Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDA711 Group 2

EDA711 Group 2

Published by NATSUDA KESA, 2022-02-19 06:54:11

Description: ประเทศสิงคโปร์
ประเทศสหภาพเมียนมา
ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
ประเทศนิวซีแลนด์
ประเทศมาเลเซีย

Search

Read the Text Version

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 12. การจัดการศกึ ษา การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรยี นรภู้ การอาชวี ศึกษา อุดมศึกษา ภาคปฏบิ ตั ิในหมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชพี และการฝกึ อบรมอาชพี (ตอ่ ) ทัง้ นี้ขนึ้ อยกู่ ับลักษณะหรือกระบวนการจ สาขาวชิ า 2. หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชนั้ ใชร้ ะยะเวลาในการศึกษา 2 ปกี ารศึกษา เนน้ การเรียนรูส้ ่กู ารปฏิบัติ เพ่ือพฒั นา ระดับเทคนคิ รวมทั้งคณุ ธรรม จริยธรรม และกจิ นิสัยทเ่ี หมาะสมในการทำงานให้ส ต้องการกำลังคนของตลาดแรงงาน ชมุ ชน สามารถประกอบอาชีพอิสระได้ การจัดอตั ราส่วนของเวลาการเรยี นรู้ภา ในหมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชพี ประมาณ กับลักษณะหรอื กระบวนการจัดการเรยี น 3. หลักสูตรปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี (ทล.บ.) ใชร้ ะยะเวลาในการศึกษา 2 ปกี

33 ว่างประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี กับประเทศไทย (ต่อ) ภาคทฤษฎีต่อ ประเทศมาเลเซีย พ ประมาณ 20 ต่อ 80 1. อาชีวศกึ ษาชนั้ ต้น Junior Vocational Education-KAV) ให้ จัดการเรยี นรขู้ องแต่ละ เป็นเส้นทางเลือกหลังจากเรยี นจบประถมศกึ ษาปีที่ 6 นกั เรียนทจี่ บ จะได้รับประกาศนยี บตั รเทยี บเท่าคณุ สมบัติอาชีวศึกษาแห่งชาติ นสงู (ปวส.) ระดับ 2 หรอื SKM2 ต้ังแตอ่ ายุ 15 ปี โดยไม่ต้องรอจนถึงอายุ 17 ปี า 2. วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา (Vocational College-KV) ปฏริ ปู จาก าสมรรถนะกำลงั คน โรงเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายสายอาชพี เพ่ือจัดการเรียนการสอน จรรยาบรรณวชิ าชีพ ทงั้ หลกั สตู รระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สูง และระดับ สอดคล้องกบั ความ อนุปรญิ ญา นและสงั คม และ บทบาทของสถาบันเทคนคิ ศกึ ษา อาชวี ศึกษา และการฝึกอบรมระดบั สงู กว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย าคทฤษฎีต่อภาคปฏบิ ัติ (ทกั ษ์ อดุ มรัตน์, 2564 : 17) ณ 40 ตอ่ 60 ท้งั นขี้ ึ้นอยู่ นรู้ของแตล่ ะสาขาวิชา - หลักสตู รอุดมศึกษา ใชเ้ วลาเรยี นตามหลกั สูตร หรอื สายปฏบิ ตั ิการ การศกึ ษา

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 13. การจัดการศึกษานอก การจดั การศึกษาแบบนอกระบบ (No ระบบและตามอัธยาศยั Learning) ซึง่ อยภู่ ายใต้กระทรวงศึกษาธ สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษ โดยมียุทธศาสตร์และจุดเนน้ ทงั้ หมด 6 ด ยุทธศาสตร์ที่ 1 พฒั นาหลกั สูตร กระบวน การวัดและประเมินผล ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การผลิต พัฒนาครู คณา ทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ผลิตและพัฒนากำลงั คน สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของการพัฒน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ขยายโอกาสในการเขา้ ถ การเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบ และการส่ือสารเพอ่ื การศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 พัฒนาระบบบริหารจดั ก ส่วนมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

34 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี กบั ประเทศไทย (ต่อ) on-formal Lifelong ประเทศมาเลเซยี ธกิ าร สังกัดสำนกั งาน การจดั การศกึ ษาแบบนอกระบบ (Non-formal Lifelong ษาตามอัธยาศยั Learning) ซ่งึ อย่ภู ายใตก้ ระทรวงทรัพยากรมนุษย์ เมื่อปี พ.ศ.2549 ด้าน ให้มกี ารจดั ตั้งสภาพฒั นาทกั ษะแหง่ ชาติ ชือ่ ย่อวา่ NSDC นการเรยี นการสอน มีศูนยฝ์ กึ อบรมอาชพี ทั้งสน้ิ 877 ศนู ย์ าจารยแ์ ละบคุ ลากร น รวมทงั้ งานวิจัยท่ี นาประเทศ ถึงบรกิ ารการศึกษาและ บเทคโนโลยีสารสนเทศ การสง่ เสริมใหท้ กุ ภาค

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 13. การจดั การศึกษานอก - หน่วยงานในสังกัดสังกัดสำนักงานส ระบบและตามอัธยาศยั (ตอ่ ) ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 1. สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบ ตามอัธยาศยั ภาค 5 ภาค 2. สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกร ตามอธั ยาศยั จังหวดั 77 จังหวดั และกรุง (สำนักงาน กศน. จังหวัด/สำนกั งาน กศน 3. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการ อำเภอ/เขต (/เขต) 4. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการ ตำบล/แขวง (กศน. ตำบล/แขวง) 5. ศูนยก์ ารเรียนชุมชน (ศรช.) 6. หอ้ งสมุดประชาชน (อำเภอ/ตำบล 7. ศูนยฝ์ กึ วิชาชีพ 8. ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม 9. สถาบนั การศึกษาทางไกล

35 วา่ งประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซียกบั ประเทศไทย (ต่อ) ประเทศมาเลเซยี ส่งเสริมการศกึ ษานอก บบและการศึกษา ระบบและการศึกษา งเทพมหานคร น. กทม.) รศกึ ษาตามอัธยาศัย รศึกษาตามอัธยาศัย ล/จงั หวัด/เทศบาล)

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 14. การจัดการศึกษาพิเศษ สถานศึกษาในทุกสงั กัดและศนู ยการ และการศึกษาสำหรบั อาจจัดการศกึ ษาสําหรับคนพกิ าร ท้งั ในร ผดู้ ้อยโอกาส ตามอัธยาศยั ในรปู แบบทหี่ ลากหลายทัง้ การจัดการศึกษา เฉพาะความพกิ าร รวม สมรรถภาพ การพัฒนาศักยภาพในการด การพฒั นาทกั ษะพนื้ ฐานท่จี ําเปน การฝก อื่นใด การจัดการศกึ ษาสำหรับคนพกิ ารใ ดำเนินการ ใน 4 รปู แบบดงั น้ี 1. ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ 2. โรงเรียนศึกษาพิเศษเฉพาะความพิการ 3. โรงเรียนจัดการเรยี นร่วม 4. การศึกษานอกระบบเพอื่ คนพกิ าร

36 ว่างประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี กับประเทศไทย (ต่อ) รเรยี นเฉพาะความพิการ ประเทศมาเลเซีย ระบบ นอกระบบ และ แบง่ ออกเปน็ 3 กล่มุ งการเรยี นรวม 1. การศกึ ษาสำหรบั เดก็ ท่ีมีความตอ้ งการพิเศษ จำแนกเปน็ 3 มถงึ การใหบรกิ ารฟนฟู ประเภท คือ ดํารงชีวติ อิสระ - โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ (Special Education School) กอาชพี หรือการบริการ - โปรแกรมการศกึ ษาพิเศษบูรณาการ ในประเทศไทย - โปรแกรมการเรยี นรวม 2. โปรแกรมการศึกษาสำหรบั เด็กในโรงพยาบาล ร School in Hospital” เรียกย่อวา่ SDH เปน็ ความร่วมมอื ระหวา่ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสุข 3. การศกึ ษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสกลุ่มอ่นื ๆจัดตงั้ ศูนย์ การเรียนร้เู พอ่ื การศกึ ษาทางเลือก สำหรับเด็กด้อยโอกาส มีสถาบันการศกึ ษาทางเลอื ก 177 แห่ง

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทยี บระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 15. การวัดและประเมนิ ผล - การประเมนิ ระดับชั้นเรียน (ทุกระด การศึกษา เปน็ การวัดและประเมินผลที่อยู่ในกร ผสู้ อนดำเนนิ การเป็นปกติและสม่ำเสมอใ การสอน ใชเ้ ทคนคิ การประเมนิ อย่างหลา การซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินช้ินงานภาระงาน แฟ้มสะสม การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเปน็ ผ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพือ่ น ผปู้ กครองรว่ มประเมิน การประเมนิ ระดับชั้นเรยี นเป็นการต พฒั นาการความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ อ กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือไม่ และม จะตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาปรบั ปรงุ และส่งเส นอกจากน้ียงั เป็นข้อมลู ใหผ้ ู้สอนใช้ปรบั ป ของตนดว้ ย ทง้ั นี้โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐ ตวั ชีว้ ัด

37 ว่างประเทศสหพันธรฐั มาเลเซียกบั ประเทศไทย (ต่อ) ประเทศมาเลเซยี ดบั ) - การวัดและประเมินผลการศึกษาปฐมวยั ระบวนการจดั การเรียนรู้ เน้นการประเมนิ กระบวนการและโครงสรา้ ง ซงึ่ ในเชิง ในการจัดการเรียน กระบวนการน้ัน จะพิจารณาประสบการณต์ า่ งๆ ซ่ึงเด็กได้รับ ากหลาย เช่น ในชีวติ ประจำวนั เมือ่ อยูใ่ นศูนย์ดูแลเด็ก หรอื ในโรงเรยี นอนบุ าล น การประเมินโครงงาน - การวัดและประเมินผลการศกึ ษาประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา มงาน เรมิ่ ใชใ้ นปพี .ศ. 2560 คือ ใหเ้ พมิ่ คำถามท่ีทดสอบทกั ษะการคิด ผู้ประเมนิ เองหรือ ขนั้ สงู เชน่ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และ นประเมนิ เพื่อน การประเมิน ไมเ่ นน้ เรื่องความรู้ความจำและความเขา้ ใจมากเกนิ ไป การสอบโดยส่วนกลางผสมกบั การประเมินระหว่างเรยี นในรปู แบบ ตรวจสอบวา่ ผู้เรยี นมี ตา่ งๆ ได้แก่ อันเปน็ ผลมาจากการจัด - การประเมนิ โดยครูท่โี รงเรยี น เรยี กวา่ School Assessment มากนอ้ ยเพยี งใดมีส่งิ ท่ี ซึ่งมหี ลากหลายวธิ ี เชน่ การให้ทำขอ้ ทดสอบแบบเขียนตอบ สริมในด้านใด (Written Tests) ระหว่างเรียน เพื่อนำผลไปปรบั ปรุงการเรยี นและ ปรงุ การเรียนการสอน การสอน ฐานการเรยี นรแู้ ละ

ตารางที่ 1 การเปรยี บเทียบระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 15. การวัดและประเมินผล - การตดั สินผลการเรยี น การศึกษา (ตอ่ ) 1) ผู้เรียนต้องมเี วลาเรียนไม่นอ้ ยกว่า ของเวลาเรียนทั้งหมด 2) ผู้เรยี นต้องได้รบั การประเมนิ ทกุ ต เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด 3) ผู้เรียนต้องได้รับการตดั สินผลการ ตอ้ งได้รับการประเมิน และมผี ลการประ สถานศกึ ษากำหนด ในการอา่ น คิดวเิ คร คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกจิ กรรม

38 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซียกับประเทศไทย (ตอ่ ) ารอ้ ยละ 80 ประเทศมาเลเซีย - การประเมนิ จากสว่ นกลาง เรยี กว่า Central Assessment ตัวชี้วดั และผา่ นตาม เป็นการประเมนิ โดยให้ทำขอ้ สอบแบบเขยี นตอบ ทำโครงงาน หรือ สอบปากเปล่า (วิชาภาษา) ซึง่ LP ในสว่ นกลางเป็นผูพ้ ฒั นาประเดน็ รเรยี นทกุ รายวชิ าผูเ้ รียน คำถาม เมินผา่ นตามเกณฑท์ ่ี - การประเมนิ ทางจิตวทิ ยา เรียกว่า Psychometric ราะห์และเขยี น Assessment เปน็ การทดสอบความถนัดและคน้ หาบุคลกิ ลักษณะ มพฒั นาผ้เู รียน ต่างๆ ของนกั เรยี น - การประเมินกจิ กรรมการออกกำลงั กาย การกฬี าและกิจกรรม เสรมิ หลักสูตร เรียกวา่ Physical Activities, Sports and Co- curricular Assessment

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 16. การทดสอบระดับชาติ - นกั เรยี นระดบั ประถมศึกษา และ น มธั ยมศกึ ษา Ordinary National Educa (ไมไ่ ด้บังคบั สมัครสอบตามความสมัครใจ - นกั เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลา General Aptitude Test (GAT) Professional Aptitude Test (PAT)

39 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี กับประเทศไทย (ตอ่ ) นักเรียนระดับ ประเทศมาเลเซยี ation Test (O-NET) - การสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิกอ่ นจบประถมศกึ ษาชั้นปที ่ี 6 จ) เรียกวา่ Ujian Pencapaian Sekolah Rendah หรือ UPSR โดยสอบวชิ าความเข้าใจภาษามาเลย์ (Malay compre-hension), าย การเขียนภาษามาเลย์ (Malay writing), ความเข้าใจภาษาองั กฤษ (English writing), วทิ ยาศาสตร์, และคณิตศาสตร์ ถา้ เรียนใน โรงเรียนภาษาจนี ต้องสอบวิชาความเขา้ ใจและการเขียนภาษาจีน หรอื ถา้ เรยี นในโรงเรียนภาษาทมิฬกจ็ ะต้องสอบวิชาความเขา้ ใจและ การเขยี นภาษาทมฬิ ด้วย นกั เรยี น ท่ีจบระดับชั้นประถมศึกษา จะเขา้ เรียน ม.1 (Form 1) ต้องสอบผา่ น UPSR วิชาภาษามาเลย์ เกรดทีไ่ มต่ ่ำกว่า C ถ้าไมผ่ า่ นตามเกณฑ์ ตอ้ งเข้าเรียน ในชั้นเตรยี มมธั ยม 1 ปี ทง้ั น้ี เพราะการเล่ือนข้นั ในระดบั ประถมศกึ ษาเปน็ แบบอตั โนมัติท่ีไม่มี การสอบตก

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 16. การทดสอบระดบั ชาติ (ต่อ)

40 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซียกบั ประเทศไทย (ต่อ) ประเทศมาเลเซยี - เม่ือเรียนจบมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จะตอ้ งสอบข้อสอบระดับชาติ เรียกวา่ PenilaianMenengahRendah/Lower Secondary Assessment (เรยี กยอ่ ว่า PMR หรอื LSA) ซึ่งมผี ลตอ่ การเรียนต่อ ในมัธยมศึกษาตอนปลาย เพอื่ นำไปประกอบการพิจารณาเลือก เส้นทางศึกษาต่อ 3 สาย คอื (1) สายวิชาการ (วิทย์/ศิลป์) (2) สายเทคนิคและอาชพี และ(3) สายศาสนา - เม่อื จบมัธยมศึกษาตอนปลาย (หลักสูตร 2 ป)ี จะต้องสอบ ข้อสอบระดบั ชาติ เรียกวา่ SijilPelajaran Malaysia/Malaysian Certificate of Examination (เรยี กยอ่ วา่ SPM หรือ MCE). และหลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ มีข้อสอบ The Vocational Malaysian Certificate of Examination เทียบเท่า กับขอ้ สอบประกาศนยี บัตรมาเลเซีย

ตารางที่ 1 การเปรยี บเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 17. สถาบนั ผลิตครู สำนกั งานเลขาธิการคุรุสภา กระทรา วตั ถปุ ระสงค์ของคุรสุ ภา ตามพระราชบัญ บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2546 มาตร วตั ถุประสงคข์ องคุรุสภา ไว้ดังนี้ 1. กำหนดมาตรฐานวิชาชพี ออกแล กำกับ ดแู ลการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานวชิ าช วิชาชพี รวมท้ังการพัฒนาวชิ าชีพ 2. กำหนดนโยบายและแผนพฒั นาว 3. ประสาน สง่ เสรมิ การศึกษาและก ประกอบวชิ าชีพ

41 ว่างประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี กบั ประเทศไทย (ต่อ) างศึกษาธิการ ประเทศมาเลเซีย ญญัติสภาครูและ สถาบนั การฝกึ หัดครูแห่งชาตมิ าเลเซีย รา 8 กำหนด มกี ระบวนการดำเนนิ งาน 7 เร่อื ง 1. เพม่ิ ความเข้มข้นและใช้ระบบท่เี ปน็ องค์รวม ในการรับเข้า ละเพิกถอนใบอนุญาต ศึกษาในสถาบันฝึกหดั ครู ชีพและจรรยาบรรณ 2. ปรบั ปรงุ หลกั สูตรการฝกึ หดั ครูและเพม่ิ ชัว่ โมงฝึก ประสบการณเ์ ปน็ 40% ของเวลาเรียน/หนว่ ยกติ ทง้ั หมด วิชาชีพ 3. ปรับปรุงภาวะผ้นู ำของผบู้ ริหารวทิ ยาเขตต่างๆ ของสถาบัน การวจิ ยั เก่ียวกบั การ ฝกึ หัดครู 4. ยกระดบั คุณภาพของอาจารย์ผู้สอนในสถาบนั ฝกึ หัดครู 5. ยกระดบั โครงสรา้ งพ้นื ฐานของสถาบนั การฝกึ หดั ครู 6. เพม่ิ กจิ กรรมการวิจยั นวตั กรรม 7. ยกระดับการยอมรับคณุ ภาพของสถาบันการฝกึ หดั ครู

ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทยี บระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเด็น ประเทศไทย 18. การผลติ และพัฒนาครู - ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ และบุคลากรทางการศึกษา ปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไมน่ ้อยกว การประเมนิ ปฏิบัติการสอนตามหลกั เกณ ท่ีคณะกรรมการกำหนด - เกณฑ์การสอบบรรจุรับราชการคร 1. มอี ายุไมต่ ำ่ กวา่ ยสี่ ิบปีบรบิ รู ณ์ 2. มวี ุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือเ อืน่ ท่ีคุรุสภารบั รอง 3. ต้องมใี บประกอบวชิ าชพี 4. มกี ารสอบคดั เลือกแบ่งออก เป็น ภาค ก ความรอบรูค้ วามสามารถท ภาค ข มาตรฐานความรู้และประส ภาค ค ความเหมาะสมกบั ตำแหน ปฏิบัตงิ านในสถานศึกษา

42 วา่ งประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซียกบั ประเทศไทย (ตอ่ ) ประเทศมาเลเซยี กษาตามหลกั สตู ร - การพัฒนาครูปฐมวยั ว่า หน่งึ ปีและผ่านเกณฑ์ 1. ตอ้ งผ่านการฝกึ หัดครหู รอื ไดร้ บั ประกาศนยี บัตรช้นั สูง ณฑ์วธิ กี ารและเงอ่ื นไข ทางการสอน 2. ฝกึ อบรมโดยกระทรวงตน้ สังกดั อกี 6 เดือน และสำหรับสงั กัด กรมเอกภาพและบูรณาการของชาติ ต้องไดร้ ับการฝึกอบรมโดย รู กระทรวงตน้ สังกดั อกี 3 สปั ดาห์ 3. หลกั สตู รการฝกึ หัดครทู ีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารอนุมัตใิ ห้ เทยี บเท่าหรือมคี ณุ วฒุ ิ สถาบนั อุดมศกึ ษาเปน็ ผู้จัด 4. การฝึกอบรมครูปฐมวยั โดยสมาคมโรงเรยี นอนุบาลแห่ง มาเลเซยี 3 ภาค 5. การฝึกอบรมเจ้าของศูนยด์ ูแลเดก็ และผู้ดูแลเด็กปฐมวยั ทว่ั ไป ท้งั สองตำแหนง่ ตอ้ งไดร้ บั การฝกึ อบรมโดยกระทรวงพฒั นาสตรี สบการณ์วิชาชีพ ครอบครวั และชุมชน ใช้เวลา 10 วนั จดั หลกั สูตรแบบโมดูล น่งวชิ าชีพและการ - การพฒั นาครโู ดยครพู เ่ี ลยี้ งที่ชำนาญการพเิ ศษ ในช่วงแรก เนน้ 3 วชิ า คือ ภาษาบาฮาซามาเลเซีย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ และถ้าครชู ำนาญการพิเศษด้านวทิ ยาศาสตร์มเี พยี งพอ

ตารางท่ี 1 การเปรียบเทียบระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษาระหว ประเดน็ ประเทศไทย 18. การผลิตและพัฒนาครู แตล่ ะภาคไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จึงจ และบคุ ลากรทางการศึกษา บัญชีโดยเรยี งลำดบั ผู้ท่มี ีคะแนนจากมาก (ตอ่ ) ประเภทวิชาเอก - มกี ารเตรียมความพรอ้ มและพฒั นา ผู้ช่วย 2 ปี 4 ครงั้ หากไมผ่ า่ นการประเมิน เป็นครู - อัตราเงินเดอื น เรม่ิ ต้น ป.ตรี 4 ปี 15,050.- ป.ตรี 5 ปี 15,800.- - การสร้างการยอมรับของสังคมตอ่ ว ชำนาญการ, ชำนาญการพิเศษ, เชย่ี วชาญ - การกำหนดเสน้ ทางในอาชีพ 1. ครู 2. ผู้บริหาร 3. ศึกษานิเทศก์

43 วา่ งประเทศสหพนั ธรฐั มาเลเซยี กบั ประเทศไทย (ต่อ) จะมีสิทธปิ ระกาศข้นึ ประเทศมาเลเซีย กไปหาน้อยโดยแยกตาม กจ็ ะจัดสง่ ออกไปช่วยครูวิทยาศาสตรด์ ้วย ทง้ั น้ี จะมีอาจารย์ จากสถาบนั การฝกึ หัดครแู หง่ ชาติ (IPG lecturers) เปน็ ผู้ให้ าอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครู การสนับสนนุ แกค่ รพู ี่เล้ียงและการจัดทำหลกั สตู รพัฒนาครูใน นกจ็ ะตอ้ งออกจากการ โครงการน้ี วิชาชีพครู วิทยฐานะ - การพฒั นาผู้บริหารสถานศึกษา ญ, เชี่ยวชาญพิเศษ 1) ตรวจทานและปรบั ปรุงเกณฑก์ ารคัดเลอื กผู้บริหาร สถานศกึ ษา 2) สร้างผู้นำเพอ่ื ใหม้ ผี ู้พร้อมจะเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 3) ปรับปรุงการพัฒนาผบู้ รหิ ารสถานศึกษาตัง้ แต่เตรยี มเขา้ สู่ ตำแหน่งไปจนตลอดเส้นทาง วชิ าชพี 4) จดั การผลงานผู้บริหารสถานศกึ ษาโดยใช้ผลงานและ สมรรถนะเปน็ ฐาน

44 จดุ เดน่ ของการศกึ ษาประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และขอ้ เสนอแนะแนวทางการพฒั นา การศึกษาของประเทศไทย จุดเดน่ ของการศึกษาประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย จากการศึกษาเชิงสังเคราะห์และวิเคราะห์ระบบการศึกษาและการบริหารของประเทศ สหพันธรัฐมาเลเซีย พบว่า ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย มุ่งสร้างเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับ ประชาชนทุกกลุ่มเช้ือชาติ และใช้ภาษามลายู เปน็ ภาษาราชการ ซ่ึงเป็นภาษาหลกั ของประชากรส่วน ใหญ่ของมาเลเซีย และมีการใช้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาที่สอง และส่งเสริมภาษาอังกฤษในการ จดั การเรยี นการสอนให้กับเยาวชนในประเทศได้เป็นอย่างดี ถึงแมจ้ ะมกี ารบังคบั ใหเ้ รยี นภาษามาเลย์ เป็นภาษากลางของทุกคนก็ตาม และอีกทั้งยังมีการเปิดโอกาสให้เยาวชนในประเทศได้ศึกษา ภาษาที่สาม ตามความถนัดและความสนใจของนักเรียนและผู้ปกครอง และภาษาอื่น ๆ เป็นภาษา เพิ่มเติม โดยเฉพาะโรงเรียนเฉพาะทางต่าง ๆ เช่น โรงเรียนเน้นภาษาจีน ก็จะจัดการเรียนการสอน เน้นภาษาจีนให้กับนักเรียนในโรงเรียนนั้น ๆ การจัดการศึกษาของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ในแต่ระดบั จะมจี ุดเน้นในการพฒั นาผูเ้ รยี นแตล่ ะระดับ ดงั นี้ การจัดการศึกษาก่อนปฐมวัย การจัดการเรียนการสอน เน้นภาษาอังกฤษ และภาษามลายู และภาษาอนื่ ๆ ตามความต้องการของนักเรียนและผปู้ กครอง และการบรู ณาการกจิ กรรมตา่ ง ๆ การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย การจัดการเรียนการสอน เน้น 4 R’s Reading, Writing, Arithmetic, Reasoning (การอ่าน การเขียน เลขคณติ และการใช้เหตุผล) การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ (ปีที่ 1-3) การจัดการเรียน การสอน เน้นทักษะการอ่าน การเขียน เลขคณิต และระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ปีที่ 4-6) การจัดการเรียนการสอน เน้น การอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง วิชาภาษามาเลย์ และ ภาษาอังกฤษ เป็นวิชาบังคับในโรงเรียนประถมศึกษา และภาษาที่ 3 เป็นภาษาเพิ่มเติม และ ในหลักสูตรของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย หลักสูตรใหม่จัดการเรียนการสอน โดยเน้นการทำ กิจกรรมโครงงาน ด้วยรปู แบบการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education)

45 การจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรียกว่า (Form 1-3) และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียกว่า (Form 4-5) มี 2 สาย คือ สายวิชาการ และสายเทคนิคและ อาชีวศกึ ษา ทง้ั นี้นกั เรยี นในแตล่ ะระดับจะต้องทำกจิ กรรมเสริมหลักสูตร (Co-curricular activities) กอ่ นจบการศกึ ษาไมน่ ้อยกว่า 2 กจิ กรรม ยกเวน้ รัฐซาราวคั บงั คับไมต่ ่ำกว่า 3 กจิ กรรม การจัดการศึกษาการอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการเรียน การสอนใช้ระยะเวลาเรยี น 1-2 ปี หลังจากท่ีนกั เรยี นจบการศกึ ษาในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย เรียกว่า Form 6 หรอื หลกั สูตรเตรยี มอุดมศึกษา ก่อนทจี่ ะเขา้ ส่กู ารศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษาตอ่ ไป สำหรับการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ส่วนใหญ่ สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี จึงทำให้มีสถาบันพัฒนาครูและผู้บริหารการศึกษาที่มี คุณภาพสูง จึงทำให้ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย สามารถผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทาง การศกึ ษาตามรปู แบบของตะวันตกได้ง่ายกวา่ ประเทศอ่ืน ๆ ในกลุ่มเอเชีย เช่น ประเทศไทย ข้อเสนอแนะแนวทางการพฒั นาการศึกษาของประเทศไทย ในเชิงนโยบายประเทศไทยได้มีการพัฒนาการศึกษาตามทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืน และ ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มงุ่ ให้ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มง่ั ค่ัง ยั่งยืน ควรเสริมสร้างความแขง็ แกร่ง ของศาสตร์พระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุ วิสัยทัศน์ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่อื ความสุขของคนไทยทกุ คน ในสว่ นนโยบายและยทุ ธศาสตรท์ างการ ศกึ ษาของประเทศไทย มจี ุดเดน่ และส่ิงที่ควรพฒั นาอยู่ประเด็น หากในอนาคตจะมีการปรับปรุงหรือ วางแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของประเทศไทย ควรทำให้ครอบคลุมในทุกด้าน เช่น การศกึ ษา บคุ คล งบประมาณ เศรษฐกจิ และสงั คม เพอื่ ยกระดับคุณภาพของคนไทยทุกด้านและ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของแผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 250-2579 สำหรับข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยจาก การศึกษา เชิงสังเคราะห์และวิเคราะห์ระบบการศึกษาและการบริหารของประเทศสหพันธรัฐ มาเลเซยี สามารถนำเสนอได้ตามประเดน็ ดงั ต่อไปนี้

46 1. การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่สอง และภาษาอื่น ๆ เป็นภาษาที่สามเพิ่มเติม ด้วยปัจจุบันภาษาอังกฤษ เป็นภาษาราชการของสังคมโลกส่วนใหญท่ ี่ใช้ใน การติดต่อ สื่อสารกัน ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การค้าขาย การศึกษา ภาษาอังกฤษจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ ประเทศไทยต้องเร่งผลิตเยาวชนให้มีความพร้อม และสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี โดยการจัดกิจกรรม หรือจัดสรรครูด้านภาษาอังกฤษ ให้กับสถานศึกษาอย่างเพียงพอตามความ ตอ้ งการของแตล่ ะสถานศึกษา อกี ทงั้ การสง่ เสรมิ และภาษาอนื่ ๆ เป็นภาษาท่ีสามเพม่ิ เติม 2. สร้างนวัตกรเพื่อผลิตนวัตกรรม ให้สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย ที่กำลังเข้าสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันสูง ด้วยการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบ สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) ด้วยการสอนใหน้ ักเรียนได้ใชก้ ระบวนการคิดอย่างเปน็ ระบบ และ ลงมือปฏิบตั ิจริงผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ รวมถงึ รู้จักการใช้เหตุผล และการแก้ไขปญั หาดว้ ยตนเอง 3. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้พัฒนาตนเองตามสาขาวิชาเอกที่บรรจุและตามความถนัดและความสนใจ รวมถึงส่งเสริมการใช้ ภาษาอังกฤษ สำหรบั ครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยรัฐบาลหรอื กระทรวงศึกษาธกิ ารเป็นผู้จัดสรร งบประมาณในการเขา้ ร่วมกิจกรรม เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและพฒั นาศักยภาพของ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

47 บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2560). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560. พิมพค์ รั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. ทวโี ชค เรอื งขจรเมธี. (2555). สภาพการปฏิบตั ิงานของครู กศน. ตำบล สงั กัดสำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั พะเยา. (การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง การศกึ ษามหาบัณฑิต). มหาวทิ ยาลยั พะเยา. ทักษ์ อดุ มรตั น.์ (2564). ศกึ ษาการพฒั นาการศึกษาเพ่อื การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยืนของโลก : กรณศี กึ ษาประเทศมาเลเซีย. สกั ทอง : วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ (สทมส.), 27 (2), 9-32. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tgt/article/view/252400/170795 ทวิ า คงเสน. (2548). การจัดการเรยี นการสอนตามแนวปฏริ ูปการเรียนรู้ท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญของ ครูโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3. (วิทยานิพนธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ธัญรศั ม์ ม่งิ ไชยอนนั ต์. (2559). การบรหิ ารงานวิชาการของสถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ในจังหวดั อบุ ลราชธานี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวิทยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี. นเรศ ป่บู ุตรชา, วัลนิกา ฉลากบาง, วาโร เพ็งสวัสด์ิและ พรเทพ เสถยี รนพเกา้ . (2562). รปู แบบ ความสัมพันธ์โครงสรา้ งเชิงเสน้ ของสมรรถนะครูที่สง่ ผลตอ่ คุณภาพผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 9 (2), 77-85. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/npuj/article/view/142894/146176 นารลี กั ษณ์ ธรี ะวัฒนะชาตแิ ละสพลณภัทร์ ศรแี สนยงค์. (2557). การสร้างชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือ พัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ทเ่ี รยี นวชิ าสงั คมศึกษา เรอื่ ง พลเมอื งดี โดยใช้รูปแบบการเรยี นการสอนตามแนวทฤษฎีการสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง. วารสารการศกึ ษาและการพัฒนาสังคม, 10 (1), 35-45. http://dspace.lib.buu.ac.th/bitstream/1234567890/3198/1/edusoc10n1p35- 45.pdf

48 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) พระราชบญั ญตั ิการจดั การศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551. (2551, 5 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ 125 พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. (2542, 19 สงิ หาคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม 116 พารีดี ลาบูอาปี. (2557). สภาพและปญั หาการบริหารโรงเรียนแกนนำจดั การเรยี นร่วมตามโครงสรา้ ง (SEAT Framework) สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 2. (วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ ). มหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา. พฆิ เนศ บัวสนิทและธานี เกสทอง. (2559). การศึกษาแรงจงู ใจในการทำงานของครู กล่มุ อขู่ ้าว อูน่ ้ำ สงั กัดสำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั . วารสาร บัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งราย, 9 (19), 155-166. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/crrugds_ejournal/article/view/80620 เพชรรตั น์ ชวาลติ และนนั ทิยา น้อยจนั ทร์. (2559). การศึกษาสภาพการดำเนนิ งานการจดั การศึกษา ปฐมวัยของโรงเรียนในสงั กัด สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 2. วารสารบัณฑติ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งราย, 9 (21), 153-162. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/crrugds_ejournal/article/view/79849 วชริ ะ พลพทิ กั ษ, ธวัชชยั ไพใหลและ เพลนิ พศิ ธรรมรัตน. (2563). ขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือ พฒั นาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ในจังหวดั นครพนม. วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด, 14 (3), 81-92. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/reru/article/view/237582/167432 วีระเทพ ปทุมเจริญวฒั นา, อาชญั ญา รัตนอุบล, มนสั วาสน์ โกวิทยา, วรรัตน์ ปทมุ เจริญวฒั นา, ณัฏฐลกั ษณ์ ธาระวานิช และ สวุ ิธดิ า จรงุ เกียรตกิ ลุ . (2560). การสังเคราะห์เปรียบเทียบ นโยบายและยุทธศาสตร์ทางการศึกษาของประเทศเวียดนามมาเลเซีย และอนิ โดนีเซีย และ ประเทศไทย. วารสารวิชาการ Veridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับ ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10 (2), 2373-2391 https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/107435 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). พฒั นาการหลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐานของไทย. กรงุ เทพฯ : กลุ่มสง่ เสริมการเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวิต สำนกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา.

49 บรรณานุกรม (ตอ่ ) สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2559). รายงานผลการศึกษาการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของ ตา่ งประเทศ. กรงุ เทพฯ : 21 เซน็ จรู ี่ จำกัด. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 250-2579. พมิ พ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท พรกิ หวานกราฟฟิค จำกดั . สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. (2565). ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้น. [ออนไลน]์ . ค้นเมือ่ 10 มกราคม 2565, จาก : http://www.nfe.go.th/onie2019/index.php/about-us/strategic-operations- focus.html สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวชิ าชีพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2562). หลักเกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ัติการจัดการอาชวี ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง. พิมพค์ ร้งั ที่ 1. กรุงเทพฯ : วทิ ยาลัยเทคนคิ มนี บุรี. ASEM Education. (2021). Education in Malaysia. [Online]. Retrieved December 27, 2021, From : https://asem-education.org/compendiums/200-malaysia/ UNESCO. (2021). Malaysia Education System. [Online]. Retrieved December 29, 2021, From : http://uis.unesco.org/en/country/my?theme=education-and-literacy

50 ภาคผนวก

51

52

53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64

65

66

67

68

69

70

71


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook