Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

Published by may_moon6255, 2022-06-13 07:53:00

Description: คู่มือธนาคารปูม้าประเทศไทย

Keywords: ปูม้า,ธนาคารปูม้า,คู่มือธนาคารปูม้า

Search

Read the Text Version

คมู่ ือ ธนาคารปูมา้ ประเทศไทย ดผรศ..สดริ ริว.อรรมณรศหกั นดิ์เู ซสงวัสดี สนบั สนุนโดย สำนักงานการวจิ ัยแหงชาติ (วช.)



ค่มู อื ธนาคารปมู า้ ประเทศไทย “คนื ปูมาสทู ะเลไทย” ตามมติคณะรัฐมนตรี

ค่มูISอื BธNนา9ค7า8ร-ป97มู 4้า-ป75ร5ะ7เท-9ศ0ไ-ท9 ย



คำนำ ปูมา (Portunus pelagicus Linnaeus, 1758) เปนสัตวเศรษฐกิจที่นิยมบริโภค ทั้งในประเทศ และสงออกเพื่อเปนรายไดเขาประเทศ ประเทศไทยเคยเปนผูสงออกปูมา รายใหญอันดับ 4 ของโลก จากสถานการณทรัพยากรปูมาเสื่อมโทรม เนื่องดวยการใชประโยชน ทรัพยากรปูมาจนเกินการผลิตทดแทนโดยธรรมชาติ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ และสภาพแวดลอมตางๆ ทำใหสงผลกระทบตอรายไดที่ลดลงของชาวประมง และผลผลิตรวม ปูมาทั้งประเทศลดจำนวนลงกวาครึ่ง สงผลตอการสงออกของประเทศ ดังนั้นจึงมีความจำเปน อยางมากที่ตองฟนฟูทรัพยากรปูมารวมทั้งระบบนิเวศที่เกี่ยวของ โดยรัฐบาลใหความสำคัญในการ พัฒนาปรับปรุงฟนฟูทรัพยากรประมงและสิ่งแวดลอมบนพื้นฐานของยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ และตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่13 ซึ่งใหความสำคัญกับการบริหารจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมโดยเชื่อมโยงกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ตามแนวทางซึ่งตางประเทศใหก ารยอมรบั เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายผลธนาคารปูมา เพื่อ“คืนปูมาสูทะเลไทย” ไปสูชุมชนชายฝง โดยมีเปาหมายจัดสรางธนาคารปูมาตลอดแนวชายฝง อาวไทย และทะเลอันดามัน จำนวน 500 ชุมชน และมีแผนการดำเนินงานจัดตั้งธนาคารใหแลว เสร็จภายในระยะเวลา 2 ป อยางไรก็ตามหลังจากมีการดำเนินงานพบวาชุมชนประมงชายฝงมี ความตองการจัดทำธนาคารปูมาเปนจำนวนมาก จึงสงผลใหมีจำนวนธนาคารปูมาจัดตั้งโดยการ สนับสนุนของสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยความรวมมือกับสถาบันการศึกษาในพื้นที่และ กรมประมง จำนวนกวา 557 ชมุ ชนครอบคลมุ พน้ื ท่ี 20 จงั หวดั ชายฝง ของประเทศไทย เปา หมายของ โครงการเพื่อเปนประโยชนตอทรัพยากรทางทะเล เพิ่มจำนวนปูมาในธรรมชาติ เกิดความสมดุลของ ระบบนิเวศทางทะเล การทำอาชีพประมงปูมาอยางยั่งยืน ลดปญหาการวางงาน เพิ่มรายได และความเขมแข็งของชุมชน 1

การจดั การทรพั ยากรประมงโดยใชธ นาคารปมู า เปน เครอ่ื งมอื ในการฟน ฟู สง ผลกระทบทางตรงตอ การเพิ่มขึ้นของทรัพยากรปูมา และสงผลทางออมตอการฟนฟูทรัพยากรประมงชนิดอื่น รวมทั้ง สรา งรายไดท างตรงจากการทำประมง และการสรา งสมั มาชพี ใหมใ หเ ปน ทางเลอื กของชาวประมง เชน ผลติ ภณั ฑอ าหารปมู า อตั ลกั ษณท อ งถน่ิ การทอ งเทย่ี ววถิ ปี ระมงปมู า การจดั หาชอ งทางการตลาดออนไลน เปน ตน จากขอ มลู วชิ าการชใ้ี หเ หน็ วา ปมู า สามารถสบื พนั ธวุ างไขไ ดต ลอดป และใชเ วลาระยะสน้ั 4-6 เดอื น ในการเจริญเติบโตเขาสูขนาดที่ติดเครื่องมือประมง ดังนั้นการจัดทำธนาคารปูมา ควบคูกับการดูแล ระบบนิเวศ โดยชุมชนมีสวนรวมจะเปนแนวทางการฟนฟูทรัพยากรปูมาเพิ่มจำนวนปูมา ในธรรมชาติ รวมทั้งจะเปนกิจกรรมที่สรางการรับรูใหกับตางประเทศในการใชทรัพยากรประมง ควบคูการอนุรักษดวยความรวมมือของผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน คมู อื ธนาคารปมู า ฉบบั นจ้ี ดั ทำขน้ึ เพอ่ื ถา ยทอดองคค วามรทู เ่ี กย่ี วขอ งกบั ปมู า โดยขอ มลู วชิ าการ จะถูกยอยใหเขาใจงาย และเรียบเรียงโดยใชภาษาที่เขาใจงาย รายละเอียดประกอบไปดวย ความรู และแนวทางการจัดทำธนาคารปูมาเบื้องตน รูปแบบของธนาคารปูมาประเภทตางๆ แนวทางการ ปลอยปูมาที่เหมาะสม กิจกรรมตอยอดเพื่อสรางรายไดใหกับชาวประมง ตัวอยางชุมชนปูมา ตนแบบที่ประสบความสำเร็จ พรอมยกตัวอยางสื่อออนไลนที่จะสามารถคนหาความรูประกอบ การจัดทำธนาคารปูมา คณะผูจัดทำหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือธนาคารปูมาฉบับนี้จะเปนประโยชนแกชาวประมง ผูดำเนินโครงการธนาคารปูมา และสรางความเขาใจหลักการจัดทำธนาคารปูมาเบื้องตนใหกับผูที่สนใจ 2

สารบัญ หนา เร่ือง 1 6 1. คำนำ 8 2. ความเปนมาของโครงการคืนปมู า สทู ะเลไทย 18 3. รจู ักปมู า 22 4. สภาพแวดลอมและระบบนเิ วศ 53 5. รูปแบบธนาคารปมู า 65 6. แนวทางการจดั ทำธนาคารปมู า 66 7. แนวทางการปลอยปูมา ทเี่ หมาะสม 71 8. ปจจยั สคู วามสำเรจ็ 96 9. ชุมชนธนาคารปมู าตนแบบ 119 10. แนวทางตอ ยอดเศรษฐกจิ สรางสรรค 131 11. สือ่ เผยแพรอ อนไลน 137 12. บทสรุป 139 13. คำขอบคณุ 143 14. บรรณานกุ รม 15. ดชั นี 3

4

5

คควืนาปมูมเาปสนทู มะาเลขไอทงยโครงการ การวจิ ัยและนวัตกรรม การใชประโยชนจากผลการวิจัยและ นวัตกรรมการขยายผลธนาคารปมู า เพิ่มทรพั ยากรปมู า ในทะเล เชน การเพมิ่ อัตรารอด แหลง ทีอ่ ยูอ าศัย ฯลฯ ถอดบทเรยี น สงั เคราะหอ งคความรู เพ่มิ ศักยภาพเปน ผูนำการสงออก เชน ถายทอดเทคโนโลยี สรางการเรียนรู การเพาะเลี้ยงเชิงพาณิชย การขนสง สรางความยงั่ ยืน สรา งเครือขา ย บรรจุภณั ฑ ยกระดับมาตรฐาน ขยายพื้นทีใ่ หม การทำประมง ฯลฯ แนวทางการดำเนินงาน “คืนปมู า สทู ะเลไทย” ดา นการตลาดและพาณชิ ย การสรางจติ สำนึก การทองเทย่ี วชมุ ชน สรา งการรับรูมาตรการที่เก่ียวขอ ง ตลาดประชารฐั และธงฟา การขนสงทางไปรษณยี  สรางจิตสำนึกในชุมชน ประชาสมั พันธเผยแพร สรางการรบั รูมาตรการดานการใช ชอ งทางออนไลน และดแู ลทรัพยากรทางทะเล ฯลฯ ฯลฯ 6

สำนักงานการวจิ ัยแหง ชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม พ้นื ทดี่ ำเนนิ โครงการและหนว ยงานรับผดิ ชอบ ฉะเชิงเทรา เพชรบุรี ชลบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ประจวบคีรีขันธ ชุมพร ระนอง สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง พัทลุง สตูล สงขลา ปตตานี นราธิวาส 7

รจู ัก....ปูมา ช่ือวทิ ยาศาสตร Portunus pelagicus (Linnaeus, 1758) 46,678 ชื่อสามญั Blue swimming crab, Blue crab 23,890 ช่ือไทย ปมู า 8 สถานภาพทรพั ยากรปูมา จากสถติ กิ ารประมงใน พ.ศ. 2541 ผลผลติ ปมู า จำนวน 46,678 เมตรกิ ตนั และใน พ.ศ. 2557 ลดลงเหลือเพียง 23,890 เมตริกตัน แสดงใหเห็น วา ผลจบั ปมู า ของประเทศไทยในชว ง 10 ปท ผ่ี า นมา มแี นวโนมลดลงรอ ยละ 30-40 (กรมประมง, 2559) ชี้ชัดวาทรัพยากรปูมาของประเทศไทยถูกจับใช ประโยชนเกินกำลังทดแทนตามธรรมชาติและ เสื่อมโทรมอยางตอเนื่อง ทั้งนี้อาจเกิดจากสภาวะ การประมงมากเกนิ กำลงั ผลติ (Overfishing) รวมทง้ั มีการนำปูมาที่มีขนาดเล็กที่ยังไมผานวัยเจริญพันธุ และปูมาที่มีไขนอกกระดองขึ้นมาใชประโยชน ตลอดจนระบบนิเวศที่เกี่ยวของกับวงจรชีวิต ปูมาเสื่อมโทรมทำใหปจจุบันปูมามีจำนวนลดลง และสงผลกระทบตอรายไดของชาวประมง รวมทง้ั รายไดจ ากการสง ออกปมู า กบั คคู า ตา งประเทศ

ลักษณะภายนอกของปมู าเพศผู จับปงปูมาเพศผู การจำแนกเพศ ปูมาเพศผูมีลักษณะกามยาวเรียวสีฟาออนและ มีจุดขาวทั่วไปบนกระดองและกาม พื้นทองเปนสีขาว จับปงเปนรูปสามเหลี่ยมเรียวสูง และเมื่อเจริญเปน ตวั เตม็ วยั สวนของกามจะยาวกวาความยาวของกระดอง ประมาณ 3 เทา และกามของปูมาเพศผูยาวกวาของ ปูมาเพศเมีย โดยกามดานซายและดานขวามีขนาด ตางกันเล็กนอย 9

ลักษณะภายนอกปูมา เพศเมีย (ก) ดานหลัง ปูมาเพศเมียมีลักษณะขาและกระดองเปนตุมขรุขระสีน้ำตาลออน บริเวณปลายขามีสีแดงมวงปูมาเพศเมียสมบูรณเพศมีลักษณะจับปง แผกวางและทุกปลองมีขนขนาดเล็กบริเวณขอบดานขางของจับปง ในขณะที่ปูมาเพศเมียในระยะไมสมบูรณเพศหรือปูกระเทยมีจับปง เปนรูปสามเหลี่ยมคลายเพศผูและไมมีขนขนาดเล็กอยูบริเวณจับปง 1 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร (ข) ดา นทอ ง (ค) ไมสมบรู ณเพศ ลักษณะภายนอกปูมา เพศเมยี (ก) ดา นหลงั (ข) ดา นทอ ง (ค) ไมส มบูรณเ พศ 10

วงจรชวี ติ ปมู า แมป มู า พอ แมพ นั ธุ มากกวา 10 เซนตเิ มตร นอกไขกป รมู ะาด อง 4-6 เดอื น ใเชมื่เอวรละายปะซระูเอมี้ยาณถูก4ปล-อย6สูธเดรือรนมชาติ ระยะซเู อย้ี ระยะวยั รนุ (young crab) 15-19 วนั 10-15 วนั ระยะเมกะโลปา วงจรชีวิตปูม้าและทีอ่ ยอู่ าศยั ปูมาวัยออนอาศัยอยูบริเวณใกลชายฝง และจะเคลื่อนยายไปอาศัย ในบริเวณน้ำลึกขึ้นเมื่อมีขนาดโตขึ้น โดยสามารถสังเกตไดจากขนาดตัวของ ปูมาที่จับไดในบริเวณใกลฝงจะมีขนาดเล็กกวาที่จับไดหางจากฝง วงจรชีวิตของปูมาวัยออนไดออกเปน 2 ระยะหลักๆ คือ ระยะซูเอี้ย และระยะเมกะโลปา จากนั้นจะพัฒนาเปนลูกปูมาวัยออนระยะแรก หลัง จากนั้นเขาสูระยะวัยรุน และเปนปูมาตัวเต็มวัยโดยใชเวลาในการเจริญ เติบโตถึงขนาดพอแมพันธุที่สามารถติดเครื่องมือประมงประมาณ 4-6 เดือน 11 สุดารัตน และคณะ (2562)

ขนาดตัวและฤดูกาลสืบพันธุ ชว งเดอื นทีพ่ บปมู า ไขน อกกระดองสูงสดุ ในแตล ะพ้นื ทีข่ องอาวไทย ปูมาสามารถเริ่มสืบพันธุเมื่อมีอายุประมาณ พนื้ ทศ่ี ึกษา ชว งเดือน ท่มี า 3 เดือน ขนาดความกวางกระดองดานนอกประมาณ อา วไทยตอนบน พ.ค. - ก.ค. และ ธ.ค. ขวัญไชย (2521) 6.5 เซนติเมตร แตหากตองการใหปูมาวางไขอยาง อา วไทยฝงตะวนั ออก ม.ค. , พ.ค. , ก.ย. , ธ.ค. ขวญั ไชย (2521) นอ ย 1 ครง้ั กอ นถกู จบั มาใชป ระโยชน ควรจบั ปมู า ทม่ี ี ตอนใตของอาวไทย พ.ค. - ส.ค. ขวัญไชย (2523) ความกวางกระดองดานนอก 10 เซนติเมตร ขึ้นไป อา วไทยตอนบน มี.ค. - มิ.ย. , ก.ย. - ธ.ค. ขวัญไชย (2523) อา วไทยฝงตะวันออก ม.ย. - พ.ค. , พ.ย. - ม.ค. จินตนา และคณะ (2554) ปูมาสามารถวางไขไดตลอดป โดยบรเิ วณอา วไทยตอน ตอนใตข องอา วไทย ก.พ. - พ.ค. เขยี น (2527) บนพบปูมาไขนอกกระดองในชวงเดือนกุมภาพันธ ทงั้ อา วไทย ม.ี ค. , ม.ิ ย. , ส.ค. จนิ ตนา และคณะ (2554) ถึงพฤษภาคม และเดือนพฤศจิกายนถึงธนั วาคม ขณะ อา วไทยตอนบน ก.พ. - พ.ค. , ก.ย. - ธ.ค. จินตนา และคณะ (2554) อาวบานดอน เม.ย. , ส.ค. และ ก.ย. สดุ ารตั น และคณะ (2562) ที่อาวไทยตอนลางพบปูมาไขนอกกระดองระหวาง เดือนมกราคม ถึงกรกฎาคม ขนาดแรกสบื พนั ธุข องปูมา ตามพื้นท่ีสำรวจ ¹Í¡à˹Í× ¨Ò¡ ¡ÒùӻäÙ ¢‹¹Í¡¡Ãдͧ·µèÕ ´Ô à¤ÃèÍ× §ÁÍ× พืน้ ทศ่ี กึ ษา ขนาดแรกสืบพนั ธุ (เซนตเิ มตร)* ที่มา »ÃÐÁ§ÁÒà¾Í×è ¨Ñ´·Ó¸¹Ò¤ÒûÁÙ ÒŒ “ ¤×¹»ÙÁÒŒ Ê‹·Ù ÐàÅä·Â ” อา วไทย 9.75 จนิ ตนา (2544) ¡ÒèѺ»ÁÙ ŒÒÁÒ㪌»ÃÐ⪹ã¹¢¹Ò´ อาวไทยตอนบน อาวไทยฝง ตะวันออก 9.47 จินตนา และคณะ (2551) ·èàÕ ËÁÒÐÊÁ 10 ૹµàÔ ÁµÃ â´Â»ÅÍ‹ ÂãË»Œ ÁÙ ÒŒ Êº× ¾Ñ¹¸Ø อาวคงุ กระเบน 9.84 กมลรัตน และคณะ (2555) Çҧ䢡‹ ‹Í¹¨ÑºÁÒ㪌»ÃÐ⪹¹Ñºà»¹š »ÃÐà´¹ç จังหวดั ตรงั อา วบานดอน 8.00 กศุ ล (2552) ÊÓ¤ÑÞÊÓËÃºÑ ¡Òÿ„œ¹¿Ù 8.40 Songrak et al. (2014) à¾ÁÔè »ÃЪҡûÁÙ ÒŒ ã¹·ÐàÅ 9.79 สดุ ารตั น และคณะ (2562) หมายเหตุ * ความกวา งกระดองดานนอก 12

การจำแนกเพศ พฒั นาการของไขในกระดอง 1 เซนตเิ มตร 1 1 เซนตเิ มตร 2 รงั ไขม ขี นาดเล็กและบาง ลักษณะเลก็ เปนเสน เรียวยาว สีขาวขนุ รังไขจ ะมสี สี มสวางมีความยาวเพ่ิมขน้ึ จนสดุ ขอบกระดอง ขนาดรังไขเ พิ่มขึ้นแตไมเต็มชองวางของขอบกระดอง ยังเห็นไขลักษณะเปน เม็ดไดไ มชัดเจน 1 เซนตเิ มตร 3 1 เซนตเิ มตร 4 รังไขจะมีสีเหลืองออ นถงึ สสี มออนและมขี นาดและความยาว รังไขจ ะมสี ีสม เขมถึงสีสม แก มขี นาดและความยาวเต็มชอง เพ่มิ ขึน้ แตไมเ ตม็ ชองวางของขอบกระดอง วา งของขอบกระดอง เหน็ ไขลักษณะเปนเม็ดไดชดั เจน 13

พัฒนาการของไขน อกกระดอง ไขสีเหลือง-สม 4-7 วันกอ นฟก 1 2ไขส ีนำ้ ตาล 3-4 วันกอนฟก ไขส ีเทา 2-3 วนั กอนฟก 3 ไขส ดี ำ 1-2 วันกอ นฟก 4 จินตนา และคณะ (2554) 14

ความดกของไข่ ความดกไขของปูมามีความสัมพันธกับขนาดความกวางกระดอง ความสมบูรณ และทอ่ี ยอู าศยั ซง่ึ หมายถงึ ปรมิ าณอาหารในระบบนเิ วศทม่ี คี วามแตกตา งกนั ในแตล ะพน้ื ท่ี โดยพบวาปูมามีความดกไขต่ำสุดประมาณ 229,538 ฟอง สูงสุด 2,859,061 ฟอง และมจี ำนวนไขเ ฉลย่ี 998,292 ฟอง (ธงชยั และคณะ, 2548; วารนิ ทร, 2556; Sudtongkong, 2006; อภิรักษ, 2558) ความดกไขของปมู า จำแนกตามพืน้ ทีส่ ำรวจ พนื้ ทีศ่ กึ ษา ความดกไข (ฟอง) ท่ีมา ชมุ พร 120,000-1,360,000 สุเมธ (2527) สงขลา 300,000-1,900,000 สเุ มธ (2527) อา วไทย 2,340,000 (สูงสดุ ) เฉล่ยี 710,000 สเุ มธ (2527) อา วไทย 33,268-2,340,652 เฉลีย่ 731,790 เขยี น (2527) อา วไทย 46,895-1,867,235 เฉลี่ย 789,423 ขวญั ไชย (2521) อา วไทย 99,384-1,457,981 เฉล่ยี 724,396 ขวัญไชย (2523) อาวไทยตอนบน 1,413,150 (สงู สุด) เฉล่ีย 712,684 จนิ ตนา และคณะ (2554) อา วบานดอน 254,612-1,872,023 เฉล่ยี 928,973 สดุ ารัตน และคณะ (2562) 15

ความสัมพันธระหวางความดกไข ปูม้าและความกวางกระดองดา นในของ กรณีศึกษาความดกไขของปูมาเพศเมีย โดยสุมเก็บ ตวั อยา งปมู า เพศเมยี ทม่ี กี ารพฒั นาไขน อกกระดองในระยะท่ี 3 (ไขสีน้ำตาล) และระยะที่ 4 (ไขสีดำ) ในชวงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 จำนวนทั้งหมด 99 ตัว ครอบคลุมขนาดปูมาที่จับไดจาก ชาวประมงซึ่งมีความกวางกระดองดานในอยูในชวง 7.41- 13.79 เซนติเมตร และมีน้ำหนักตัวระหวาง 51.56 - 153.89 กรมั พบวา รงั ไขข องปมู า เพศเมยี มนี ำ้ หนกั อยรู ะหวา ง 8.40-69.30 กรมั มพี สิ ยั ความดกไขอ ยใู นชว ง 254,612 - 1,872,023 ฟอง และคา เฉลีย่ ของความดกไข 928,973±383,409 ฟอง ผลการวเิ คราะหก ารถดถอยแบบ ไกมวเาชงงิ กเสระน ดไอดงส ดมา กนาใรนคควอื ามFสeัม=พ2ัน,ธ0ข4อ2ง.7ควxาICมWด2.ก66ไข44ก ับความ จำนวนไข( ฟอง) Fe = 2,042.7 xICW2.6644 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0 8 10 12 14 0246 ความกวา งกระดองดา นใน (เซนติเมตร) Fe : จำนวนไข ICW : ความกวา งกระดองดานใน สุดารัตน และคณะ (2562) 16

เหตผุ ล ทำไมสามารถฟนฟทู รพั ยากรปูมา ดวยการทำธนาคารปมู า . ปูมาเปนสัตวน้ำเศรษฐกิจที่พบไดทั่วไปตลอดแนวชายฝงทะเลทั้งอาวไทยและอันดามัน . แมป มู า มจี ำนวนไขน อกกระดองจำนวนเยอะมาก ประมาณ 1 ลา นฟอง ขนาดตวั มากกวา 10 เซนตเิ มตร . ธนาคารปูมาทำไดงายโดยการนำปูมาไขนอกกระดองที่ติดเครื่องมือประมงมาพักเพื่อรอให ไขฟกเปนตัวออน . ไขนอกกระดองของแมปูเปนไขที่ไดรับการผสมกับน้ำเชื้อของตัวผูและปฎิสนธิแลว สามารถนำเฉพาะจับปงไขนอกกระดองไขหรือแยกไขจากจับปงเพื่อนำไขฟกเปนตัวออน . ปมู า สบื พันธุตลอดทัง้ ป แมมีชว งเดอื นท่ีมปี มู า ไขน อกกระดองจำนวนมากแตกตางกันตามพื้นที่ . ปูมาไขนอกกระดองหาไดงายทั้งปในพื้นที่ประมงทั้งแบบประมงชายฝง และประมงพาณิชย . การจดั ทำธนาคารปมู าเพอื่ ฟก ไขจากจบั ปง ของสามารถทำไดงา ยโดยชาวประมง .ตัวออนปูมาสามารถอาศัยอยูในระบบนิเวศชายฝง งายตอการปลอยคืนสูแหลงธรรมชาติ . ปูมาเจริญเติบโตเร็ว 4-6 เดือน จะเติบโตเปนตัวเต็มวัยและมีขนาดใหญติดเครื่องมือประมง 17

สภาพแวดลอ มและระบบนเิ วศ 18

ปูมาสามารถอาศยั อยใู นบรเิ วณกวา งตง้ั แตบ รเิ วณพน้ื ทอ งทะเลทเ่ี ปน ทราย โคลนปนทราย หรือแมกระทั่งพื้นที่โคลน อยางไรก็ตามจากปริมาณผลจับของ ชาวประมงและวงจรชวี ติ ของปมู า โดยมพี ฤตกิ รรมฝง ตวั ในพน้ื ทท่ี รายในตอนกลางวนั ชี้ใหเห็นวาปูมาชอบอาศัยอยูบริเวณทรายหรือโคลนปนทราย โดนเฉพาะบริเวณ สันดอนทรายมากกวาบริเวณที่เปนโคลนเลน พบกระจายอยูทั่วไปทั้งฝงอาวไทย และอนั ดามันในระดบั ความลึกไมเ กนิ 50 เมตร จากการสำรวจพบลกู ปมู า จำนวนมากฝง ตวั อยใู นพน้ื ทรายชว งกลางวนั แหลง หญา ทะเล เปน แหลง ทอ่ี ยอู าศยั และแหลง หลบภยั ของปมู า วยั ออ นทส่ี ำคญั หากมแี หลง หญา ทะเลในพน้ื ทใ่ี กลเ คยี งกบั จดุ ปลอ ยปมู า จะทำใหส ามารถเพม่ิ อตั รา การรอดของปมู า วยั ออ นมากขน้ึ ดงั นน้ั การสำรวจระบบนเิ วศเพอ่ื รองรบั การปลอ ยปมู า จึงมีความสำคัญไมนอยกวาการปลอยปูมาวัยออนคืนสูทะเล การสำรวจพบแหลงหญาทะเลและพบปูมาวัยออนจำนวนมาก ในพื้นที่สันดอนทราย เกาะหัวเส็จ อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี 19

ปจั จัยคุณภาพน้ำทีเ่ หมาะสม ต่อการจัดทำธนาคาร และอัตราการรอดของ ปูมาอาศัยอยูแมกระทั่งบริเวณน้ำขึ้นน้ำลง หรือบริเวณน้ำกรอย บรเิ วณชายฝง และตามแนวปากแมน ำ้ ทร่ี ะดบั ความเคม็ ระหวา ง 27-32 สว นในพนั และอุณหภูมิที่มากกวา 20 องศาเซลเซียส โดยปกติพบอาศัยในบริเวณที่ มีอุณหภูมิระหวาง 28-30 องศาเซลเซียส โดยในชวงขนาดตัวเล็กปูมาอาศัย อยูบริเวณชายฝง และเคลื่อนยายไปอาศัยในบริเวณน้ำลึกหรือไกลฝงมากขึ้น เมื่อมีขนาดโตขึ้น ผลการสำรวจความหนาแนนของปูมาในทะเลในพื้นที่ ซึ่งมีความเค็มตางกัน พบปูมาจำนวนมากที่ชวงความเค็ม 27-32 สวนในพัน พบปูมาจำนวนนอย ที่ความเค็มต่ำกวา 15 20

อณุ หภมู ิ ความเคม็ ต่ำกวา 25 องศาเซลเซียส ชวงฤดูกาลสืบพันธุแมปูมาจะวายน้ำหางออกจากฝงไป ลูกปูมีพัฒนาการชา เหมาะสม ยังความเค็ม 30-35 สวนในพัน เพื่อฟกไขหลังจากนั้นไขจะถูก ที่ชวง 28-33 องศาเซลเซียส โดยพบวาอัตราการรอด กระแสน้ำพัดพามายัง ตายของลูกปูมาจากระยะ พื้นที่ใกลฝงซึ่งมีอาหาร ซูเอี้ยถึงระยะตัวเต็มวัยมากขึ้น สำหรับตัวออนและมี จากการเพมิ่ ของอณุ หภูมทิ ่ีสูงขนึ้ ความเค็มในชวง 25-27 สวนในพัน ซึ่งเหมาะสมกับ ความลึก การอนุบาลวัยออน ปูมาชอบดำรงชีวิตอยูบริเวณ ปรมิ าณออกซิเจนละลายในน้ำ ที่ตื้นมากกวาที่ลึก การจับปูมา ในระดับน้ำตื้น 7 - 20 เมตร การดำรงชีวิตของปูมาพบวาปริมาณ มีอัตราการจับสูงสุด และ ออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ำที่มี ที่ความลึกเพิ่มขึ้นในระดับ ความเหมาะสม 4 มิลลิกรัม/ลิตร 20 - 30 เมตร มีอัตราการจับลดลง มีความเหมาะสม และไมควรต่ำกวา 2.5 มิลลิกรัม/ลิตร ความเปนกรดดาง (pH) ความเปน ดา ง (Alkalinity) 8.0-8.5 เหมาะสมตอการเพาะพันธุและอนุบาลปูมา ควรอยูในชวง 150-250 มิลลิกรัม/ลิตร ปรมิ าณแอมโมเนียรวม ไมควรสูงกวา 1 มิลลิกรัม/ลิตร 21

รปู แบบธนาคารปูมา รปู แบบโรงเรอื นบนฝง รูปแบบกระชัง รปู แบบอน่ื ๆ 22

รปู แบบโรงเรือนบนฝง ถังฟกหลังบา น บอ ซีเมนต และบอ ปกู ระเบอื้ ง บอหลมุ ซเี มนต 23 ถังระบบน้ำหมนุ เวียน กะบะไฟเบอร

โรงเรือนบนฝงใชถ ังฟก แนวคิด ธนาคารปมู า ในรปู แบบโรงเรอื นบนฝง เปน รปู แบบทค่ี อ นขา งไดร บั ความนยิ ม ธนาคารปมู า ภายใต โครงการคืนปูมาสูทะเลไทย สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดยสวนมากเปน รูปแบบโรงเรือนบนฝง เนื่องจากชวยลดอุปสรรคจากคลื่นลม และสามารถยึดอายุการใชงานใหนานขึ้น นอกจากนก้ี ารจดั ทำธนาคารปมู า แบบโรงเรอื นบนฝง สามารถสรา งการรบั รู กระบวนการเรยี นรู และเพม่ิ ความตระหนกั ในการอนรุ ักษทรพั ยากรปมู า ใหกบั ผูสนใจหรอื ผเู ยี่ยมชมธนาคารปมู า อีกท้ังในกรณที ช่ี าว ประมงเกบ็ อวนเพอ่ื มาคดั แยกสตั วน ำ้ ทต่ี ดิ อวนบนฝง ชาวประมงสามารถนำปมู า ไขน อกกระดองทต่ี ดิ มากบั เครื่องมือประมงเพื่อฟกไขของแมปูในธนาคารปูมา และปลอยลูกปูมาคืนสูทะเลไทยไดสะดวก ทั้งนี้ ธนาคารปูมาแบบโรงเรือนบนฝงมีรูปแบบโครงสรางประกอบดวยโรงเรือนที่มีหลังคาเพื่อชวยปองกัน แสงและความรอ นในเวลากลางวนั อุปกรณเ บือ้ งตนสำหรับการจัดทำธนาคารปมู า อยา งงา ย ถังพลาสตกิ ขนาด 40-70 ลติ ร ปน กาว ปมลม กาวรอ น เหลก็ เพือ่ จัดทำโครงตั้งถัง ผา ขาวกรองน้ำ ทอ พวี ซี ี ถังพักนำ้ ขนาด 500-2,000 ลติ ร สายอากาศ แกว ใสตักสอ งลูกปู หัวทราย เครือ่ งใหอ ากาศแบบพกพา วาลวปรับลม กลอ งจลุ ทรรศนจ๋ิวสำหรับสองลูกปู 24

แนวทางการดำเนนิ งาน โดยทว่ั ไปธนาคารปมู า แบบถงั ฟก 1 ชดุ ประกอบดว ยถงั จำนวน 10 ใบ ขนาด 40-70 ลติ ร ซง่ึ ขนาดถังแตกตางไปตามพื้นที่และความสามารถในการลำเลียงถังฟกปูมาวันออนไปปลอย โดยมักมี โครงสรา งเหลก็ เพอ่ื จดั วางถงั เปน ชดุ ธนาคารปมู า ใหด เู ปน สดั สว นเรยี บรอ ย มรี ะบบทอ ทม่ี แี รงดนั อากาศ พอใหไขในถังไมตกอยูที่กนถัง ใสแมปู 1 ตัวตอถัง และควรเติมน้ำอยางนอย 20 ลิตรตอถัง ชาวประมงควรใชความระมัดระวังในการลำเลียงแมปูไขนอกกระดองกอนนำเขาธนาคาร เพราะถาหากไขนอกกระดองบอบช้ำ และแมปูมาเกิดความเครียดจะสงผลตออัตราการฟกต่ำ ดังนั้นควรลำเลียงแมปูใสถังแยกเปนพิเศษ และปริมาณออกซิเจนในน้ำมากกวา 4 มิลลิกรัมตอลิตร กรณที จ่ี ำเปน ตอ งใสแ มป มู า จำนวนหลายตวั ในถงั เดยี วกนั ควรใสใ บไมห รอื กง่ิ ไมเ พอ่ื ลดความเครยี ดจาก การตอสู ชาวประมงเรียนรวู า หากไขข องแมป มู า มสี นี ำ้ ตาลหรอื สดี ำจะใชร ะยะเวลาสน้ั ๆ 1-2 วนั ไขจ ะฟก ออกเปนตัวออนระยะซูเอี้ยและสามารถนำไปปลอยคืนสูทะเล โดยที่ชาวประมงไมตองเปลี่ยนถายน้ำ ระหวางที่ปูมาฟกไขอยูในถัง แตกรณีไขนอกกระดองสีอื่นๆ จำเปนตองเปลี่ยนถายน้ำตามพัฒนาการ ของไขก อ นฟกเปนลูกระยะซูเอี้ย ชาวประมงที่จัดทำธนาคารปูมารูปแบบนี้มักปลอยลูกปูมาหลังจาก ทฟ่ี ก ออกจากไข ในระยะซเู อย้ี ทนั ที โดยอาจจะมกี ารชว ยกนั นำลกู ปมู า วยั ออ นในถงั ไปปลอ ยในบรเิ วณ ทช่ี มุ ชนมองเหน็ วา เปน แหลง อนบุ าลวยั ออ น หรอื ปลอ ยตอนทช่ี าวประมงออกไปทำประมงเชา ตรอู กี วนั ใน บรเิ วณทเ่ี จอแมป มู า ไขส ดี ำ บางกลมุ ใชร ะบบทอ สง เพอ่ื นำตวั ออ นปมู า ปลอ ยลงสทู ะเล 25

รูปแบบถังฟกประเภทอ่ืนๆ แนวคดิ รูปแบบถงั ฟก ท่ีชาวประมงแตล ะพน้ื ท่เี ลอื กใชมีความแตกตา งกนั บางพืน้ ทใี่ ชถงั ฟกดงั กลา วไว ขา งตน อยา งไรกต็ ามในบางพืน้ ทีน่ ยิ มใชถ งั รูปแบบเปนกะบะไฟเบอรซึ่งมขี นาดทีแ่ ตกตางกันขึน้ อยูกับ ความสะดวกหรือตามประเภทถังที่มีในพื้นที่ รวมทั้งเหมาะสมกับขนาดของโรงเรือนธนาคารปูมา โดยทั่วไปกะบะไฟเบอรมีขนาดเล็กจนไปถึงขนาดใหญตั้งแต 40x60x40 เซนติเมตร ถึง 120x180x60 เซนติเมตร (กวางxยาวxสูง) สวนมากพบธนาคารปูมาที่ใชถังฟกแบบกะบะไฟเบอรใน พื้นที่จังหวัดระนอง พังงา ระยอง และประจวบคีรีขันธ เปนตน (ถังหรือกะบะไฟเบอรสำหรับ ฟกไขเปนตัวออนปูมาควรมีการทำความสะอาดบอยๆ เพื่อเพิ่มอัตราการรอดของปูมาวัยออน) ธนาคารปูมารูปแบบกะบะไฟเบอร สวนมากชาวประมงปลอยลูกปูมาตามทอลงสูปากแมน้ำหรือ ชายฝง ทะเล ทม่ี คี วามเคม็ เหมาะสม (มากกวา 27 สว นในพนั ) ในชว งนำ้ ขน้ึ สงู สดุ กอ นเปลย่ี นเปน นำ้ ลง “ถังหรือกะบะไฟเบอรสำหรับฟกไขเปนตัวออนปูมาควรมีการทำความสะอาดบอยๆ เพื่อเพิ่มอัตราการรอดของปูมาวัยออน” 26

รปู แบบการปลอ ยปมู า วยั ออ น :โรงเรอื นบนฝง ใชถ งั ฟก จากการสำรวจพบวา ธนาคารปมู า รูปแบบ โรงเรือนบนฝงใชถังฟก ชาวประมงจะนำลูกปูมา แรกฟกในถังไปปลอยบริเวณชายฝงทะเล เลยเขตน้ำขึ้นน้ำลง เพื่อใหกระแสน้ำพัดพาลูก ปูมาวัยออนไปสูแหลงหลบภัยหรือแหลงอนุบาล สัตวน้ำวัยออน ตัวอยาง เชน การดำเนินการ ของธนาคารปูมาบานในถุง อ.ทาศาลา จ.นครศรีธรรมราช ธนาคารปูมาในพื้นที่จังหวัด ตรงั เปน ตน ชาวประมงบางพน้ื ทจ่ี ะปลอ ยลกู ปมู า ระยะซเู อย้ี โดยใชร ะบบทอ ลำเลยี งตวั ออ นลงสแู หลง น้ำ ธรรมชาติ โดยทั่วไปธนาคารปูมาแบบโรงเรือนบนฝงจะตั้งอยูบริเวณใกลกับปากแมน้ำ หรือใกล พื้นที่ชายฝงทะเล ชาวประมงจึงนิยมตอทอจากถังฟกเพื่อปลอยน้ำพรอมลูกปูในถังใหไหลลง สูแหลงน้ำธรรมชาติ โดยมักปลอยตัวออนขณะที่น้ำขึ้นสูงสุดใกลตอนน้ำลงเพื่อใหตัวออนไหลตาม กระแสน้ำไปยังแหลงอนุบาล“การปลอยปูมาวัยออนแบบทอลำเลียง ชาวประมงจะตองใชน้ำที่พัก ไวลางไปในทอเพื่อใหมั่นใจวาตัวออนไมติดคางอยูในทอน้ำ รวมทั้งควรทำความสะอาดทอปลอย ลกู ปมู า บอ ยๆ เพอ่ื เพม่ิ อตั ราการรอด” ตวั อยา ง เชน การดำเนนิ การของธนาคารปมู า บา นคลองเทยี น 27

รูปแบบใชถังฟก หลังบาน แนวคดิ รูปแบบถังฟกหลังบานจัดเปนธนาคารปูมาที่เหมาะสมกับครัวเรือนประมง เมื่อชาวประมง จับปูมาไขนอกกระดองซึ่ง ตดิ มากบั เครอ่ื งมอื ประมง สามารถนำแมป มู า นน้ั มาพกั และรอใหไ ขฟ ก เปน ตวั ออ นในถงั ทเ่ี ตรียมไวหลังบาน อุปกรณเ บือ้ งตน ถังพลาสติกขนาด 10-20 ลติ ร ปนกาว ปม ลม กาวรอ น สายอากาศ ผาขาวกรองน้ำ หัวทราย ถังพักนำ้ ขนาด 500-2,000 ลิตร วาลว ปรับลม เครอื่ งใหอากาศแบบพกพา 28

แนวทางการดำเนนิ งาน เปนรูปแบบที่ทำไดงายๆ โดยใชถังใสน้ำและมีการใหออกซิเจนในปริมาณที่เพียงพอ ตั้งวางไว หลังบานหรือบริเวณที่ชาวประมงทำการแยกปูมาออกจากอวน โดยสวนมากชาวประมงใชถัง พลาสตกิ ขนาดเลก็ 10-20 ลติ ร จำนวน 10-20 ใบ ตามแตพ น้ื ทว่ี า งหลงั บา น รวมทง้ั จำนวนแมป มู า ทม่ี ใี น แตละวัน ชาวประมงจะใชปมออกซิเจนตอสายอากาศลงถังที่บรรจุน้ำทะเลผานการกรองดวยผาขาว กรองน้ำ เมื่อแมปูมาฟกไขแลวจะนำลูกปูมาไปปลอยคืนสูทะเลโดยนำถังฟกติดเรือไปปลอยในพื้นที่ ประมงในรอบถัดไป สวนแมปูมาหลังฟกไขชาวประมงจะนำไปขายเพื่อสรางรายไดใหกับครัวเรือน 29

รูปแบบบอซเี มนต หรอื บอปพู นื้ กระเบ้ือง แนวคิด ธนาคารปูมาแบบบอ ซเิ มนตแ ละบอ ปูพ้ืนกระเบ้ือง สวนมากเปน การดัดแปลงบอ ซงึ่ ใชใ นการ พกั ปมู า กอ นจำหนา ยเพอ่ื จดั ทำเปน ธนาคารปมู า รวมทง้ั มกั พบธนาคารปมู า รปู แบบนใ้ี นสถานวี จิ ยั ของกรมประมง และสถานีวิจัยของมหาวิทยาลัยตางๆ รวมทั้งในแพหรือสถานที่ขายสงปูมาขนาด ใหญ ทั้งนี้เพื่อใชสถานที่หรือโครงสรางอาคารเดิมที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด สวนมากจะ สรางธนาคารปมู า บรเิ วณใกลชายฝง ทะเล อุปกรณเ บื้องตน บอซีเมนต หรือบอปกู ระเบ้อื ง ตะกราใสแ มป มู า ไขน อกกระดอง ปม ลม ผาขาวกรองนำ้ สายอากาศ ถังพักนำ้ ขนาด 500-2,000 ลติ ร หัวทราย วัสดหุ ลบซอน วาลวปรับลม เครื่องใหอ ากาศแบบพกพา 30

แนวทางการดำเนินงาน โดยทั่วไปบอซิเมนตและบอปูกระเบื้องจะมีขนาด 120x180x50 ลูกบาศกเซนติเมตร (กวางxยาวxสูง) ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขนาดและความเหมาะสมของโรงเรือน โดยบอปูกระเบื้องจะมีขอดี ในเรื่องของการดูแลรักษาความสะอาดไดงาย และสวยงามกวาบอซิเมนตธรรมดา แตชาวประมงจะ ตองใชงบประมาณในการจัดสรางที่สูง การทำธนาคารปูมาในรูปแบบนี้สามารถปลอยแมปูลงไปฟก ไขไดบอละหลายตัวขึ้นอยูกับขนาดของบอ จึงเหมาะกับพื้นที่ซึ่งเปนแพปูมาขนาดใหญที่มีแมพันธุ ปูมาจำนวนมาก โดยบางพื้นที่จะใสแมปูมาไวในตะกราเพื่อปองกันการตอสู บางพื้นที่ปลอยในบอ โดยตรงและมีเศษกิ่งไมใสไวเพื่อใหปูมารูสึกไมเครียดและลดการตอสู การใหออกซิเจนตองทั่วทั้งบอ และเพียงพอกับจำนวนแมปูมาที่ปลอยไปในแตละบอ โดยอาจสังเกตไดจากแมปูเมื่อฟกไขในบอ ไขตองไมตกกองอยูที่กนบอ โดยทั่วไปหลังจากแมปูฟกไขแลวก็จะนำลูกปูวัยออนไปปลอยบริเวณ ใกลชายฝงทะเล โดยการตอทอสำหรับปลอยปูมาวัยออน สวนแมพันธุชาวประมงจะนำไปจำหนาย หรือบริโภคตอไป ตัวอยางเชน ธนาคารปูมาปากน้ำปราณ ธนาคารปูมาบานหนองขาวเหนียว ศูนยเรียนรูธนาคารปูมากลุมประมงเรือเล็กพื้นบานบานพลา ศูนยการเรียนรูธนาคารปูมาสถานีวิจัย ประมงคลองวาฬ เปนตน 31

รปู แบบบอ หลุมซเิ มนต แนวคิด เปนธนาคารปูมาอีกรูปแบบหนึ่งที่อยูภายในโรงเรือน และชาวประมงดัดแปลงใหงายตอ การปลอยปูมาวัยออนหลังจากการฟกเปนระยะซูเอี้ย พบในพื้นที่ซึ่งประกอบการแพปูมา บรเิ วณชายฝง หรือบรเิ วณปากแมน ำ้ อุปกรณเ บื้องตน บอปูนซีเมนต ทอพีวีซี ปมลม ผาขาวกรองน้ำ สายอากาศ/วาลวปรับลม ถังพักน้ำขนาด 500-2,000 ลิตร หัวทราย วัสดุหลบซอน 32

แนวทางการดำเนินงาน รูปแบบบอซีเมนตลึกลงไปจากพื้นประมาณ 1.2 เมตร มีรัศมีความกวางปากบอ 1 เมตร ชาวประมงกรองน้ำดวยผาขาวกรองน้ำเพื่อเติมน้ำในบอซีเมนต น้ำจึงมีความสะอาดเหมาะสมกับ การฟกไขของปูมา ดานลางของทอซีเมนตมีการเจาะรูไวเพื่องายตอการปลอยตัวออนปูมาจากบอ ชาวประมงใชน้ำฉีดดันและลางบอเพื่อใหมั่นใจวาตัวออนปูมาออกจากบอและทอมากที่สุด ธนาคารปูมาประเภทนี้พบไดนอยฉพาะพ้ืนที่เชนบา นอา วหมู แหลมประดู จังหวัดจนั ทบุรี 33

รูปแบบหักจับปง แนวคดิ ธนาคารปูมาประเภทนี้เปนการฟกไขปูมาจากสวนของจับปงซึ่งเปนอวัยวะที่แมปูมาใช สำหรับเปนที่ยึดเกาะของไขนอกกระดอง วิธีนี้เหมาะสมกับพื้นที่ซึ่งมีปูมาไขนอกกระดอง จำนวนมาก และชาวประมงหรือผูประกอบการตองรีบดำเนินการใชประโยชนปูมา หรือแปรรูป ปูมา เชน แพปูมาชุมชน โรงตมปูมาสำหรับแกะเนื้อ หรือกรณีที่แมปูมาไขนอกกระดองตายใน ระหวางลำเลียงในกรณีที่แมปูตายใหมๆ และไมมีกลิ่นเหม็น ซึ่งสามารถสังเกตไดจากเม็ดไขปูมายัง มีความแวววาว เมื่อเอามือสัมผัสไขปูมามีความรูสึกสากๆ มือ ไขปูมาที่มีลักษณะแบบนี้ยังสามารถ นำมาแยกใหเม็ดไขกระจายตัว และสามารถนำไปฟกเพื่อพัฒนาเปนปูมาวัยออนระยะซูเอี้ย หรือ บางพื้นที่แมนวาปูมายังไมตาย แตอาจจะหักจับปงไขนอกกระดองบริเวณทาเรือกอนที่พอคา จะนำปูมาจำหนา ย อุปกรณเบ้อื งตน ภาชนะ กะละมัง ถัง ตามความเหมาะสม แปรงขนออน ปม ลม ผา ขาวกรองน้ำ สายอากาศ/วาลว ปรับลม แกว ใสตักสอ งปมู าวัยออน หัวทราย ถังพักนำ้ ขนาด 500-2,000 ลิตร สวงิ 120-150 ไมครอน อปุ กรณอ ่ืนๆตามรูปแบบ โรงเรือนทร่ี ะบขุ างตน 34

แนวทางการดำเนินงาน ธนาคารปูมารูปแบบนี้สามารถดำเนินการไดโดยทำการแยกสีไข เชน เหลือง น้ำตาล เทา ดำ เปนตน เพื่อจะไดแยกถังฟก เพราะไขแตละสีจะมีระยะเวลาการฟกเปนตัวออนระยะซูเอี้ย ไมเ ทา กนั เตรยี มนำ้ ทะเลทส่ี ะอาด ความเคม็ 25-30 สว นในพนั จบั ปง ไขป มู า 1 ชน้ิ ใชนำ้ ทะเลในการ พักประมาณ 6 ลิตร โดยนำไขที่ผานกระบวนการเขี่ยใสกะละมังหรือภาชนะอื่นๆ ใหอากาศแบบ หัวทรายระดับความแรงปานกลางตลอดเวลาขณะทำการกระจายเม็ดไข ใชมือที่สะอาดเขี่ยไข เบาๆ โดยไมมีการบีบเม็ดไข ใหไขกระจายเรียงเม็ดมากที่สุดเทาที่จะทำได บางพื้นที่ มีการใชแปรงเพื่อชวยแยกไขจากจับปงปูมา จากนั้นรวบรวมไขโดยใชสวิงผาตาละเอียด ขนาดประมาณ 120-150 ไมครอน และใชน้ำเค็มสะอาดลางไขปูมา 3-4 ครั้ง กอนนำไขไปฟกใน ถงั นำ้ กะละมัง หรือภาชนะทรงกระบอก น้ำหนกั ไขป ริมาณ 5 กรมั ตอ น้ำทะเล 1 ลติ ร ใหอากาศ แบบหัวทรายคอนขางแรงเพื่อใหเม็ดไขฟุงกระจายไมกองกนภาชนะ ถาไขมีสีเหลือง จะใช ระยะเวลาประมาณ 7-9 วัน และไขสีดำ ใชระยะเวลา 1-2 วัน ไขจะพัฒนาและฟกเปนตัวออน ระยะซูเอี้ย จากนั้นจึงนำลูกปูวัยออนปลอยในพื้นที่เหมาะสม พบธนาคารปูมาประเภท นี้ในจังหวัด ชุมพร จันทบุรี เปนตน 35

รูปแบบระบบน้ำหมุนเวียน แนวคิด ธนาคารปมู า รปู แบบนช้ี าวประมงจะนำไขป มู า ทกุ ระยะมาแยกไขอ อกจากจบั ปง โดยบางครง้ั ใช แปรงหรือใชมือในการแยกไขออกจากจับปง ลางดวยน้ำสะอาด 3-4 ครั้งผานกระชอน ดังรายละเอยี ด ทร่ี ะบไุ วใ นหวั ขอ การแยกไขป มู า จากจบั ปง กอ นหนา หลงั จากนน้ั นำเฉพาะไขป ทู ท่ี ำความสะอาดแลว ใส ถงั ฟกไขร ะบบน้ำหมุนเวียน โดยน้ำหนกั ไขป ริมาณ 5 กรมั ตอน้ำทะเล 1 ลติ ร และใหอ ากาศตลอดระยะ เวลาดวยปมลมจนกระทั่งไขฟกเปนลูกปูวัยออน ชุดเพาะฟกไขและแยกลูกปูเปนอนุสิทธิบัตรของ คุณตรีรัตน เชาวนทวี และมีหลายหนวยงานใชชุดเพาะฟกไขของปูมารูปแบบนี้โดยการดัดแปลงใน ลักษณะใกลเคียง ธนาคารปูมารูปแบบนี้ออกแบบมาเพื่อแกปญหาการฟกไขปู โดยสามารถฟกไขปูได ทุกระยะพัฒนาการและสามารถฟกไขปูไดเปนปริมาณมาก นอกจากนี้ยังมีระบบเติมน้ำเขาและถาย น้ำออก เพื่อรักษาคุณภาพของน้ำในระบบฟกใหดีเหมาะสมตลอดระยะเวลาการฟก อปุ กรณเบื้องตน ถังฟกจำนวน 1-7 ใบ สวิง/กระชอน 120-150 ไมครอน และถังแยกลูกปู จำนวน 1 ใบ กะละมัง ถัง ตามความเหมาะสม ทอ ตอ หัวทราย แปรงขนออ น สายอากาศ/วาลวปรับลม ผา ขาวกรองน้ำ ถังแยกลกู ปู แกว ใสตักสองปูมาวัยออน ปม ลม ถังพักน้ำขนาด 500-2,000 ลติ ร กาวตอ เช่ือมทอ พีวซี ี อปุ กรณอ ่ืนๆตาม 36 รปู แบบโรงเรือนทร่ี ะบุขา งตน

แนวทางการดำเนินงาน จากชดุ อปุ กรณท ก่ี ลา วขา งตน ถงั ฟก ทกุ ใบเชอ่ื มตอ กนั และทำงานในระบบนำ้ หมนุ เวยี น ไขป จู ะ ไหลจากถังฟกใบที่ 1 ไปจนถึงถังแยกลูกปู และลูกปูที่ฟกออกจากไขจะวายตามแสงขึ้นมา ดานบน และออกจากระบบถังฟกลงสูถังรองรับลูกปูทางทอน้ำลนของถังแยกลูกปู ไขที่ยังไมฟก จะตกลงสูดานลางของถังแยก และถูกนำกลับเขาสูถังฟกโดย Air Lift Pump นอกจากนี้ ยังตองมี การเติมน้ำในถังฟกใบที่ 1 ตลอดเวลาเพื่อไลของเสียที่เกิดจากไขที่ฟกออกจากระบบ และเพื่อใหน้ำ พาลูกปูที่ฟกแลวออกมาทางทอน้ำลนเขาสูถังแยกลูกปู ลูกปูที่ไดถูกนำไปปลอยในธรรมชาติ พบธนาคารปมู า รปู แบบนใ้ี นบรเิ วณอา วคงุ กระเบน จงั หวดั จนั ทบรุ ี พน้ื ทจ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราช และ จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี 37

ขอดีและขอ เสยี ของธนาคารปูมา แบบโรงเรือน ข้อดี ข้อเสีย มีความสะดวกในการบริหารจัดการธนาคารปูมา ไมเ สี่ยงตอการสูญหายของแมปูมา รับภาระคาสาธารณูปโภค เปนศูนยเ รยี นรสู รางความเขาใจถึงการตระหนกั ยกเวนหากมีการใชพลังงานทดแทน ฟนฟอู นรุ ักษปมู า ภาระในการนำลูกปูมาปลอยคืนสูทะเล มคี วามคงทน และดแู ลรักษางา ย ตอ งดูแลควบคมุ สภาพแวดลอมในถงั ฟก เกิดกลมุ และกิจกรรมตอ ยอดตางๆ ใหเหมาะสมตอปูมา เปน สถานท่ศี ึกษาดูงาน เกิดกิจกรรมกลุมและสรางความสามัคคีของชุมชน เปน พน้ื ทส่ี าธารณะเพอ่ื กจิ กรรมอน่ื ๆ 38

รูปแบบกระชัง 39

รูปแบบกระชังลอยนำ้ แนวคดิ ธนาคารปูมารูปแบบกระชังลอยน้ำเปนธนาคารอีกรูปแบบหนึ่งที่มีการจัดสรางบริเวณ หางจากชายฝงประมาณ 1,000 เมตร หรือบริเวณปากแมน้ำติดตอกับทะเล เพื่อสะดวก ในการเก็บแมปูไขนอกกระดองในกระชัง ในเวลาที่ชาวประมงวิ่งเรือกลับจากการทำประมงและผาน กระชังธนาคารปูมา ในบางพื้นที่นิยมทำธนาคารปูมาทั้งแบบโรงเรือนและแบบกระชัง ในกรณีที่ไดรับบริจาคแมปูมาจำนวนมากโดยเฉพาะในชวงฤดูกาลสืบพันธุวางไขมีจำนวน ปูมามากกวาจำนวนถังฝกที่เตรียมไว สามารถนำแมปูมาไขนอกกระดองไปฟกในกระชัง ใกลชายฝงทะเล อุปกรณเ บื้องตน อวนไนลอนสดี ำ หรือสีแดง โครงเหล็กสเี่ หลีย่ มตามขนาดกระชัง (ขนาดตาอวน 4 เซนตเิ มตร) ทุนแสดงสัญลักษณทต่ี ัง้ ธนาคารปู ทนุ ลอย หรือถังพวี ซี ี เชอื กเพอื่ ผูกมัด แผน ไมสำหรับเปน ทางเดิน 40

แนวทางการดำเนินงาน โดยทั่วไปธนาคารปูมาแบบกระชังมีขนาด 4 x 4 x 1 ลูกบาศกเมตร อยางไรก็ตามขนาดของ กระชังมีการดัดแปลงตามความเหมาะสมของพื้นที่ และปริมาณแมปูมาในพื้นที่ รวมทั้งเพื่อ ใหงายตอการดูแลรักษาและการจัดการในดานตางๆ ใชทุนลอยซึ่งทำดวยถังน้ำสีฟาขนาดใหญ เพื่อใหกระชังลอยอยูกับน้ำและยึดกระชังไวกับพื้นทองทะเลดวยสมอ ดานบนของกระชัง มีการจัดทำทางเดินไวขนาดพอเดินเพื่อปลอยปูมา ชาวประมงจะนำแมปูมาไขนอกกระดอง ปลอ ยในกระชงั เพอ่ื ฟก ในระยะซเู อย้ี หลงั จากนน้ั จะพกั ปมู า ไวก อ นนำขน้ึ มาจำหนา ย ธนาคารปูมาใน รูปแบบกระชังเหมาะสำหรับชวงการประมงที่มีคลื่นลมปกติ ไมเหมาะกับชวงมรสุมเพราะกระชัง จะเกิดการเสียหาย รวมทั้งวัสดุที่เปนเหล็กจะเปนสนิม มีอายุการใชงานประมาณ 6 เดือน หลัง จากนน้ั ตอ งมกี ารซอ มแซมหรอื จดั สรา งใหมเ กอื บทกุ ป ตวั อยา ง เชน กระชงั ปมู า บา นในถงุ ธนาคารปูมา ชุมชนประมงอาวนอย และธนาคารปูมาอาวอุดม เปนตน 41

รูปแบบกระชังแขวนลอย บริเวณชายฝง หรอื คลองปากแมน ำ้ แนวคดิ ธนาคารปูมาแบบกระชังแขวนลอยบริเวณชายฝงหรือคลองปากแมน้ำ สวนมากพบในพื้นที่ ชายฝงลำคลองที่ติดตอกับปากแมน้ำซึ่งไดรับอิทธิพลของน้ำเค็ม และอยูในบริเวณที่ใกลกับ ชุมชนชาวประมง หรือสถานที่สาธารณะสวนกลางซึ่งชาวประมงใชในการแกะปูมาจากอวน หลักการ และแนวคิดในการทำธนาคารปูมารูปแบบนี้เชนเดียวกับธนาคารปูมาแบบกระชังรูปแบบอื่นๆ เพื่อลดตนทุนเรื่องคาไฟฟาและเพื่อความสะดวกในการนำแมปูไขไปฟกในกระชังในพื้นที่ซึ่ง ชาวประมงเดินทางผานไปมา อปุ กรณเ บ้ืองตน อวนไนลอนสีดำ หรอื สีแดง เชอื กเพ่ือผูกมัด (ขนาดตาอวน 4 เซนตเิ มตร) ทอ พวี ีซีและทุน ลอย แผน ไมที่ใชเปน ทางเดิน ทนุ แสดงสัญลักษณที่ตัง้ ธนาคารปู (กรณสี รางขนาดใหญ) ถังน้ำหรอื ทุน ลอย (กรณสี รางขนาดใหญ) 42

แนวทางการดำเนนิ งาน โครงสรางของกระชังรูปแบบนี้ประกอบดวย อวนลอมเปนถุง ใชไมหรือทอพีวีซี ในการยึดติด กับถุงอวน มีลักษณะเปนคอกลอยน้ำสี่เหลี่ยม ขนาดเล็กประมาณ 1 x 1 ตารางเมตร (กวางxยาว) หรือใหญกวาเล็กนอยตามแตความสะดวกของพื้นที่ โดยทั่วไปกนอวนอยูในระดับที่น้ำทะเล ทวมถึงตลอด การบริหารจัดการใชวิธี 1 กระชังตอชาวประมง 1 คน ที่เปนเจาของดูแลรักษาและ นำแมปูมามาพัก พบธนาคารปูมาในรูปแบบนี้ในพื้นที่ธนาคารปูมาบานคลองมาด (จังหวัดตราด) ศูนยการเรียนรูธนาคารปูมาสถานีวิจัยเพื่อการพัฒนาชายฝงอันดามัน (จังหวัดระนอง) ศูนยการเรียนรูธนาคารปูมาพุมเรียง (จังหวัดสุราษฎรธานี) เปนตน 43

รูปแบบตะกรา ลอยน้ำ แนวคดิ ธนาคารปูมาแบบตะกราลอยน้ำ เปนธนาคารปูมาที่มีการผูกโยงไวกับโครงสราง ทางเดินริมชายฝงทะเล แตชาวประมงดัดแปลงมาใชตะกราแทนกระชัง ทั้งนี้เนื่องจาก ความสะดวกในการจัดการธนาคารปูมา และสามารถแยกปูมาตะกราละตัวลดการตอสูของ แมปูมาไขนอกกระดอง ธนาคารปูมารูปแบบนี้มีตนทุนต่ำและไมมีตนทุนคาไฟฟา ตะกรา อุปกรณเ บ้อื งตน อวน ทุนลอย เชือกเพ่ือผูกมัด ทอพีวีซี ทุนแสดงสัญลักษณทต่ี ัง้ ธนาคารปูมา 44

แนวทางการดำเนนิ งาน ชาวประมงมักใชตะกราขนาด 30 x 40 x 20 ลูกบาศกเซนติเมตร ขนาดตระกรา แตกตางไปตามพื้นที่และตามความสะดวกในการหาซื้ออุปกรณและใชอวนปดสวนดานบน ของตะกรา ดา นขา งของตะกรา ตดิ ทนุ ลอยนำ้ หรอื วสั ดทุ ล่ี อยนำ้ ชาวประมงจะนำปมู า ไขน อกกระดอง ใสจำนวน 1 ตัว ตอตะกรา หลังจากแมปูมาฟกไขเรียบรอยชาวประมงจะนำแมปูมาออกจาก ตระกราและคืนกลับไปยังเจาของปูมา หรือบางพื้นที่เจาของปูมาจะบริจาคแมปูมาใหกับกลุม ธนาคารปูมานำไปจำหนายเพื่อใชจายในกิจกรรมธนาคารปูมา ธนาคารปูมารูปแบบนี้สามารถ ทำไดงาย ลงทุนต่ำ ลดตนทุนดานไฟฟา แตจากการสัมภาษณ ชาวประมงในพื้นที่พบวาการทำ ธนาคารรูปแบบนี้มักประสบปญหาคราบน้ำมันจากเรือหรือจากแหลงชายฝงอื่นๆ ตะกรา ลอยอยูผิวน้ำซึ่งมีอุณหภูมิน้ำสูง และในชวงที่คลื่นลมแรงอาจสงผลใหตะกราพลิกคว่ำ มีบาง ครั้งพบแมปูมาจำนวนมากเขี่ยไขทิ้งเนื่องจากความเครียด และมักมีกลุมปลาผูลามาดักรอกิน ตัวออนปูมา พบธนาคารปูมาประเภทนี้บริเวณอาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook