ร 97 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนนิ การ และโครงสรา้ งหลกั สตู ร 99 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมนิ 103 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา 104 6 การพฒั นาคณาจารย์ 7 การประกนั คุณภาพหลักสตู ร 8 การประเมนิ และปรับปรุงการดาเนนิ การของหลักสูตร ตารางเปรียบเทยี บหลกั สูตรเดิมและหลักสูตรครศุ าสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ ภาคผนวก 117 ก คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รฯ 121 ข ประวัติ ผลงานทางวชิ าการ และประสบการณส์ อนของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ 128 หลักสตู ร 140 ค ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรีว่าดว้ ยการศกึ ษาระดับ 142 ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 148 ง ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ีวา่ ด้วยการศกึ ษาระดับ 156 ปริญญาตรี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 162 จ ขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ วี ่าด้วยการจัดการระบบ 167 สหกิจศึกษา พ.ศ. 2550 169 ฉ ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุ รวี า่ ด้วยการเทียบโอน ผลการเรียน พ.ศ. 2562 ช ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เรื่องเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี ซ เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี กอ่ นสาเร็จการศกึ ษา ฌ ตารางสรปุ การวิเคราะหห์ ลกั สูตรแบบสมรรถนะ สาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ ญ กจิ กรรมเสริมทกั ษะ
1 หลกั สตู รครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (4 ปี) หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563 ชอื่ สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวิชา คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม สาขาวชิ าวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หมวดที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไป 1. ชอ่ื หลักสูตร ภาษาไทย: หลักสตู รครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ (4 ป)ี ภาษาองั กฤษ: Bachelor of Science in Technical Education Program in Computer Engineering 2. ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชือ่ เต็ม (ไทย): ครศุ าสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑติ (วิศวกรรมคอมพวิ เตอร)์ ชอื่ ยอ่ (ไทย): ค.อ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร)์ ช่ือเต็ม (อังกฤษ): Bachelor of Science in Technical Education (Computer Engineering) ชื่อย่อ (องั กฤษ): B.S. Tech. Ed. (Computer Engineering) 3. วิชาเอก - 4. จานวนหน่วยกติ ทีเ่ รยี นตลอดหลักสตู ร - 146 หน่วยกิต (หลกั สูตรสปี่ ี) 5. รูปแบบของหลกั สตู ร 5.1 รูปแบบ หลกั สูตรระดับปริญญาตรี หลักสตู ร 4 ปี 5.2 ประเภทของหลักสตู ร หลักสตู รปรญิ ญาตรีทางวิชาชีพ (สานกั งานเลขาธิการคุรุสภา) 5.3 ภาษาทีใ่ ช้ ภาษาไทย
2 5.4 การรบั เข้าศึกษา รับนักศกึ ษาไทย และนักศกึ ษาตา่ งประเทศท่สี ามารถใช้ภาษาไทยได้ 5.5 ความร่วมมอื กับสถาบันอน่ื เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 5.6 การให้ปริญญาแกผ่ ูส้ าเร็จการศกึ ษา ให้ปรญิ ญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6 สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลักสตู ร หลักสูตรใหม่ พ.ศ. .............. หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563 สภาวิชาการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลกั สตู รตอ่ สภามหาวทิ ยาลัยฯ ในการประชมุ ครงั้ ที่ 11/2562 วนั ที่ 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2562 สภามหาวิทยาลยั ฯ ให้ความเห็นชอบหลักสตู ร ในการประชมุ ครง้ั ที่ 1/2563 วันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2563 และมตสิ ภามหาวทิ ยาลยั ครั้งที่ 11/2563 เมือ่ วนั ที่ 25 พฤศจกิ ายน 2563 เปดิ สอน ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 7 ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลักสตู รคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขา ครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม (หลักสตู รสีป่ )ี พ.ศ. 2562 ในปกี ารศึกษา 2565 8 อาชีพที่สามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศกึ ษา 8.1 ครผู ู้สอนทางด้านคอมพวิ เตอร์ในสถาบนั การศกึ ษา 8.2 วทิ ยากร ผฝู้ กึ อบรมทางด้านคอมพวิ เตอรใ์ นสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการ 8.3 นกั ออกแบบและพฒั นาส่ือการสอนทางด้านคอมพวิ เตอร์ 8.4 โปรแกรมเมอร์
3 9 ชอื่ -สกลุ ตาแหน่ง และคณุ วุฒกิ ารศกึ ษาของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร ช่อื -นามสกุล ลาดบั ตาแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวชิ าการ 1 รายการ คุณวฒุ -ิ สาขาวชิ า (ผลงานย้อนหลังภายใน 5 ปี) ช่อื สถาบนั , ปี พ.ศ. ทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา กิตติ จยุ้ กาจร. (2561). การหาประสิทธภิ าพของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ แบบปรบั เหมาะ 1 นายกิตติ จุ้ยกาจร * กรณีศึกษา เรอ่ื งหนว่ ยความจา วิชาโครงสร้างและ สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร.์ การประชมุ วิชาการระดับชาติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์) ด้านนวตั กรรมเพอ่ื การเรียนรู้และสง่ิ ประดิษฐ์ครั้งท่ี 2 ประจาปี 2561. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ค.อ.ม.(เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี จังหวดั ปทุมธาน.ี 18 กรกฎาคม 2561. น.368-387. อคั รวฒุ ิ ปรมะปญุ ญา, สุพจน์ นิตย์สวุ ฒั น์ และมนต์ชัย เทียน พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2553 ทอง. (2559). การพฒั นาระบบสนบั สนนุ การเรยี นซ่อมเสริม ดว้ ยระบบจัดการเน้อื หาการเรียนรู้ แบบปรบั เหมาะโดยใช้ ค.อ.บ.(เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ออนโทโลยี. วารสารเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราช ภัฏอบุ ลราชธาน.ี 6(2). กรกฎาคม - ธันวาคม 2559. น.130- พระนครเหนอื , 2543 144. 2 นายอัครวฒุ ิ ปรมะปุญญา จกั รี รศั มฉี าย, ธัญญะ นามโคตร และสริ ินาถ ชอ้อนชม. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร)์ (2562). ระบบบนั ทกึ ขอ้ มลู สภาพแวดลอ้ ม สาหรับระบบ ปร.ด. (คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลัย เกษตรอจั ฉรยิ ะโดยใชเ้ ครอื ข่าย LoRa. การประชมุ วิชาการ เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื , 2559 ระดับชาติ ครง้ั ท่ี 3 ดา้ นนวัตกรรมเพื่อการเรียนรูแ้ ละ ค.อ.ม.(คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลัย สิ่งประดิษฐ์ ประจาปี 2562. 28 มิถุนายน 2562. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2546 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี จังหวัดปทุมธานี. ค.อ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร)์ , สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, 2541 ศนุ ยน์ วัตกรรมการเรียนร.ู้ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี กรุงเทพมหานคร. น.674-679. 3 นายจกั รี รัศมฉี าย สิรพิ ร อ้งั โสภา, สุราษฎร์ พรมจันทร์ และสิรลิ กั ษณ์ หาญ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ (สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร)์ วัฒนานุกลุ . (2558). รปู แบบการให้คาปรึกษาแนะนา ค.อ.ม.(คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ), มหาวทิ ยาลัย นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู. วารสารวชิ าการครุ เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี, 2543 ศาสตร์อตุ สาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 6(2). วศ.บ.(วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์), สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2545 กรกฎาคม-ธันวาคม 2558. น. 40-48 ค.อ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ -สื่อสาร), วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชวี ศึกษา , 2532 ณฐั ภณ หรรษกรคณโชค. (2562). การพฒั นาเกมสค์ อมพวิ เตอร์ ทายคาศพั ท์ภาษาอังกฤษโทอคิ 100 คาศัพท.์ การประชมุ 4 นางสิริพร อั้งโสภา วิชาการครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมระดับชาติ คร้ังที่ 11. คณะครุ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์) ศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระ ปร.ด. (วจิ ัยและพัฒนาการสอนเทคนคิ ศึกษา), มหาวิทยาลยั นครเหนอื . 19 - 20 มนี าคม 2562. น. 5-13. เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2556 ค.อ.ม.(คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ), มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ,ี 2545 ค.อ.บ.(วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร)์ , สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล, 2541 5 นายณฐั ภณ หรรษกรคณโชค อาจารย์ ค.อ.ม. (เทคโนโลยีคอมพิวเตอร)์ , มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนอื , 2558 อส.บ. (เทคโนโลยวี ิศวกรรมคอมพวิ เตอร)์ , มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรตั นโกสนิ ธร์ วิทยาเขตวงั ไกลกงั วล, 2556 หมายเหตุ * ประธานหลกั สตู ร 10 สถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี
4 11 สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาทจ่ี าเป็นตอ้ งนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 จากสภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อ การพัฒนาการศึกษาของประเทศ ท่ีสาคัญ 4 ด้านหลักๆ ได้แก่ 1) ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก ได้แก่ การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม 4.0สัญญาประชาคมโลก จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2556 ไปสู่เป้าหมาย การพฒั นาท่ียั่งยืนขององค์กรสหประชาชาติ 2573 ผลประทบของการเป็นประชาคมอาเซียนต่อระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) ด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ได้แก่ วิกฤตสังคมสูงวัย และอัตราการเกิดที่ลดลง 3) ทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 และความต้องการกาลังคนยุค 4.0 ได้แก่ 3Rs+8Cs และด้านที่ 4) สภาวการเปล่ียนแปลงของโลก ได้แก่ ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การ สาธารณสขุ ความขัดแยง้ และความรุนแรงในสงั คม และเทคโนโลยีดิจิทัลกบั การดารงชวี ิต ในการนี้ทาให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนใน ทุกระดับช้ัน ตามที่บรรจุไว้ในแผนการศึกษา การพฒั นาคุณภาพครูยุคใหม่ถอื เป็นหัวใจสาคัญในการจดั การศึกษาของประเทศ ดังน้ันตามพระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 ประกาศใช้ ทาให้สถาบันที่มกี ารผลิตครูได้มีการปรบั เปล่ยี นเป็นหลกั สตู รครู 5 ปี เพือ่ ผลิตบัณฑิตครทู ม่ี ี ดมี ีคณุ ภาพเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการ ประชุมหารือเรื่องระบบผลิตครู ร่วมกับที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (ทปอ.มรภ.) 38 แห่ง เม่ือวันอังคารที่ 11 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม ศ.วิจิตร ศรีสอ้าน สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา โดย รศ.นพ.โศภณ นภาธร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงศึกษาธิการ ดร.สุภทั ร จาปาทอง เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา และผู้แทนสานักงานเลขาธิการคุรุสภา โดย นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ กล่าวว่า จุดเร่ิมต้นของการหารือในครั้งน้ี เพ่ือต้องการกระตุ้นให้สถาบันผลิตครูทุก แห่ง มีความต่ืนตัวและได้กาหนดระบบการผลิตครูอย่างจริงจังโดยผู้ท่ีอยู่ในวิชาชีพครู ท่ีจะช่วยพัฒนา และทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ และสอดคล้องตามพระราชหัตถเลขาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลที่ 10) ที่ทรงเน้นให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นสถาบัน หลักในการผลิตครูที่มีคุณภาพ โดยในการประชุมครั้งนี้ ได้หยิบยกประเด็นท่ีคณะกรรมการคุรุสภา เหน็ ชอบในหลกั การตามทสี่ ภาคณบดคี ณะคุรศุ าสตร์ ศึกษาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย (ส.ค.ศ.ท.) เสนอให้ กลับไปใช้ระบบผลิตครูหลักสูตร 4 ปี โดยได้มีการหารืออย่างกว้างขวาง ซ่ึงมีทั้งกลุ่มท่ีเห็นด้วยและไม่ เห็นด้วย โดยบางกลุ่มได้แสดงความเห็นในเรื่องของกระบวนการและใช้ระยะเวลามากเพ่ือให้ครูได้รับ ความรู้ตลอดจนเทคนิคการสอนและประสบการณ์รอบด้าน ในขณะที่บางส่วนเห็นว่าการผลิตครูขึ้นอยู่ กับกระบวนการมากกว่าจานวนปี เช่น โครงการคุรุทายาท ที่มีกระบวนการผลิตครูอย่างเข้มข้นใน ระยะเวลาเพยี ง 4 ปเี ท่าน้ัน ส่วนเรื่องของมาตรฐานครูท่ียึดสมรรถนะ (Competency base) เป็นหลัก
5 น้ัน ทุกคนเห็นเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประกอบกับได้มีการนาเสนอผลการวิจัยของสถาบันเพื่อการ พัฒนาประเทศไทย (TDRI) ในเรื่องการผลิตครูหลักสูตร 5 ปี ว่ามีจุดอ่อนอยู่ท่ีเนื้อหา ไม่ใช่สมรรถนะ นอกจากนี้ยังทาให้ต้องใชเ้ วลาเรียนเพิม่ ขึ้นอกี 1 ปี ในขณะท่ีแต่ละปกี ็มกี ารผลิตครูถงึ 50,000 คน โดย มีค่าใช้จ่าย 1 แสนบาทต่อคนตอ่ ปี ฉะนั้นหากเด็กต้องเรียนเพ่ิมข้ึน 1 ปใี นหลักสูตร 5 ปี ท้ังเด็กและรัฐ จะต้องจ่ายเพ่ิมกว่า 8 พันล้านบาท แต่เมื่อนาผลวิจัยมาเทียบเคียงระหว่างผู้จบหลักสูตรครู 5 ปี กับ 4 ปีกลบั พบว่ามคี ณุ ลกั ษณะที่ไม่แตกตา่ งกนั ด้วยอา้ งองิ จาก http://www.moe.go.th/websm/2017/jul/359.html “ครูช่างอุตสาหกรรม” ถือได้ว่าเป็นกาลังสาคัญที่สามารถจะทาให้การจัดการศึกษาสาย อาชีพ ท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติโดยยึดฐานสมรรถนะ (Competency base) เป็นหลัก ปัจจุบัน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาประสบปัญหาในการรับครูใหม่ เน่ืองจากอัตราท่ีมีอยู่ล้วนเป็น ครูที่มีประสบการณ์ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติและกาลังมีการเกษียณอายุราชการอย่างต่อเน่ือง ครู อาชีวศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสม เป็นตัวอย่างครูที่ดีและสามารถถ่ายทอด ประสบการณแ์ ละองค์ความร้ตู ่าง ๆ สูผ่ ูเ้ รียนไดอ้ ย่างมีคุณภาพ ก็จะสง่ ผลให้ผู้เรียนท่สี าเรจ็ การศึกษาไป แล้วสามารถท่ีจะไปปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพที่เรียนมาได้อย่างมีคุณภาพอย่างแท้จริง และตอบรับ กบั อตุ สาหกรรมทก่ี าลังขาดแคลนบุคลากรทางเทคนิคและเน้นการปฏบิ ัติ จากรูปที่ 1 แผนภมู ทิ ี่แสดงการสร้างกาลงั คนดา้ นเทคนิคทมี่ สี มรรถนะตรงตามความต้องการ ของตลาดแรงงาน เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมถึงโครงการขนาดใหญ่ท่ีประเทศกาลัง ลงทุน โดยเฉพาะในภาคส่วนอุตสาหกรรมท่ีขาดแรงงานฝีมือและช่างเทคนิค แต่ทั้งนี้การได้มาซึ่ง แรงงานและช่างเทคนิคท่ีดี ทางานได้ จะมาจากการร่วมกาหนดกรอบคุณวุฒิวชิ าชีพน้ัน ๆ ท่ีเหมาะสม ถูกต้อง ดังน้ันการนากรอบคุณวุฒิหรือสมรรถนะมาเป็นแกนหลัก เพื่อผลิตกาลังคนในสถานศึกษาด้าน อาชีวศึกษาก็จะสามารถเร่ิมต้นได้โดยการออกแบบหลักสูตรและสาขาวิชาชีพที่เหมาะสม ดังน้ันผู้จบ การศึกษาสามารถทางานได้เลยโดยมีค่าตอบแทนตามสมรรถนะที่ทาได้ โดยเฉพาะตามสาขาที่ขาด กาลังคน ความต้องการของอุตสาหกรรมมีการส่งต่อสู่คุณวุฒิวิชาชีพที่เหมาะสม และมีการส่งต่อสู่การ ผลิตกาลังคนของสถานศึกษาสายอาชพี อย่างไรก็ตามการผลิตครูที่ดจี าเปน็ ต้องพ่ึงพาสถาบันที่เปน็ ผใู้ ช้ บัณฑิตด้วย เนื่องจากช่วงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หรือช่วงการฝึ กประสบการณ์ใน ภาคอุตสาหกรรม (การผลิตและบริการ) นักศึกษาต้องลงพ้ืนที่จริงเพื่อปฏิบัติงานจริง ดังนั้นการได้รับ สนับสนุนจากผู้ใช้บัณฑิต จะช่วยเติมเต็มโลกของความเป็นจริงนอกมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี และยัง เป็นโอกาสท่ดี ขี องสถานศึกษาและสถานประกอบการในการเกบ็ ข้อมูลเบอื้ งต้นในการทจี่ ะรับครหู รือนัก ฝกึ อบรมใหม่ เข้าสหู่ นว่ ยงานของตนเองต่อไป
6 รูปที่ 1 การพัฒนากาลังคนใหม้ ีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยพฒั นาหลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานอาชพี 11.2 สถานการณห์ รือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การเตรียมพร้อมผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 นั้น คณะกรรมการการอุดมศึกษาเห็น ความสาคัญในการพัฒนานิสิตนักศึกษาของประเทศให้เป็นบัณฑิตท่ีมีคุณลักษณะสอดคล้องตามความ ต้องการของสังคมในศตวรรษท่ี 21 และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ซึ่งตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปีฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) ได้กาหนดเป้าหมายของ กรอบ คือ “การยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทยเพ่ือผลิตและพัฒนาบุคลากร ที่มีคุณภาพ สู่ ตลาดแรงงานและพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาในการสร้างความรู้และนวัตกรรม เพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศในโลกาภิวัตน์รวมท้ังการพัฒนาที่ย่ังยืนของท้องถ่ินไทย... ” กอปรกับปัจจุบันกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) มีการรวมตัวกัน และได้กาหนดวิสัยทัศน์ ภายในปี ค.ศ. 2020 ข้อหน่ึงว่า “เพ่ือพัฒนา อาเซียนให้มีความเข้มแข็งในหลาย ๆ ด้าน รวมท้ังด้าน การศึกษาโดยกาหนดให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุก ๆ ส่วนโดยผ่านการพัฒนาคุณภาพทาง การศึกษาการพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการฝึกอบรม” การศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงเป็นหน่ึงในตัว จักรสาคัญท่ีจะช่วยส่งเสริมและสนับสนนุ การบรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าว การพฒั นานิสิตนักศึกษาโดยการ จัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาได้รับคุณวุฒิระดับปริญญาตรี จาก สถาบันการศึกษาต่าง ๆ สามารถเทียบเคียงกันได้ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงไดก้ าหนด มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของคณุ วุฒิระดับปริญญาตรีไว้ 5 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้าน ความรู้ 3) ดา้ นทกั ษะทางปัญญา 4) ด้านทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ 5) ด้าน ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ นอกจากน้ียังได้กาหนดความรู้ความสามารถของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีโดยท่ัวไป อย่างน้อยต้องมคี วามรู้ความสามารถ ดังน้ี
7 1) ความรู้ที่ครอบคลุม สอดคล้อง และเป็นระบบในสาขา/สาขาวิชาที่ศึกษา และเข้าใจใน ทฤษฎแี ละหลกั การที่เกย่ี วข้อง 2) ความสามารถที่จะตรวจสอบปัญหาที่ซับซ้อนและพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ 3) ความสามารถในการคน้ หา การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์ สถิตทิ ี่เหมาะสม ในการวเิ คราะห์ และแกป้ ญั หาท่ซี บั ซ้อน 4) หลักสูตรวิชาชีพ ต้องมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในวิชาชพี นนั้ ๆ 5) หลักสูตรวิชาการที่ไม่มุ่งเน้นการปฏิบัติในวิชาชีพ ต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึง ใน ผลงานวิจัยต่าง ๆ ในสาขา/สาขาวิชานั้น ความสามารถในการแปลความหมาย การวิเคราะห์ และ ประเมนิ ความสาคญั ของการวิจัยในการขยายองค์ความรู้ในสาขา/สาขาวชิ านั้น และคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 จะต้องเป็นผู้ใฝ่รู้สู้งาน ประสานสมั พนั ธ์ มุ่งม่ันในประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลของงาน รวมถงึ การมีอิสระทางความคดิ ซึง่ ตอ้ ง หล่อหลอมตนเองจากมิติของการเรียนรู้ 3 มิติ คอื มติ ดิ ้านพทุ ธิพสิ ัย เปน็ กระบวนการทางสมองเก่ียวกบั สติปัญญา การเรียนรู้และการแก้ปัญหา มิติด้านทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมทางด้านการเคลื่อนไหว ต่าง ๆ และมิติด้านจิตพิสัยเป็นอารมณ์หรือความรู้สึกของแต่ละบุคคลที่ได้แสดงออกมา ท้ังด้านการ กระทาการแสดงความคิดเห็นและอ่ืน ๆ โดยผ่านกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะเป็นนักคิด วิเคราะห์เป็นนักแก้ปัญหา เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นนักประสานความร่วมมือ รู้จักใช้ข้อมูลและข่าวสาร เป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นนักสื่อสาร ตระหนักรับรู้สภาวะของโลก เป็นพลเมืองทรงคุณค่าและมีพื้น ฐานความรู้เศรษฐกิจและการคลัง เม่ือสาเร็จเป็นบัณฑิตแล้วก็เป็นท่ีปรารถนาหรือพึงประสงค์ คือมี ความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหา สามารถประยุกต์ความเข้าใจอันถ่องแท้ในทฤษฎี และระเบียบวิธี การศึกษา เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและข้อโต้แย้งในสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถพิจารณาแสวงหา และ เสนอแนะแนวทางในการแก้ปัญหาทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีส่วนร่วมในการติดตามพัฒนาการศาสตร์ และเพม่ิ พนู ความรู้ของตนใหท้ ันสมยั อยู่เสมอ อีกทงั้ ยังมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนมีความรบั ผดิ ชอบ สูงอกี ดว้ ย อ้างอิงจาก http://www.thaiall.com/pdf/ohec/ohec_20110808.pdf 12 ผลกระทบจากข้อ 11 ตอ่ การพัฒนาหลกั สตู รและความเก่ียวขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั 12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เล็งเห็นประโยชน์ต่อ การปรับปรุงคร้ังนี้ ไม่วา่ เร่ืองระยะเวลาศึกษา ความแตกตา่ งระหว่างสมรรถนะวิชาชพี ครูสายสามัญกบั ครูอาชีวศึกษา จึงมีนโยบายขับเคล่ือนท้ังการเสนอ มคอ.1 คู่ขนานกับตอบสนองโครงการพัฒนา หลักสูตรครูวิชาชีพเพื่อตอบสนองนโยบายสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพ่ือใช้เป็น แผนปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) ข้ึนเป็นการ เรง่ ด่วน แบ่งออกเปน็ 3 ชว่ ง ได้แก่
8 ระยะที่ 1 การศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้บัณฑิตจากองค์กรธุรกิจและ อุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 6 – 7 เดอื น ธันวาคม 2561 ระยะท่ี 2 การจดั ทารา่ งหลกั สตู ร ระหว่างวันท่ี 11-12 เดอื น ธันวาคม 2561 ระยะที่ 3 การวิพากษ์หลักสูตร ระหว่างวนั ท่ี 14-15 เดือน ธันวาคม 2561 ถึงแม้ว่าหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2559) นับถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2563) จะยังไม่ครบรอบระยะเวลาปรับปรุงก็ตาม แต่ได้รับ นโยบายจากคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมเป็นวาระเร่งด่วน ให้ดาเนินการปรับปรุงตามแผนของคณะ คู่ขนานกับ มคอ.1 (ฉบับร่าง) ที่อยู่ระหว่างการนาเสนอต่อองค์กรวชิ าชีพต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องเพื่อลดเวลา ลงจากเดิม 5 ปี เปลี่ยนเป็น 4 ปี โดยเป็นหลักสูตรก่ึงฐานสมรรถนะเหมือนเดิม และได้มีการเพ่ิมเติม สมรรถนะในส่วนของเทคโนโลยีใหม่ๆ ตามยุทธศาสตร์ของรัฐบาลในการกาหนด 10 อุตสาหกรรม เปา้ หมาย (S-Curve) 12.2 ความเกย่ี วขอ้ งกับพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จัดการศึกษาท่ีมุ่งสู่การผลิต “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ดังเช่นท่ีเคยปฏิบัติมาต้ังแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันและกาลังจะก้าวสู่อนาคต แต่จะต่างกันตรง กระบวนการในการจัดการศึกษาให้ไดม้ าซ่ึงบัณฑิตนักปฏิบัตนิ ้ัน จะต้องมีความเข้มข้นและเป็นรูปธรรม มากยิ่งขึ้น รวมทั้งเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศที่ต้องการบุคคลดังกล่าว อย่างสอดคล้องกันคา ว่า “บัณฑิตนักปฏิบัติ” ในความหมายของราชมงคลยึดเป็นแนวคิดนั้นได้น้อมรับมาจาก พระบรม ราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของราชมงคล ในปี พ.ศ.2525 ซึ่ง มีใจความตอนหนึ่งว่า “…บัณฑิตทุก ๆ สาขา ทุก ๆ คน มีหน้าที่ที่สาคัญท่ีจะต้องเป็น กาลังทาประโยชน์สร้างสรรค์ความเจริญม่ันคงให้แก่ประเทศชาติ การที่จะให้ประโยชน์หรือการ สร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นได้นั้น จะต้องลงมือทามันอย่างจริงจัง…” “การลงมือ” ท่ีจริงมีความหมาย กว้างขวาง คือ หมายถึง การปฏิบัติด้วยวิธตี ่าง ๆ ทุกอย่าง แต่เพราะท่ีเห็นชัดเรามักปฏิบัติดว้ ยมือจึง พูดเป็นสานวนว่า “ลงมือ” การลงมือหรือการปฏิบัตินั้นข้ึนอยู่กับการที่สมองหรือใจสั่ง คือใจมันส่ัง เมื่อไรอย่างไรก็ทาเม่ือนั้น อย่างน้ัน ฉะนั้นถ้าใจไม่สู้ คือ อ่อนแอ ลังเล เกียจคร้าน หรือไม่สุจริต ไม่ เที่ยงตรง ก็จะไม่ลงมือทา หรือทาให้มันค่ังค้าง ทาให้ช่ัวให้เสียหาย เป็นการเบียดเบียนตน เบียดเบียน ผู้อื่น ซ่ึงไม่เป็นประโยชน์ ไม่เป็นการสร้างสรรค์ หากแต่เป็นบ่อนทาลายให้เกิดความเสียหายและเกิด โทษสุจริต นักปฏิบัติงานจึงต้องรู้จักฝึกปฏิบัติใจตนเองเป็นสาคัญ และเป็นเบ้ืองต้น ก่อนอื่นต้องหัดทา ใจให้หนักแน่น กล้าแข็งและเป็นระเบียบ ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค ไม่มักง่ายเห็นแก่ความสะดวกสบาย และทีสาคัญท่ีสุดจะตอ้ งให้เท่ียงตรง เป็นกลาง และสจุ ริตอยเู่ สมอไมห่ วนั่ ไหวต่ออารมณเ์ ครอ่ื งหลอกล่อ ใดๆ จึงจะช่วยให้เป็นนักปฏิบัติท่ีดี ที่สามารถสร้างประโยชน์ได้อย่างแท้จริง…” ความหมายของการ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติท่ีดี จึงหมายรวมถึงการปฏิบัติที่จะต้องได้รับการฝึกฝนท้ังใจและกาย และท้ัง จะต้องเป็นนักปฏิบัติงานท่ีมีหลักวิชาดีด้วย และที่สาคัญจะต้องมีการปรับปรุงตังเองให้มีการพัฒนา ก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ใฝ่ใจศึกษาทั้งทางลึกและทางกว้าง เพ่ือให้บณั ฑิตใช้วิชาชีพความสามารถความ
9 บริสุทธ์ิใจความฉลาดรอบคอบ สามารถสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวมได้สัมฤทธิ์ ผล อ้างอิงจาก http://www.rmutt.ac.th/?page_id=386 โดยรูปแบบการพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบัติของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ดงั แสดงในรูปท่ี 2 รูปที่ 2 รูปแบบการพฒั นาบัณฑิตนักปฏบิ ัตขิ องคณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี และภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรอบแนวคิดการจัดการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมบัณฑิต เปน็ กรอบแนวคดิ เพื่อการผลติ ครูช่างอุตสาหกรรม 6 สาขาวชิ า แสดงดงั ในรปู ท่ี 3 รูปที่ 3 กรอบแนวคดิ การจัดการศึกษาหลักสูตรครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบณั ฑิต คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ดังน้ันการปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (4 ป)ี (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2563) มุ่งเน้นเพ่ือใหบ้ ณั ฑติ มีทักษะความชานาญ มีความเป็นนักวิชาชีพ
10 ท่ีเหมาะสมตอ่ ภาคอุตสาหกรรม (การผลติ และบรกิ าร) และหนว่ ยงานทางดา้ นภาคการศกึ ษา (การสอน วิชาชีพ) โดยเพิ่มสมรรถนะที่จาเป็น เช่น สมรรถนะด้านทักษะฝีมือพื้นฐานและเฉพาะด้าน และได้มี การคัดเลือกมาตรฐานสมรรถนะที่จาเป็นต่อการผลิตครูช่างอุตสาหกรรมที่ใช้ในการสอนสาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โดยตอบโจทย์การเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษาและสถาน ประกอบการได้อยา่ งครบถ้วน เพ่ือให้มีปญั หาน้อยที่สุด โดยคาดหวงั ว่า “ครูช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จะเป็นกาลังสาคัญในการผลิตแรงงานฝีมือและช่างเทคนิคระดับกลาง เข้าสู่ ตลาดแรงงานได้เต็มศักยภาพ และสามารถยกระดับการอาชีวศึกษาของประเทศไทยให้ดยี ิ่งข้ึน” แม้ว่า ระยะเวลาการศึกษาถูกปรับปรุงจากเดิม 5 ปี เปลี่ยนเป็น 4 ปี ก็ตาม แต่การจัดการเรียนการสอนยัง ควบคุมดูแลให้บัณฑิตที่ได้มีทั้งความรู้ ทักษะ และจิตพิสัยสอดคล้องกับบัณฑิตอันพึงประสงค์ของ สถานศกึ ษา และสถานประกอบการ 13 ความสัมพันธก์ บั หลกั สูตรทเี่ ปดิ สอนในคณะ/ภาควิชาอน่ื ของมหาวทิ ยาลยั 13.1 กลุม่ วิชา/รายวิชาในหลกั สูตรนี้เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอืน่ หลักสูตรน้ีมีรายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไปและวิชาเลือกเสรีที่จะต้องให้คณะ/วิทยาลัย ภายในมหาวิทยาลัยฯ จดั การเรียนการสอนให้ 13.2 กล่มุ วชิ า/รายวชิ าในหลกั สูตรที่เปิดสอนใหภ้ าควิชา/หลักสูตรอน่ื ต้องมาเรยี น รายวิชาในหลักสูตรเปิดโอกาสให้ นักศึกษาในคณะอ่ืน ๆ สามารถเลือกเรียนในรายวิชา เลอื กเสรไี ด้ และคาอธบิ ายรายวิชามคี วามยืดหยุ่น สามารถจัดการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ 13.3 การบริหารจัดการ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรของภาควิชา ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจาก ภาควิชาอื่นหรือหลกั สูตรหรอื คณะอื่นที่เกยี่ วข้อง เพ่ือบริหารจัดการการเรียนการสอนให้มผี ลมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นไปตามที่ระบุในหลักสูตร รวมทั้งกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทารายละเอียดของวิชาและ รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา เพื่อเป็นมาตรฐานในการติดตามและประเมินคุณภาพการเรียน การสอน
11 หมวดท่ี 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สตู ร 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถุประสงคข์ องหลกั สตู ร 1.1 ปรชั ญา บัณฑิตมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูผู้สอนและฝึกอบรม สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ พร้อมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และ วชิ าชพี เฉพาะ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทีแ่ ละเปน็ พลเมืองท่ดี ีตอ่ สงั คม 2) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ สาขาคอมพิวเตอร์ สามารถบูรณาการความรู้ด้านการศึกษากับด้าน มีความสามารถใน การคน้ คว้า วางแผน และการจัดการเรียนรใู้ นสาขาวชิ าชีพได้อยา่ งมคี ุณภาพ 3) เพ่ือให้บัณฑิตสามารถพัฒนาทักษะทางปัญญา โดยวิเคราะห์ที่มาของปัญหาและ กาหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4) เพื่อให้บัณฑิตมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่าง เหมาะสม 5) เพ่ือให้บัณฑิตมีความสามารถสื่อสาร ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้หลัก สถิติในการตัดสินใจในงานด้านวิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะสาขาด้านคอมพิวเตอร์ สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสม 6) เพ่ือให้บัณฑิตมีทักษะในการบูรณาการปฏิบัติงานทั้งทักษะวิชาชีพครู และวิชาชีพ เฉพาะสาขาด้านคอมพวิ เตอร์ 1.3 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ระดับหลักสตู ร (PLO) PLO1: นกั ซอ่ มไมโครคอมพวิ เตอร์ นักศึกษาในระดับชั้นปีการศึกษาที่ 1 จะสามารถปฏิบัติการซ่อมประกอบคอมพิวเตอร์ ตดิ ตงั้ ระบบปฏบิ ตั กิ ารและตดิ ต้ังโปรแกรมอรรถประโยชน์ ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน PLO2: นกั เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นักศึกษาในระดับชั้นปีการศึกษาท่ี 2 สามารถปฏิบัติการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาที่ กาหนด โดยมีโจทย์หรือโปรเจคให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่า หรือควบคุมการทางานให้เป็นไป ตามท่ีโปรแกรมไว้ ตามมาตรฐานของกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน PLO3: ผดู้ ูแลระบบเครือข่าย นักศึกษาในระดับช้ันปีการศึกษาที่ 3 สามารถออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ด้านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ โดยใชร้ ูปแบบจาก Cisco Adademy
12 PLO4: ครชู า่ งคอมพิวเตอร์ สามารถเป็นครวู ชิ าชีพช่างอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานวชิ าชีพครู 2. แผนพฒั นาปรบั ปรุง แผนการพัฒนา/เปลยี่ นแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งช้ี 1. ปรับปรุงหลกั สตู รให้มี 1. ติดตามประเมนิ หลกั สูตรใช้ 1. รายงานผลการประเมนิ มาตรฐาน ไมต่ ่ากวา่ ที่ สกอ. แบบสอบถามประเมินโดยนกั ศกึ ษา หลกั สูตร กาหนด และสอดคลอ้ งกบั อาจารย์ บัณฑิต 2. รายงานผลการดาเนินการและ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั และสถานประกอบการ ประเมินหลกั สตู ร ปรญิ ญาตรีและมาตรฐาน 2. ติดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิของ วชิ าชีพท่ีเกย่ี วข้อง ประเทศไทย 2. ปรบั ปรุงหลักสตู รให้ 1. สรา้ งเครอื ขา่ ยกับหน่วยงานภาครฐั ตัวบ่งช้ี สอดคล้องกบั ความต้องการ และภาคเอกชนเพือ่ วิเคราะห์ความ 1. รายช่อื หน่วยงานภาครัฐและ ของสถานศึกษาและสถาน ตอ้ งการและแนวโน้มความ ภาคเอกชน ประกอบการ เปล่ียนแปลงของสถานศึกษาและ หลกั ฐาน สถานประกอบการ 1. รายงานสรุปผลการประชมุ 3. พัฒนาบคุ ลากรสายผ้สู อนใหม้ ี 1. สนับสนุนให้บุคลากรสายผสู้ อนได้รบั 1. รายงานผลการฝกึ อบรม คณุ ภาพท้งั ทางวชิ าการและ การพัฒนาในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ วชิ าชีพ การศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขึ้น การศกึ ษาดงู าน การฝกึ อบรม สมั มนาเพือ่ เพมิ่ ความร้แู ละ ประสบการณ์ ทัง้ ในประเทศและ ตา่ งประเทศ และการขอตาแหน่ง ทางวชิ าการ 4. ปรับปรงุ ปจั จยั สนับสนุนการ 1. สารวจความต้องการของนกั ศึกษา 1. รายงานความต้องการของ เรยี นการสอน และอาจารย์ผสู้ อนเกยี่ วกบั ปจั จยั นกั ศกึ ษาและอาจารย์ผ้สู อน สนับสนุนการเรียนการสอน เกย่ี วกับปัจจยั สนับสนุนการ 2. จดั หาและจัดสรรทนุ เพ่ือปรบั ปรุง เรียนการสอน ปจั จัยสนับสนนุ การเรยี นการสอน 2. รายงานครุภัณฑ์ เชน่ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ โสตทศั นปู กรณ์ อาคารและหอ้ งสมุดใหม้ ีความ ทนั สมยั และมีประสทิ ธิภาพยิง่ ขน้ึ
13 หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างหลกั สตู ร 1. ระบบการจดั การศกึ ษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซ่ึง เป็นภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ตอ่ หน่งึ ภาคการศึกษา ท้ังนี้ไม่รวม เวลาสาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธญั บุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดูรอ้ น มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน มีระยะเวลาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ทั้งน้ีไม่ รวมเวลาสาหรบั การสอบ แตใ่ หม้ ีจานวนชว่ั โมงของแต่ละวิชาเทา่ กบั หนง่ึ ภาคการศึกษาปกติ 1.3 การเทยี บเคียงหนว่ ยกติ ในระบบทวภิ าค - 2. การดาเนนิ การหลักสตู ร 2.1 วัน-เวลาในดาเนนิ การเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถนุ ายน – กันยายน ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนพฤศจิกายน – กมุ ภาพันธ์ ภาคการศึกษาฤดูรอ้ น เดือนมนี าคม – พฤษภาคม 2.2 คุณสมบตั ิของผเู้ ขา้ ศึกษาและวิธีการรบั เขา้ ศึกษา 2.2.1 คณุ สมบตั ิของผเู้ ขา้ ศกึ ษา 1. รับผู้สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือผู้สาเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างไฟฟ้า ช่างเมคคา ทรอนิกส์ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ หรอื สาขาอืน่ ๆ ที่เกย่ี วข้อง หรือให้เป็นไปตามดุลยพินิจของอาจารย์ประจาหลักสูตร นอกจากน้ีต้องมีค่านิยมเจตคติท่ีดีและ คุณลักษณะทเ่ี หมาะสมกบั วชิ าชพี ครู สอบผา่ นข้อสอบวัดคุณลกั ษณะความเป็นครู 2. มีคุณสมบัติเทียบโอนได้ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่า ด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556 (ภาคผนวก ง) และ ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 (ภาคผนวก ฉ) 2.2.2 วิธกี ารรบั เขา้ ศึกษา 1. ผา่ นระบบทใ่ี ช้คัดเลือกบุคคลเข้าศกึ ษาต่อในระดับอดุ มศกึ ษา 2. ผา่ นระบบโควตาของคณะและมหาวทิ ยาลยั 3. ผา่ นระบบสอบตรงของมหาวทิ ยาลัย
14 4. สอบผ่านข้อสอบวดั แววความเป็นครู และวิชาชพี โดยทางคณะจะเปน็ ผู้ออกข้อสอบ และจัดสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานของครุ สุ ภา 2.3 ปญั หาของนักศึกษาแรกเขา้ ด้วยโครงสร้างเน้ือหาอันเป็นพ้ืนฐานความรู้ที่สาคัญต่อการศึกษาในสาขาวิชา วิศวกรรม คอมพวิ เตอร์ ไมว่ ่าของหลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนยี บัตรวิชาชพี ทาให้คณุ สมบัติของ นักศึกษาท้ังสองกลุ่มมีความไม่เท่าเทียมกันค่อนข้างมาก โดยเฉพาะวิชาทางคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และความสามารถทางช่าง การนามาเรียนร่วมกันย่อมทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแตกต่างกัน และ จากการศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในสถาบันอาชีวศึกษาและสถาน ประกอบการ มีผลการศกึ ษาดังนี้ 1) คุณลักษณะบัณฑติ และความตอ้ งการของผู้ใช้บณั ฑติ ในสถาบันอาชวี ศกึ ษา ประกอบดว้ ย 1.1 จิตสานึกความเปน็ ครู 1.2 บุคลคิ ภาพ 1.3 ความรับผดิ ชอบ 1.4 ความตง้ั ใจในการทางาน 1.5 การใฝร่ ู้ 1.6 ความร้ดู ้านวิชาชพี และเทคโนโลยี 1.7 การเตรยี มการสอนและส่ือ นวตั กรรมการเรยี นการสอน 1.8 ทกั ษะปฏบิ ัตงิ านพ้ืนฐานและวชิ าชพี เฉพาะรวมถงึ การใชเ้ ครื่องมือต่าง ๆ 1.9 การวิเคราะหแ์ กไ้ ขปญั หาวงจร 1.10 ทกั ษะภาษาไทย/ภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการสือ่ สาร การถ่ายทอด 2) คุณลักษณะบณั ฑิตและความตอ้ งการของผูใ้ ช้บัณฑติ ในสถานประกอบการ ประกอบดว้ ย 2.1 นิสัยอุตสาหกรรม ไดแ้ ก่ ความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ความขยันอดทน การทางานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์ การตั้งใจในการปฏิบัติงาน การใฝ่เรียนรู้ การ ประหยัด ความปลอดภัยในการทางาน 2.2 ดา้ นทักษะภาษาอังกฤษและภาษาตา่ งประเทศ 2.3 ทักษะการใชเ้ ครือ่ งมือในการปฏบิ ตั ิงาน 2.4 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ และจากการศึกษา จุดเด่น จุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะของ บณั ฑติ คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม สาขาวิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ผลทไี่ ดด้ ังนี้ 1) จุดเดน่ ของบณั ฑติ ประกอบด้วย 1.1 บณั ฑติ มีจิตอาสาในการทางาน มีความเสียสละ 1.2 ยอมรบั พงั ความคิดเห็นของผูอ้ น่ื 1.3 มคี วามออ่ นนอ้ ม ให้เกยี รติผูอ้ าวโุ ส 1.4 สามารถควบคุมช้ันเรียนไดด้ ี
15 1.5 มีความรบั ผิดชอบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 2) จุดดอ้ ยของบัณฑติ ประกอบดว้ ย 2.1 ทักษะดา้ นภาษาอังกฤษ 2.2 ทักษะการวเิ คราะห/์ การคิดอยา่ งเป็นระบบ 2.3 ทักษะในการปฏิบัตงิ าน 2.3 ขาดกิจนสิ ัยในการปฏิบัติงาน ไม่เก็บเครื่องมอื เครื่องใช้ 2.4 ดอ้ ยจิตสานกึ ความเป็นครู 2.4 กลยุทธใ์ นการดาเนนิ การเพือ่ แก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนกั ศกึ ษาในขอ้ 2.3 จากผลการดาเนินงานของหลักสตู ร การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตและความต้องการของผ้ใู ช้ บัณฑิตในสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ จุดเด่นจุดด้อยและความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ดังนั้นคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร จึงนาเอาข้อมูลท้ังหมดมา ปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรโดยปรับรายวิชาและกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน และได้เพ่ิมในส่วน ของโครงการอบรมปรับพ้ืนฐานช่างอุตสาหกรรมเพ่ิมเติมให้กับนักศึกษาแรกเข้า ในการจัดทาพัฒนา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 นี้ ได้ยึดนาเอาสมรรถนะจากหลักสูตรสานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มาตรฐานคุณวฒุ ิวชิ าชีพ มาตรฐานครุศาสตร์อตุ สาหกรรม (มคอ. 1) มาเป็นสมรรถนะในหลักสูตร โดยได้จัดทาสมรรถนะเป็นรายปีว่านักศึกษาสามารถทาอะไรได้บ้าง และในทุกปีการศึกษาได้จัดกิจกรรมเพ่ือเสริมทักษะด้าน Soft Skill ให้กับนักศึกษาในด้านต่างๆ เช่น กิจกรรมเสรมิ ความเป็นครู เสรมิ ดา้ นภาษา การส่อื สาร คณุ ธรรมจริยธรรม ระเบียบวนิ ัย จิตอาสา ภาวะ ผนู้ า ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ เพอื่ ตอบโจทยค์ ุณลกั ษณะบณั ฑติ ท่ีตอ้ งการของผใู้ ช้บัณฑิต 2.5 แผนการรับนกั ศกึ ษาและผสู้ าเร็จการศกึ ษาในระยะ 5 ปี จานวนนกั ศกึ ษาท่ีจะรับ สาหรบั ผมู้ ีคุณสมบตั ติ ามคุณสมบตั ขิ อ้ 2.2.1 ข้อ 1 และขอ้ 2 จานวนนักศกึ ษา จานวนนกั ศกึ ษาแตล่ ะปกี ารศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 ชนั้ ปที ่ี 1 60 60 60 60 60 ชน้ั ปที ่ี 2 - 60 60 60 60 ชั้นปีที่ 3 - - 60 60 60 ชน้ั ปที ี่ 4 - - - 60 60 รวม 60 120 180 240 240 คาดว่าจะสาเรจ็ การศกึ ษา - - - 60 60
16 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรบั 2563 ปงี บประมาณ 2567 2564 2565 2566 คา่ บารงุ การศกึ ษาและ 1,680,000 3,360,000 5,040,000 6,720,000 6,720,000 คา่ ลงทะเบียน เงินอุดหนุนจากรฐั บาล 180,000 360,000 540,000 720,000 720,000 รวมรายรับ 1,860,000 3,720,000 5,580,000 7,440,000 7,440,000 2.6.2 งบประมาณรายจา่ ย (หนว่ ย:บาท) หมวดเงิน ปีงบประมาณ 2563 2564 2565 2566 2567 ก. งบดาเนินการ 1. คา่ ใชจ้ า่ ยบคุ ลากร 2,562,000 2,715,720 2,878,663 3,051,383 3,234,466 2. คา่ ใช้จา่ ยดาเนนิ งาน 155,000 215,000 275,000 335,000 335,000 (ไมร่ วม 3) 3. ทุนการศึกษา ----- 4. รายจา่ ยระดบั 840,000 1,680,000 2,520,000 3,360,000 3,360,000 มหาวทิ ยาลยั 3,587,000 4,610,720 5,673,663 6,746,383 6,929,466 (รวม ก) ข. งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 (รวม ข) 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 รวม (ก) + (ข) 3,937,000 4,960,720 6,023,663 7,096,383 7,279,466 จานวนนกั ศกึ ษา 60 120 180 240 240 ค่าใชจ้ า่ ยตอ่ หัวนักศกึ ษา 131,233.3 41,339.33 33,464.79 29,568.26 30,331.11 *หมายเหตุ คา่ ใช้จา่ ยต่อหัวนักศกึ ษาตามระบบเหมาจา่ ย คานวณ 28,000 บาท ตอ่ ปี 2.7 ระบบการศึกษา แบบชั้นเรียน แบบทางไกลผา่ นส่อื ส่ิงพิมพ์เปน็ หลกั ส แบบทางไกลผา่ นส่อื แพร่ภาพและเสยี งเปน็ ส่ือหลัก แบบทางไกลทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ป็นสอื่ หลกั (E-learning) แบบทางไกลทางอินเตอรเ์ นต อน่ื ๆ (ระบ)ุ ……………………………………………………………………..
17 2.8 การเทยี บโอนหนว่ ยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรยี นข้ามสถาบนั อุดมศกึ ษา นักศึกษาท่ีเคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาก่อน เม่ือเข้าศึกษาในหลักสูตรน้ี สามารถเทียบ โอนหน่วยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ระเบียบมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี วา่ ด้วยการเทียบโอนผลการเรยี น พ.ศ. 2562 3. หลกั สตู ร และอาจารยผ์ สู้ อน 3.1 โครงสร้างหลักสูตร 3.1.1 แผนการเรียนของหลกั สูตร จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลกั สตู ร 146 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป (ไม่นอ้ ยกวา่ ) 30 หนว่ ยกติ 1.1 กลุ่มคุณค่าแห่งชวี ติ และหนา้ ทพี่ ลเมือง 7 หนว่ ยกิต สังคมศาสตร์ 3 หน่วยกติ มนุษย์ศาสตร์ 3 หน่วยกติ พลศึกษาและนันทนาการ 1 หน่วยกติ 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสื่อสาร 12 หนว่ ยกิต ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 6 หนว่ ยกติ ภาษาเพิม่ เตมิ 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวตั กรรม 6 หน่วยกติ เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หน่วยกิต วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวตั กรรม 3 หน่วยกิต 1.4 กลมุ่ บรู ณาการและศาสตรผ์ ้ปู ระกอบการ 5 หน่วยกิต บรู ณาการและศาสตรผ์ ปู้ ระกอบการ 5 หนว่ ยกติ 110 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 34 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มวิชาครู 22 หนว่ ยกิต 2.1.1 รายวชิ าชพี ครู 12 หน่วยกติ 2.1.2 รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 76 หนว่ ยกติ 2.2 กลุม่ วิชาชีพเฉพาะสาขา 54 หนว่ ยกิต 2.2.1 รายวิชาชพี บังคบั 18 หน่วยกติ 2.2.2 รายวิชาชีพเลือก 4 หนว่ ยกติ 2.2.3 รายวชิ าฝึกปฏิบัตวิ ชิ าชีพในสถานประกอบการ หน่วยกิต 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6
18 3.1.3 รายวิชา
19 รายวิชา 1. หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มคุณค่าแห่งชีวิตและหน้าท่พี ลเมอื ง ไมน่ ้อยกวา่ 7 หนว่ ยกติ 1.1.1 รายวิชาสังคมศาสตร์ ใหศ้ กึ ษา 3 หนว่ ยกิต 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development 1.1.2 รายวิชามนษุ ยศาสตร์ ใหศ้ ึกษา 3 หนว่ ยกติ 01-210-022 วถิ ธี รรมวถิ ไี ทย 3(3-0-6) Religions and Thai Culture 1.1.3 รายวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ใหเ้ ลอื กศึกษาไม่น้อยกวา่ 1 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าต่อไปน้ี 01-610-003 นนั ทนาการ 1(0-2-1) Recreation 01-610-014 ทักษะกฬี าเพ่ือสุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health 1.2 กลมุ่ ภาษาและการสอื่ สาร ไม่นอ้ ยกว่า 12 หน่วยกิต 1.2.1 รายวิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร จานวน 6 หนว่ ยกิต 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 01-310-001 ภาษาไทยเพอ่ื การสอื่ สาร 3(3-0-6) Thai for Communication และให้เลอื กศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 3 หน่วยกติ จากรายวชิ าต่อไปนี้ 01-310-006 การอา่ นและการเขยี นเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) Academic Reading and Writing 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพอื่ การทดสอบ 3(2-2-5) English for Standardized Tests 01-320-012 การฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษสาหรับงานบรกิ ารดา้ น 3(2-2-5) เทคนคิ English Listening and Speaking for Technical Support
20 01-320-022 การสรรสรา้ งละครและหนงั สนั้ ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) Creating English Dramas and Short Films 01-330-002 การสนทนาภาษาจีนเบอ้ื งต้น 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation 01-330-007 สนทนาภาษาญ่ปี นุ่ เบือ้ งต้น 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation 1.3 กลมุ่ วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวตั กรรม ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกิต 1.3.1 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเ้ ลอื กศึกษาจานวน 3 หนว่ ยกติ จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 09-000-001 ทักษะการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเร็จรปู เพ่อื งานมัลตมิ เี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia 09-000-003 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making 1.3.2 รายวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวัตกรรม ให้เลือกศึกษาอีกไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต จาก รายวิชาต่อไปนี้ 09-111-051 คณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life 09-121-001 สถติ ใิ นชวี ิตประจาวนั 3(2-2-5) Statistical in Daily Life 09-130-002 อินเทอรเ์ นต็ ทุกสรรพส่งิ ในชวี ิตประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation 1.4 กลมุ่ บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกติ 2(0-4-2) 1.4.1 รายวชิ าบูรณาการและศาสตรผ์ ู้ประกอบการ ให้ศึกษาจากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 1(0-2-1) 00-100-101 อัตลกั ษณแ์ ห่งราชมงคลธญั บุรี 1(0-2-1) RMUTT Identity 00-100-201 มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว Green University 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ Design Thinking
21 1(0-2-1) 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ Entrepreneurship 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 110 หน่วยกติ 2.1 วชิ าชพี ครู 34 หนว่ ยกติ 2.1.1 รายวิชาชีพครู 22 หน่วยกิต ใหศ้ ึกษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 02-262-101 ความเปน็ ครูวชิ าชีพ 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teachers 02-262-202 จิตวทิ ยาสาหรับครวู ชิ าชพี 2(1-2-3) Psychology for Vocational Teacher 02-262-203 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ การจดั การเรยี นรู้ 2(1-3-3) Innovation and Digital Technology for Learning Management 02-262-304 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance 02-262-305 การจัดการเรียนรูแ้ ละการจดั การช้นั เรียนอาชวี ศกึ ษา 3(2-3-5) Learning and Vocational Classroom Management 02-262-306 การพฒั นาหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา 3(2-2-5) Vocational Curriculum Development 02-262-307 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 2(1-2-3) Measurement and Evaluation for Learning 02-262-308 กลวธิ ีการสอนชา่ งเทคนิค 2(1-3-3) Didactics for Technician 02-262-309 การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development 02-263-311 การฝกึ ปฏิบัติวิชาชพี ระหว่างเรยี น 1(0-6-0) Practicum 2.1.2 รายวชิ าการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 12 หน่วยกิต ใหศ้ กึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 02-263-410 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 02-263-411 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions
22 2.2 กลมุ่ วิชาชพี เฉพาะสาขา 76 หนว่ ยกติ ใหศ้ ึกษาจากรายวชิ า/กลุ่มวิชา/วชิ าเอกตอ่ ไปนี้ 2.2.1 กลมุ่ วิชาชีพบงั คับ 54 หน่วยกติ ใหศ้ ึกษาจากรายวิชา/กลุ่มวชิ า/วชิ าเอกตอ่ ไปนี้ 1) กลุม่ วชิ า/วชิ าเอกคอมพวิ เตอร์ 02-211-101 เขยี นแบบวศิ วกรรม 2(1-3-3) Engineering Drawing 02-250-101 พ้ืนฐานงานวศิ วกรรม 3(1-6-4) Engineering Basic Skills 02-250-112 พืน้ ฐานวสั ดแุ ละกลศาสตร์ 3(3-0-6) Basic of Materials and Mechanics 02-201-101 วงจรไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ 3(2-3-5) Electrical and Electronic Circuits 02-201-102 คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณต์ อ่ พว่ ง 3(2-3-5) Computer and Peripherals 02-201-103 การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3(2-3-5) Computer Programming 02-201-104 ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 3(3-0-6) Computer Operating Systems 02-201-105 ตรรกศาสตรด์ ิจทิ ลั 3(2-3-5) Digital Logic 02-201-106 การโปรแกรมเชงิ วัตถุ 3(2-3-5) Object Oriented Programming 02-201-107 โครงสรา้ งขอ้ มูลและขน้ั ตอนวธิ ี 3(2-3-5) Data Structure and Algorithm 02-201-201 โครงสร้างและสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ 3(3-0-6) Computer Organization and Architecture 02-201-202 การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ 3(2-3-5) Microcontroller Programming 02-201-203 การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 3(3-0-6) System Analysis and Design 02-201-204 เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 3(2-3-5) Computer Networks 02-201-205 ระบบฐานข้อมลู 3(2-3-5) Database Systems
23 02-201-206 วศิ วกรรมซอฟต์แวร์ 3(3-0-6) Software Engineering 3(3-0-6) 1(1-0-2) 02-201-301 คณิตศาสตร์ดสิ ครีต 3(1-6-4) Discrete Mathematics 02-201-302 การเตรียมโครงการ Pre-Project 02-201-303 โครงการ Project 2.2.2 กลุ่มวิชาชีพเลือก 18 หนว่ ยกติ ใหเ้ ลอื กศกึ ษาจากรายวิชาตอ่ ไปนี้ 3(2-3-5) 02-201-207 หัวข้อพเิ ศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5) Special Topics in Computer Engineering 3(3-0-6) 02-201-208 เทคโนโลยอี ินเทอรเ์ นต็ ออฟตงิ 3(2-3-5) Internet of Things Technology 3(2-3-5) 02-201-209 ความปลอดภัยในระบบคอมพวิ เตอร์ 3(2-3-5) Computer Security 3(2-3-5) 02-201-210 การออกแบบและพฒั นาเว็บ Web Design and Development 3(2-3-5) 02-201-211 เหมืองขอ้ มูล Data Mining 3(2-3-5) 02-201-212 เทคโนโลยเี ว็บ 3(2-3-5) Web Technology 3(3-0-6) 02-201-304 การพัฒนาสอ่ื การสอนและการจัดการบทเรียนออนไลน์ Instructional Media Development and E-Learning Management 02-201-305 การพฒั นาและติดต้ังระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ Information Technology System Development and Implementation 02-201-306 การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณพ์ กพา Portable Devices Programming 02-201-307 การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางคานวณทางวศิ วกรรม Spreadsheet Program for Engineering Applications 02-201-308 การออกแบบการตดิ ตอ่ ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั คอมพวิ เตอร์ Human Computer Interaction Design
24 3(2-3-5) 2(1-3-3) 02-201-309 เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ 3(2-3-5) Robotics Technology 3(3-0-6) 3(2-3-5) 02-201-310 เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ Computer Technology 1(0-2-1) 02-201-311 เกมมิฟิเคชั่น 3(0-40-0) Gamification 3(0-40-0) 02-201-312 ความรู้เบือ้ งต้นทางปัญญาประดิษฐ์ Introduction to Artificial Intelligence 02-201-313 ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data 2.2.3 รายวชิ าฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ในสถานประกอบการ 02-000-201 การเตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ Preparation for Professional Experience และใหเ้ ลอื กศกึ ษา 3 หน่วยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 02-000-202 ฝึกงาน Apprenticeship 02-000-203 ฝึกงานตา่ งประเทศ International Apprenticeship 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี 6 หน่วยกติ ให้เลือกศึกษาจากรายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาทศี่ กึ ษามาแลว้ และตอ้ งไมเ่ ปน็ รายวชิ าทกี่ าหนดให้ศกึ ษาโดยไม่นับหนว่ ยกิต
25 3.1.4 แผนการศึกษาเสนอแนะ ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 01-210-022 วถิ ธี รรมวถิ ไี ทย 3 30 6 02-262-101 ความเป็นครูวชิ าชพี 02-211-101 เขียนแบบวิศวกรรม 2 12 3 02-250-101 พน้ื ฐานงานวศิ วกรรม 02-201-101 วงจรไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2 13 3 02-201-102 คอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่อพ่วง 02-201-103 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 16 4 02-201-104 ระบบปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ 3 23 5 รวม 3 23 5 3 23 5 3 30 6 22 หนว่ ยกิต ปที ่ี 1 / ภาคการศึกษาท่ี 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศกึ ษาดว้ ย 30 ตนเอง 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนา 3 6 ท่ียงั่ ยนื 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 1 3 22 5 09-000-00X เลือกจากรายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3 02-250-112 พน้ื ฐานวสั ดแุ ละกลศาสตร์ 3 22 5 02-201-105 ตรรกศาสตรด์ ิจทิ ลั 3 02-201-106 การโปรแกรมเชิงวัตถุ 3 30 6 02-201-107 โครงสร้างข้อมูลและขน้ั ตอนวิธี 3 23 5 รวม 23 5 23 5 21 หน่วยกิต ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาฤดรู ้อน หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย 3 XX ตนเอง 09-111-050 เลือกจากรายวชิ าวิทยาศาสตร์ X คณิตศาสตร์ และนวตั กรรม 00-100-101 อัตลกั ษณแ์ หง่ ราชมงคลธัญบรุ ี 2 04 2 01-610-0XX เลอื กจากรายวชิ าพลศกึ ษาและ 1 XX X นันทนาการ 01-3XX-XXX เลอื กจากรายวชิ าภาษาเพม่ิ เตมิ 3 XX X รวม 9 หนว่ ยกติ
26 ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 02-262-202 จิตวทิ ยาสาหรับครวู ิชาชพี 2 12 3 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสือ่ สาร 2 3 01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการส่อื สาร 3 22 5 02-201-201 โครงสร้างและสถาปตั ยกรรมคอมพิวเตอร์ 3 02-201-202 การเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ 3 30 6 02-201-203 การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 3 02-201-204 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3 30 6 รวม 23 5 30 6 23 5 20 หนว่ ยกิต ปที ี่ 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง 00-100-201 มหาวทิ ยาลยั สีเขียว 1 02 1 00-100-202 การคิดเชงิ ออกแบบ 1 02 1 02-262-203 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพื่อการ 2 13 3 จัดการเรียนรู้ 02-201-205 ระบบฐานขอ้ มูล 3 23 5 02-201-206 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 3 30 6 02-201-xxx วิชาชพี เลือก 3 xx x 02-201-xxx วิชาชพี เลือก 3 xx x xx-xxx-xxx เลือกเสรี 3 xx x เตรยี มความพรอ้ มฝกึ ประสบการณ์ 02-000-201 วชิ าชพี 1 02 1 รวม 20 หนว่ ยกิต ปีที่ 2 / ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย 3 0 40 ตนเอง 02-000-202 ฝึกงาน 0 หรอื หรอื ฝกึ งานตา่ งประเทศ 02-000-203 รวม 3 หน่วยกิต
27 ปีที่ 3 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง 00-100-301 ความเป็นผปู้ ระกอบการ 1 02 1 02-262-304 การประกันคณุ ภาพการศึกษา 2 12 3 02-262-305 การจดั การเรียนรแู้ ละการจดั การชั้นเรียน 3 23 5 อาชวี ศึกษา 02-201-301 คณิตศาสตรด์ สิ ครตี 3 30 6 02-201-xxx วชิ าชพี เลือก 3 02-201-xxx วชิ าชีพเลอื ก 3 xx x 02-201-303 การเตรยี มโครงการ 1 xx-xxx-xxx เลอื กเสรี 3 xx x รวม 10 2 xx x 19 หน่วยกิต ปีท่ี 3 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว่ ยกิต ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาดว้ ย ตนเอง 02-262-306 การพฒั นาหลักสูตรอาชวี ศึกษา 3 22 5 02-262-307 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 02-262-308 กลวิธีการสอนช่างเทคนิค 2 12 3 02-262-309 การวิจัยเพอื่ พัฒนาการเรียนรู้ 02-201-xxx วชิ าชพี เลือก 2 13 3 02-201-xxx วชิ าชพี เลือก 02-263-311 การฝกึ ปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรยี น 3 22 5 02-201-304 โครงการ 3 xx x รวม 3 xx x 1 06 0 3 16 4 20 หน่วยกิต ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย 02-263-410 การปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 กติ ตนเอง รวม 6 0 40 0 6 หน่วยกติ ปีท่ี 4 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หน่วย ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาดว้ ย 02-263-411 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 กติ ตนเอง รวม 6 0 40 0 6 หน่วยกิต
28 คาอธบิ ายรายวิชา 01-110-012 ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื การพัฒนาท่ียัง่ ยนื 3(3-0-6) Sufficiency Economy for Sustainable Development ความหมาย ความเป็นมาความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา เศรษฐกิจแบบยั่งยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจแบบย่ังยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ไข ปัญหาเศรษฐกจิ และสงั คมของไทย กรณตี ัวอยา่ งเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีประสบความสาเรจ็ Concepts of sufficiency economy philosophy and sustainable development, application of the philosophy in dealing with social and economic problems in Thailand, case studies on successful sufficiency- economy activities in Thailand 01-210-022 วิถีธรรมวิถไี ทย 3(3-0-6) Religions and Thai Culture ความเป็นมาและหลักธรรมคาสอนของศาสนาท่ีสาคัญในประเทศไทย ความสัมพันธ์ ระหว่างความคิดความความคิดความเช่ือด้านศาสนากับวัฒนธรรมไทยในด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง และประเพณีไทย การส่งเสริมอนุรักษ์ วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาท้องถ่ิน การศึกษาและการเข้าถึงบริบทของชุมชน การปรับตัว เพื่อการอย่รู ่วมกันบนพ้ืนฐานของความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม History and doctrines of important religions in Thailand, relationship between religious thoughts and Thai culture in the aspect of way of life, economy, politics, and tradition, promotion and conservation of culture and local wisdom, studies and understanding of the context of community, adaptation based on different culture 01-610-003 นนั ทนาการ 1(0-2-1) Recreation ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง ๆ และเลือกกิจกรรม นันทนาการท่เี หมาะสม General knowledge of recreation, types of recreational activities and selection of appropriate recreational activities
29 01-610-014 ทักษะกีฬาเพ่อื สุขภาพ 1(0-2-1) Sports Skill for Health ความรู้ท่ัวไปเก่ียวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม การฝึกปฏบิ ัติทกั ษะพ้นื ฐานของชนดิ กฬี าทเี่ ลอื ก วิธีการเลน่ และกตกิ าการแขง่ ขนั General knowledge about the chosen sport, development of health on aspects of body, mind, emotion, and social, practice of basic skills of chosen sports, how to play the sport, sport rules for competition 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการบอกข้อมูลเก่ียวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความ สนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสั้นๆ การฟังและอ่าน ข้อความสน้ั ๆ จากสือ่ ต่างๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, listening to and reading short and simple texts 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาท่ีใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่าง ต่อเนื่องในสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟังและ การอา่ นเนอ้ื หาในเรอื่ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากส่อื Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts
30 01-310-001 ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร 3(3-0-6) Thai for Communication หลักการส่ือสาร ความรู้พ้ืนฐานการใช้ภาษาไทย การฟังอย่างมีวิจารณญาณ การอ่าน จับใจความและวิเคราะห์ความ การเขียนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน และการพดู ในโอกาสตา่ งๆ Principles of communication, Thai language usage, critical listening, reading for main ideas and analysis, writing for communication in daily life and speaking on different occasions 01-310-006 การอา่ นและการเขียนเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Academic Reading and Writing หลักการอ่านเอกสารทางวิชาการ หลักการเขียนทางวิชาการ การอ่านและเขียนสรุป สาระสาคัญ การศึกษาคน้ ควา้ และการนาเสนอผลงานในรูปแบบวชิ าการ Principles of academic reading and writing, reading and note taking, information research and academic presentation 01-320-010 ภาษาองั กฤษเพอื่ การทดสอบ 3(2-2-5) English for Standardized Tests ลักษณะของแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษมาตรฐานประเภทต่าง ๆ ความรู้และทักษะท่ีจาเป็นทางด้านภาษาอังกฤษที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ กลวิธีใน การทาแบบทดสอบ Formats and structures of various standardized tests, linguistic knowledge and skills needed for taking the tests, strategies dealing with standardized tests 01-320-012 การฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษสาหรบั งานบรกิ ารด้านเทคนิค 3(2-2-5) English Listening and Speaking for Technical Support คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการอธิบายและการสาธิตการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ การ ให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค การจัดการข้อร้องเรียน การติดตามความก้าวหน้า ของงาน การรายงานความเสยี หาย Vocabulary, expressions and language patterns for describing technical functions, demonstration of equipment use, technical support, handling of complaints, following up on work progress, reporting damage
31 01-320-022 การสรรสร้างละครและหนงั สัน้ ภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) Creating English Dramas and Short Films ศัพท์ สานวน และโครงสร้างประโยค ท่ีเกี่ยวข้อง การอ่านและการเขียนบทละครหรือ บทภาพยนตร์ส้ันๆ การวิเคราะห์ เนื้อเร่ืองตวั ละคร การใชโ้ ทนเสียง ทานองเสียง การ แก้ไขปัญหา การทางานเป็นทีม การแสดงละครส้ันเป็นภาษาอังกฤษ การจัดทาวิดีโอ คลปิ สั้นๆเปน็ ภาษาองั กฤษ Vocabulary, expressions and language patterns related to reading and writing short plays or short films, analyzing themes and characters, tones and intonations, problem-solving and team working, performance of plays in English, making short video clips 01-330-002 การสนทนาภาษาจนี เบ้อื งตน้ 3(3-0-6) Basic Chinese Conversation ทักษะการฟังและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน เน้นการออกเสียงท่ี ถูกต้อง ความสามารถในการถ่ายทอดความต้องการเป็นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์ จาลองได้ Chinese listening and speaking on everyday life topics focusing on correct pronunciation and expressions by means of simulation 01-330-007 สนทนาภาษาญปี่ ุน่ เบ้ืองตน้ 3(3-0-6) Basic Japanese Conversation บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยสถานการณ์จาลองจากสถานการณ์ จริงท่ีผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจาวัน โดยฝึกฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อชานาญขึ้น สามารถนาคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องอ่นื ๆ มาประกอบเพ่ือขยายขอบเขตของ บทสนทนาให้กว้างตอ่ ไป Various types of Japanese conversation in daily life, situational conversation practice with the focus on fluency and relevant vocabulary use for extension of conversation
32 09-000-001 ทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พ้ืนฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อินเทอร์เน็ตและการส่ือสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การส่ือสารข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่อง เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ และความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกบั โลกออนไลน์ Computing fundamentals, key applications such as Word Processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), Presentation (Microsoft PowerPoint) , Internet and social networks such as computer network, communication technology, internal and external e-mail correspondence, surfing the Internet, and general knowledge about the Internet World 09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสาเรจ็ รปู เพือ่ งานมลั ติมเี ดีย 3(2-2-5) Program Package for Multimedia ความรู้พื้นฐานดา้ นเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคล่ือนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรมจัดการสื่อประสม เช่น โปรแกรมจัดการ ภาพกราฟิกแบบราสเตอร์ โปรแกรมจัดการภาพกราฟิกแบบเวกเตอร์ โปรแกรมสร้าง ภาพเคล่ือนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดิโอ โปรแกรมแปลงไฟล์ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนาเสนอผลงานสอ่ื ประสม และการเผยแพรผ่ ลงานสอื่ ประสมบนอินเทอรเ์ น็ต Basic knowledge of multimedia technology including text, image, audio, animation and video, multimedia applications such as raster graphics editor, vector graphics editor, 2D animation software, video editing software, image and video file conversion software, multimedia presentation software, and multimedia publishing on the internet
33 09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจ 3(2-2-5) Information Technology for Decision Making ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรมประยุกต์หรือระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจ เช่น โปรแกรมตารางคานวณขั้นสูง โปรแกรมทาง สถิติและความน่าจะเป็น ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการ ตัดสินใจ โปรแกรมนาเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิก รวมถึงเคร่ืองมืออานวยความ สะดวกในการจดั การข้อมูล ส่วนตดิ ตอ่ กับผใู้ ช้งาน เพื่อนาเสนอขอ้ มูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อ การตัดสนิ ใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ Basic knowledge and theories of decision-making application of software or information system for decision- making such as advanced spreadsheet, probability and statistics, executive information system, decision support system including data management tools and user interface for efficient decision marking 09-111-051 คณิตศาสตรใ์ นชวี ติ ประจาวนั 3(3-0-6) Mathematics in Daily Life การคานวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี ความสาคัญของการ ออมเงิน เปา้ หมายการออม การวางแผนใชจ้ า่ ยและการออมอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ Basic mathematical calculations, ratio, percentages, taxes, essential of saving money, savings goals, effective spending and saving plan 09-121-001 สถติ ใิ นชีวิตประจาวัน 3(2-2-5) Statistical in Daily Life ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจาวัน สถิติในสังคมมนุษย์ การเก็บรวบรวม ข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล การหาตัวแทนข้อมูล การหาตาแหน่งและการกระจาย ของข้อมูล การแปลความหมายและสรุปข้อมูล การนาเสนอข้อมูลที่เหมาะสมกับ คณุ ลกั ษณะของข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใช้โปรแกรมทางสถติ ิ Meaning and the role of statistics in daily life, statistics in human society, data collection and data validation, information agent, position measurement and distribution measurement, interpretation and summary data, data characteristics and means of presentation, use of statistical software for data analysis
34 09-130-002 อนิ เทอร์เน็ตทกุ สรรพส่ิงในชวี ิตประจาวนั 3(3-0-6) Internet of Things in Everyday Life แนวคิดพ้ืนฐานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิง แนวโน้มและการพัฒนาของเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง สถาปัตยกรรมของอุปกรณ์สมาร์ตอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง การ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตทุกสรรพส่ิงในชีวิตประจาวัน ความปลอดภัยในการใช้ งานของอนิ เทอร์เนต็ ทุกสรรพส่งิ Basic concept of Internet of things ( IoT) , trend and development of IoT technology, architecture of smart devices of IoT, application of IoT technology in daily life, security in applications of IoT 09-210-003 วทิ ยาศาสตร์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม 3(3-0-6) Science, Creativity and Innovation การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิดสร้างสรรค์ด้วย กระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และส่ือท่ีหลากหลาย เพือ่ นาไปสกู่ ารพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีเกีย่ วขอ้ งกับเกษตรกรรม วิศวกรรมและ อุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน สุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน สิ่งแวดล้อม เพ่ือให้มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า และการเปลยี่ นแปลง เพอ่ื การพฒั นาที่ยั่งยืน Scientific thinking, information search, creative thinking through scientific processes and various instructional media for innovative and technology development in agriculture, engineering and modern industries, modern technologies and their application for sustainable development
35 00-100-101 อตั ลักษณ์แห่งราชมงคลธัญบรุ ี 2(0-4-2) RMUTT Identity ความภาคภมู ใิ จในมหาวิทยาลัย การปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยแี ละ สังคม การมีจิตใจริเร่ิม การเร่ิมต้นทางานท่ีมีเป้าหมายชัดเจน การลาดับความสาคัญของ งาน และความรับผิดชอบต่องานอย่างมืออาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ การมีจิต สาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนภายใต้กฎระเบียบและหลักการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย หลกั ในการใช้ชีวิตตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง University pride, keeping up with technology and social changes, having initiative and being proactive, beginning with clear goals, prioritizingthings, and being professional, personality development, public consciousness, social manners, living democracy, principles of living based on the philosophy of Sufficiency Economy 00-100-201 มหาวิทยาลยั สีเขยี ว 1(0-2-1) Green University วิธีปฏิบัติตนเพ่ือเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มี ความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝังจิตสานึกรับผิดชอบ การแบง่ ปนั และช่วยเหลอื สงั คม การตระหนักและมีวสิ ัยทศั นท์ ดี่ ตี อ่ สงั คมและสงิ่ แวดล้อม Being environmentally friendly, efficient use of energy and resources, being responsible for the environment in the university, instilling and contributing to the sustainable and socially responsible university, awareness of and vision for social and environmental sustainability 00-100-202 การคดิ เชิงออกแบบ 1(0-2-1) Design Thinking กระบวนการคิดเชิงออกแบบท่ีมุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือ นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ สร้างไอเดียท่ีหลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพ่ือทดลองและ ทดสอบความคิดทางนวัตกรรมท่เี กดิ ขึ้น Human- centric approach to gain deep understanding of users, design products or innovation, ideate several alternatives, create prototypes, and test the innovative solutions
36 00-100-301 ความเปน็ ผปู้ ระกอบการ 1(0-2-1) Entrepreneurship แนวโน้มและแนวคิดในการทาธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การจัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็นผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จ การ จัดทาแบบจาลองธุรกจิ Business trends and concept, development of entrepreneur characteristics, organization management, marketing, financial management, successful entrepreneurs, business model canvas 02-262-101 ความเปน็ ครูวิชาชพี 2(1-2-3) Self Actualization for Vocational Teachers ความหมาย แนวคิดและการสร้างจิตวิญญาณความเป็นครู พัฒนาการของวิชาชีพครู คุณธรรมและจริยธรรมของวิชาชีพครู จรรยาบรรณของวิชาชีพครู แนวปฏิบัติในการ เป็นแบบอย่างที่ดี กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู การมีจิตสานึกสาธารณะ เสียสละ ให้สังคม และปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ พัฒนาวชิ าชพี Definition, concept and conscious mind for teacher being establishment, development of teaching profession, moral and ethics in teaching profession, framework of being good teacher model, laws involved in teaching profession, service mind, self-sacrifice, cooperative working and participate in teaching profession activities creatively
37 02-262-202 จติ วิทยาสาหรบั ครวู ชิ าชีพ 2(1-2-3) Psychology for Vocational Teacher หลักการ แนวคิด ทฤษฎีจิตวิทยาท่ัวไป จิตวิทยาวัยรุ่น จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยา การศึกษา จิตวิทยาการให้คาปรึกษาและแนะแนว บุคลิกภาพและการปรับตัว การ ประยุกต์ใช้จิตวิทยาในการวิเคราะห์ ช่วยเหลือดูแล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล การปฏิบตั ิการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ออกแบบวิธีการ รว่ มมอื กบั ผู้ปกครองในการพัฒนา และแกป้ ญั หาผ้เู รียนให้มีคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ Principles and concepts of General psychology, adolescence psychology, develop, developmental psychology, educational psychology, counseling psychology and guidance; personality and adaptability; application of psychology to analyze, assist and develop individual learners; systematical reporting the results of student development; design how to collaborate with parents in develop and solve learner to acquire the desirable characteristics 02-262-203 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอื่ การจดั การเรยี นรู้ 2(1-3-3) Innovation and Digital Technology for Learning Management หลักการ แนวคิด ทฤษฎี การออกแบบ การประยุกต์ใช้และการประเมินสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร การฝึก ปฏิบัติการผลิตส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การใช้และการ ประเมินประสิทธิภาพส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษา Principles, concept, theories, designs, applications and evaluation of media, innovation, information technology for learning, information technology for communications, the practices on creates media, innovation, information technology for education, implement and evaluation of media, innovation technology for learning, using of information technology for educations
38 02-262-304 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 2(1-2-3) Educational Quality Assurance หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา กระบวนการ ประกันคุณภาพการศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานและตัวบ่งชี้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก การ ออกแบบและการดาเนินการเก่ียวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา การใช้ผลการ ประกันคณุ ภาพการศึกษาเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา Principles, ideas and practices in educational quality assurance; quality assurance process, quality assurance laws, standards and indicators of internal and external education quality assurance, design and practice in educational quality assurance; using quality assurance result to improve quality of education 02-262-305 การจัดการเรียนรแู้ ละการจดั การชั้นเรียนอาชีวศึกษา 3(2-3-5) Learning and Vocational Classroom Management ปรัชญา หลักการและกระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนความต้องการ พิเศษ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning การจัดการเรียนรู้รูปแบบ TPACK ทักษะ วิธีการ และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ การใช้โปรแกรมประยุกต์ในการจัดการ เรียนรู้ การออกแบบและการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การสร้างสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน การประยุกต์ใช้แผนการจัดการเรียนรู้สู่การปฏิบัติการ สอนในช้ันเรียน Philosophy principles and process of learning management, child center learning management, integration learning management, learning management for special student, active learning, TPACK model, skill method and model of learning, application for learning management, design and writing learning management plan, environment building for learning and classroom management and apply learning management for teaching in classroom
39 02-262-306 การพัฒนาหลกั สตู รอาชีวศกึ ษา 3(2-2-5) Vocational Curriculum Development หลักการและแนวคิดในการจัดทาหลักสูตรอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาและหลักสูตรระยะสั้น การนาหลักสูตรไปใช้ การฝึก ประเมนิ หลกั สตู ร การนาผลการประเมินไปใชใ้ นการพัฒนาหลักสตู ร Principles and concept in the vocational curriculum, vocational curriculum development, subjective curriculum and short courses development, curriculum implementation, curriculum evaluation practice, results of the evaluation are used to curriculum development 02-262-307 การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ 2(1-2-3) Measurement and Evaluation for Learning หลักการ แนวคิด จุดมุ่งหมาย และแนวปฏบิ ัตใิ นการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การ สร้างและพัฒนาคุณภาพแบบวัดผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ปฏิบตั ิการวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ การนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา และพัฒนาผูเ้ รียน Principles, ideas, aims, and practices in measurement and evaluation of learning, creation and development of cognitive, affective, and psychomotor instruments, measure and evaluate of students’ learning, using results of evaluated to solve and develop students
40 02-262-308 กลวธิ กี ารสอนชา่ งเทคนิค 2(1-3-3) Didactics for Technician หลักการสอนวชิ าทฤษฎีช่างอตุ สาหกรรม การจัดทาแผนการเรียนรู้ การสร้างเอกสาร ประกอบการสอนในรายวิชาทฤษฎี หลักการสอนวิชาปฏิบัติช่างอุตสาหกรรม การ วิเคราะห์อาชีพ การวิเคราะห์งาน การจัดทาแผนการเรียนรู้ในรายวิชาปฏิบัติการ การ สร้างเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาปฏิบัติ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและ ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ปฏิบัติการสอนในโรงฝึกงานหรือห้องปฏิบัติการ การวดั และ ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน Principles of theoretical subjects teaching for industrial, lesson plans, teaching publications create in theoretical subjects, principles of teaching practice subjects for industrial, career analysis, job analysis, competencies lesson plans, teaching publications create in practice subjects, measurement and evaluation tools, practice teaching in the workshop or laboratory, performance measurement and evaluation 02-262-309 การวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ 3(2-2-5) Research for Learning Development ความหมาย แนวคิด ประเภท และแนวปฏิบัติในการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย การ ออกแบบการวิจัย การสร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิด ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การวเิ คราะห์ผลการวิจัย การเขียนรายงานการวจิ ัย การปฏิบัติการใชก้ ระบวนการวจิ ัยเพือ่ แก้ปัญหาและพัฒนาผ้เู รียน Meaning, ideas, types and practices of research, research morals, research design, creation of innovation, and application of digital technology to utilize the learning of learners, research analysis, research reporting, perform in research process to solve and develop learners
41 02-263-311 การฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพระหวา่ งเรียน 1(0-6-0) Practicum สังเกตการจัดการเรียนรู้ จัดทาแผนการเรียนรู้และสื่อการสอน ออกแบบและสร้าง เคร่ืองมือวัดผล ทดลองสอนในสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริง ประเมินผลการ จัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วม จากผปู้ กครองและชุมชนหรือผ้มู สี ่วนไดเ้ สยี Learning management observation, lesson plans and instructional medias development, educational assessment design, teaching practice in simulation and real- life situations, learning outcomes evaluation in theory and practice, and collaborative activity design with parents and community or stakeholders 02-263-410 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 1 ปฏิบัติการสอนวิชาชีพในสาขาวิชาชีพเฉพาะ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ียึด ผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดกระบวนการเรียนรู้ การเลือกใช้การผลิตสื่อ และนวัตกรรมที่ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ การนากลวิธีการสอนช่างเทคนิคในการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การทาวิจัยพัฒนาผู้เรียน การนาผลการวิจัยมา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน การบันทึกและรายงานผลการจัดการ เรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น การสร้าง เครือขา่ ยความรว่ มมอื กับผ้ปู กครองและชมุ ชน และการสัมมนาทางการศึกษา Professional teaching practice lesson plan management, learning process management, instructional media and innovation selection, teaching techniques for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, record and report the result of learning management, promoting and conserving culture and local wisdom, cooperative learning with guardians and communities creatively and educational seminars
42 02-263-411 การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 2 6(0-40-0) Teaching Practice in Educational Institutions 2 ปฏิบัติการสอนวิชาชีพในสาขาวิชาเฉพาะ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็น สาคัญ จัดกระบวนการเรียนรู้ ผลิตส่ือการสอน และใช้นวัตกรรมที่สอดคล้องกับการ จัดการเรียนรู้ นากลวิธีการสอนช่างเทคนิคมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ วัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ทาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน นาผลการวิจัยมาพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู้ จัดทา กิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เข้าร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียน และเข้าร่วมสัมมนาทาง การศกึ ษา Teaching in major subjects, student- centered learning plan and activities, learning process management, instructional media and innovation selection, didactic strategy use for learning management, learning evaluation and measurement, classroom action research for learner quality improvement, report writing of learning management result, promoting and conserving culture and local wisdom participation, cooperative learning with guardians and communities creatively, exchanging and sharing professional Learning Community and educational seminars 02-211-101 เขียนแบบวศิ วกรรม 2(1-3-3) Engineering Drawing การอ่านแบบและเขียนแบบ การเขียนตัวอักษร ภาพฉาย รูปทรงเรขาคณิตประยุกต์ ภาพประกอบ ภาพตัด ภาพชิ้นส่วนมาตรฐาน การเขียนภาพสเกตซ์ สัญลักษณ์ มาตรฐานในงานเขียนแบบและการกาหนดรายละเอียดของวสั ดุ พน้ื ฐานในด้านการใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขยี นแบบ Reading and drawing, lettering, orthogonal projection, applied geometric shapes, assembly drawing, sectional views, standard part drawing, sketching, standard symbols in drawing, specification of materials, Basic computer-aided drawing
43 02-250-101 พื้นฐานงานวศิ วกรรม 3(1-6-4) Engineering Basic Skills ฝึกปฏิบัติงานด้านการเทคนิคการผลิตพ้ืนฐาน การใช้เครื่องมือช่างพื้นฐาน เครื่องมือ ร่างแบบ เคร่ืองมือวัดแบบมีสเกล งานวางแบบช้ินงาน งานตะไบ งานเลื่อย งานใช้ เคร่ืองเจาะ งานลับดอกสว่าน งานเจาะ งานทาเกลียวด้วยมือ งานเชื่อมไฟฟ้าพื้นฐาน และการปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภยั Practice on basic technical practices, using of hand tools, layout tools and measuring tools, layout and fitting, filing, hand sawing, drilling, drilling machine, drill grinding and drilling operation, hand reaming, tap and die threading operations, basic skill of shield metal arc welding and safety in working 02-250-112 พ้ืนฐานวัสดุและกลศาสตร์ 3(2-3-5) Basic of Materials and Mechanics ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของวัสดุ คุณสมบัติ การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะสม กลุ่ม โลหะ พอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุร่วม หลักการเบ้อื งต้นของกลศาสตร์ ระบบของแรง และผลลัพธ์ของระบบแรง การวิเคราะห์โครงสร้าง ความเสียดทาน แรงกระจาย จลนศาสตร์ของวัตถุแข็งแกร่ง งานและพลังงาน แรงดลและโมเมนตัม ความเค้นและ ความเครียด ความสัมพันธร์ ะหว่างความเค้นและความเครยี ด Relationship of materials structure and properties, appropriate material selection materials, metal, polymer, ceramic and composite, basic principle of mechanics, force systems and resultants, structural analysis, friction, distributed forces, kinematics of rigid bodies, work and energy, impulse and momentum, stress and strain, stress and strain relationship
44 02-201-101 วงจรไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ 3(2-3-5) Electrical and Electronic Circuits ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับระบบความปลอดภัยในงานไฟฟ้า -อิเล็กทรอนิกส์ แหล่งกาเนิดไฟฟ้า กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น วงจรไฟฟ้าแสง สว่าง การควบคุมมอเตอร์เบ้ืองต้น อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าและการต่อสายดิน อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ ไมโครโฟน ลาโพง อุปกรณ์สารก่ึงตัวนา เทคนิคการบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ ออสซิลโลสโคป เครื่องกาเนิดสัญญาณ การ ประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นบนแผ่นวงจรพิมพ์ ประกอบชุดคิท เกี่ยวกับ เคร่อื งหร่ไี ฟ แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรงชนิดคงท่ีหรือปรับคา่ ได้ สวิตชท์ างานดว้ ยแสง Study and work on safety systems in electrical-electronics. Source, Ohm's Law, Electrical Energy, Basic Electrical Circuits Lighting circuit Basic motor control Electrical protection devices and grounding Electronic devices, RC transformers, relays, microphones, speakers, semiconductor devices Soldering techniques Using a multimeter oscilloscope signal generator Basic assembly of electronic circuits on printed circuit boards. Assembly of dimmer kits. Constant or adjustable DC power supply Light operated switch 02-201-102 คอมพวิ เตอร์และอปุ กรณต์ ่อพว่ ง 3(2-3-5) Computer and Peripherals ระบบคอมพิวเตอร์ หลักการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ หลักการทางานและอุปกรณ์ในหน่วย ประมวลผล หน่วยรับข้อมูล หน่วยความจาและหน่วยแสดงผล การประกอบและ ติดต้ังเครื่องคอมพิวเตอร์ การติดต้ังอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ การติดตั้งซอฟต์แวร์ การ ทดสอบ การวเิ คราะหข์ ้อขดั ขอ้ ง และการแกป้ ญั หา Computer system, principles of the computer, characteristic of computers and peripherals, principle and device's processor unit, input unit, memory unit and output unit, setup and installation, peripherals setting up, software installation, testing, analyzing and repairing
45 02-201-103 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3(2-3-5) Computer Programming หลักการและข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม การแก้ปัญหาด้วยขั้นตอนวิธีและผังงาน การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม องค์ประกอบและโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดข้อมูล รูปแบบคาสั่งต่าง ๆ และฟังก์ชันเบ้ืองต้น การคานวณและเปรียบเทียบ การโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบโครงสร้าง การเขียนโปรแกรมย่อย และการเขียน โปรแกรมประยุกต์ใช้งานเฉพาะดา้ นตามสาขางานทเ่ี กีย่ วข้อง Principles and procedures for application development, solution algorithm and flowcharts, design and application development, components and structures of computer languages, data types, instruction formats and basic functions, calculation and comparison, structural computer programming, sub-program and application program for specific works in related fields 02-201-104 ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ 3(3-0-6) Computer Operating Systems โครงสร้างคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ ท้ังฮาร์ดแวร์และซอตฟ์แวร์ ความหมายและวิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ ประเภทของระบบปฏิบัติการ บทบาทหน้าท่ีของระบบปฏิบัติการ นิยามความหมายของโปรเซส การจัดสรรเวลา ของโปรเซส การทางานของเธรด การจัดตารางการทางานของหน่วยประมวลผล วงจรอับและการหลีกเล่ียงการเกิดวงจรอับ การบริหารและการจัดการหน่วยความจา การจัดลาดับงานและการจัดสรรทรัพยากร การจัดการรับข้อมูลและการแสดงผล ระบบแฟ้มข้อมูล การควบคุมการคืนสภาพ ศึกษาระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์และ ระบบปฎบิ ตั ิการในสมาร์ทโฟนของยคุ ปัจจุบนั และอนาคต Computer structure and computer organization to hardware and software, history and evolution operating system, type of operating system, the character of operating system, process meaning, process timing, thread, process schedule, deadlock, memory management, resource, memory and data, flie system, resource control and study operating system in computer and smartphone in present and future
46 02-201-105 ตรรกศาสตรด์ ิจทิ ัล 3(2-3-5) Digital Logic คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับการประยุกตข์ องการออกแบบเชิงตรรกะ ดิจิทัล ตระกูลอุปกรณ์ตรรกะและข้อกาหนด พีชคณิตแบบบูลลีนและผลเฉลยตรรกะ เชิงผสม การคานวณเชิงตัวเลข การดาเนินการและวงจร ฟลิปฟล็อป วงจรนับและ วงจรเชิงลาดับ ส่วนยอ่ ยหนว่ ยความจา อุปกรณ์ตรรกะแบบโปรแกรมได้ การแปลงผัน ระหว่างระบบดิจิทัลและแอนะล็อก คอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์ พื้นฐาน สถาปัตยกรรม Concepts and applications of digital logic design; logic device families and specifications, Boolean algebra and combinational logic solutions, digital arithmetic, operations and circuits, flip- flops, counters, and sequential circuits, memory elements, programmable logic devices, converting between digital and analog systems, the binary architecture basic electronic computer 02-201-106 การโปรแกรมเชงิ วัตถุ 3(2-3-5) Object Oriented Programming หลักการและแนวคิดเชิงอ็อบเจกต์ ความหมายของอ็อบเจกต์และคลาส คุณลักษณะ และพฤติกรรมของอ็อบเจกต์ การกาหนดสาระสาคัญ การห่อหุ้ม ภาวะพหุสันฐาณ และการสืบทอด การนาเอาส่วนประกอบของซอฟต์แวร์กลับมาใช้อีก ภาษาสาหรับ สร้างตัวแบบเชิงอ็อบเจกต์ ภาษายูเอ็มแอล การนิยามปัญหา การวิเคราะห์และ ออกแบบเชิงอ็อบเจกต์ ภาษาโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์ กรณีศึกษา และการแก้ปัญหา โดยใช้การออกแบบและเขียนโปรแกรมเชงิ อ็อบเจกต์ Principles and concepts of object- oriented, object and class definition, attributes and behavior of objects, abstraction, encapsulation, polymorphism, and inheritance, reuse of software components, object- oriented modeling language, unified modeling language, problem definition, object-oriented analysis and design, object-oriented language, case study and problem solving in object- oriented design and programming
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208