Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

Published by may_moon6255, 2022-06-13 07:53:00

Description: คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

Keywords: ปูม้า,ธนาคารปูม้า,คู่มือธนาคารปูม้า

Search

Read the Text Version

ขอ้ ดแี ละข้อเสีย ของธนาคารปมู า้ แบบกระชัง ขอ้ ดี ข้อเสยี ไมมีภาระคาสาธารณูปโภค เชน คาไฟฟา ไมคงทนอายุการใชงานประมาณ 6 เดือน ใชง บประมาณนอยไมตองสรางโรงเรือน ตอ งดแู ลควบคุมสภาพแวดลอ มในกระชงั ให ไมตองมีการควบคมุ สภาพแวดลอม เหมาะสมตอปมู า แตค วรมจี ดุ ตง้ั กระชงั ทม่ี คี ณุ ภาพนำ้ เหมาะสม มีความยากในการจัดกิจกรรมตอยอด สะดวกในการนำปมู าใสก ระชงั หากวา สรางความเขาใจหรือสรางความตระหนัก จดุ ตดิ ตง้ั กระชงั เปน ทางผา นของเรอื ประมงเขา หรอื ออกจากฝง 5 ตองขออนุญาตในการใชพื้นที่จากราชการ หรอื หนว ยงานท่ีดูแลพนื้ ทีท่ ะเล 6 เสย่ี งตอ การสญู หายของแมป ู สรา งความรว มมอื หรอื กจิ กรรมความรว มมอื หรอื กจิ กรรม CSR ไดย ากกวา รปู แบบโรงเรอื น 46

ธนาคารปมู า รูปแบบอน่ื ๆ 47

รูปแบบคอก แนวคดิ การทำธนาคารปูมารูปแบบคอกเปนการทำธนาคารปูมาในอดีต ปจจุบันพบจำนวนนอย แนวคิดมาจากการประยุกตองคความรูของชุมชน โดยใชพื้นที่ชายฝงทะเลที่มีความเค็มและคณุ ภาพ น้ำเหมาะสม มีแหลงระบบนิเวศซึ่งเปนแหลงที่อยูอาศัยของปูมาวัยออน เชน แหลงหญาทะเล หรือ แหลงกำบังลมใกลชุมชนประมง โดยการจัดทำเปนคอกเพื่อปลอยแมปูมาไขนอกกระดองใหฟกไข กอนการนำไปจำหนาย ในบางพื้นที่ชาวประมงจะพักปูมาขนาดเล็กเพื่อขุนใหโตถึงขนาดตลาด อปุ กรณเบ้ืองตน ทอ พีวีซี หรอื ไมเ สา เชอื กเพื่อผูกมัด อวน ทนุ แสดงสัญลักษณทตี่ ั้งธนาคารปมู า 48

แนวทางการดำเนนิ งาน ธนาคารปูมาแบบคอกประกอบดวยโครงสรางซึ่งทำจากไม หรือทอ PVC ปกเปนเสา เพอ่ื ปอ งกนั สนมิ และใชเ นอ้ื อวนไนลอนลอ มเปน คอก โดยขนาดของอวนมตี ง้ั แตข นาด 4 x 4 ตารางเมตร จนถึง 40 x 40 ตารางเมตร ตามความเหมาะสมของพื้นที่ โดยชาวประมงใหความเห็นวาการ จัดทำธนาคารปูมาประเภทนี้แมปูมาจะมีที่อยูอาศัยที่กวางและสามารหาอาหารได มีแหลงหลบซอน กลางวัน พบธนาคารปูมารูปแบบนี้ ในพื้นที่จังหวัดตรัง และพื้นที่เกาะสาหราย จังหวัดสตูล 49

รปู แบบปลอยแมปมู าโดยตรง ชาวประมงตระหนักถึงทรัพยากรที่กำลังเสื่อมโทรม จำนวนปูมาที่ลดลง ทำใหมี ความรับผิดชอบในการทำการประมงเพื่อความยั่งยืนมากขึ้น รูปแบบธนาคารปูมาหรือการฟนฟูปูมา โดยการปลอยแมปูมาไขนอกกระดองคืนสูทะเลไทยโดยตรงนับเปนแนวปฏิบัติที่มีการดำเนิน การแพรหลายมากขึ้นในปจจุบัน มีขอดีคือชาวประมงไมตองลงทุนในการทำธนาคารปูมา ไมจำเปนตองสรางโครงสรางโรงเรือน และไมมีตนทุนคาบริหารจัดการอื่นๆ เมื่อชาวประมงพบปูมา ไขนอกกระดองติดเครื่องมือประมง ชาวประมงสามารถปลอยคืนกลับทะเลไดทันที ทั้งนี้พบวา ชาวประมงที่ใชเครื่องมือประเภทลอบปูมาแบบพับไดสามารถปลอยแมปูมาคืนสูทะเลไดโดยตรง ทันที เนื่องจากปูมาไมติดอวนและไมบาดเจ็บจากเครื่องมือประมง ขณะที่ชาวประมงที่ใชเครื่องมือ ประมงอวนลอยหรืออวนจมปูมา สวนมากนิยมเก็บอวนและกลับขึ้นฝงเพื่อมาแกะปูออกจากอวน ดังนั้นชาวประมงจำเปนตองพักแมปูมาไวบนฝง 1 คืน กอนนำปลอยกลับคืนสูทะเล 50

ชาวประมงบางกลุมจะนำแมปูมาไปฝากไวที่ ธนาคารปูมา ปลอยใหฟกไข แลวปลอยทั้งแมปูมาและ ไขพรอมกัน เชน ธนาคารปูมาในพื้นที่เกาะสมุย และ ธนาคารปูมาในพื้นที่เกาะพะงัน เปนตน การปลอยปูมา รูปแบบนี้ชาวประมงมักทำสัญลักษณบนกระดอง เปน ชื่อผูปลอย เปนหนวยงาน หรือลักษณะตางๆ โดยคาด หวังวาชาวประมงคนตอไปที่จับปูมาที่มีสัญลักษณที่ กระดองจะเห็นและปลอยตอเพราะเปนการปลอยเพื่อ สรางบุญ และเปนความเชื่อที่หวังวาชาวประมงจะ รวมกันสรางบุญในการปลอยสัตวน้ำสูธรรมชาติ พบการ ปลอ ยปมู า โดยตรงสทู ะเลไดเ กอื บทกุ จงั หวดั ชายฝง ทะเล โดยเฉพาะพื้นที่ จังหวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช จันทบุรี ตราด เปนตน 51

รูปแบบตดิ ขางเรอื ธนาคารปูมาประเภทนี้ชาวประมงจะหอยถุงอวน หรือตะกราพลาสติกไวขางๆ หรือบางครั้งไวทายเรือเมื่อชาวประมงวางเครื่องมือประมงลอบปูมาแบบพับไดหรือ อวนลอยปูมา และมีปูมาไขนอกกระดองติดเครื่องมือประมง ชาวประมงจะปลดและพัก ปูมาไวในอวนหรือตะกราที่ผูกติดขางหรือทายเรือ การทำธนาคารปูมาแบบนี้เปนอีกวิธี หนึ่งที่ชาวประมงทำตามความสะดวกและไมตองลงทุนเพื่อซื้ออุปกรณหรือสรางโรงเรือน อยางไรก็ตามการทำธนาคารปูมาประเภทนี้มีขอเสียที่ควรระวังคือ การวิ่งเรือดวย ความเร็ว หรือวิ่งเรือไปทำประมงในพื้นที่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของความเค็ม หรือวิ่งเขา มาจอดในคลองซึ่งมีความเค็มต่ำ สงผลใหปูมาไขนอกกระดองสลัดไขออกจากจับปง เนื่องจากความเครียด ซึ่งจากการสอบถามชาวประมงพบวา ปูมาไขนอกกระดองที่ทำ ธนาคารปูมาประเภทนี้สลัดไขอยางรวดเร็ว แมนวาไขปูมายังอยูในระยะสีเหลืองหรือสีสม ในปจจุบันธนาคารปูมาประเภทนี้มีการทำจำนวนนอย พบธนาคารปูมารูปแบบนี้ในพื้นที่ จังหวัดตราด 52

แนวทางการจดั ทำธนาคารปมู า การเลือกสถานที่ การลำเลียงแมปูมาและการดูแล ระบบการฟก การสุมนับจำนวนลูกปูมา วัยออนระยะซูเอี้ย 53

การเลือกสถานท่ี การคัดเลือกสถานที่ในการทำธนาคารปูมา เปนสิ่งที่สำคัญเพราะเปนศูนยกลางของ การรวมแมปูมาไขนอกกระดอง การเลือกสถานที่ตั้งของธนาคารจึงควรไดรับการยอมรับ ภายในกลุมสมาชิก โดยตองคำนึงถึงปจจัยดังตอไปนี้ ความเหมาะสมของสถานที่และรูปแบบ ควรเลือกพื้นที่ชุมชนชาวประมงที่มีการทำ ประมงปูมา โดยใชอวนจมปูมา หรือลอบปูมา มีการรวมกลุมของชาวประมง และหากเคย มีประสบการณในการรวมกลุมเพื่อฟนฟูสัตวน้ำดวยจะดีมาก ควรมีปริมาณแมปูมา เขาสูธนาคารจำนวนมากเพียงพอประมาณ 80 - 100 ตัว ตอเดือนในสวนของรูปแบบธนาคารปูมา ขึ้นอยูกับความเหมาะสม และความสะดวกของบริบทพื้นที่ดังรายละเอียดการจัดทำธนาคารปูมา แตละรูปแบบที่กลาวไวขางตน งบประมาณในการกอสรางธนาคาร ในกรณีที่มีการสรางโรงเรือนเพื่อจัดตั้ง ธนาคารปูมาบนฝง โรงเรือนเปนปจจัยที่สำคัญในการลดความผันแปรของสภาพแวดลอม ที่จะเกิดผลกระทบกับอัตราการฝกและอัตราการรอดของลูกปูมาวัยออน เชน ปริมาณน้ำฝน หรือแสงแดด ในกรณีที่มีขอจำกัดของงบประมาณชุมชนอาจจะดัดแปลงหรือเลือกดำเนินการ ธนาคารปูมาแบบติดตั้งไวหลังบานเรือน หรือใชอาคารอเนกประสงคที่อยูใกลเคียงกับ ชายฝงทะเล เปนตน 54

ระยะหางของที่ตั้งจากแหลงที่ปลอยลูกพันธุ ปูมา ควรคัดเลือกสถานที่ไมหางจากแหลงปลอยลูก พันธุปูมา เพื่อใหเกิดความสะดวกในการปลอยลูก พันธุปูมาของสมาชิก และประหยัดคาใชจายในการเดิน ทาง รวมทั้งประหยัดบรรจุภัณฑในการขนสงลูกพันธุปูมา ความสะดวกในการบริหารจัดการ ควรเปนสถานที่ ซึ่งสามารถใชเปนศูนยกลางในการเรียนรูของชุมชน หรือ สามารถเปน แหลง เยย่ี มชมของบคุ คลทม่ี คี วามสนใจ มขี อบเขต พื้นที่ไมเล็กเกินไป สามารถขยายพื้นที่เปนศูนยเรียนรูชุมชน หรือตอยอดเปนศูนยกลางการพัฒนาผลิตภัณฑของชุมชน รวมทั้งเปนพื้นที่ซึ่งสามารถพัฒนาชองทางยกระดับเศรษฐกิจ ชุมชนโดยใชธนาคารปูมาเปนเครื่องมือ ความสะดวกในการตดิ ตง้ั พลงั งานทางเลอื ก ในกรณี ที่พื้นที่จัดทำธนาคารปูมาไมมีพลังงานไฟฟาใช หรือ ตองการลดภาระคาใชจายคาไฟ ควรคัดเลือกพื้นที่ซึ่ง เหมาะสมตอการติดตั้งพลังงานทางเลือก เชน พลังงาน แสงอาทิตยหรือพลังงานทางเลือกอื่นๆ ซึ่งควรเปนพื้นที่ โลงติดชายฝงทะเล แตมีระยะหางจากชายฝงพอสมควร เพื่อลดผลกระทบของคลื่นลม หรือมรสุมที่สงผลตอ ความคงทนของที่ตั้งธนาคารปูมา 55

การลำเลียงแมปูมาและการดูแล ระบบการฟก - ควรใชความระมัดระวังในการลำเลียงแมปูไขนอกกระดองกอนนำเขาธนาคาร แยกปูมา ไขนอกกระดองใสถังสำหรับนำเขาสูธนาคาร เพื่อลดความบอบช้ำของไขนอกกระดอง และลดความเครียดของแมปูมา - ใหอากาศในถังลำเลียงแมป ูมา โดยใหออกซเิ จนละลายน้ำมากกวา 4 มิลลิกรัมตอ ลติ ร ความเค็ม 27-35 สวนในพัน อณุ หภมู ิของนำ้ 28-32 องศาเซลเซยี ส - ในกรณีที่จำเปน ตอ งลำเลยี งแมป มู าไขนอกกระดองหลายตวั ในถัง ควรใสใ บไมหรือกง่ิ ไม เชน กิง่ สน เพ่อื ลดความเครียดและการตอ สู - ไขน อกกระดองสดี ำของแมป มู า ใชร ะยะเวลาในการฟก 1-2 วนั ไมจ ำเปน ตอ งเปลย่ี นนำ้ แตในกรณีปูมาไขสีอื่นๆจำเปนตองเปลี่ยนน้ำตามพัฒนาการของไขกอนการฟก เปนลูกปูระยะซูเอี้ยทั้งนี้น้ำที่เปลี่ยนถายควรมีความเค็ม และอุณหภูมิที่ใกลเคียงกัน เพื่อใหแมปูมาปรบั ตวั ไดง าย และไมเ ครยี ดเขยี่ ไขทิ้ง - อากาศท่ีเติมในถงั ฟกตอ งมแี รงมากพอท่ีทำใหไ ขห รือตวั ออนในถังฟก ไมนอนกน และมกี ารฟงุ ทัว่ ทง้ั ถังตลอดเวลา - หากพบวา แมป มู า เขย่ี ไขท ง้ิ เปน พวง แสดงใหเ หน็ วา คณุ ภาพนำ้ ในถงั ฟก ไมเหมาะสม และทำใหอัตราการรอดของลูกปูมาวัยออนต่ำลง ควรแกไขและปรับปรุงระบบ การฟกในถังทันที โดยเบื้องตน พิจารณาจากปจจัยความเค็ม ออกซิเจนละลายน้ำ และอุณหภูมิ - ธนาคารปูมา ควรมหี ลังคาทส่ี ามารถปอ งกนั แสงแดด และน้ำฝน เนอ่ื งจากปจจยั เหลานนั้ สง ผลตอ การฟก ของไข และอตั รารอดของลูกปูมา วยั ออ นในถงั ฟก 56

การสุมนับจำนวนลูกปูมา วัยออนระยะซูเอี้ย เมอ่ื ไขป ฟู ก ออกเปน ตวั ออ นระยะซเู อย้ี 1 หยดุ ใหอ ากาศ ตวั ออ นลกู ปจู ะลอยขน้ึ มาทผ่ี วิ นำ้ ไขเ สยี หรอื ไขท ย่ี งั ไมฟ ก จะจมทก่ี น กะละมงั ใชม อื กวนนำ้ ในถงั ฟก เพอ่ื ใหไ ขเ สยี กองอยทู บ่ี รเิ วณกน จดุ กลางกะละมงั รอจนนำ้ หยดุ นง่ิ จากนน้ั ใชส ายยาง ดดู ไขเ สยี ออกทง้ิ เตมิ นำ้ ในกะละมงั ใหไ ดป รมิ าตร 30 ลติ ร ใหอ ากาศเพอ่ื ใหล กู ปกู ระจายทว่ั ๆ กนั สมุ ตกั นำ้ ทม่ี ลี กู ปมู า ขน้ึ มาในปรมิ าตร 10 มลิ ลลิ ติ ร สมุ ตวั อยา งจำนวน 3 ครง้ั กระจายทว่ั กะละมงั นำผลมาคำนวณหาคา เฉลย่ี จำนวนลกู ปมู า ตอ 10 มลิ ลลิ ติ ร และคำนวณจำนวนลกู ปทู ่ี มที ง้ั หมดในถงั 30 ลติ ร ตัวอยา งการคำนวณ จำนวนซูเอี้ยที่นับไดจากการสุมครั้งที่ 1 = 95 ตัวตอ 10 มิลลิลิตร จำนวนซูเอี้ยที่นับไดจากการสุมครั้งที่ 2 = 104 ตัวตอ 10 มิลลิลิตร จำนวนซูเอี้ยที่นับไดจากการสุมครั้งที่ 3 = 92 ตัวตอ 10 มิลลิลิตร จำนวนซูเอี้ยเฉลี่ย = 95+104+92= 291/3 =97 ตัวตอ 10 มลิ ลลิ ติ ร คำนวณจากจำนวนลูกปูระยะซูเอี้ยทั้งหมด โดยใชสูตร x97จำตนัววนเฉลี่ย1ล0ูกปมูซิลูลเอิลี้ยิตทรี่สุมนับได จำนวนลูกปูระยะซูเอี้ยทั้งหมด (ตัว) = ปริมาตรน้ำทั้งหมดในถัง = 30,000 มิลลิลิตร x 10 มิลลิลิตร ถาน้ำในถังซูเอี้ยมีปริมาตร 30,000 มลิ ลลิ ติ ร จะมีจำนวนซูเอี้ยทั้งสิ้น = 291,000 ตัว 57

ูลก ูป ุอปก การสมุ ลกู ปรู ะยะ ซเู อย้ี ลกู ปู รกฟก รณส ำหรบั สมุ มา ระยะซเู อยี้ แ 58

เพาะฟกและอนุบาลลูกปูมาจนถึงระยะ Young crab รวบรวมแมพ นั ธปุ มู า ไขน อกกระดองจากแพรบั ซอ้ื พนั ธปุ มู า หรอื ชาวประมง แมพันธุปูมาที่รวบรวมไดมีไขสีเหลือง เหลืองอมสม เทาหรือเทาดำลำเลียง โดยใสก ลอ งโฟมซง่ึ มนี ำ้ ทะเลสะอาด ใหอ อกซเิ จนละลายนำ้ มากกวา 4 มลิ ลกิ รมั ตอ ลติ ร ตลอดเวลา ลำเลียงแมพันธุปูมามายังโรงเพาะพันธุปูมาที่มีบอหรืออุปกรณ ที่พรอมสำหรับเพาะลกู ปูมา ระยะซเู อีย้ หรือปูมา วัยออ น 59

การเพาะฟกลูกปูมาวัยออนระยะ ซูเอี้ย การคัดแยกสีไขนอกกระดองของแมปูมาที่รวบรวมมา เพื่อฟกไขใหไดลูกปูระยะซูเอี้ย สามารถทำได 2 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 แมปูมาไขสีน้ำตาล หรือสีดำ นำแมปูมาใสใน ตะกราพลาสติก 2 ชิ้น โดยนำประกบกันเปนกลองบรรจุแม พันธุปูมากลองละ 1 ตัว วางตะกราแมพันธุไวในบออนุบาล ซึ่งไดเตรียมน้ำทะเลผานการฆาเชื้อโรคดวยคลอรีนที่มี ความเค็มอยูระหวาง 28 - 32 สวนในพัน วางตะกราไว 1-2 วัน ในบอ อนบุ าล ไขข องแมป มู า จะฟกออกเปน ตวั ออ นระยะซูเอี้ย วิธีที่ 2 แมปูมาไขสีเหลืองหรือเหลืองอมสมนำมาฟกในถัง ขนาด 100-150 ลิตร โดยใชน้ำทะเลที่ผานการฆาเชื้อดวยคลอรีน ถาไขเริ่มตนจากสีเหลืองใชระยะเวลาประมาณ 7-9 วัน ไขจะฟกออกเปนตัวออนระยะซูเอี้ย โดยแมพันธุปูมาจะใหลูกปู ประมาณ 80,000 - 2,000,000 ตวั /แม (ขน้ึ อยกู บั ความสมบรู ณข องไขแ ละขนาดแมพ นั ธ)ุ 60

การอนุบาลลูกปูมาจากระยะซูเอี้ย จนถึงปูเล็ก (Young crab) คุณภาพน้ำที่ใชอนุบาลตัวปูมาระยะ Young crab มีคาความเค็มระหวาง 25 – 32 สวนในพัน ทั้งนี้น้ำทะเลตองผานการฆาเชื้อดวยคลอรีนในอัตราความเขมขน 30 กรัมตอปริมาตรน้ำ 1,000 ลิตร อุณหภูมิน้ำที่เหมาะสม อยูในชวง 28 – 32 องศาเซลเซียส ความเปนกรดเปนดาง 7.8 – 8.5 ปรมิ าณออกซเิ จนทล่ี ะลายในนำ้ ไมน อ ยกวา 4 มลิ ลกิ รมั ตอ ลติ ร และมคี า ความเปน ดา ง 150-170 มลิ ลกิ รมั ตอ ลติ ร 61

การเตรียมอาหารสำหรับอนบุ าลลูกปูมา้ วยั ออ่ น การเตรียมแพลงกตอนพืช (น้ำเขียว) แพลงกตอนพืชที่ใชมีอยู 2 ชนิด คือ Chlorella sp. และ Tetraselmis sp. เตรยี มขยายในถังไฟเบอรขนาด 500 ลิตร และขยายตอในบอขนาด 4 ตัน และ 18 ตัน โดยใชปุยสูตรกลางแจง ของ Sato เตรียมไวเปนอาหารของโรติเฟอรและใชเปนตัวควบคุมความโปรงใส ของนำ้ ในบอ อนุบาลลูกปูมา การเตรียมแพลงก์ตอนพืชหรือน้ำเขยี วการเตรียมโรติเฟอร ใชบอซิเมนตหรือถังไฟเบอร ซึ่งผานการทำความสะอาดและฆาเชื้อ ดวยคลอรีนเรียบรอยแลว สูบน้ำเขียว (Chlorella sp. หรือ Tetraselmis sp.) ที่เตรียมไวใสในถังหรือบอ นำหวั เชื้อโรตเิ ฟอรม าใส โรติเฟอรเปนแพลงกต อนสัตวซ่งึ กินแพลงกต อนพืชเปน อาหาร เก็บเกยี่ วโรติเฟอรไป ใชเ ลี้ยงลกู ปมู าโดยกรองดวยถงุ กรองทีม่ ขี นาดตาผากรอง 60 ไมครอน และเตมิ นำ้ เขียวเมอื่ สีน้ำเขยี วจางลง หรอื ทุกครั้งหลังเกบ็ เกีย่ วโรตเิ ฟอร การเตรียมอารท์ ีเมยี นำไขอารทีเมียมาฟกในถังกรวย ใชน้ำทะเลความเค็ม 25-32 อัตราไขอ ารท ีเมีย 1 – 5 กรมั ตอน้ำ 1 ลติ ร ใหเตมิ อากาศ ทแ่ี รงดนั สงู ใชร ะยะวลา 18 - 24 ชว่ั โมง ไขอ ารท เี มยี จะฟก เปน ตวั หลงั จากนั้นทำการกรองเกบ็ ตวั ออ นอารท เี มยี โดยหยุดใหอ ากาศ และพักไว 15 – 20 นาที เปลือกไขอารทีเมียจะลอยอยูผิวน้ำ ทำการแยกตัวออนอารทีเมียเพื่อใชอนุบาลลูกปูมาระยะเวลา ที่ใชฟกไขอารทีเมียขึ้นอยูกับขนาดและระยะของลูกปูมา หากเปนลูกปูมาเล็กระยะ ซูเอี้ย 1 หรือ 2 จะใชเวลาในการฟก อารท เี มียเพื่อเปนอาหารประมาณ 18 – 20 ชั่วโมง ปูม้าคในวกาามรหอนนาบุ แานลน่ ลกู ทำการอนบุ าลลกู ปมู าในบอคอนกรตี ขนาดตงั้ แต 2 ตัน ปลอ ยลกู ปูมา วัยออ น ระยะซูเอี้ยในอัตราความหนาแนน 50,000 – 100,000 ตวั ตอ นำ้ 1,000 ลติ ร 62

การอนบุ าลลูกปมู า้ วยั ออ่ นระยะซูเอี้ย ระยะซเู อีย้ 1 ระยะซเู อ้ีย 2 ระยะซเู อี้ย 3 ระยะซเู อ้ยี 4 พฒั นาการของตัวออ่ นปูมา้ ระยะซเู อีย้ 1 ถึง ซเู อ้ีย 4 ลูกปูมาวัยออนระยะซูเอี้ย แบงออกเปน 4 ระยะ คือ ระยะ ซูเอี้ย 1 - 4 สามารถอนุบาลในน้ำทะเล ความเค็ม 28 - 32 สวนในพัน ที่ผานการฆาเชื้อโรคดวยคลอรีนแลว ใหโรติเฟอร และอารทีเมียและสามารถ ใชอ าหารสำเรจ็ รปู ลกู กงุ ทะเลวยั ออ นเปน อาหาร ใชเ ทคนคิ การใสส ารปรบั สภาพนำ้ หรอื สนี ำ้ เทยี มเปน ตวั ควบคมุ ความโปรงใสของน้ำ ทำการเปลี่ยนถายน้ำครั้งแรกเมื่อลูกปูมาอายุ 4 วัน จากนั้นเปลี่ยนถายน้ำแบบ 1 วัน เวน 2 วนั ประมาณ 20-30% สลบั กบั การดดู ตะกอน ปมู า วยั ออ นระยะซเู อย้ี ใชร ะยะเวลาประมาณ 10 – 12 วนั พฒั นาโดยการลอกคราบเขา สรู ะยะเมกาโลปา (Megalopa) 63

การอนบุ าลปมู ้าวยั ออ่ นระยะเมกาโลปา (Megalopa) อนบุ าลปมู า วยั ออ นในนำ้ ทะเลทผ่ี า นการฆา เชอ้ื ทร่ี ะดบั ความเคม็ 23 – 25 สว นในพนั ใหอ าหารทง้ั แบบอาหาร ที่ยังมีชีวิต เชน อารทีเมียตัวเต็มวัย หนอนแดง และอาหารที่เปนแบบไมมีชีวิต เชน อารทีเมียตัวเต็มวัยแชแข็ง ปลาสดบด เนื้อหอยสับ เทคนิคสำหรับการเพิ่มอัตราการรอดควรใสกิ่งสน หรืออวนสำหรับใหปูมาวัยออน เกาะและหลบซอนตัว ปองกันการกินกันเองเพราะระยะนี้ปูมาเริ่มมีพฤติกรรมเปนผูลาและมีความสามารถ ในการหาอาหารไดมากขึ้น ปูมาระยะเมกาโลปานี้ใชระยะวลาประมาณ 5 – 7 วัน กอนลอกคราบเขาสู ปูมา วัยออนระยะ Young crab แพลงก์ตอนโรติเฟอร์ อารท์ ีเมยี ตวั ออ่ นปมู า้ ระยะเมกาโลปา การอนบุ าลปูม้าวัยอ่อนระยะ Young crab อนบุ าลลกู ปมู า วยั ออ นดว ยปลาสดบดเสรมิ ดว ยอารท เี มยี ตวั เตม็ วยั จนลกู ปมู า โตไดข นาด 0.5-1 เซนตเิ มตร นำไปเลีย้ งตอในบอดนิ ขนาดตั้งแต 1 ไร ดว ยอัตราความหนาแนน 2 – 3 ตวั ตอตารางเมตร โดยใหอาหารเปน ปลาสดตดั เปน ชน้ิ ปรมิ าณอาหารทใ่ี หอ ยใู นชว ง 7 – 10% ของนำ้ หนกั ตวั ลกู ปมู า ใชร ะยะวลาเลย้ี งปมู า ระยะ Young crab ประมาณ 3 - 4 เดือน ลูกปมู าจะโตจนถึงขนาดตลาดทีน่ ำ้ หนกั ตวั ประมาณ 100 - 150 กรัม อาร์ทเี มียตัวเต็มวยั ปลาบด หนอนแดง ปลาสดตดั เป็นชนิ้ ปมู า้ วัยอ่อนระยะ Young crab และก่ิงสนทะเลสำหรับใหป้ มู า้ ลงเกาะและหลบซ่อนตวั 64

แนวทางการปลอยปมู า ทีเ่ หมาะสม ปจ จบุ นั ความตน่ื ตวั ตระหนกั รู และการมสี ว นรว มตอ การฟน ฟทู รพั ยากรปมู า เพม่ิ มากขน้ึ อยา งมาก อาจจะเปน ผล มาจากการประชาสัมพันธ สรางการรับรูของหลายหนวยงานที่รวมมือดำเนินโครงการ “คืนปูมาสูทะเลไทย” สนับสนุน โดยสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) จะเห็นไดวามีการจัดตั้งธนาคารจำนวนมากตลอดแนวชายฝงทั้งอาวไทยและ อันดามัน มีการบริจาคปูมาไขนอกกระดองเขาสูธนาคารปูมาและปลอยลูกปูมาในหลายพื้นที่ อยางไรก็ตามหลังจาก ที่ประสบความสำเร็จในการสรางความตระหนักใหทุกคนชวยกันดำเนินโครงการธนาคารปูมาการจัดทำธนาคารปูเพื่อ ใหเกิดผลสำเร็จไดนั้น แนวทางการปลอยปูมาวัยออนที่ถูกตอง ปลอยในสถานที่และเวลาที่เหมาะสมเปนปจจัยสำคัญ และเปนปจจัยที่ตองสรางการรับรู ทั้งนี้เพื่อลดอัตราการตายจากการปลอย เพิ่มอัตรารอดของลูกปูมาในทะเล โดยการปลอ ยลกู ปมู า ทพ่ี บมากเปน การปลอ ยลกู ปมู า ระยะซเู อย้ี และมบี างสว นเปน การปลอ ยในระยะปมู า วยั ออ น (Young crab) หลกั การปล่อยปมู ้าระยะซูเอย้ี และระยะปูเล็ก (Young crab) นำลูกปูมาซูเอี้ยหรือปูเล็กไปปลอยคืนธรรมชาติ ในพน้ื ทซ่ี ง่ึ ความเคม็ ไมต า งกบั ในถงั ฟก และความเคม็ ตา งกนั ไดไ มเ กนิ 2 สว นในพนั แนะนำใหช าวประมงนำลกู ปมู า ไป ปลอยชวงออกทำประมงบริเวณที่ชาวประมงจับปูมา ไขนอกกระดองสีดำได โดยความเค็มในพื้นที่ปลอย ควรอยูในชวง 27-35 สวนในพัน เพราะเปนชวงที่เหมาะ ตอพัฒนาการของตัวออน ควรนำลูกปูมาแรกฟกปลอยทันทีเพราะหาก ปลอยไวน าน นำ้ ในถังฟกจะเสอื่ มคุณภาพเน่อื งจาก ปรมิ าณแอมโมเนยี สงู และลกู ปมู า มโี อกาสกนิ กนั เอง 65

ขณะลำเลียงซูเอ้ียเพ่ือปลอยคืนสูทะเล ควรเติมออกซิเจนในถังฟกโดยใชออกซิเจน แบบพกพา ปลอยลูกปูมาระยะซูเอี้ยโดยพิจารณากระแสน้ำ เนื่องจาก กระแสน้ำจะพัดพาตัวออนไปยังแหลงอาหารเพื่อเพิ่มอัตรา การรอด ควรปลอยหางจากฝงพอประมาณอยางนอยเลย แนวคลื่นหัวแตก เพื่อไมใหตัวออนที่ปลอยถูกคลื่นซัดขึ้นฝง คำนงึ ถงึ ความเหมาะสมของสภาพแวดลอ ม แหลงหลบภัยเชน แหลงสันดอนทราย แหลง หญาทะเล บนพ้ืนฐานของชวี วิทยาปมู า และระบบนิเวศท่ีเกย่ี วขอ ง แนะนำใหป ลอ ยลกู ปมู า ชว งเชา ทอ่ี อกไปทำประมง โดยปลอ ย ในแหลงทำประมงที่เจอแมปูมา หรือปลอยชวงเย็น หรือค่ำ ไมปลอยชวงแดดจัด เพราะลูกปูมาโดยเฉพาะระยะซูเอี้ยบอบบาง จะตายทันทีที่อุณภูมิน้ำในทะเลสูงกวาในถังมากๆ ควรพักลูกปูมา ในถงุ หรอื ภาชนะทใ่ี สใ นนำ้ ทะเลเตมิ นำ้ เขา ในถงั แบบชา ๆใหล กู ปมู า ไดปรับตัวและไมควรเทน้ำจากทีส่ งู บนเรือลงทะเล เพราะจะทำให ลกู ปมู าตายหรอื มอี ัตราการรอดต่ำ ไมค วรปลอ ยทนั ทีทันใด ควรปลอยลูกปูมาในลักษณะหมุนเวียน ไมควรปลอยในพื้นที่เดิมบอยๆ เพราะจะ ดึงดูดผูลาเขามาหาอาหารในพื้นที่ซึ่ง มแี พลงกต อนสตั วห รอื ลกู ปขู นาดเลก็ จำนวนมาก ในกรณีที่ธนาคารปูมาตั้งอยูบริเวณปากแมน้ำ ควรปลอย 66 ลูกปูมา ขณะทีน่ ้ำขึน้ สงู สดุ ใกลจ ะเปน ชว งน้ำลง เน่อื งจากความเค็ม จะสูง และกระแสน้ำชวงนั้นจะแรงสามารถพัดพาตัวออนออกไป ชายฝง ยังแหลง อาหารได กรณปี ลอ ยปมู า ขนาดเลก็ (Young crab) เนื่องจากปูจะหลบภัยใตพื้นทรายในเวลา กลางวัน ดังนั้นควรนำลูกปูมาไปปลอย บริเวณสันดอนทราย หรือพื้นที่หลบซอน เชน แหลงหญาทะเล

ปจ จัยสูความสำเรจ็ ธนาคารปูมาควรเกิดจากความตองการของคนในชุมชน โดยชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของ การอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรประมงและระบบนิเวศ โดยเฉพาะทรัพยากรปูมาซึ่งเปนสัตวน้ำ ชนิดหลักในเชิงของผลจับในหลายพื้นที่ชายฝงทะเล พรอมทั้งชาวประมงควรมีจิตสาธารณะ รวมกันดำเนินโครงการแบบบูรณาการความรวมมือของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง ผูนำที่เขมแข็ง ซึ่งอาจจะเปนผูนำชุมชนที่ เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือผูนำ ประธานกลุมอนุรักษ โดยมีคุณสมบัติเปน ผูมีความนาเชื่อถือ มีจิตอาสา เปนทั้งผูนำ ทางความคิด และเปนผูนำในการปฏิบัติเปน 67 แบบอยาง

มกี ารบรหิ ารจดั การแมป ูมา ที่ไดรบั มีการจดบันทึกแมปูมาที่เขา การบริจาคอยางโปรงใสรวมทั้งมีการ ธนาคารอยา งสมำ่ เสมอ จำนวนตวั จดั สรรรายไดจ ากขายแมป เู พอ่ื ประโยชน ขนาดตัว สไี ข เปนตน สาธารณะ เชน การมอบทุนการศึกษา หรือเพื่อดำเนิน งานสวนรวม อื่นๆ มีกิจกรรมฟน ฟูระบบนเิ วศ ตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ หญาทะเล หรอื กจิ กรรมอ่นื ๆ เชน บานปลา แหลงปะการังเทียม มกี ารจดบันทกึ ผลจบั ปมู า จากสมาชกิ เพื่อเพิ่มพื้นที่หลบซอนใหกับ เครอื ขา ยธนาคารปูมา เพ่ือทราบถงึ แนวโนม ลูกปมู าและเพิ่มอตั ราการรอด ของจำนวนปมู าในทะเล รวมทงั้ เพอ่ื ประเมิน ความสำเร็จเชิงประจักษในการเพิ่มจำนวน 68 ปมู าจากการทำธนาคารปมู า

รว มกำหนดเขตอนรุ กั ษป ูมาของ ชมุ ชน เชน พน้ื ท่หี า งจากฝง 300-500 เมตร เพอ่ื รกั ษาเปน พน้ื ทแ่ี หลง อนุบาล ลกู ปมู า วยั ออ น เพอ่ื เพม่ิ ประชากรปมู า ในธรรมชาติ ไมจับปมู าทีม่ ไี ขน อกกระดองขึ้นมาใช ประโยชน โดยเฉพาะในชวงฤดกู าลสบื พันธุ หากติดขึ้นมาควรนำไปฟกที่ธนาคารปูมา กอ นการใชป ระโยชน ไมท ำการประมงใกลแ หลง อนบุ าลตวั ออ น เชน แหลง หญา ทะเลและแนวสนั ดอนทราย ไมใชเ ครื่องมอื ลอบปมู าท่ีมี ขนาดชอ งตาเล็กกวา 2.5 นวิ้ ทำขอ ตกลงรวมชุมชนใชต าอวน ขนาดใหญจบั ปมู าขนาดโต กวา 10 เซนติเมตร 69

“ไมจ่ บั ไม่ซอ้ื ไมก่ นิ ” ปูมาขนาดเล็กกวา 10 เซนติเมตร และปมู า ไขน อกกระดอง การสนับสนุนอยางตอเนื่องจากหนวย งานภายนอก ทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย หรือการรวมทำกิจกรรม CSR จากหนวยงานตางๆในพื้นที่ เชน โรงแรม หรือบริษัทหางรานตางๆ ประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารและ ขยายผลและตอยอดกิจกรรมธนาคาร ประชาสัมพันธทั้งแบบปกติและแบบออนไลน ปูมา สูรูปแบบของสหกรณออมทรัพย เพื่อถายทอดจุดแข็งรวมทั้งพลังของการ รวมทั้งตอยอดสรางกิจกรรมสงเสริม อนุรักษฟนฟูทรัพยากรประมงและระบบนิเวศ เศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน เชน การ ของชุมชนเพื่อเปนตนแบบใหกับชุมชนอื่นๆ ทองเที่ยวเชิงวิถีประมง รานอาหาร ที่มีความสนใจ ชุมชน กลุมแมบานแปรรูปอาหาร รวม ทั้งสรางชองทางการตลาดทั้งรูปแบบการ ขายหนารานและขายออนไลน 70

ชมุ ชนธนาคารตน แบบ 71

ศนู ยเ์ รยี นรู้ธนาคารปูม้าและประมงชายฝัง่ บา้ นในถุ้ง ชมุ ชนบา นในถงุ อำเภอทา ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช มีการจัดทำธนาคารปูมาทั้งรูปแบบโรงเรือนบนฝงและ รปู แบบกระชงั มสี มาชกิ กลมุ จำนวนกวา 20 คน และมผี เู ขา รว มกจิ กรรมและบรจิ าคปมู า จำนวนกวา 100 คน มจี ำนวน แมพ นั ธปุ มู า บรจิ าคประมาณ 3 ,000 ตวั /ป มกี ารกจิ กรรม อนุรักษอื่นๆในพื้นที่จัดทำบานปลา และไมใชเครื่องมือ ประมงทำลายลาง ปลอยปูมาระยะซูเอี้ยอยางสม่ำเสมอ รวมทัง้ มกี ารประชาสัมพนั ธกจิ กรรมปลอ ยปูมา เพอ่ื สราง ความตระหนกั ปลอ ยลกู ปมู า ในชว งเวลาและบรเิ วณทเ่ี หมาะสมหา งฝง ประมาณ 1,000 เมตร จดั กจิ กรรมถา ยทอดองคค วามรู อยา งสมำ่ เสมอ สว นตา งรายไดจ ากการขายแมป มู า นอกจากนำมาบรหิ ารจดั การกลมุ ยงั นำไปเปน ทนุ การศกึ ษาใหก บั เดก็ ในชมุ ชน มกี ารจดั ตง้ั กลมุ สหกรณออมทรพั ย กลมุ แมบา นเพ่ือเปดรา นอาหารชมุ ชน เพ่ือสรา งรายเสรมิ ใหก ับกลุม 72

ความสำเรจ็ เชิงประจกั ษ์ ความสำเรจ็ จากการฟน ฟทู รพั ยากรปมู า และระบบนเิ วศ เพม่ิ ปรมิ าณผลจบั และสรา งระบบนเิ วศ ที่ดีขึ้นใหกับชายฝงอำเภอทาศาลา จนไดรับการขนานนามวา “อาวทองคำ”จากขอมูลสถิติผลจับ รวบรวมโดยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ พบวาจำนวนสัตวน้ำโดยเฉพาะปูมาเพิ่มจำนวนเชิงประจักษ จากเดมิ นอ ยกวา 5 กโิ ลกรมั /เทย่ี ว เพม่ิ เปน 10 - 15 กโิ ลกรมั /เทย่ี ว ทำใหช าวประมงมรี ายไดเ พม่ิ ขน้ึ ไมน อ ย กวา 15,000 - 20,000 บาท/เดอื น/คน นอกจากนจ้ี ากการสำรวจชนดิ สตั วน ำ้ บรเิ วณชายฝง พบวา มสี ตั วน ำ้ กวา 200 ชนิด แสดงถึงระบบนิเวศที่ซับซอนมีความหลากหลายของชนิดสัตวน้ำสูง ประชาชนผูที่ ไมไดประกอบอาชีพประมง สามารถทำอาชีพตอเนื่องจากการฟนฟูของปูมา เชน อาชีพมัดปู แกะเนอ้ื ปู ทำความสะอาดอวน ซง่ึ สรางรายไดใหก ับชุมชนในภาพรวม หนวยงานตางๆโดยเฉพาะภาคเอกชนประสงคจะมารวมทำงานในพื้นที่สรางกิจกรรมตอเนื่อง ทำใหเกิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่ และชาวประมงเขาถึงโอกาสในการสรางอาชีพตอเนื่องจาก การทำธนาคารปูมามากขึ้น เชน การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค รานคาอาหารทองถิ่นขยายผลตอการ เกดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นในชมุ ชน รางวลั รางวัลชนะเลิศ “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทศูนยเรียนรูธนาคารปูมาชุมชน มอบโดยสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) - รับพระราชทานรางวัลเกษตรกรดีเดนดานการเพาะเลี้ยงและการประมงชายฝง ในป พ.ศ. 2562 จากพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา เจาอยหู ัว รัชกาลที่ 10 - รางวลั เกษตรกรดีเดนดา นการฟนฟแู ละอนุรกั ษทรัพยากรประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ - รางวัลชุมชนตนแบบดานการบริหารจัดการประมงชายฝงโดยชุมชนระดับเขต และระดับภาค มอบโดยกรมประมง - รางวัลชมุ ชนตนแบบตนไมแ หงความสขุ มอบโดยมหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ - รางวัลนวตั กรรมส่อื เผยแพรธนาคารปูมาตน แบบ มอบโดยสำนักงานการวิจัยแหง ชาติ - รางวลั อาสาสมคั รพทิ กั ษ ทรพั ยากรดเี ดน มอบโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดลอม 73

ศนู ยเ์ รียนร้ธู นาคารปมู ้าบา้ นหาดสมบูรณ์ ชุมชนบานหาดสมบูรณ อำเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฎรธานี มีการจัดทำธนาคารปูมารูปแบบโรงเรือนบนฝงมีสมาชิกกลุม จำนวนกวา 30 คน และมีผูเขารวมกิจกรรมและบริจาคปูมา จำนวน 73 คน มีจำนวนแมพันธุปูมาบริจาค จำนวนมาก ประมาณ 5,000 ตัว/ป ปลอยปูมาระยะซูเอี้ยทุกวันรวมทั้ง มีการประชาสัมพันธกิจกรรมปลอยปูมา เพื่อสรางความ ตระหนัก ทำขอตกลงรวมโดยชุมชน ไมทำประมงในเขตหางฝง 500 เมตร มีกิจกรรมถายทอดและสรางความตระหนัก แกผูสนใจอยางสม่ำเสมอ สวนตางรายไดจากการขายแมปูมานำ ไปเปนทุนการศึกษาใหกับเด็กในชุมชนมีกิจกรรมอนุรักษ อื่นๆในพื้นที่ จัดทำบานปลา 74

ความสำเรจ็ เชงิ ประจกั ษ์ รราางงววัลัลรางวัลชนะเลศิ “ธนาคารปมู า ชุมชน” เพอ่ื ความยัง่ ยนื ประเภทธนาคารปูมาชุมชนเดมิ ที่มีการดำเนนิ การอยา งตอเนอ่ื ง มอบโดยสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) - เครอื ขา ยอาสาสมคั รพทิ ักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมหมูบ าน ทสม. ดเี ดน มอบโดยสำนกั ทรพั ยากรธรรมชาติเเละส่งิ เเวดลอม จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี - บคุ คลตัวอยางท่ที ำความดแี ละคณุ ประโยชนเ เกสงั คม มอบโดยผวู า ราชการจงั หวดั สรุ าษฎรธานี - อาสาสมัครเพ่ือการทองเท่ียว (เจา บา นท่ดี )ี LOCAL HERO มอบโดยการทอ งเทีย่ วแหง ประเทศไทย - รางวลั ทสม. ดเี ดน ระดบั จงั หวดั มอบโดยกรมสง เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ เเวดลอ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ เเละสิ่งเเวดลอ ม - ผรู ว มอนรุ ักษ ฟน ฟทู รัพยากรทางทะเลเเละชายฝง ดเี ดน มอบโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ เเละส่ิงเเวดลอ ม เครอื่ งหมายรกั ษท ะเลชนั้ 1 มอบโดยกรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ เเละสงิ่ เเวดลอม 75

ศูนย์เรยี นรู้การขยายพนั ธ์ปุ มู ้าและธนาคารปมู า้ แบบชุมชนมสี ว่ นรว่ มอำเภอเกาะสีชงั ธนาคารแบบชุมชนมีสวนรวมอำเภอเกาะสีชัง จงั หวดั ชลบรุ ี มกี ารจดั ทำธนาคารรปู แบบโรงเรอื นเพาะเลย้ี ง มสี มาชกิ ในกลมุ จำนวน 54 คน เชอ่ื มโยงการทำงานระหวา ง 7 หมูบาน ในพื้นที่เกาะสีชัง ชาวประมงกำหนดขอตกลง ปฏิบัติรวมกันเพื่อความยั่งยืนและมั่นคงของอาชีพการ ประมง และใหปูมาเกาะสีชังเปนอาหารทะเลยอดนิยม สำหรับนักทองเที่ยว ทั้งนี้เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวของ เกาะสีชังใหกลับมานาสนใจอีกครั้ง เรือประมงเกือบทุกลำ สนบั สนนุ แมป มู า ไขน อกกระดองใหแ กธ นาคารปมู า ชมุ ชน มีแนวปฏิบัติไมจำหนายปูมาไขนอกกระดอง และปูมา ขนาดเลก็ 76

ความสำเรจ็ เชงิ ประจักษ์ จากการประชาสมั พนั ธเ พอ่ื สรา งการตระหนกั รคู วามสำคญั ของการฟน ฟทู รพั ยากร ปูมาและระบบนิเวศ ทำใหคนในชุมชน ผูประกอบการ หนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนไดเ หน็ ถงึ ความสำคญั ของธนาคารปมู า มจี ติ อาสาและเสยี สละสนบั สนนุ แมปูมาไขนอกกระดองเพื่อฟกในธนาคารปูมา จากการดำเนินงานดังกลาวสงผลให ปริมาณผลจบั ปมู า เพม่ิ ขน้ึ ชาวประมงมรี ายไดม ากขน้ึ รางวลั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 “ธนาคารปมู า ชมุ ชน” เพอ่ื ความยง่ั ยนื ประเภทศนู ยเ รยี นรธู นาคารปมู า ชมุ ชน มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 77

ศนู ย์เรยี นรธู้ นาคารปูมา้ ชุมชนสำเภาควำ่ ชมุ ชนสำเภาควำ่ ตง้ั อยทู บ่ี า นหนองบวั หมู 9 ตำบลกระแจะ อำเภอนายายอาม จงั หวดั จนั ทบรุ ี เปน ชุมชนริมฝงทะเล คนในพื้นที่ประกอบอาชีพทำการ ประมงโดยเฉพาะประมงปูมา ชุมชนมีการจัดทำ ธนาคารปมู า แบบโรงเรอื น โดยมสี มาชกิ ในกลมุ จำนวน 75 คน และสมาชกิ ทกุ คนมสี ว นรว มในการดำเนนิ งาน ธนาคารปมู า มคี วามรสู กึ เปน เจา ของ รวมทง้ั มสี ว นรว ม ในการกำหนดกฎระเบยี บ ขอ บงั คบั ทช่ี มุ ชนปฏบิ ตั ริ ว ม กนั ในการอนรกั ษฟ น ฟทู รพั ยากรปมู า และระบบนเิ วศ เชน การไมจับปูมาขนาดเล็ก การไมกินปูมาไขนอก กระดอง เปน ตน 78

ความสำเร็จเชิงประจกั ษ์ จากการสำรวจพบวา หลงั จากการดำเนนิ กจิ กรรมธนาคารปมู า ทำใหค วามสขุ เฉลย่ี ของคนในครวั เรอื นมรี ะดบั เพม่ิ ขน้ึ จากป พ.ศ. 2561 มคี า เทา กบั 7.79 เพม่ิ ขน้ึ เปน 8.38 ในป พ.ศ. 2562 นอกจากนี้ธนาคารปูมายังสงผลกระทบตอเศรษฐกิจฐานราก ชุมชน มีทางเลือกอาชีพที่หลากหลายขึ้น เชน การทำการประมง การคาขายและบริการที่ เกย่ี วขอ งกบั ธนาคารปมู า เปน ตน รางวัล รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 “ธนาคารปมู า ชมุ ชน” เพอ่ื ความยง่ั ยนื ประเภทศนู ยเ รยี นรธู นาคารปมู า ชมุ ชน มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 79

ศนู ย์เรียนรกู้ ารเพาะและอนุบาลลูกปมู ้า เพ่ืออนุรกั ษโ์ ดยชุมชนบ้านหนิ กบ ชมุ ชนชายฝง บา นหนิ กบ ตง้ั อยหู มทู ่ี 6 ตำบลชมุ โค อำเภอ ปะทิว จังหวัดชุมพร ชุมชนจัดทำธนาคารปูมาแบบโรงเรือน เพาะเลย้ี ง สมาชกิ ในกลมุ มจี ำนวน 24 คน ในอดตี ดำเนนิ กจิ กรรม ธนาคารปูมาใชวิธีขอสนับสนุนแมปูมาไขนอกกระดองจาก สมาชกิ ลำเรอื ละ 1 ตวั เพอ่ื สรา งการมสี ว นรว มของชมุ ชน และ ชมุ ชนใหค วามรว มมอื เปน อยา งดี นบั ไดว า ประสบความสำเรจ็ ใน การสรางความรวมมือของคนในชุมชน ในปจจุบันจึงเพิ่มที่มา ของแมป มู า ไขน อกกระดองโดยการรบั ซอ้ื แมป มู า ไขน อกกระดอง มาเพื่อเพาะฟก สงผลใหสมาชิกกลุมมีรายไดเพิ่มขึ้น โดยเมื่อ แมปูมาฟกไขเสร็จแลวชาวประมงจะนำแมปูไปขายรานอาหาร หรอื นกั ทอ งเทย่ี ว นำเงนิ ทเ่ี ขา สกู ลมุ ธนาคารปมู า ธนาคารปมู า บานหินกบยังเปนศูนยเรียนรูการเพาะฟกลูกปูมาเพื่อการ อนุรักษทรัพยากรประมง และมีการตอยอดสูการทองเที่ยว เชิงวิถีชมุ ชน 80

ความสำเร็จเชงิ ประจักษ์ ศนู ยเ รยี นรกู ารเพาะและอนบุ าลลกู ปมู า เพอ่ื อนรุ กั ษโ ดยชมุ ชนบา นหนิ กบ มกี าร พัฒนายกระดับจากธนาคารปูมาเปนศูนยเรียนรูธนาคารปูมา ดำเนินการเพาะเลี้ยงลูก ปูมาจนถึงระยะปูเล็ก Young crab และดำเนินกิจกรรมปลอยคืนสูธรรมชาติอยาง ตอเนื่อง สงผลใหมีปริมาณผลจับปูมาเพิ่มขึ้น และสรางความตระหนักรูใหกับกลุมเรือ ประมงพน้ื บา นในความสำคญั ของการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และทำใหม คี วามสนใจ ของชาวประมงที่จะเขารวมกับกลุมธนาคารปูมามากยิ่งขึ้นสมาชิกในกลุมมีรายไดเสริม จากการพัฒนาตอยอดธนาคารปูมาสูการทองเที่ยวชุมชน กลุมสมาชิกประมงพื้นบาน ยังตอ ยอดเพอ่ื ดำเนนิ กจิ กรรมเพอ่ื การอนรุ กั ษพ น้ื ทช่ี ายฝง ทะเลอยา งตอ เนอ่ื ง เชน กจิ กรรม พฒั นาพน้ื ทช่ี ายหาด กจิ กรรมปรบั ทศั นยี ภาพบนพน้ื ทเ่ี กาะไข กจิ กรรมสรา งบา นปลา เปน ตน รางวลั รางวลั ชมเชย “ธนาคารปมู า ชมุ ชน” เพอ่ื ความยง่ั ยนื ประเภทศนู ยเ รยี นรธู นาคารปมู า ชมุ ชน มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 81

ธนาคารปมู า้ บา้ นนาชุมเหด็ ชุมชนบานนาชุมเห็ด ตั้งอยูหมูที่ 2 ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง ชาวประมงจัดทำธนาคาร ปูมารูปแบบโรงเรือน สมาชิกในกลุมมีจำนวน 37 คน และมีผูเขารวมกิจกรรมและบริจาคแมปูมาไขนอกกระดอง ทั้งที่เปนสมาชิกและไมเปนสมาชิกอยางตอเนื่อง ชุมชนจัด กิจกรรมปลอยปูมาคืนสูทะเลไทยอยางตอเนื่องโดยรวมกับ ผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน รวมทั้งปลูกจิตสำนึกในการ ดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลใหกับเยาวชน เพื่อสราง คุณภาพชีวิต รายได และความเปนอยูที่ดีขึ้นของชุมชนใน อนาคต 82

ความสำเรจ็ เชิงประจักษ์ จากการดำเนินกิจกรรมธนาคารปูมาโดยชุมชนอยางตอเนื่อง ทำใหมี ปริมาณทรัพยากรปูมาในพื้นที่การประมงหนาบานมีจำนวนเพิ่มขึ้น ชาวประมง ชายฝงสามารถจับปูมาไดมากขึ้นและไมจำเปนตองออกไปทำประมงในแหลง ประมงอื่นๆ ซึ่งมีตนทุนคาน้ำมันที่สูง สงผลใหภาพรวมของการประมงปูมาใน พื้นที่สามารถสรางรายไดใหกับชาวประมงเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถ สรางความตระหนัก ความรูความเขาใจในการจัดทำธนาคารปูมาและการปลอย ลูกปูมากลับคืนธรรมชาติเพื่อเปนประชากรรุนตอไป สงเสริมใหชุมชนสามารถใช ประโยชนทรัพยากรปูมาอยางยั่งยืน รางวัล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทธนาคารปูมาชุมชนเดิมที่มีการดำเนินการอยางตอเนื่อง มอบโดย สำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) 83

ธนาคารปมู า้ ชมุ ชนบ้านท้องโตนด ชมุ ชนบา นทอ งโตนด ตง้ั อยหู มทู ่ี 2 ตำบลดา นสวี อำเภอสวี จงั หวดั ชมุ พร ชมุ ชนจดั ทำธนาคารปมู า แบบโรง เรอื น โดยมสี มาชใิ นกลมุ จำนวน 36 คน สมาชกิ ในกลมุ เขา รว มกจิ กรรมและบรจิ าคปมู า ไขน อกกระดองใหแ กธ นาคาร ปมู า นอกจากนย้ี งั รว มกำหนดกตกิ ารว มกนั ในการทำการ ประมงอยา งรบั ผดิ ชอบ และดแู ลระบบนเิ วศ โดยกำหนด แนวเขตการทำประมงปูมา ไมจับปูมาขนาดเล็กกวา 10 เซนตเิ มตร ปลอ ยปมู า ระยะซเู อย้ี และยงั ใชส อ่ื ออนไลนใ น การประชาสมั พนั ธ สรา งความตระหนกั ปลกู จติ สำนกึ ให แกเ ยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา นกั ทอ งเทย่ี ว 84

ความสำเร็จเชิงประจักษ์ ความสำเรจ็ จากการฟน ฟทู รพั ยากรปมู า และระบบนเิ วศ รวมทง้ั จากการเกบ็ บนั ทกึ ขอ มลู การบรจิ าคทง้ั รปู แบบของแมป มู า ไขน อกกระดองและเฉพาะจบั ปง ไขป มู า เพอ่ื การ ดำเนินกจิ กรรมปลอยลกู ปมู า วยั ออ นอยา งตอเนอื่ ง สงผลใหผลจับปูมาจากแหลง ประมง หนา บา นมจี ำนวนมากขน้ึ อยา งชดั เจน สรา งรายไดเ พม่ิ ใหก บั ชาวประมงในพน้ื ท่ี รางวัล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทธนาคารปมู า ชมุ ชนเดมิ ทม่ี กี ารดำเนนิ การอยา งตอ เนอ่ื ง มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 85

ศนู ย์เรยี นรู้ธนาคารปูมา้ ชมุ ชนบ้านแหลมสน ชมุ ชนบา นแหลมสน ตง้ั อยหู มทู ่ี 6 ตำบลอา วใหญ อำเภอเมอื ง จงั หวดั ตราด ชมุ ชนรวมกลมุ กนั จดั ทำธนาคาร ปูมาแบบโรงเรือน โดยสมาชิกในกลุมมีจำนวน 30 คน ชมุ ชนมขี อ ตกลงรว มกนั ในการนำถงั ฟก ปมู า ไขน อกกระดอง ตดิ เรอื ไปดว ย เมอ่ื ชาวประมงจบั ไดแ มป มู า ไขน อกกระดอง จะนำใสถ งั ฟก แยกเพอ่ื พกั แมป มู า รวมทง้ั กรณที ไ่ี ดแ มป มู า จำนวนมากก็จะเอามาฟกที่ธนาคารปูมา และรวมปลอย ปมู า วยั ออ นในพน้ื ทท่ี เ่ี หมาะสม นอกจากนช้ี มุ ชนยงั มกี าร จัดกิจกรรมอบรมถายทอดใหความรู และสรางความ ตระหนักกับผูที่สนใจที่เขามาเยี่ยมชมธนาคารปูมาอยาง ตอเนอ่ื ง 86

ความสำเร็จเชิงประจกั ษ์ ความสำเรจ็ จากการฟน ฟทู รพั ยากรปมู า และระบบนเิ วศ โดยการใชธ นาคารปมู า เปน เครอ่ื งมอื สง ผลใหช าวประมงไมต อ งออกทำการประมงไกลฝง และไมต อ งวางอวน คางคืน ทำใหระยะเวลาทำการประมงสั้นลง สามารถประหยัดตนทุนในการประกอบ อาชีพ ในขณะที่ผลจับปูมาเพิ่มมากขึ้นจากในอดีต นอกจากนี้ชาวประมงยังรวมกลุม เพื่อดำเนินกิจกรรมตอยอดจากธนาคารปูมาเพื่อการอนุรักษ และยกระดับเศรษฐกิจ ชุมชนอยางตอเนื่อง เชน การจัดสรางแหลงอาศัยสัตวทะเล การกำหนดเขตอนุรักษ การสง เสรมิ การทอ งเทย่ี วชมุ ชนเชงิ นเิ วศ และการพฒั นาผลติ ภณั ฑป ระมง เปน ตน รางวัล รางวลั ชมเชย “ธนาคารปมู า ชมุ ชน” เพอ่ื ความยง่ั ยนื ประเภทธนาคารปมู า ชมุ ชนเดมิ ทม่ี กี ารดำเนนิ การอยา งตอ เนอ่ื ง มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 87

ธนาคารปมู ้าบ้านหยงสตาร์ ชุมชนบานหยงสตาร ตั้งอยูหมูที่ 2 ตำบลทาขาม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ชาวประมงรวมกันจัดทำ ธนาคารปมู าแบบโรงเพาะฟก และบริหารจัดการโดยชมุ ชน สมาชกิ ในกลมุ มจี ำนวน 21 คน สมาชกิ ในกลมุ รว มกนั นำแม ปูมาไขนอกกระดองมาฝากหรือบริจาคใหกับธนาคารปูมา และรวมปลอยปูมาวัยออนคืนสูทะเลไทย นอกจากนี้กลุม ธนาคารปมู า ยงั รว มมอื กนั เพอ่ื จดั กจิ กรรมอนรุ กั ษแ ละฟน ฟู ทรัพยากรปูมา และระบบนิเวศที่เกี่ยวของในพื้นที่ โดย กำหนดกติการวมกันภายในกลุม ไมใชอวนขนาดตาเล็ก กวา 2.5 นิ้ว ไมบริโภคปูมาขนาดเล็กกวา 10 เซนติเมตร และไมจ ำหนา ยปมู า ไขน อกกระดอง เปน ตน 88

ความสำเร็จเชงิ ประจักษ์ จากการดำเนนิ โครงการธนาคารปมู า แบบมสี ว นรว ม มกี ารนำแมป มู า ไขน อกกระดอง มาเพาะฟก โดยการมสี ว นรว มในการบรจิ าคแมป มู า ของคนในชมุ ชน สง ผลใหช าวประมง สามารถพบเห็นลูกปูมาวัยออนจำนวนมากขึ้นในธรรมชาติ การดำเนินการกิจกรรม ธนาคารปูมายังสงเสริมใหสมาชิกในชุมชนเกิดการรวมตัวและมีความเขมแข็ง ธนาคาร ปมู า สามารถสรา งงานและอาชพี เสรมิ ทเ่ี กย่ี วขอ ง รวมทง้ั สรา งรายไดใ หก บั สมาชกิ ในชมุ ชน ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา งชดั เจนจากการจดั ทำธนาคารปมู า ทำใหค นในชมุ ชนเกดิ จติ สำนกึ ตอการใชทรัพยากรประมงอยางยั่งยืน มีสวนรวมในกิจกรรมฟนฟูมากยิ่งขึ้นซึ่งจะเปน แนวทางในการพน้ื ฟปู มู า และทรพั ยากรประมงอน่ื ๆในระบบนเิ วศในอนาคต รางวลั รางวัลชมเชย “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทธนาคารปูมาชุมชนเดิมที่มีการดำเนินการอยางตอเนื่อง มอบโดยสำนักงานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 89

ธนาคารปูมา้ บา้ นดอนสาม ปากนำ้ ชุมพร ชมุ ชนบา นดอนสาม ตง้ั อยหู มทู ่ี 9 ตำบลปากนำ้ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร กลุมชาวประมงจัดทำ ธนาคารปูมาแบบโรงเรือน มีสมาชิกในกลุมจำนวน 54 คน จัดตั้งคณะกรรมการบริหารการดำเนินงาน โครงการธนาคารปมู า โดยมคี ณะกรรมการขบั เคลอ่ื น จำนวน 20 คน สมาชิกธนาคารปูมาเขารวมกลุม ธนาคารปูมาโดยเกิดจากความตองการและสมัครใจ โดยมกี ารจดั กจิ กรรม ไมจ บั ปมู า ขนาดเลก็ กวา 10 เซนตเิ มตร และจัดกิจกรรมปลอยปูมาระยะซูเอี้ยอยางตอเนื่อง รวมทง้ั มกี ารประชาสมั พนั ธเ ชญิ ชวนให เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชน รวมทง้ั หนว ยงานภาครฐั และ เอกชน รวมกิจกรรมการปลอยปูมา ทั้งนี้เพื่อสราง จิตสำนึก ความตระหนัก ในการอนุรักษปูมาและ ทรัพยากรอื่นๆ โดยการทำงานแบบบูรณาการของ ผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน 90

ความสำเร็จเชงิ ประจักษ์ ความสำเรจ็ จากการดำเนนิ โครงการธนาคารปมู า เพอ่ื การอนรุ กั ษแ ละฟน ฟทู รพั ยากร ปมู า พบวา สามารถเพม่ิ ปรมิ าณผลจบั ปมู า จากธรรมชาติ และทำใหส ามารถทำประมงปมู า ไดผ ลจบั มากขน้ึ อยา งตอ เนอ่ื ง กลมุ ธนาคารปมู า มกี ารรว มกำหนดกตกิ าเพอ่ื การทำประมง อยา งยง่ั ยนื ไมจ บั ปมู า ขนาดเลก็ รวมทง้ั ตอ ยอดสรา งอาชพี ใหม เชน อาชพี รบั จา งจดั สง สนิ คา ปมู า ถงึ บา นสำหรบั ผบู รโิ ภคทอ่ี ยใู นพน้ื ทใ่ี กลเ คยี ง เปน ตน รางวลั รางวัลชนะเลิศ “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทธนาคารปมู า ชมุ ชนทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ใหม มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 91

ธนาคารปมู า้ บา้ นท่าพยา ชมุ ชนบา นทา พยา อำเภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ชาวประมงในพน้ื ทร่ี ว มมอื กนั จดั ทำธนาคารปมู า แบบโรงเรอื นบนฝง โดยมีจำนวนสมาชิกในกลุม จำนวน 67 คน สมาชิกภายในกลุม และประชาชนในพื้นที่รวมกันบริจาครวมทั้งปลอยปูมาวัยออน อยา งสมำ่ เสมอ ผนู ำประธานกลมุ ยงั มแี นวทางรบั ซอ้ื แมป มู า ไขน อก กระดองจากชาวประมงเพ่ือเพมิ่ จำนวนแมป มู า ทีจ่ ะฟกในธนาคาร และสามารถปลอยปูมาวัยออนคืนสูธรรมชาติ กลุมธนาคารปูมามี การประชาสมั พันธก ิจกรรม เพือ่ สรางจิตสำนึกและความตระหนกั ในคุณคาของทรัพยากรปูมาใหแกเด็กเยาวชน นักเรียน รวมทั้ง ผทู ส่ี นใจ ชมุ ชนมกี ารตอ ยอดธนาคารปมู า เพอ่ื เปน เครอ่ื งมอื ในการ อนรุ กั ษท รพั ยากรชายฝง เชน ไมจ บั สตั วน ำ้ ขนาดเลก็ การทำบา นปลา รวมทง้ั จดั ตง้ั กลมุ แมบ า นเพอ่ื แปรรปู ปมู า และผลติ ภณั ฑอ าหารทะเล เพอ่ื สรา งรายไดเ พม่ิ 92

ความสำเร็จเชิงประจกั ษ์ ความสำเรจ็ จากการดำเนนิ กจิ กรรมธนาคารปมู า ทำใหช มุ ชนมคี วามเขม แขง็ และ เปนกลไกสรางความรวมมือระหวางชาวประมงในพื้นที่กับผูประกอบการ เกิดการรวม กลุมอนรุ กั ษเ ปน ครง้ั แรกในพน้ื ท่ี จากการจดบนั ทกึ ผลจบั ของชาวประมงในพน้ื ทพ่ี บวา ผล จบั ปมู า ในพน้ื ทเ่ี พม่ิ มากขน้ึ จากเดมิ เฉลย่ี ประมาณ 5 กโิ ลกรมั ตอ วนั เปน จำนวนกวา 10 กิโลกรัมตอวัน นอกจากนี้ชุมชนยังสามารถตอยอดยกระดับเศรษฐกิจชุมชนตาม แนวทาง BCG ทำใหเ กดิ ผลติ ภณั ฑช มุ ชนตา งๆทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั การทำประมงปมู า ทำใหช าว ประมงมรี ายไดเ สรมิ จากการจำหนา ยสนิ คา อาหารทะเลแปรรปู รางวัล รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 “ธนาคารปมู า ชมุ ชน” เพอ่ื ความยง่ั ยนื ประเภทธนาคาร ปมู า ชมุ ชนทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ใหม มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) รางวลั กลมุ ชาวประมงอนรุ กั ษเ ขม แขง็ จงั หวดั นครศรธี รรมราช มอบโดยสำนกั งาน ประมงจงั หวดั นครศรธี รรมราช รางวลั ชมุ ชนตน แบบการจดั การประมงหนา บา น มอบโดยสำนกั งานประมงจงั หวดั นครศรธี รรมราช 93

ธนาคารปูม้าบ้านเขาดนั ชมุ ชนบา นเขาดนั ตง้ั อยหู มทู ่ี 10 ตำบลชา งขา ม อำเภอ นายายอาม จังหวัดจันทบุรี มีการจัดทำธนาคารปูมาแบบ โรงเรอื น โดยมสี มาชกิ ในกลมุ จำนวน 52 คน ชาวประมงในกลมุ และชาวประมงที่ไมไดเปนสมาชิกนำปูมาไขนอกกระดอง มาบริจาคอยางตอเนื่อง อีกทั้งรวมปลอยปูมาวัยออนระยะ ซเู อย้ี ทกุ วนั กลมุ ชาวประมงมกี ารประชาสมั พนั ธก จิ กรรมการ ปลอ ยปมู า รวมทง้ั เผยแพรค วามรใู หก บั ผคู นทเ่ี ขา มาเยย่ี มชม ธนาคารปมู า เพอ่ื ปลกู จติ สำนกึ ดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ โดยมีหนวยงานตางๆ เขามาสนับสนุนสงเสริมการดำเนิน กิจกรรมธนาคารปมู า อยา งตอ เนอ่ื ง 94

ความสำเร็จเชงิ ประจกั ษ์ ความสำเรจ็ จากการดำเนนิ กจิ กรรมธนาคารปมู า พบวา หลงั จากกลมุ ชาวประมง ปลอยลกู ปูมา แรกฟก จำนวนมากคืนสทู ะเล ปรมิ าณปมู า ในธรรมชาตแิ ละผลผลิตปูมา ทช่ี าวประมงจบั ไดม จี ำนวนเพม่ิ ขน้ึ อยา งชดั เจน สง ผลชาวประมงปมู า มคี ณุ ภาพชวี ติ ดีขึ้น โดยรายไดของชาวประมงที่ทำประมงเปนอาชีพหลักในชุมชนบานเขาดัน ในป พ.ศ. 2561 มีรายไดเฉลี่ย 108,600 บาท/คน ในป พ.ศ. 2562 เพิ่มขึ้น เปน 124,000 บาท/คน จากการประเมินระดับความสุขของคนในชุมชน พบวา คนในชุมชนมีระดับความสุขเฉลี่ยของคนในครัวเรือนเพิ่มขึ้นจากป พ.ศ. 2561 ซึ่ง มคี า 8.03 เพม่ิ ขน้ึ เปน 8.13 ในป พ.ศ. 2562 รางวลั รางวัลชมเชย “ธนาคารปูมาชุมชน” เพื่อความยั่งยืน ประเภทธนาคารปมู า ชมุ ชนทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ใหม มอบโดยสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) 95


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook