Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

Description: หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

Search

Read the Text Version

หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉรยิ ะ (ต่อเนือ่ ง) (หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2561) คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ปรับปรุงหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา อเิ ล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (ต่อเน่ือง) ในปีการศึกษา 2561 ได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2559 - 2564) รวมทั้งสนองต่อความต้องการของหน่วยงาน ท้ังภาครัฐบาลและเอกชน ตามเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไปอย่างรวดเร็ว มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตบัณฑิต ท่ีมีความรู้ ความชานาญ สามารถ ปฏิบัติงานในหน้าท่ีในสถานประกอบการได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ นอกจากนใ้ี นหลักสตู รฉบบั นไ้ี ด้กาหนดให้มีการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาและ สถานประกอบการ เพื่อเพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงาน เสริมสร้างประสบการณ์และรู้จักแก้ปัญหาในสภาพ การทางานจรงิ คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรฉบับน้ี จะมีประสิทธิภาพในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ที่มีคุณภาพคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสังคม อนั จะนาไปสูก่ ารพัฒนาประเทศชาติทีย่ งั่ ยนื ต่อไป คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

สารบัญ หนา้ ก คำนำ ข สำรบญั หมวดที่ 1 6 1 ขอ้ มูลทั่วไป 8 2 ขอ้ มลู เฉพำะของหลักสูตร 3 ระบบกำรจัดกำรศึกษำ กำรดำเนินกำร โครงสร้ำงหลกั สูตร และคำอธบิ ำย 46 67 รำยวชิ ำ 68 4 ผลกำรเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ำรสอนและกำรประเมิน 69 5 หลักเกณฑ์ในกำรประเมนิ ผลนักศกึ ษำ 77 6 กำรพฒั นำคณำจำรย์ 7 กำรประกันคุณภำพหลกั สตู ร 80 8 กำรประเมนิ และปรบั ปรงุ กำรดำเนนิ กำรของหลกั สตู ร ภาคผนวก 83 ก คำสง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรพฒั นำหลักสูตรระดบั ปริญญำตรี 93 หลกั สูตรอุตสำหกรรมศำสตรบณั ฑติ (ต่อเน่อื ง) สำขำวชิ ำอเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉริยะ (หลักสตู รใหม่ พ.ศ. 2561) 105 ข ประวัติ ผลงำนทำงวชิ ำกำร ประสบกำรณก์ ำรสอนของ อำจำรยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสตู รและอำจำรยป์ ระจำหลกั สตู ร 107 ค ขอ้ บังคบั มหำวิทยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บรุ วี ่ำด้วย กำรศกึ ษำระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. 2550 113 ง ข้อบังคับมหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บุรวี ่ำด้วย กำรศกึ ษำระดบั ปริญญำตรี (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2556 118 จ ข้อบังคับมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บรุ วี ่ำด้วย กำรจัดกำรระบบสหกิจศึกษำ พ.ศ. 2550 121 ฉ ระเบยี บมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บรุ ีว่ำดว้ ย กำรเทียบโอนผลกำรเรียน พ.ศ. 2550 127 ช ระเบยี บมหำวทิ ยำลยั เทคโนโลยรี ำชมงคลธญั บุรีว่ำดว้ ย 129 กำรเทียบโอนผลกำรเรยี น (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2552 ซ ประกำศมหำวิทยำลยั เทคโนโลยีรำชมงคลธญั บรุ ี เรอื่ งเกณฑ์กำรวัดและประเมินผลกำรศึกษำระดับปริญญำตรี ฌ ตำรำงสรปุ กำรวเิ ครำะหห์ ลักสตู ร/สมรรถนะ ญ กจิ กรรมในหลกั สตู ร และกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในสถำนศกึ ษำ และสถำนประกอบกำร

1 หลักสูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ (ตอ่ เนอ่ื ง) หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2561 ช่อื สถาบันอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี คณะ/ภาควชิ า/สาขาวิชา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ภาควชิ าครศุ าสตร์อุตสาหกรรม หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป 1. ชือ่ หลักสตู ร หลกั สูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉรยิ ะ(ต่อเนอ่ื ง) ภาษาไทย: Bachelor of Industrial Technology Program in Smart Electronics ภาษาองั กฤษ: (Continuing Program) 2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเตม็ (ไทย): อุตสาหกรรมศาสตรบณั ฑติ (อิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ) ช่ือย่อ (ไทย): อส.บ. (อเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉริยะ) ชอ่ื เตม็ (อังกฤษ): Bachelor of Industrial Technology (Smart Electronics) ชอื่ ย่อ (องั กฤษ): B.Ind.Tech. (Smart Electronics) 3. วชิ าเอก -ไมม่ ี- 4. จานวนหนว่ ยกิตทเ่ี รยี นตลอดหลกั สูตร 79 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสตู ร 5.1 รปู แบบ หลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี (ต่อเน่ือง) 5.2 ประเภทของหลกั สูตร แบบทางปฏบิ ัติการ 5.3 ภาษาท่ใี ช้ ภาษาไทย 5.4 การรับเข้าศกึ ษา รับนกั ศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศท่สี ามารถใชภ้ าษาไทยได้ 5.5 ความร่วมมือกบั สถาบนั อนื่ ไม่มี 5.6 การให้ปรญิ ญาแกผ่ สู้ าเร็จการศึกษา ใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวิชาเดียว

2 6. สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมัติ/เหน็ ชอบหลักสูตร  หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2561  หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. .................... สภาวชิ าการ เหน็ ชอบในการนาเสนอหลักสูตรตอ่ สภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชมุ ครัง้ ท่ี 6/2561 วนั ท่ี 7 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561 สภามหาวิทยาลยั ฯ ใหค้ วามเห็นชอบหลักสตู ร ในการประชมุ ครงั้ ท่ี 6/2561 วันท่ี 27 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561 เปดิ สอน ภาคการศึกษาที่...1... ปีการศกึ ษา ...2561... 7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสตู รคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2562 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลงั สาเรจ็ การศกึ ษา 8.1 นักเทคโนโลยปี ระจาโรงงาน ดา้ นการควบคุมโรงงาน industry 4.0 8.2 ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัวด้านไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ 8.3 ผชู้ ่วยนกั วจิ ัยอุตสาหกรรมด้านอเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉรยิ ะ 8.4 รับราชการ 9. ช่ือ-สกุล ตาแหนง่ และคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาของอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร ลาดบั ชอื่ -นามสกลุ ตาแหน่ง คุณวฒุ ิ - สาขาวิชา สาเรจ็ จาก ปที ี่จบ วชิ าการ 2557 2542 1 นายยุทธชัย ศลิ ปวิจารณ์* ผู้ชว่ ย วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา้ ) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 2537 ศาสตราจารย์ วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2558 (ด้านเทคโนโลยี วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า-ไฟฟา้ กาลัง) สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล 2555 ไฟฟ้า) 2548 2 นายทองอนิ ทร์ สุยะทา อาจารย์ วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม 2539 วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า เกลา้ ธนบุรี 2550 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล 2548 กรงุ เทพ 2532 2549 3 นายบญั ชา แสนโสดา อาจารย์ วศ.ม. (วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนิกส์) สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ 2541 วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า- เจา้ คุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล อิเลก็ ทรอนกิ ส)์ 4 วา่ ทร่ี อ้ ยตรมี งคล อาจารย์ Ph.D. (Mechatronics Engineering) King’s College London, UK กลิน่ กระจาย วศ.ม. (วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และ สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั โทรคมนาคม) ค.บ. (คอมพิวเตอร)์ วทิ ยาลัยครูสวนสุนนั ทา 5 นายนกิ ร แสงงาม อาจารย์ วท.ม. (โครงข่ายโทรคมนาคมและ มหาวิทยาลัยรงั สติ คอมพวิ เตอร์ สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ค.อ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟ้า) หมายเหตุ * ประธานหลักสูตร

3 10. สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาท่ีจาเป็นตอ้ งนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสตู ร 11.1 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางเศรษฐกจิ ประเทศไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมามีปัญหาด้านโครงสร้างการพัฒนาของประเทศ โดยมสี าเหตมุ าจาก 1) การแข่งขันในภูมิภาคเอเชียเพิ่มข้ึนมาก แต่ประเทศไทยปรับตัวช้า ทาให้มีการ เจริญเติบโตเป็นไปในลักษณะถดถอย ขณะที่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียได้มีการพัฒนาไปอย่าง รวดเร็ว 2) ความถดถอยนี้มีสาเหตุสาคัญมาจาก ประเทศไทยขาดความมุ่งมั่นอย่างจริงจังและ ต่อเน่ืองที่จะเร่งลงทุน ทาให้ประสิทธิภาพการผลิตและความสามารถในการแข่งขันกลายเป็นปัญหาหลัก ในโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ของประเทศไทย จากปัญหาดังกล่าว กระทรวงการคลัง ได้จัดตั้ง “คณะทางานส่งเสริมการลงทุน ภาคเอกชน” ทาการวิเคราะห์สถานภาพและศักยภาพของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่จะมีบทบาท ต่อการยกระดบั ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในอนาคต มาจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เกี่ยวกับมาตรการส่งเสริมการลงทุนสาหรับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายเหล่านั้น ให้แก่คณะรัฐมนตรี ได้พิจารณาประกอบด้วย อุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีมีศักยภาพท่ีจะเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Growth Engine) ของประเทศ ประกอบดว้ ย 2 กล่มุ ไดแ้ ก่ กล่มุ 5 อตุ สาหกรรมเดิม ประกอบดว้ ย 1) อตุ สาหกรรมยานยนตส์ มยั ใหม่ (Next-generation Automotive) 2) อตุ สาหกรรมอิเล็กทรอนกิ สอ์ จั ฉริยะ (Smart Electronics) 3) อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ วกลมุ่ รายไดด้ ีและการท่องเทย่ี วเชงิ สุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) 4) การเกษตรและเทคโนโลยชี วี ภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5) อตุ สาหกรรมการแปรรปู อาหาร (Food for the Future) กลมุ่ 5 อุตสาหกรรมใหม่ ประกอบด้วย 1) อตุ สาหกรรมหุน่ ยนต์เพื่อการอตุ สาหกรรม (Robotics) 2) อุตสาหกรรมการบนิ และโลจสิ ติกส์ (Aviation and Logistics) 3) อุตสาหกรรมเชอื้ เพลงิ ชวี ภาพและเคมชี วี ภาพ (Biofuels and Biochemicals) 4) อตุ สาหกรรมดิจทิ ลั (Digital) 5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการในข้อเสนอของกระทรวงอุตสาหกรรม ในเร่ือง “10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย: กลไกขับเคล่ือนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคต” เพื่อเป็นมาตรการระยะยาว ทจี่ ะกาหนดทศิ ทาง “การปรบั โครงสรา้ งด้านการผลิตทง้ั เกษตร - อตุ สาหกรรม - บริการ” ของประเทศให้ มีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการแข่งขัน มีการสร้างงานคุณภาพ และมีการสนับสนุนเศรษฐกิจ ภูมภิ าคอยา่ งเป็นระบบ ต่อเน่อื ง และยั่งยืน

4 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) ถือเป็นฐานของ ทุกอุตสาหกรรมเนื่องจาก Smart Electronics จะช่วยลดการขาดดุลการค้า ทั้งในปัจจุบันและอนาคต อันเนอื่ งจากทีผ่ า่ นมาต้องพ่ึงพาการนาเข้าจานวนมาก อีกทงั้ smart Electronics ยังเปน็ ส่วนหนึ่งที่สาคัญ ในการพัฒนาประเทศไปสู่ 4.0 ท้ังนี้อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) หมายถึง อุตสาหกรรมการผลิต ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในยานยนต์ อุปกรณ์โทรคมนาคม กลุ่มอุตสาหกรรม ที่เก่ียวข้องกับ Internet of Things (IoT), Smart Home Appliance, Embedded Design รวมถึง อุตสาหกรรมเป้าหมายอ่ืนๆ ท่ีต้องอาศัยการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการลดต้นทุน และระยะเวลาในการผลิตสินค้าและบริการ เพ่ือเป็นการสนับสนุนให้นโยบายของรัฐบาลสามารถ ขบั เคล่ือนภาคเศรษฐกจิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและม่งุ เข้าสไู่ ทยแลนด์ 4.0 ในขณะท่ีระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมได้มีการปรับปรุงโรงงา นเดิม และก่อสร้างโรงงานใหม่ให้มีความสามารถในการทางานในรูปแบบโรงงาน 4.0 เช่น กลุ่มอุตสาหกรรม ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องด่ืม อุตสาหกรรมอาหาร และบริการ ทาให้มีความต้องการนักเทคโนโลยีท่ีสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ลดภาระต่างๆ ทาให้มีความจาเป็นต้องมีการผลิตนักเทคโนโลยี ทีม่ ีความสามารถตรงตามความตอ้ งการมารองรับการเตบิ โตของภาคอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นสถาบันการศึกษาที่มีพันธกิจในการผลิต บัณฑิตและพัฒนากาลังคน เพื่อตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และมีที่ตั้งอยู่ในศูนย์กลางของอุตสาหกรรมของประเทศ มีบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถท่ีหลากหลาย และโดยเฉพาะทางด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์ ตลอดจนมีเคร่ืองมือและชุดฝึกต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งจะสามารถผลิตบัณฑิตในสาขาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมซ่งึ มีภารกิจในการผลิตบัณฑิตท่ีตอบสนองต่อการพัฒนาของ ประเทศ มีบุคลากรที่มีคุณวุฒิและประสบการณ์ด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ และรวมท้ังมีเคร่ืองมือ ครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการเรียนการสอนอย่างเพียงพอ สามารถผลิตบัณฑิตท่ีตรงกับความต้องการในการ พฒั นาประเทศกบั สถานประกอบการ

5 12. ผลกระทบจากข้อ 11 ตอ่ การพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกบั พนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัยฯ 12.1 การพฒั นาหลักสูตร ในการพัฒนาหลักสูตรคณะกรรมการได้มีการวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา เศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต และแผนความต้องการกาลังคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ ตลอดจนความต้องการกาลังคนของ สถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม 12.2 ความเกี่ยวข้องกับพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมีพันธกิจ ในจัดการศึกษาวิชาชีพ ระดบั อดุ มศกึ ษาบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณภาพ โดยหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตร บัณฑิต สาขาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ส่งเสริมงานด้านผลิตผู้สอน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ให้บริการ วิชาการและการศึกษาท่ีมีแนวคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการมีอาชีพอิสระและพัฒนาอาชีพสู่การแข่งขัน ตลอดจนการทานบุ ารุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม 13. ความสัมพันธ์กับหลักสตู รท่ีเปดิ สอนในคณะ/ภาควชิ าอ่ืนของมหาวิทยาลัย 13.1 กลุ่มวชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรน้เี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอนื่ หลักสูตรนี้มีรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไปและวิชาเลือกเสรีท่ีจะต้องให้คณะ/วิทยาลัย ภายในมหาวทิ ยาลัยฯ จัดการเรยี นการสอนให้ 13.2 กล่มุ วชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรทเ่ี ปดิ สอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอน่ื ตอ้ งมาเรียน รายวิชาในหลักสูตรเปิดโอกาสให้ นักศึกษาในคณะอื่นๆ สามารถเลือกเรียนในรายวิชา เลือกเสรไี ด้ และคาอธิบายรายวชิ ามคี วามยดื หยุน่ สามารถจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ 13.3 การบรหิ ารจดั การ กาหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ท่ีดาเนินการสอน เพอ่ื บรหิ ารจัดการเรียนการสอนใหม้ ีผลตามมาตรฐานการเรียนรู้เป็นไปตามท่รี ะบใุ นหลกั สตู ร

6 หมวดที่ 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สูตร 1. ปรชั ญา ความสาคญั และวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร 1.1 ปรชั ญา บัณฑิตมีความรู้ ความชานาญ สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ี สาขาอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ พร้อมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมของประเทศ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพ่ือพฒั นาบณั ฑิตให้เปน็ บคุ ลากรท่มี สี ่วนในการพฒั นาของประเทศตามนโยบายภาครฐั 1.2.2 เพ่ือปลูกฝังบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความ รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าท่แี ละสงั คม 1.2.3 เพือ่ ให้บณั ฑิตมคี วามรคู้ วามสามารถตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชีพสาขา มคี วามสามารถใน การค้นควา้ วางแผน ปฏบิ ตั ิงานตามหน้าที่ และสามารถประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ในงานที่รบั ผดิ ชอบ 1.2.4 เพอ่ื ให้บัณฑิตสามารถพัฒนาทักษะทางปัญญา โดยวิเคราะห์ท่ีมาของปัญหาและกาหนด แนวทางแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสม 1.2.5 เพ่ือให้บัณฑิตมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความเป็นผู้นา และผู้ตามได้อย่าง เหมาะสม 1.2.6 เพ่ือให้บัณฑิตมีความสามารถส่ือสาร ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน และใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ย่างเหมาะสม

7 2. แผนพฒั นาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบง่ ช้ี แผนการพัฒนา/เปลยี่ นแปลง 1. รายงานผลการ 1. ปรับปรงุ หลักสตู รให้มี 1. พฒั นาหลกั สตู รโดย ดาเนนิ การ มาตรฐานไม่ต่ากวา่ ที่ สกอ. มีพ้ืนฐานจากหลักสตู ร 2. รายงานผลการ กาหนดและสอดคล้อง ที่ได้รบั อนมุ ตั แิ ล้ว ประเมินหลกั สตู ร กับมาตรฐานคุณวฒุ ิ 2. ตดิ ตามประเมนิ หลกั สตู ร ระดับปริญญาตรี อยา่ งสม่าเสมอตามกรอบ 1. รายชอ่ื หนว่ ยงานภาครฐั มาตรฐานคุณวฒุ ิของ และภาคเอกชน 2. ปรบั ปรงุ หลักสูตรให้ ประเทศไทย 2. รายงานการประเมิน สอดคล้องกับความตอ้ งการ ความพึงพอใจในการใช้ ของสถานศึกษาและ 1. สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั บณั ฑติ ของสถานศึกษา สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและ และสถานประกอบการ ภาคเอกชน 3. พัฒนาบุคลากรสายผู้สอน 2. วเิ คราะห์ความต้องการ 1. รายงานผลการฝกึ อบรม ให้มีคณุ ภาพท้งั ทางวชิ าการ และแนวโนม้ ความ และวชิ าชีพ เปลีย่ นแปลงของสถานศึกษา 1. รายงานความต้องการ และสถานประกอบการ ของนักศึกษาและอาจารย์ 4. ปรบั ปรงุ ปัจจัยสนับสนุนการ ผสู้ อนเกี่ยวกบั ปจั จัย เรียนการสอน 1. สนบั สนุนให้บุคลากร สนบั สนุนการเรียน สายผสู้ อนไดร้ บั การพฒั นา การสอน ในดา้ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ 2. รายงานครภุ ัณฑ์ - การศกึ ษาต่อในระดับ ท่สี งู ขึ้น - การศกึ ษาดูงาน การฝึกอบรม สัมมนา เพอื่ เพิ่มความรแู้ ละ ประสบการณ์ ท้งั ในประเทศ และตา่ งประเทศ และการ ขอตาแหน่งทางวิชาการ 1. สารวจความต้องการ ของนักศึกษาและอาจารย์ ผู้สอนเกี่ยวกับปจั จัย สนับสนนุ การ เรยี นการสอน 2. จดั หาและจดั สรรทุน เพอ่ื ปรับปรุงปจั จยั สนับสนนุ การเรยี นการสอน เช่น วัสดุ ครภุ ัณฑ์ โสตทัศนปู กรณ์ อาคารและหอ้ งสมดุ ให้มคี วามทันสมัยและ มปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้ึน

8 หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ โครงสรา้ งหลกั สตู ร และคาอธิบายรายวิชา 1. ระบบการจดั การศึกษา 1.1 ระบบ การจดั การศึกษาเป็นระบบทวภิ าค ในปีการศึกษาหน่ึงจะแบ่งออกเป็นสองภาคการศึกษาซ่ึงเป็น ภาคการศึกษาบังคับ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าสิบห้าสัปดาห์ต่อหนึ่งภาคการศึกษา ท้ังน้ีไม่รวมเวลา สาหรับการสอบด้วย และข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ค) 1.2 การจัดการศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น มีการจัดการเรียนการสอนภาคการศึกษาฤดูร้อน โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่าเจ็ดสัปดาห์ ทั้งนี้ไม่รวมเวลาสาหรับการสอบ แต่ให้มีจานวนชั่วโมงเรียนของแต่ละรายวิชาเท่ากับหนึ่งภาคการศึกษา ปกติ ซ่งึ ขึน้ อยกู่ ับการพิจารณาของคณะกรรมการประจาหลักสตู ร 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกติ ในระบบทวิภาค - 2. การดาเนินการหลกั สตู ร 2.1 วนั -เวลาในดาเนนิ การเรยี นการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนมิถุนายน- กันยายน ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนพฤศจิกายน- กมุ ภาพันธ์ ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น เดอื นมีนาคม- พฤษภาคม 2.2 คณุ สมบัติของผูเ้ ขา้ ศึกษา สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์ คณุ สมบตั อิ น่ื ๆ ให้เปน็ ไปตามดลุ ยพินิจของคณะกรรมการประจาหลักสูตร 2.3 ปัญหาของนกั ศกึ ษาแรกเขา้ ความแตกต่างของพื้นฐานด้านภาษาอังกฤษของผู้เรียน ทาให้ต้องมีการปรับพ้ืนฐานให้ใกล้เคียง กัน โดยมีการจัดอบรมและสอดแทรกการใชภ้ าษาอังกฤษระหวา่ งการเรยี นการสอน 2.4 กลยุทธใ์ นการดาเนนิ การเพอ่ื แก้ไขปญั หา/ข้อจากดั ของนักศกึ ษาในขอ้ 2.3 1.จดั เตรียมรายวชิ าปรบั พ้นื ฐานให้ผ้เู รียน 2.พัฒนาผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล ตามความแตกตา่ งด้านความรู้พื้นฐาน

9 2.5 แผนการรับนกั ศึกษาและผู้สาเรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี จานวนนกั ศกึ ษา 2561 จานวนนักศึกษาแตล่ ะปีการศึกษา 2565 2562 2563 2564 ชัน้ ปีที่ 1 30 30 ชน้ั ปที ี่ 2 - 30 30 30 30 30 30 30 30 60 รวม - 60 60 60 30 คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา 30 30 30 2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั (หนว่ ย:บาท) รายละเอียดรายรบั ปีงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 2565 ค่าบารุงการศกึ ษาและคา่ ลงทะเบยี น 1,800,000 3,600,000 5,400,000 7,200,000 9,000,000 เงินอดุ หนุนจากรฐั บาล 192,780 385,560 578,340 771,120 963,900 รวมรายรบั 1,992,780 3,985,560 5,978,340 7,971,120 9,963,900 2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หนว่ ย:บาท) หมวดเงิน ปีงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 2565 ก. งบดาเนนิ การ 1. ค่าใชจ้ า่ ยบคุ ลากร 1,600,000 1,756,000 1,921,000 2,100,000 2,286,000 2. ค่าใชจ้ ่ายดาเนนิ งาน (ไมร่ วม 3) 633,500 671,500 711,800 754,500 799,800 3. ทนุ การศกึ ษา 4. รายจา่ ยระดับมหาวิทยาลยั - - - - - (รวม ก) 314,592 783,348 1,253,148 1,628,988 1,792,548 2,548,092 3,210,848 3,885,948 4,483,488 4,878,348 ข. งบลงทนุ ค่าครุภณั ฑ์ 68,000 74,800 82,280 90,500 99,500 (รวม ข) 68,000 74,800 82,280 90,500 99,500 รวม (ก) + (ข) 2,616,092 3,285,648 3,968,228 4,573,988 4,977,848 จานวนนักศกึ ษา 30 60 60 60 60 คา่ ใชจ้ ่ายต่อหัวนักศึกษา 43,601.53 27,380.4 22,045.71 19,058.28 16,592.83 * หมายเหตุ จานวนนกั ศึกษารวมหลักสูตรใหม่ คา่ ใชจ้ ่ายต่อหวั นกั ศึกษา 25,735.75 บาทต่อปี

10 2.7 ระบบการศกึ ษา  แบบชน้ั เรยี น  แบบทางไกลผ่านส่ือสิง่ พมิ พ์เป็นหลกั  แบบทางไกลผา่ นส่อื แพรภ่ าพและเสียงเป็นส่ือหลกั  แบบทางไกลทางอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นสือ่ หลกั (E-learning)  แบบทางไกลทางอนิ เตอร์เนต  อื่นๆ (ระบ)ุ .................................................. 2.8 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบนั อดุ มศกึ ษา นักศึกษาที่เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาก่อน เม่ือเข้าศึกษาในหลักสูตรน้ี สามารถเทียบ โอนหนว่ ยกิตได้ ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2550 ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2550 และระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2552 3. หลักสตู ร และอาจารย์ผูส้ อน 3.1 หลักสตู ร 3.1.1 จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลกั สูตร 79 หน่วยกิต 3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 1. หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 15 หนว่ ยกิต 1.1 กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ 3 หน่วยกิต 1.2 กลมุ่ วชิ าภาษา 6 หนว่ ยกิต 1.3 กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 58 หน่วยกติ 2.1 กลุ่มวชิ าพื้นฐานวิชาชพี 6 หนว่ ยกติ 2.2 กล่มุ วชิ าชีพบงั คบั 29 หนว่ ยกติ 2.2.1 รายวชิ าทฤษฎี 18 หนว่ ยกติ 2.2.2 รายวิชาปฏบิ ตั ิ 11 หน่วยกิต 2.3 กล่มุ วชิ าชีพเลอื ก 16 หนว่ ยกติ 2.4 กลุ่มวิชาเสรมิ สร้างประสบการณ์ในวชิ าชีพ (รายวชิ าปฏิบัติ) 7 หน่วยกิต 6 หน่วยกติ 3. หมวดวชิ าเลือกเสรีไม่น้อยกวา่

11 3.1.3 รายวิชา

12 รายวิชา 1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 15 หนว่ ยกติ 1.1 กล่มุ วิชาสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ 3 หนว่ ยกติ ให้เลอื กศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 1.1.1 รายวชิ าสังคมศาสตร์ 01-110-010 สังคมกบั เศรษฐกิจ 3(3-0-6) Society and Economic 01-110-011 เศรษฐศาสตรท์ วั่ ไป 3(3-0-6) General Economics 1.1.2 รายวชิ ามนษุ ยศาสตร์ 01-210-001 สารนเิ ทศและการเขยี นรายงานทางวิชาการ 3(3-0-6) Information and Academic Report Writing 01-210-005 จิตวทิ ยาประยกุ ต์เพื่อการทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work 1.2 กลุ่มวิชาภาษา 6 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 1 3 (2-2-5) English for Communication 1 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 2 3 (2-2-5) English for Communication 2 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ 3 (2-2-5) English Conversation 1.3 กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์กับคณติ ศาสตร์ 6 หนว่ ยกิต โดยให้ศึกษา 3 หนว่ ยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้ 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills และใหเ้ ลือกศึกษาจานวน 3 หนว่ ยกิต จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี 09-121-015 หลกั สถติ ิ 3(2-2-5) Principles of Statistics 09-121-045 สถิติท่วั ไป 3(3-0-6) General Statistics 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 58 หน่วยกติ 3(3-0-6) 2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชพี 6 หน่วยกติ ให้ศกึ ษาจากรายวชิ าต่อไปนี้ 3(3-0-6) 09-111-141 แคลคูลสั สาหรบั วศิ วกร 1 Calculus for Engineers 1 09-410-141 ฟสิ กิ ส์สาหรบั วิศวกร 1 Physics for Engineers 1

13 2.2 กลมุ่ วิชาชีพบงั คับ 29 หน่วยกิต ให้ศึกษาจากรายวิชาต่อไปน้ี 2(2-0-4) 2.2.1 รายวชิ าทฤษฎี 18 หน่วยกิต 2(2-0-4) 02-281-301 การออกแบบระบบดิจิทลั ขน้ั สงู 3(3-0-6) Advanced Digital System Design 2(2-0-4) 02-281-302 ตวั ควบคมุ ตรรกะแบบโปรแกรมไดส้ าหรบั เทคโนโลยอี ัจฉริยะ Programmable Logic Controller for Smart Technology 2(2-0-4) 02-281-303 ระบบควบคุมสาหรบั อเิ ล็กทรอนกิ สอ์ จั ฉริยะ Control Systems for Smart Electronics 2(2-0-4) 02-281-304 การแกป้ ัญหาทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกสด์ ้วยซอฟแวร์ คอมพวิ เตอร์ 2(2-0-4) Electrical and Electronic Solutions with Computer 2(2-0-4) Softwares 1(1-0-3) 02-281-305 การประยุกตใ์ ชง้ านไมโครคอนโทรลเลอรส์ าหรับ อเิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ Microcontroller Applications for Smart Electronics 02-281-306 อเิ ล็กทรอนิกส์อตุ สาหกรรมและอิเลก็ ทรอนิกสก์ าลังสาหรับ อิเลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉริยะ Industrial Electronics and Power Electronics for Smart Electronics 02-281-407 การโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรับอเิ ล็กทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ Graphical Programming for Smart Electronics 02-281-408 มอเตอรไ์ ฟฟ้าอตุ สาหกรรมและการขบั เคลือ่ น Industrial Electrical Motors and Drives 02-281-409 สัมมนา Seminar 2.2.2 รายวิชาปฏบิ ตั ิ 11 หน่วยกิต 1(0-3-1) 09-410-142 ปฏิบตั ิการฟิสิกส์สาหรับวศิ วกร 1 1(0-3-1) 1(0-3-1) Physics for Engineers Laboratory 1 1(0-3-1) 02-281-307 ปฏิบตั กิ ารออกแบบระบบดิจิทลั ขั้นสงู Advanced Digital System Design Laboratory 02-281-308 ปฏบิ ัติการตวั ควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมไดส้ าหรับเทคโนโลยี อัจฉริยะ Programmable Logic Controller for Smart Technology Laboratory 02-281-309 ปฏบิ ตั กิ ารแก้ปัญหาทางไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ดว้ ย ซอฟแวรค์ อมพวิ เตอร์ Electrical and Electronic Solutions with Computer Softwares Laboratory

14 02-281-310 ปฏบิ ัตกิ ารประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรับ 1(0-3-1) 02-281-312 อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉริยะ 02-281-422 Microcontroller Applications for Smart Electronics 02-281-423 02-281-410 Laboratory ปฏบิ ัตอิ ิเลก็ ทรอนิกส์อตุ สาหกรรมและอิเลก็ ทรอนิกสก์ าลัง 1(0-3-1) สาหรับอิเลก็ ทรอนิกส์อัจฉริยะ Industrial Electronics and Power Electronics for Smart Electronics Laboratory ปฏบิ ัติการโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรับอเิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ 1(0-3-1) Graphical Programming for Smart Electronics Laboratory ปฏิบัติการมอเตอร์ไฟฟ้าอุตสาหกรรมและการขับเคล่ือน 1(0-3-1) Industrial Electrical Motors and Drives Laboratory โครงการอเิ ล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 3(0-6-9) Smart Electronics Project 2.3 กลุ่มวิชาชพี เลือก 16 หน่วยกติ ให้เลือกศกึ ษาจากรายวชิ าตอ่ ไปนี้ 3(3-0-6) 02-281-311 เทคโนโลยโี รงงานอัจฉริยะ 3(2-3-5) Smart Factory Technology 3(3-0-6) 02-281-412 เทคโนโลยสี มองกลฝงั ตัวอจั ฉริยะ 3(2-3-5) Smart Embedded Technology 2(2-0-4) 02-281-413 หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม 4.0 2(2-0-4) Robotics in Industrial 4.0 2(2-0-4) 02-281-414 เทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง 2(2-0-4) Internet of Things Technology 3(3-0-6) 02-281-415 ยานยนตไ์ ฟฟ้าอจั ฉริยะ 3(3-0-6) Smart Electric Vehicles 3(3-0-6) 02-281-416 ฟาร์มอจั ฉริยะ Smart Farms 02-281-417 แนวโน้มเทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉริยะ 1 Smart Electronics Technology Trends 1 02-281-418 แนวโนม้ เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ 2 Smart Electronics Technology Trends 2 02-281-419 เซน็ เซอร์อจั ฉรยิ ะ Smart Sensors 02-281-420 เทคโนโลยีโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ Smart Grid Technology 02-281-421 เมอื งอจั ฉริยะ Smart City

15 2.4 กลมุ่ วชิ าเสรมิ สร้างประสบการณ์ในวิชาชีพเป็นรายวชิ าปฏบิ ตั ิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 หน่วยกิต โดยให้ ศึกษา 1 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าต่อไปน้ี 02-000-301 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 1 (0-2-1) Preparation for Professional Experience และใหเ้ ลือกศึกษาจานวน 6 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าต่อไปนี้ 2.4.1 รายวชิ าแบบสหกิจศึกษา 02-000-302 สหกิจศกึ ษา 6(0-40-0) Cooperative Education 02-000-303 สหกจิ ศึกษาตา่ งประเทศ 6(0-40-0) International Cooperative Education 2.4.2 รายวิชาแบบฝึกงาน 02-000-304 ฝกึ งาน 3(0-20-0) Apprenticeship 02-000-305 ฝึกงานต่างประเทศ 3(0-20-0) International Apprenticeship 02-000-306 ปญั หาพิเศษจากสถานประกอบการ 3(0-6-3) Workplace Special Problem 02-000-308 การจดั ประสบการณต์ น้ หลกั สูตร 2(0-6-3) Pre-course Experience 02-000-309 ปฏบิ ัตงิ านภาคสนาม 2(0-6-3) Filed work 02-000-310 การติดตามพฤติกรรมการทางาน 2(0-6-3) Job Shadowing 02-000-311 การฝกึ เฉพาะตาแหน่ง 3(0-16-8) Practicum 02-000-312 การฝึกปฏบิ ตั จิ ริงภายหลงั สาเรจ็ การเรยี นทฤษฎี 6(0-40-0) Post-course Internship 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ ให้เลอื กศึกษาจากรายวชิ าที่เปิดสอนในหลักสูตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยไม่ซ้ากับ รายวิชาทศี่ กึ ษามาแล้ว และต้องไม่เปน็ รายวชิ าทีก่ าหนดใหศ้ ึกษาโดยไมน่ ับหนว่ ยกิต

16 3.1.4 แผนการศึกษาเสนอแนะ ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย กิต ตนเอง 01-XXX-XXX เลอื กจากกลมุ่ วิชาสังคมศาสตร์และ 33 0 6 มนษุ ยศาสตร์ 01-320-001 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 1 32 2 5 09-000-001 ทักษะการใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี 3 2 2 5 สารสนเทศ 09-111-141 แคลคูลสั สาหรับวิศวกร 1 33 0 6 02-281-304 การแก้ปัญหาทางไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2 2 0 4 ด้วยซอฟแวร์ คอมพวิ เตอร์ 02-281-309 ปฏิบตั ิการแกป้ ญั หาทางไฟฟ้าและ 10 3 1 อเิ ล็กทรอนกิ สด์ ว้ ยซอฟแวร์ คอมพวิ เตอร์ 02-281-306 อเิ ล็กทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรมและ 22 0 4 อิเลก็ ทรอนกิ สก์ าลงั สาหรับอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉรยิ ะ 02-281-312 ปฏบิ ตั ิอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ตุ สาหกรรมและ 10 3 1 อเิ ล็กทรอนกิ สก์ าลังสาหรับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อัจฉริยะ รวม 18 หนว่ ยกติ ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาที่ 2 หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศึกษาด้วย กิต ตนเอง 01-320-002 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร 2 3 22 09-410-141 ฟิสกิ สส์ าหรบั วิศวกร 1 3 30 5 09-410-142 ปฏบิ ัติการฟสิ ิกสส์ าหรบั วศิ วกร 1 1 03 6 02-281-303 ระบบควบคมุ สาหรับอเิ ล็กทรอนิกส์อจั ฉรยิ ะ 3 30 1 02-281-301 การออกแบบระบบดิจิทลั ขน้ั สูง 2 20 6 02-281-302 ตวั ควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมไดส้ าหรับ 2 20 4 เทคโนโลยอี จั ฉรยิ ะ 4 02-281-XXX เลือกจากกลมุ่ วชิ าชพี เลือก 3 XX 02-000-301 การเตรยี มความพรอ้ มฝึกประสบการณ์ 1 02 X วิชาชพี 1 02-281-307 ปฏบิ ัติการออกแบบระบบดจิ ทิ ลั ขนั้ สงู 1 03 02-281-308 ปฏิบตั ิการตัวควบคุมตรรกะแบบโปรแกรม 1 03 1 ไดส้ าหรบั เทคโนโลยีอจั ฉรยิ ะ 1 20 หนว่ ยกติ รวม ปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาฤดูร้อน หนว่ ย ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศกึ ษาดว้ ย 02-000-304 ฝึกงาน กติ ตนเอง รวม 3 0 20 0 3 หนว่ ยกติ

17 ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาที่ 1 หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วย ตนเอง 09-121-XXX เลอื กจากกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ บั 3 XX X 02-281-305 คณติ ศาสตร์ 2 การประยุกตใ์ ช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ 20 4 02-281-310 สาหรบั อเิ ล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ 1 03 1 02-281-407 ปฏิบัตกิ ารประยกุ ต์ใช้งาน 2 02-281-422 ไมโครคอนโทรลเลอรส์ าหรบั 1 20 4 02-281-409 อเิ ล็กทรอนิกส์อจั ฉรยิ ะ 1 02-281-XXX การโปรแกรมแบบกราฟกิ สาหรับ 2 03 1 02-281-XXX อเิ ลก็ ทรอนิกส์อจั ฉริยะ 3 XXX-XXX-XXX ปฏบิ ตั ิการโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรบั 3 10 3 อเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉรยิ ะ 20 4 สัมมนา 23 5 xx x เลอื กจากกลมุ่ วิชาชพี เลือก 18 หน่วยกิต เลอื กจากกลมุ่ วิชาชีพเลอื ก เลอื กเสรี รวม ปีท่ี 2 / ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ศกึ ษาด้วย 2 20 ตนเอง 02-281-408 มอเตอรไ์ ฟฟ้าอตุ สาหกรรมและ การขับเคล่อื น 4 02-281-423 ปฏิบตั ิการมอเตอรไ์ ฟฟ้าอุตสาหกรรม และการขบั เคลอ่ื น 1 03 1 02-281-410 โครงการอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ัจฉริยะ 02-281-XXX เลอื กจากกลมุ่ วชิ าชีพเลือก 3 06 9 02-281-XXX เลือกจากกลมุ่ วชิ าชพี เลือก 02-281-XXX เลือกจากกลมุ่ วชิ าชีพเลอื ก 2 20 4 xx-xxx-xxx เลอื กเสรี 3 30 6 รวม 3 23 5 3 xx x 17 หน่วยกิต ปีท่ี 2 / ภาคการศึกษาฤดรู ้อน หน่วยกติ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ศึกษาด้วย ตนเอง 02-000-311 การฝึกเฉพาะตาแหน่ง 3 0 16 รวม 3 หนว่ ยกติ 8

18 3.1.5 คาอธบิ ายรายวิชา 01-110-010 สังคมกับเศรษฐกิจ 3(3-0-6) Society and Economic ความหมาย ขอบเขต และวิธีวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและ เศรษฐกิจ วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและความรู้พ้ืนฐานทางเศรษฐศาสตร์ การ กาหนดราคา ระบบการผลิต ตลาด ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันทางเศรษฐกิจ การพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมท่มี ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงเศรษฐกจิ และสังคมแบบยัง่ ยืน Concept of social science methodology, interrelationship between society and economics, evolution of economic systems, and economic fundamentals, price mechanism, market and human economic institutions, socio-economic development and its impacts on economic and economic ores sour 01-110-011 เศรษฐศาสตรท์ ั่วไป 3(3-0-6) General Economics ความหมาย ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ การผลิต พฤติกรรมของผู้บริโภค อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพของตลาด การตลาดและการแข่งขัน รายได้ประชาชาติ การเงิน การธนาคาร และการคลัง การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนปัญหาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศไทย Concepts and scope of economics, production, consumer behavior demand, supply and market equilibrium, marketing and competition, principles of national income, finance and banking, public finance, international economic, economic and social development, and socio- economic problems in Thailand 01-210-001 สารนเิ ทศและการเขียนรายงานทางวชิ าการ 3(3-0-6) Information and Academic Report Writing สารสนเทศ รายงานทางวิชาการ แหล่งสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศและบริการ สารสนเทศ การสืบค้นและรวบรวมบรรณานุกรม การประเมิน การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์และการอ้างองิ การจัดทารูปเลม่ รายงานทางวิชาการ Information, academic report writing, information source, information service and resource, information and bibliography retrieval, evaluating, analyzing, synthesizing and citation, compilation of papers with academic report writing standards

19 01-210-005 จติ วทิ ยาประยุกต์เพื่อการทางาน 3(3-0-6) Applied Psychology to Work พฤติกรรมการทางาน การทางานเป็นทีม การสื่อสารในการทางาน แรงจูงใจ ในการ ทางาน ภาวะผู้นา วัฒนธรรมองค์การ สภาพแวดล้อมและสุขภาพใน การทางาน การ บริหารความขดั แย้ง Behavior of working, team work, communication in work, motivation, leadership, corporate culture, environment and health in work and conflict management 01-320-001 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 1 3(2-2-5) English for Communication 1 คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ความสนใจ การสนทนาสั้นๆ ในสถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความส้ันๆ การฟังและ อ่านข้อความสน้ั ๆ จากส่ือต่าง ๆ Vocabulary, expressions and language patterns for giving personal information, routines and interests, short conversations in various situations, writing short statements, and listening to and reading short and simple texts 01-320-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5) English for Communication 2 คาศัพท์ สานวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้เหตุผล การสนทนาอย่าง ต่อเนื่องในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน การเขียนบรรยายส้ัน ๆ การฟังและ การอ่านเน้อื หาในเรื่องทเี่ กีย่ วขอ้ งจากสื่อ Vocabulary, expressions and language patterns used in daily life for telling stories, giving explanations and reasons, exchanging information continuously, writing short and connected descriptions, listening to and reading longer texts 01-320-003 สนทนาภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) English Conversation คาศพั ท์ สานวน และโครงสร้างภาษาในการสนทนาตามสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเหมาะสมกับ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา Vocabulary, expressions and language structures appropriately used in various situations according to the native speaker’s culture

20 09-000-001 ทักษะการใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ 3(2-2-5) Computer and Information Technology Skills ความรู้พ้ืนฐานการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมสานักงาน ได้แก่ โปรแกรม ประมวลผลคา การใช้โปรแกรมตารางคานวณ การใช้โปรแกรมนาเสนอ การใช้ อินเทอร์เน็ตและการสื่อสารสังคมออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการ ส่อื สารขอ้ มูล จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่องเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ และความรูท้ ัว่ ไปเกย่ี วกับโลกออนไลน์ Computing fundamentals, key application such as word processor (Microsoft Word), Spreadsheets (Microsoft Excel), presentation (Microsoft PowerPoint) living online such as computer network, communication technology, electronic mail for inside and outside organization, internet explorer and general knowledge about online living 09-121-015 หลักสถิติ 3(2-2-5) Principles of Statistics ความรู้พื้นฐานทางสถิติ ทฤษฎีความน่าจะเป็น การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ ต่อเนื่องและต่อเนื่อง การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงของตัวอย่าง การประมาณ ค่าพารามิเตอร์ การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การ วิเคราะห์การถดถอยและสหสมั พนั ธอ์ ย่างง่าย Basic concepts of statistics, probability theory, probability distribution of discrete and continuous, random variable sampling and sampling distribution, estimation, hypothesis testing, one way analysis of variance, simple correlation and regression analysis 09-121-045 สถติ ทิ ่ัวไป 3(3-0-6) General Statistics สถิติเชิงพรรณนา ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจง ตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของตวั อยา่ ง การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐานของประชากรกลุ่มเดียว และการสอบไคสแควร์ Descriptove statistics, probability, random variable, probability distribution of random variable, sampling distribution, estimation, hypothesis testing of one population, Chi-squared test

21 09-111-141 แคลคลู สั สาหรับวิศวกร 1 3(3-0-6) Calculus for Engineers 1 ฟังก์ชัน ลิมิตและความต่อเน่ือง การหาอนุพันธ์ รูปแบบยังไม่กาหนด การประยุกต์ของ อนุพันธ์ การหาปริพันธ์ เทคนิคของการหาปริพันธ์ การประยุกต์ของปริพันธ์จากัดเขต พชี คณติ เวกเตอร์ในสามมติ ิ Functions limits and continuity, differentiation, indeterminate forms, applications of differentiation, integration, techniques of integration, applications of definite integral, algebra of vectors in three - dimensional space 09-410-141 ฟิสกิ สส์ าหรบั วิศวกร 1 3(3-0-6) Physics for Engineers 1 เวกเตอร์ แรงและการเคลื่อนที่ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติเชิงกลของ สาร การเคลื่อนท่ีของวัตถุ แข็งเกร็ง การเคลื่อนท่ีแบบออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล ความร้อนและการถ่ายโอนความร้อนคลน่ื เสยี ง Vectors, force and motion moment and energy, particle system, mechanical properties of matter, rigid body motion, oscillatory motion, fluid machanics,heat and heat transfer,and sound waves 02-281-301 การออกแบบระบบดจิ ิทัลขั้นสงู 2(2-0-4) Advanced Digital System Design การออกแบบระบบดิจิทัลโดยใช้ภาษาบรรยายฮาร์ดแวร์ (VHDL) พื้นฐานของการแทน และการแปลงเลขฐาน พีชคณิตบูลลีน ผังคาร์โนห์ เทคนิคการลดรูปฟังก์ชั่น การ ออกแบบวงจรคอมไบเนช่ันและวงจรซีเควนเชียลด้วย VHDL เครื่องสถานะจากัดแบบ ซิงโครนสั /อะซงิ โครนัส การใชง้ านโปรแกรมชว่ ยในการออกแบบและอุปกรณ์โปรแกรมได้ (CPLD/FPGA) Digital system design using a hardware description language (VHDL), basic of number representation and conversion, Boolean algebra, Karnaugh maps, function minimization techniques, combinational circuit design and sequential circuit design with VHDL, and synchronous /asynchronous finite state machines using of programmable logic devices (CPLD/FPGA) with CAD tools

22 02-281-302 ตัวควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมได้สาหรบั เทคโนโลยีอัจฉรยิ ะ 2(2-0-4) 02-281-303 Programmable Logic Controller for Smart Technology เทคโนโลยีของตัวควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมได้ (PLC) โครงสร้างของ PLC อุปกรณ์ อินพุตและเอาต์พุต การเชื่อมต่อและการประมวลผล วิธีและเทคนิคการเขียนโปรแกรม PLC, ฟิลด์บัส SCADA/HMI การประยุกต์ใช้ควบคุมอินเวอร์เตอร์ นิวแมติกส์และไฮดรอ ลิกส์ในงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่ (อุตสาห กรรม 4.0) เชิญผู้เช่ียวชาญจาก ภาคอตุ สาหกรรมมาให้ความรกู้ ารใชง้ าน PLC ในงานอุตสาหกรรม Programmable Logic Controller (PLC) technologies, PLC structure, input and output devices, interface and processing, PLC programming method and techniques, fieldbus, SCADA/HMI, control applications of inverter, pneumatics and hydraulics in modern industrial (industrial 4.0), invite the experts from industries to instructive on a topic of PLC application in industries ระบบควบคุมสาหรบั อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉริยะ 3(3-0-6) Control Systems for Smart Electronics ระบบควบคุมแบบวงรอบเปิดและวงรอบปิด วิธีการควบคุม พีไอดี การควบคุมแบบฟัซซ่ี ลอจิก โครงข่ายประสาทเทียม การใช้งานสาหรับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ การจาลองการ ทางานด้วยคอมพวิ เตอร์ Open loop and closed-loop control systems, control methods, PID (Proportional-Integral-Derivative), fuzzy logic control, neural network, applications for smart electronics, computer simulations 02-281-304 การแกป้ ญั หาทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ด้วยซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ 2(2-0-4) Electrical and Electronic Solutions with Computer Softwares การใช้ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาตัวแปรเชิงซ้อน เวกเตอร์ การแปลงลาปลาซ อนุกรมฟูริเยร์และการแปลงฟูริเยร์ การสร้างแบบจาลองของระบบไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์การทางานของระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ด้วยซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์ การแกป้ ญั หาระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ดว้ ยซอฟแวรค์ อมพวิ เตอร์ Computer softwares for solutions of complex number, vector, laplace transform, fourier series and fourier transform, electrical and electronic systems modeling, electrical and electronic systems analysis with computer softwares, electrical and electronic solutions with computer softwares

23 02-281-305 การประยุกตใ์ ช้งานไมโครคอนโทรลเลอรส์ าหรับอเิ ลก็ ทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะ 2(2-0-4) Microcontroller Applications for Smart Electronics ความรู้พื้นฐานของไมโครคอนโทรลเลอร์ โครงสร้างภายใน การเช่ือมต่อ และการ ติดต่อสื่อสาร วงจรอนิ พตุ และเอาตพ์ ุต ภาษาและโครงสร้างโปรแกรม ชนิดข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ ตัวดาเนินการ โครงสร้างการควบคมุ ฟังก์ช่ัน การเรียกใช้ไลบราร่ี การใช้งาน ฟัซซี่ลอจิก และโ คร งข่ายปร ะสาทเที ยมในไมโ ครคอนโ ทรลเลอ ร์ การน า ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ปใชส้ าหรบั โครงการอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉรยิ ะ Fundamentals of microcontroller, the internal structure, interfacing and communications, input and output circuits, language and program structure, data types, variables and constants, operators, control structures, functions, library usage, fuzzy logic control and neural network applications for microcontroller, microcontroller implementation for smart electronics projects 02-281-306 อเิ ลก็ ทรอนิกส์อุตสาหกรรมและอเิ ล็กทรอนกิ ส์กาลังสาหรับ 2(2-0-4) อเิ ล็กทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ Industrial Electronics and Power Electronics for Smart Electronics คุณสมบัติและการประยุกต์ใช้งานของอุปกรณ์เฉื่อยงานและอุปกรณ์ไวงาน ออปแอมป์ ออพโตคพั เปลอร์ เซ็นเซอร์ วงจรกรอง วงจรขยาย วงจรเปรียบเทียบ วงจรป้องกัน วงจร กาเนิดสัญญาณ โซลิดสเตตรีเลย์ หม้อแปลงและตัวเหนี่ยวนาความถี่สูง วงจรแปลงผัน กาลังไฟสลับ-ไฟตรง วงจรแปลงผันกาลังไฟตรง-ไฟตรง วงจรแปลงผันกาลังไฟสลับ-ไฟ สลบั วงจรแปลงผันกาลงั ไฟตรง-ไฟสลบั การเช่อื มต่อวงจรกาลังกับไมโครคอนโทรลเลอร์ การประยุกต์ใชใ้ นงานอิเล็กทรอนกิ ส์อจั ฉรยิ ะ Characteristics and applications of passive and active components, op-amps, opto-couplers, sensors, filters, amplifiers, comparators, protecting circuits, signal generators, solid-state relays, high frequency transformers and inductors, AC-DC converters (rectifiers),DC-DC converters (choppers), AC-AC converters (cycloconverters, ac controllers), DC-AC converters (inverters), power circuit and microcontroller interfacing, applications in smart electronics

24 02-281-407 การโปรแกรมแบบกราฟิกสาหรับอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ 2(2-0-4) Graphical Programming for Smart Electronics การเขียนโปรแกรมแบบกราฟิก การประมวลผลสัญญาณ การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ การประมวลทางสถิติ การควบคุมแบบวงรอบปิด การควบคุมแบบฟัซซี่ลอจิก โครงข่าย ประสาทเทียม การนาเสนอข้อมลู ผลลพั ธ์ การออกแบบหน้าจอ การควบคุมเครื่องวัดด้วย GPIB พอร์ตอนกุ รมและอีเทอร์เน็ต การควบคุม PLC การออกแบบงานควบคุมด้วย DAQ การออกแบบเครื่องวัดเสมือน เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมมาให้ความรู้การใช้ งานการเขียนโปรแกรมแบบกราฟิกในงานอตุ สาหกรรม Graphical programming, signal processing, mathematical analysis, statistical analysis, closed-loop control, fuzzy logic control, neural network, result data presentation, front panel designing, instrument control with GPIB (General purpose interface bus), serial port and ethernet, PLC (Programmable Logic Controller) control, control application designing with DAQ (Data acquisition) ,virtual instrument designing, invite the experts from industries to instructive on a topic of graphical programming application in industries 02-281-408 มอเตอร์ไฟฟ้าอตุ สาหกรรมและการขบั เคลือ่ น 2(2-0-4) Industrial Electrical Motors and Drives โครงสร้าง วงจรสมมูล คุณสมบัติ หลักการควบคุมและขับเคล่ือนของมอเตอร์ไฟฟ้า กระแสตรง มอเตอร์เหนี่ยวนา มอเตอร์ซิงโครนัสแม่เหล็กถาวร มอเตอร์ไร้แปรงถ่าน มอเตอร์แบบสเต็ป มอเตอร์แบบเชิงเส้น การจาลองการทางานด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ Structures, equivalent circuits, characteristics, control and drive principles of DC motors, induction motors, permanent magnet synchronous motors, brushless motors, stepper motors, linear motors, computer simulations 02-281-409 สัมมนา 1(1-0-3) Seminar ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะหรือปัญหาทาง อุตสาหกรรมที่สนใจ ออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางานและเสนอผลงานการ ดาเนินการ Research and data collection of smart electronics or interesting industrial problem, design, work schedule and presentation

25 09-410-142 ปฏบิ ัตกิ ารฟสิ ิกสส์ าหรับวิศวกร 1 1(0-3-1) Physics for Engineers Laboratory 1 วชิ าบงั คบั ก่อน : 09-410-141 ฟสิ ิกส์สาหรับวิศวกร 1 หรอื เรยี นควบค่กู ัน Prerequisite : 09-410-141 Physics for Engineers 1 or concurrent enrollment ปฏิบัติการเกี่ยวกับแรงและการเคล่ือนที่ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติ เชิงกลของสาร การเคล่ือนที่ของวัตถุ แข็งเกร็ง การเคล่ือนที่แบบออสซิลเลต กลศาสตร์ ของไหล ความร้อนและการถา่ ยโอนความร้อน คล่ืนเสียง Experiment on force and motion, moment and energy, particle system, mechanical properties of matter, rigid body motion, oscillatory motion, fluid machanics, heat and heat transfer, and sound waves 02-281-307 ปฏิบตั กิ ารออกแบบระบบดิจิทัลข้นั สงู 1(0-3-1) Advanced Digital System Design Laboratory ปฏิบตั ิเกย่ี วกบั วชิ าการออกแบบระบบดจิ ิทัลขั้นสูง Experiments corresponding to material taught in advanced digital system design 02-281-308 ปฏิบตั ิการตัวควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมได้สาหรับเทคโนโลยี 1(0-3-1) อัจฉริยะ Programmable Logic Controller for Smart Technology Laboratory ปฏบิ ัติเกย่ี วกับวิชาตัวควบคุมตรรกะแบบโปรแกรมไดส้ าหรับเทคโนโลยอี ัจฉริยะ Experiments corresponding to material taught in programmable logic controller for smart technology 02-281-309 ปฏบิ ัตกิ ารแกป้ ัญหาทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ด้วยซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์ 1(0-3-1) Electrical and Electronic Solutions with Computer Softwares Laboratory ปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั วิชาการแก้ปัญหาทางไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกสด์ ว้ ยซอฟแวรค์ อมพิวเตอร์ Experiments corresponding to material taught in electrical and electronic solutions with computer softwares

26 02-281-310 ปฏบิ ัติการประยกุ ต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1(0-3-1) อจั ฉริยะ Microcontroller Applications for Smart Electronics Laboratory ปฏิบัตเิ กย่ี วกับวชิ าการประยุกตใ์ ช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรับอเิ ลก็ ทรอนิกส์ อจั ฉริยะ Experiments corresponding to material taught in microcontroller applications for smart electronics 02-281-312 ปฏิบตั ิอิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรมและอเิ ลก็ ทรอนิกส์กาลังสาหรบั 1(0-3-1) อิเลก็ ทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ Industrial Electronics and Power Electronics for Smart Electronics Laboratory ปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับวชิ าอิเลก็ ทรอนิกส์อุตสาหกรรมและอิเล็กทรอนกิ ส์กาลังสาหรับ อิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ Experiments corresponding to material taught in industrial electronics and power electronics for smart electronics 02-281-422 ปฏบิ ัติการโปรแกรมแบบกราฟกิ สาหรับอิเล็กทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะ 1(0-3-1) Graphical Programming for Smart Electronics Laboratory ปฏิบตั เิ กย่ี วกบั วชิ าการโปรแกรมแบบกราฟกิ สาหรับอิเล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ Experiments corresponding to material taught in graphical programming for smart electronics 02-281-423 ปฏบิ ัติการมอเตอร์ไฟฟา้ อตุ สาหกรรมและการขบั เคลื่อน 1(0-3-1) Industrial Electrical Motors and Drives Laboratory ปฏิบัติเกย่ี วกับวิชามอเตอรไ์ ฟฟ้าอุตสาหกรรมและการขับเคลื่อน Experiments corresponding to material taught in industrial electrical motors and drives

27 02-281-410 โครงการอิเลก็ ทรอนิกส์อัจฉริยะ 3(0-6-9) Smart Electronics Project วิจัยในหัวข้อท่ีสนใจหรือปัญหาจากภาคอุตสาหกรรมด้านอิเล็กทรอนิกส์อัจริยะ นาเสนอ ผลงานและสอบปากเปลา่ ตอ่ คณะกรรมการสอบโครงการ Research on the topic of interest or industrial problem in smart electronics, oral presentation and defense examination of his/her project to the committees 02-281-311 เทคโนโลยีโรงงานอัจฉรยิ ะ 3(3-0-6) Smart Factory Technology องค์ประกอบและโครงสร้างของโรงงานอัจฉริยะ การใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติใน โรงงานอัจฉริยะ ระบบเครือข่ายในโรงงานอัจฉริยะ ระบบแจ้งเตือนในโรงงานอัจฉริยะ การออกแบบ HMI การบริหารจดั การขอ้ มูลในโรงงานอจั ฉริยะ Elements and structures of smart factory, using of automation devices in smart factory, networks in smart factory, alarm system in smart factory, human machine interface (HMI) design, information management smart factory 02-281-412 เทคโนโลยีสมองกลฝังตัวอัจฉรยิ ะ 3(2-3-5) Smart Embedded Technology ศึกษาเก่ียวกับไมโครคอนโทรลเลอร์แบบฝังตัว โปรแกรมแบบฝังตัว ระบบปฏิบัติการ เวลาจริง การคานวณพลังงานต่า การออกแบบระบบเชื่อถือ วิธีการออกแบบ เครื่องมือ เสรมิ หน่วยประมวลผลแบบฝังตัวหลายหน่วย ระบบฝังตัวบนเครือข่าย การเช่ือมต่อและ ระบบสัญญาณผสม การใชง้ านฟซั ซี่ลอจกิ และโครงขา่ ยประสามเทยี มในระบบสมองกลฝัง ตัว การนาสมองกลฝงั ตัวไปประยุกต์ใชใ้ นงานอิเล็กทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ เชิญผู้เชี่ยวชาญจาก ภาคอตุ สาหกรรมมาใหค้ วามร้กู ารใชง้ านเทคโนโลยสี มองกลฝงั ตวั ในงานอตุ สาหกรรม Introduction to embedded microcontrollers, embedded programs, real- time operating systems, low-power computing, reliable system design, design methodologies, support tools, embedded multiprocessors, networked embedded systems, interfacing and mixed-signal systems, fuzzy logic control and neural network applications for embedded systems, embedded applications in smart electronics, invite the experts from industries to instructive on a topic of embebded technology application in industries

28 02-281-413 ห่นุ ยนต์ในงานอตุ สาหกรรม 4.0 3(3-0-6) Robotics in Industrial 4.0 ประเภทและโครงสร้างการทางานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม พ้ืนฐานการออกแบบระบบ และโปรแกรมของหุ่นยนต์ อุปกรณ์ตรวจจับและตัวขับเคลื่อนของหุ่นยนต์ การโปรแกรม หนุ่ ยนต์ การใชง้ านห่นุ ยนต์ในอุตสาหกรรม 4.0 เชิญผู้เช่ียวชาญจากภาคอุตสาหกรรมมา ให้ความรกู้ ารใชง้ านหุน่ ยนต์ในงานอุตสาหกรรม 4.0 Types and structures of industrial robotics, basic system design and program of robotics, robotics sensors and actuators, robotics programming, robotics applications with industrial 4.0, invite the experts from industries to instructive on a topic of robotics application in industrial 4.0 02-281-414 เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพส่งิ 3(2-3-5) Internet of Things Technology ศึกษาเกยี่ วกบั การนาเอาเทคโนโลยอี ินเทอรเ์ น็ตประยุกตใ์ ช้ในงานด้านต่างๆ ข้อจากัดของ ระบบเครือข่ายไร้สายและเครือข่ายโทรศัพท์ที่มีต่ออินเทอร์เน็ตออฟติง เคร่ืองมือวัด พ้ืนฐานในการตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานในเวลาจริงของเครือข่ายตามแพ็คเก็ต แนวทางการออกแบบระบบฝังตัวเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย เชิญผู้เช่ียวชาญจาก ภาคอุตสาหกรรมมาให้ความรู้การใช้งานเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งในงาน อตุ สาหกรรม Introduction to general internet as well as Internet of things work, constraints and opportunities of wireless and mobile networks for internet of things, basic measurement tools to verify the real-time performance of packet based networks, design guidelines in interconnected wireless embedded sensor networks, invite the experts from industries to instructive on a topic of Internet of things technology application in industries 02-281-415 ยานยนต์ไฟฟ้าอัจฉริยะ 2(2-0-4) Smart Electric Vehicles ชนิดของยานยนต์ไฟฟ้า มาตรฐานยานยนต์ไฟฟ้า เทคโนโลยีมอเตอร์สาหรับยานยนต์ ไฟฟ้า เทคนิคการขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้า การเบรกแบบรีเจนเนอเรทีฟ แบตเตอรี่ สาหรับยานยนต์ไฟฟ้า เทคนิคการประจุแบตเตอรี่ เซ็นเซอร์และการควบคุมสาหรับยาน ยนต์ไฟฟ้าอัจฉรยิ ะ Electric vehicle types, electric vehicles standard, motor technologies for electric vehicles, electric motor drive techniques, regenerative braking, batteries for electric vehicles, battery charging techniques, sensor and control for smart electric vehicles

29 02-281-416 ฟาร์มอจั ฉรยิ ะ 2(2-0-4) Smart Farms อุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลการเกษตรจากระยะใกล้ภายในฟาร์ม และระยะไกลด้วยอากาศ ยานและดาวเทียม สถานีตรวจอากาศ ระบบ GPS และ GIS การประยุกต์ใช้ระบบการ เช่ือมต่อสรรพส่ิงภายในฟาร์ม โปรแกรมประยุกต์ท่ีใช้ในฟาร์ม ระบบประมวลผลและ วิเคราะห์ภาพถ่ายพืช สัตว์และดิน เพ่ือการตัดสินใจและควบคุม เคร่ืองจักรกลเกษตรที่มี ความแม่นยาสงู Near-field equipment monitoring for agricultural information with in the farm and long distance form aircraft and satellite, weather station, GPS and GIS system, applications of Internet of Things (IoT) in the farm, application programs for the farm, process and analysis system for picture of plants, animals and soil to make decisions and controls, high precision agricultural machinery 02-281-417 แนวโนม้ เทคโนโลยอี ิเล็กทรอนกิ ส์อจั ฉริยะ 1 2(2-0-4) Smart Electronics Technology Trends 1 แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ โรงงานอัจฉริยะ ค้นคว้าและ อภปิ รายในหัวข้อที่สนใจ การบรรยายจากวิทยากรที่มีประสบการณ์ การศึกษาดูงานจาก สถานประกอบการ Trends in smart electronics, research and discuss in the interested topic, experienced expert lecturing, enterprise visits 02-281-418 แนวโน้มเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ 2 2(2-0-4) Smart Electronics Technology Trends 2 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ โรงงานอัจฉริยะ ค้นคว้าและ อภิปรายในหวั ขอ้ ที่สนใจ การบรรยายจากวิทยากรที่มีประสบการณ์ การศึกษาดูงานจาก สถานประกอบการ Trends in smart electronics, research and discuss in the interested topic, experienced expert lecturing, enterprise visits 02-281-419 เซน็ เซอร์อจั ฉรยิ ะ 3(3-0-6) Smart Sensors เซ็นเซอร์กระแสไฟฟ้า เซ็นเซอร์แรงดันไฟฟ้า เซ็นเซอร์กาลังไฟฟ้า เซ็นเซอร์แสง เซ็นเซอร์อุณหภูมิ เซ็นเซอร์ความช้ืน เซ็นเซอร์แรงทางกล เซ็นเซอร์การเคล่ือนที่ เซ็นเซอร์การตาแหน่ง เซ็นเซอร์ทางชีวภาพ การปรับสภาพสัญญาณ การแปลงสัญญาณ การเช่ือมต่อเซน็ เซอรก์ ับโลกภายนอก การประยกุ ตใ์ ช้ในงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉรยิ ะ Current sensors, voltage sensors, electrical power sensors, temperature sensors, humidity sensors, mechanical force sensors, motion sensors, position sensors, biosensors, signal conditioning, signal converting, sensor interfaing with outside world, applications for smart electronics

30 02-281-420 เทคโนโลยโี ครงขา่ ยไฟฟ้าอัจฉริยะ 3(3-0-6) Smart Grid Technology แหล่งกาเนิดพลังงานทดแทน เทคโนโลยีการเก็บพลังงาน ระบบแหล่งผลิตไฟฟ้ากระจาย ตัว โครงข่ายไฟฟ้าที่ฟื้นฟูตัวเองได้ ระบบบริหารจัดการด้านความต้องการ การตรวจวัด และสั่งการจากระยะไกล ระบบอ่านมิเตอร์อัตโนมัติ ระบบมิเตอร์อัจฉริยะ การใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในโครงขา่ ยไฟฟ้า Renewable energy sources, energy storage technologies, distributed generation (DG), self-healing grid, demand side management (DSM), remote monitoring and controls, automatic meter reading (AMR), advanced metering infrastructure (AMI), information communication technology (ICT) application in smart grid 02-281-421 เมอื งอัจฉรยิ ะ 3(3-0-6) Smart City นิยามและความหมายของเมืองอัจฉริยะ ส่วนประกอบของเมืองอัจฉริยะ ระบบขนส่ง มวลชนอจั ฉรยิ ะ ระบบชาระเงินอัจฉรยิ ะ ระบบจราจรอจั ฉริยะ ระบบการจัดการพลังงาน อัจฉริยะ เซ็นเซอร์อัจฉริยะ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ การสื่อสารในเมืองอัจฉริยะ การใช้ งานเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งและข้อมูลขนาดใหญ่ในเมืองอัจฉริยะ การใช้งาน ข้อมลู ขนาดใหญ่ในเมืองอัจฉรยิ ะ Definition and meaning of smart cities, component of smart cities, smart mass transportation systems, smart payment system, smart traffic system, smart energy management systems, smart sensors, smart grid, smart communition for smart cities, applications of Internet Of Think (IOT) and big data in smart cities

31 02-000-301 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณ์วชิ าชพี 1(0-2-1) Preparation for Professional Experience ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ความสาคัญ ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หลักการเขียนจดหมายสมัครงาน การเลือกสถาน ประกอบการ หลักการสัมภาษณ์งานอาชีพ วัฒนธรรมองค์กร การพัฒนาบุคลิกภาพ จรรยาบรรณวิชาชีพ คุณธรรมจริยธรรม กฎหมายแรงงาน การประกันสังคม กิจกรรม 5 ส ระบบมาตรฐานการประกันคุณภาพและความปลอดภัยในการทางาน ความรู้ เบ้ืองต้นเก่ียวกับการเป็นผู้ประกอบการ การใช้งานภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร การ เขียนรายงาน การนาเสนอผลงาน ทักษะการวางแผน ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและการตัดสินใจ ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสืบคน้ ขอ้ มลู หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเปน็ S หรือ U Basic knowledge of forms and process of professional experience, importance of professional experience, application letters preparation, workplace selections, job interview, organizational culture, personality development, professional morality, virtue ethics, labor laws, social security, 5S’s Keys, systems of quality assurance and safety standards at work, English communication in the workplace, report writing, presentations, planning skills, analytical skills, immediate problem solving skills, decision making, basic concepts of information technology, IT laws, and information retrieval Remarks : S/U assessment

32 02-000-302 สหกจิ ศึกษา 6(0-40-0) Cooperative Education วชิ าบังคบั กอ่ น : 02-000-301 การเตรยี มความพร้อมฝึกประสบการณว์ ิชาชพี Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานเสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลาของสถานท่ี ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศึกษา เพื่อเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน ทั้งรูปแบบของงานประจา หรือโครงงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการ บริหารงานบุคคลของสถานท่ีปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีหน้าที่ รบั ผิดชอบแน่นอน นักศึกษาตอ้ งรับผดิ ชอบงานท่ีได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการ อย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้คาปรึกษาระหว่าง ปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ตลอด ระยะเวลาปฏิบัติงาน ทาให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงจากการปฏิบัติงาน เกิดการ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความพร้อมในการทางาน และสามารถทางานได้ทันทีหลังสาเร็จ การศึกษา หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S หรือ U Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 16-week minimum of placement in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, an opportunity to enhance a student’s in-school learning while developing greater awareness and understanding of the real world of work to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment immediately after graduation Remarks : S/U assessment

33 02-000-303 สหกิจศึกษาตา่ งประเทศ 6(0-40-0) International Cooperative Education วชิ าบงั คับก่อน : 02-000-301 การเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานที่ปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลาของสถานที่ ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศึกษา เพ่ือเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน ทั้งรูปแบบของงานประจา หรือโครงงาน เป็นระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานใน ต่างประเทศไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของ สถานที่ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน มีหน้าท่ีรับผิดชอบแน่นอน นักศึกษา ต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มี อาจารยน์ เิ ทศและผูน้ เิ ทศงานทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและ การประเมินผลการปฏบิ ัติงานอย่างเปน็ ระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบตั งิ าน ทาให้นักศึกษา ไดร้ บั ประสบการณ์จรงิ จากการปฏิบัติงาน เกิดการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความพร้อมใน การทางาน และสามารถทางานไดท้ นั ทหี ลังสาเร็จการศึกษา หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเป็น S หรอื U Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 16-week minimum of placement, with at least 12-week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, an opportunity to enhance a student’s in-school learning while developing greater awareness and understanding of the real world of work to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment immediately after graduation Remarks : S/U assessment

34 02-000-304 ฝกึ งาน 3(0-20-0) Apprenticeship วิชาบงั คบั กอ่ น : 02-000-301 การเตรียมความพร้อมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการเสมือนเป็นพนักงานชั่วคราวเต็มเวลาของสถานที่ ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามที่ตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ความสามารถของ นักศึกษา เพื่อเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานท่ีปฏิบัติงานตลอด ระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมายจากสถาน ประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้ คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็น ระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบัตงิ าน เพ่อื เปน็ การเตรยี มนกั ศึกษาสงู่ านทน่ี กั ศกึ ษาสนใจและ พัฒนาทักษะวิชาชีพสาหรบั การทางาน หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S หรือ U Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum of placement in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment Remarks : S/U assessment

35 02-000-305 ฝกึ งานตา่ งประเทศ 3(0-20-0) International Apprenticeship วิชาบังคบั ก่อน : 02-000-301 การเตรียมความพร้อมฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience ปฏิบัติงานในสถานท่ีปฏิบัติงานการนอกประเทศ เสมือนเป็นพนักงานช่ัวคราวเต็มเวลา ของสถานที่ปฏิบัติงาน ในตาแหน่งตามท่ีตรงกับวิชาชีพและเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษา เพ่ือเช่ือมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการปฏิบัติงาน เป็น ระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยต้องเป็นการปฏิบัติงานในต่างประเทศไม่น้อย กวา่ 6 สปั ดาห์ ปฏิบัติตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานท่ีปฏิบัติงานตลอด ระยะเวลาการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้องรับผิดชอบงานท่ีได้รับมอบหมายจากสถาน ประกอบการอย่างเต็มความสามารถ มีอาจารย์นิเทศและผู้นิเทศงานทาหน้าที่ให้ คาปรึกษาระหว่างปฏิบัติงาน มีการติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็น ระบบ ตลอดระยะเวลาปฏิบตั งิ าน เพอื่ เป็นการเตรียมนักศกึ ษาสงู่ านทนี่ กั ศึกษาสนใจและ พฒั นาทักษะวชิ าชพี สาหรบั การทางาน หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S หรอื U Practice in a workplace as a temporary full-time employee in a relevant position that suits a student’s field of study and abilities for the success of applying, expanding, and extending the curriculum expectations in practical situations, whether they be of a workplace setting, a project, or both, for 8-week minimum of placement, with at least 6-week placement in a foreign country, in compliance with the workplace’s mandatory terms, conditions, and obligations, responsibility and commitment fulfillment for a particular role assigned by the workplace, supervision and evaluation under a systematic follow-up process throughout the course by both a certified cooperative education teacher and a cooperative education coordinator from the workplace, preparation for a student to develop skills, knowledge, and attitudes needed to become a productive and satisfied member in a work environment Remarks : S/U assessment

36 02-000-306 ปญั หาพเิ ศษจากสถานประกอบการ 3(0-6-3) Workplace Special Problem วิชาบงั คบั กอ่ น : 02-000-304 ฝึกงาน หรือ 02-000-305 ฝึกงานต่างประเทศ Pre-requisite :02-000-304 Apprenticeship Or 02-000-305 International Apprenticeship การนาโจทย์ปัญหาท่ีได้จากสถานประกอบการ ท้ังภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ รัฐบาล หรือ ชุมชน ที่นักศึกษาได้ออกทาการฝึกประสบการณ์ ท้ังในรูปแบบของการฝึกงาน ปฏิบัติงานภาคสนาม หรืออ่ืนๆ เพื่อนามาศึกษา วิเคราะห์ โดยใช้ความรู้ทางด้านวิชาชีพ ของนักศึกษา มาทาการประยุกต์หาวิธี การแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีการ หรือ กระบวนการ โดยจัดทาตามรูปแบบของโครงงาน โดยมีอาจารย์ผู้เช่ียวชาญในสาขาวิชา ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษา โดยมีส่วนร่วมจากบุคลากรของ สถานประกอบการหรือ ชุมชนน้นั หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเป็น S หรอื U Analysis of problems a student gains during his or her apprenticeship, amid fieldwork, or in other activities while undertaking a job training course in a private sector, a state enterprise, a government agency, or a community placement, use of a student’s in-school learning and transitions to professional applications of resolution skills and method and process development skills through a research project under supervision of an academic expert in the field in cooperation with a cooperative education coordinator from the workplace Remarks : S/U assessment

37 02-000-308 การจัดประสบการณ์ตน้ หลกั สตู ร 2(0-6-3) Pre-course Experience การจดั ใหน้ ักศกึ ษาเข้าไปอยใู่ นส่ิงแวดลอ้ มทางวชิ าชีพชว่ งตน้ ของการศึกษาในหลักสูตร มี การกาหนดประเด็นท่ีเก่ียวข้องในวิชาชีพ เพื่อให้นักศึกษาสังเกตการณ์และเก็บข้อมูล เช่น สภาพแวดล้อมในการทางาน บทบาทของบุคคลในวิชาชีพ มีการนาประเด็นที่ได้จาก การสงั เกต มาทาการสะท้อนความคิด แลกเปลี่ยนกบั นักศึกษาดว้ ยกนั เองและกับอาจารย์ นักศึกษาต้องสรุปข้อค้นพบ เช่น กรอบความคิดรวบยอด เกี่ยวกับวิชาชีพ บทบาทของ บุคคลในวิชาชีพ โดยมีการนาเสนอทั้งในรูปแบบของรายงานหน้าช้ันเรียน และรูปแบบ รายงาน หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S หรือ U Placement preparation for a student by engaging him or her in a professional environment at the beginning of the curriculum, management of relevant professional agendas for critical observation and data collection, such as a workplace environment assessment and professional roles of individuals, reflection of issues observed during a placement involvement, exchanges among peers and between a student and an assigned teacher on a professional conceptual framework and a professional role in a working setting, presentation skills in form of both a research project presentation and a academic paper Remarks : S/U assessment

38 02-000-309 ปฏบิ ัติงานภาคสนาม 2(0-6-3) Filed work การให้นักศึกษา เข้าไปสังเกตการณ์และมีส่วนร่วมในการทางานเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ต่อเน่ืองตลอดภาคการศึกษา มีการกาหนดเน้ือหาการปฏิบัติงานภาคสนามท่ีสอดคล้อง กับสาขาวิชาชีพ และเหมาะสมกับความรู้ภาคทฤษฎีของนักศึกษาตามแต่ละชั้นปี ท้ังนี้ ต้องมีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาผู้เรียนด้านความปลอดภัย การป้องกันโรคติดต่อ หรือข้อพึงระวัง ก่อนปฏิบัติงานภาคสนาม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ ภาคทฤษฎีจากช้ันเรียนกับการปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมจริง โดยอาจการนา วิธกี ารเรียนรใู้ นลกั ษณะของ การเรียนโดยใช้งานเป็นฐาน การเรียนจากสภาพสังคม การ เรียนด้วยการให้บริการชุมชน หรือรูปแบบอ่ืน มีการประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะท้ัง ระหว่างและสน้ิ สดุ การปฏบิ ตั ิงานภาคสนาม มีการนาเสนอทั้งในรูปแบบของรายงานหน้า ช้ันเรยี น และรปู แบบรายงาน หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S หรอื U Observation of and short-term participation in a working setting throughout a certain semester, appropriate content for fieldwork operation in line with professional studies and a student’s academic knowledge level, preparation for a student of safety assurance, workplace health control, and placement precautions all in a workplace before doing fieldwork, exposure of applications of theories and principles learned in the classroom to work in a field setting, knowledge and new skills while performing a task in a community workplace via work-base learning, community learning, service learning, or other frameworks, evaluation of a student during and at the end of a fieldwork term through a research project presentation and academic paper Remarks : S/U assessment

39 02-000-310 การติดตามพฤติกรรมการทางาน 2(0-6-3) Job Shadowing การกาหนดให้นักศึกษาเพ่ือเข้าไปสังเกตพฤติกรรมของการทางานของบุคคล โดยมีการ กาหนดผู้ที่เข้าไปสังเกตพฤติกรรมการทางาน และต้องมีการเตรียมความพร้อมนักศึกษา ก่อนการติดตามพฤติกรรมการทางาน เช่น แผนการติดตาม กิจกรรมท่ีต้องติดตาม เป็น ต้น นักศึกษาสามารถเรียนรู้หรือติดตามพฤติกรรมการทางานของผู้ที่เข้าไปสังเกต พฤติกรรมการทางาน ได้โดยการสังเกต การพูดคุย และการทางานร่วมกับผู้ท่ีเข้าไป สังเกตพฤติกรรมการทางาน ประเมินผลด้วยการสะท้อนความคิด ทั้งตัวนักศึกษาเอง นักศกึ ษาดว้ ยกันเองและกบั อาจารยใ์ นรูปของการสนทนากล่มุ ยอ่ ย โดยอาจเชิญผู้ที่เข้าไป สังเกตพฤติกรรมร่วมการสนทนากลุ่มย่อย เพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยมีการ นาเสนอทง้ั ในรปู แบบของรายงานหน้าชนั้ เรียน และรปู แบบรายงาน หมายเหตุ : การประเมินผลเปน็ S หรือ U Observation of people in a working community for day-to-day activities as they perform their regular job duties, preparation for cooperative education strategies before a shadowing process, such as of a follow-up of professional plans and agendas, insight into a particular career for career awareness and exploration through workplace observation, talks, cooperation involvements, assessment of thought reflection of a student, among peers, and with a cooperative education teacher in the course through focus group discussions, invitation for observers to join the discussions for exchanges of workplace experience, evaluation on both a research project presentation and academic paper Remarks : S/U assessment

40 02-000-311 การฝึกเฉพาะตาแหนง่ 3(0-16-8) Practicum การฝึกตรงตามสาขาวิชาชีพของนักศึกษา ในสถานที่ปฏิบัติงานเป็นระยะเวลานาน เพียงพอ นักศึกษาสามารถเรียนควบคู่กับการทางาน เพื่อให้นักศึกษามีทักษะและ สมรรถนะตามวชิ าชพี การฝึกเฉพาะตาแหน่งตอ้ งเหมาะสมกบั ความรู้ทางทฤษฎีตามช้ันปี ของนักศึกษา และสามารถดาเนินการควบคู่กับการเรียนในช้ันปีท่ีสูงขึ้น มีการเตรียม ความพร้อมนักศึกษาเบื้องต้นเก่ียวกับทักษะที่จาเป็นต่อการทางาน มีผู้นิเทศงาน ผู้สอน หรือครูฝึก ให้คาปรึกษาและติดตามความก้าวหน้าของนักศึกษา มีการแลกเปล่ียน ประสบการณ์ ระหว่างการฝึก ทั้งกับนักศึกษาด้วยกันเองและกับผู้นิเทศงาน ผู้สอน หรือ ครูฝึก มีการประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะทั้งระหว่างการฝึกและเมื่อส้ินสุดการฝึก มีการ นาเสนอทง้ั ในรูปแบบของรายงานหนา้ ชัน้ เรยี น และรูปแบบรายงาน หมายเหตุ : การประเมนิ ผลเปน็ S หรือ U Exposure of a student to his or her professional role by completing sufficient hours in the field of his or her academic curriculum and by applying and sharing the knowledge that he or she has gained from his or her academic studies, an appropriate placement or practicum for a student’s academic knowledge level, course completion possible during his or her progress to a higher year in his or her university study, basic preparation for a student of necessary working skills under supervision and follow-up of a cooperative education coordinator form a workplace, exchanges of workplace setting experience during a placement or practicum among peers and between a supervisor and a student, evaluation of a student both during and after a placement or practicum through a research project presentation and academic paper Remarks : S/U assessment

41 02-000-312 การฝึกปฏิบตั ิจริงภายหลังสาเรจ็ การเรียนทฤษฎี 6(0-40-0) Post-course Internship วชิ าบังคับก่อน : 02-000-301 เตรียมความพรอ้ มฝึกประสบการณ์วิชาชีพ Pre-requisite : 02-000-301 Preparation for Professional Experience การฝึกปฏิบัติหลังจากการเรียนภาคทฤษฎีครบตามหลักสูตรแล้วหรือเกือบครบตาม หลักสูตร ในสถานท่ีปฏิบัติงาน มีการเตรียมความพร้อมนักศึกษาทั้งทักษะทางด้าน วิชาการและทักษะท่ีจาเป็นต่อการทางาน ทั้งน้ีอาจเป็นการฝึกปฏิบัติควบคู่กับการเรียน ในสถานศกึ ษา เน้นการฝึกปฏิบัติงานประจาหรือโครงงานท่ีตรงตามสาขาวิชาชีพ ผู้เรียน มกี ารแลกเปล่ยี นประสบการณ์ ท้ังระหว่างการฝึกและเมื่อส้ินสุดการฝึกกับผู้เรียนด้วยกัน เองและกบั ผสู้ อน ประเมินผลเมื่อส้ินสุดการฝึกทั้งการส่งรายงานและการนาเสนอผลงาน มีการนาเสนอทั้งในรปู แบบของรายงานหนา้ ช้นั เรยี น และรูปแบบรายงาน หมายเหตุ : การประเมินผลเป็น S หรือ U Practice in a workplace after or almost after completion of theoretical studies of a curriculum, preparation for necessary academic and professional skills to practical working situations, probably during the university studies, focus on a full-time placement or a relevant professional project, exchanges of professional reflection during and at the end of an internship among peers and with a cooperative education teacher, evaluation of a student at the end of an internship through a research project presentation and academic paper Remarks : S/U assessment

42 1.1 ช่อื -สกลุ ตาแหนง่ และคุณวฒุ ขิ องอาจารย์ 1.1.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร ลา ชื่อ - ตาแหนง่ คณุ วุฒิ - สาขาวิชา สาเร็จจาก ปที ่ี ภาระการสอน ชม./สปั ดาห์/ ดับ นามสกลุ วชิ าการ จบ 1 นายยทุ ธชัย ปกี ารศึกษา ผชู้ ว่ ย 2561 2562 2563 2564 ศิลปวิจารณ์* ศาสตราจารย์ (เทคโนโลยี วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา้ ) มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 2557 12 31 31 31 2 นายทองอนิ ทร์ สุยะทา ไฟฟา้ ) วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟา้ ) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2542 อาจารย์ วศ.บ. (วศิ วกรรมไฟฟา้ - สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล 2537 ไฟฟ้ากาลัง) วศ.ม. วศิ วกรรมไฟฟา้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระ 2558 17 31 31 31 จอมเกลา้ ธนบุรี วศ.บ. วศิ วกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 2555 มงคลกรุงเทพ 3 นายบญั ชา อาจารย์ วศ.ม. (วิศวกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม 2548 14 29 29 29 แสนโสดา อเิ ลก็ ทรอนิกส์) เกล้าเจ้าคุณทหาร 4 ว่าท่รี อ้ ยตรี มงคล ลาดกระบัง กล่นิ กระจาย วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า- สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล 2539 5 นายนิกร แสงงาม อเิ ลก็ ทรอนกิ ส)์ อาจารย์ Ph.D. (Mechatronics King’s College London, 2550 0 12 12 12 Engineering) UK วศ.ม. (วศิ วกรรม สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั 2548 อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ โทรคมนาคม) ค.บ. (คอมพวิ เตอร์) วทิ ยาลัยครสู วนสุนนั ทา 2532 อาจารย์ วท.ม. (โครงขา่ ย มหาวิทยาลัยรงั สิต 2549 7 27 27 27 โทรคมนาคมและ คอมพิวเตอร์) ค.อ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล 2541 หมายเหตุ *ประธานหลักสตู ร

43 1.1.2 อาจารยผ์ ู้สอน ลา ตาแหนง่ คณุ วุฒิ - สาขาวิชา สาเร็จจาก ภาระการสอน ชม./สปั ดาห/์ ดบั ชอื่ - นามสกุล วิชาการ ปกี ารศึกษา คอ.ม. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระ 1 นายจักรี รศั มฉี าย ผชู้ ่วย จอมเกล้าธนบรุ ี 2561 2562 2563 2564 ศาสตราจารย์ - 333 วศ.บ. สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล 2 นายปกรณ์เกยี รต์ิ ผ้ชู ่วย ค.อ.บ. วิทยาลัยเทคโนโลยแี ละ -333 เศวตเมธกิ ลุ ศาสตราจารย์ อาชีวศกึ ษา -333 -333 3 นายอานนท์ นิยมผล ผู้ชว่ ย D.Eng Electrical Engineering -333 ศาสตราจารย์ วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า -333 วศ.บ. วศิ วกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ 4 นายจิระพงษ์ ผชู้ ว่ ย จิตโคตร์ ศาสตราจารย์ และโทรคมนาคม ค.อ.บ. วศิ วกรรมไฟฟา้ -ไฟฟา้ 5 นายบุญทนั ผชู้ ่วย ศรบี ุญเรอื ง ศาสตราจารย์ สือ่ สาร 6 นายวราวธุ สุวลัย อาจารย์ ค.อ.ม. ไฟฟา้ วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า ค.อ.บ. วิศวกรรมไฟฟา้ วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า วศ.บ. วศิ วกรรมไฟฟ้า ค.อ.ม. ไฟฟ้า วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า ค.อ.บ. วศิ วกรรมไฟฟ้า M.Eng Mechatronics ค.อ.บ. Engineering แมคคาทรอนกิ ส์ 1.1.3 อาจารยพ์ ิเศษ ตาแหน่ง สถานทท่ี างาน รองศาสตราจารย์ ลาดับ ช่อื -สกลุ รองเลขาธกิ าร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ 1 นายวีระเชษฐ์ ขันเงิน หัวหน้าภาควชิ าวศิ วกรรมไฟฟา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง 2 นายไพรตั น์ ตงั คเศรณี 3 ดร.ฉัตรชยั ศภุ พทิ ักษ์สกลุ ผจู้ ดั การฝ่ายขายระดบั ภมู ิภาค สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศ กรรมการผูจ้ ดั การ ไทย 4 นายเจรญิ เพชรมณุ ี 5 นางสาวเพญ็ พมิ ล ลือขจร คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคลธัญบรุ ี บริษทั เนชน่ั แนล อนิ สทรู เม้นทส์ ประเทศไทย จากัด บริษทั พีทเี อส คอมบเิ นช่นั จากดั

44 2. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณภ์ าคสนาม จากความต้องการของสถานประกอบการท่ีเห็นว่าบัณฑิตควรมีประสบการณ์ในวิชาชีพก่อนเข้าสู่การ ทางานจรงิ ดังน้ันหลกั สตู รจงึ ได้กาหนดให้ผูเ้ รยี นเรยี นในกลุ่มวชิ าเสริมสร้างประสบการณใ์ นวชิ าชีพ 2.1 มาตรฐานผลการเรียนร้ขู องประสบการณภ์ าคสนาม ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ประสบการณ์ภาคสนามของนกั ศึกษา มดี งั น้ี 2.1.1 ภาคการศึกษาฤดูร้อน ปีที่ 1 นักศึกษาจะได้ประสบการณ์จากการฝึกงานในสถานประกอบการที่ เกี่ยวขอ้ งในระดับอตุ สาหกรรมท่ีใช้เทคโนโลยสี มยั ใหม่ 2.1.2 ภาคการศึกษาฤดูร้อน ปีท่ี 2 นักศึกษาจะได้ประสบการณ์จากการฝึกงานในสถานประกอบการที่ เกย่ี วข้องในระดบั อุตสาหกรรมทใ่ี ช้เทคโนโลยสี มัยใหม่ท่สี ูงข้นึ และอเิ ล็กทรอนกิ สอ์ ัจฉรยิ ะ 2.2 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาฤดรู อ้ น ของปีการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาฤดรู ้อน ของปีการศึกษาท่ี 2 2.3 การจัดเวลาและตารางสอน เตม็ เวลาใน 1 ภาคการศึกษา 3. ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับการทาโครงการหรืองานวิจัย นกั ศกึ ษาทุกคนตอ้ งทาโครงการอเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉริยะ หัวข้อที่สอดคล้องกับสาขาวิชาและต้องเก่ียวข้องกับ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่หรือเน้นการแก้ปัญหา ท่ีเกิดในภาคอุตสาหกรรมและสถาน ประกอบการโดยใช้หลักการทางทฤษฎีอ้างอิง และเม่ือโครงการเสร็จสิ้นสามารถนาไปใช้งานได้จริง และมีการ สอบวัดความรพู้ รอ้ มกับรายงานท่ีต้องนาส่งตามรปู แบบ ระยะเวลาตามท่หี ลกั สตู รกาหนด 3.1 คาอธบิ ายโดยย่อ โครงการทางวิชาการที่นักศึกษาสนใจที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษา ซึ่งสามารถอธิบาย ทฤษฎีและหลักการทางอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ท่ีนามาใช้ในการทาโครงการ วัตถุประสงค์ ขอบเขต ประโยชน์ ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการทาโครงการ ทส่ี ามารถทาเสรจ็ ภายในระยะเวลาที่กาหนด 3.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้โดยมีหลักการ ทฤษฎีที่ต่อยอดมาจากการฝึกประสบการณ์ ภาคสนาม โดยมกี ระบวนการดงั นี้ 3.2.1 วางแผนกาหนดกรอบแนวคิดและวิธีดาเนินงานในการทาโครงการทางวิชาการอย่างเป็นระบบ ได้ด้วยตนเอง 3.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีเก่ียวข้องมีการ สบื คน้ ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ 3.2.3 ดาเนินโครงการทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โดยใช้ความรู้ท้ังภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ดุลยพนิ ิจ เทคนิควิจัยหรือเทคนิคคานวณ และการวิเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุปที่สมบูรณ์ท่ีขยายองค์ความรู้เดิมหรือ แนวทางปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างมีนยั สาคญั 3.2.4 สบื ค้น ตีความ และใช้ความร้ทู ง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพ่ือแก้ไขปัญหาหรือจัดการกับบริบท ใหม่ทางวชิ าการและวิชาชีพ 3.2.5 สอื่ สารอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยใชก้ ารส่ือสารด้วยปากเปลา่ และการเขยี น รวมทงั้ สามารถนาเสนอ รายงานแบบเป็นทางการได้ดี

45 3.3 ช่วงเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 ของปีการศกึ ษาท่ี 2 3.4 จานวนหน่วยกิต 3 หนว่ ยกติ 3.5 การเตรียมการ มีการกาหนดช่ัวโมงการให้คาปรึกษา จัดทาบันทึกการให้คาปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ เป็นสมดุ บันทกึ และปรบั ข้อมูลใหเ้ ป็นปัจจุบนั อกี ทง้ั มีภาพตัวอย่างโครงการ 3.6 กระบวนการประเมินผล ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทาโครงการ ท่ีบันทึกในสมุดให้คาปรึกษาโดยอาจารย์ท่ีปรึกษา และประเมินผลจากรายงานที่ได้กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา นาเสนอผลงานและการดาเนินงาน โดยโครงการต้องสามารถทางานได้ตามขอบเขตข้ันต้นโดยเฉพาะส่วนท่ีทางานหลักของโครงการ และจัดสอบ โดยนาเสนอโครงการผ่านคณะกรรมการสอบไม่น้อยกว่า 3 คน

46 หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล 1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา คุณลกั ษณะพเิ ศษ กลยทุ ธห์ รือกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา 1. ด้านบุคลกิ ภาพ - มกี ารสอดแทรกเก่ียวกบั การแตง่ กาย 2. ดา้ นภาวะผนู้ า และความรับผดิ ชอบตลอดจน การเข้าสงั คม เทคนคิ การเจรจา สื่อสาร มีวนิ ยั ในตนเอง การมมี นุษยสัมพนั ธแ์ ละการวางตวั ในการทางาน ในบางรายวชิ าที่เกย่ี วข้องและในกจิ กรรม ปฐมนิเทศและปจั ฉิมนิเทศ - เรยี นและเข้ารว่ มกจิ กรรมสมา่ เสมอ และตรงต่อเวลา - ใหม้ กี ารทางานกลุ่มและมอบหมายให้นักศกึ ษา หมนุ เวียนกันเปน็ หวั หน้าในการดาเนนิ กจิ กรรม เพื่อฝึกดา้ นภาวะผู้นาใน รายวิชาของหลักสูตร และกจิ กรรมของภาควชิ า หรือของคณะฯ - การเรียนการสอนหรอื จัดกิจกรรมทม่ี ีการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง 3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ - มีการปลูกฝังใหน้ กั ศกึ ษามีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบ วนิ ยั ตรงตอ่ เวลา ซือ่ สัตย์ สจุ ริต ขยนั หมั่นเพยี ร สานึกในจรรยาวิชาชีพ รับผิดชอบตอ่ หน้าท่ีและสังคม