Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคและภัยสุขภาพ-57

โรคและภัยสุขภาพ-57

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-11 21:37:19

Description: โรคและภัยสุขภาพ-57

Search

Read the Text Version

1หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

เอดสแ์ ละโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ เอดส์ เราอย่รู ่วมกนั ได้ ไม่ติดงา่ ยอย่างทค่ี ดิ เอดส์ (AIDS: Acquired Immunodeficiency Syndrome) เกิดจากการ ติดเชอ้ื ไวรัส เอชไอวี (HIV : Human Immunodeficiency Virus) ซง่ึ เชอื้ นจี้ ะเข้าไป ทำ� ลายเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวทมี่ หี นา้ ทสี่ รา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรค ผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอวจี ะมภี มู คิ มุ้ กนั ตำ่� ลง จะปว่ ยดว้ ยโรคตดิ เชอ้ื ฉวยโอกาสไดง้ า่ ย เชน่ วณั โรค ปอดบวม ตดิ เชอื้ ในระบบ โลหิต เช้อื รา ฯลฯ คนจ�ำนวนไม่น้อยเข้าใจว่าการติดเชื้อเอชไอวีเกิดขึ้นได้ง่าย หรือกังวลเกี่ยวกับ การรบั เชื้อจากการใชช้ ีวติ ประจำ� วันและการมีเพศสมั พนั ธ์ แตจ่ รงิ ๆ แล้ว โอกาสทเ่ี รา จะรบั เชื้อนีไ้ ดม้ าจาก 3 ทางหลกั ๆ คือ 1. การมีเพศสมั พนั ธโ์ ดยไมป่ อ้ งกัน (ไมใ่ ช้ถุงยางอนามยั หรือถงุ อนามยั สตร)ี 2. การรับเชื้อทางเลือด ทีส่ ำ� คัญคือ การใช้เขม็ และกระบอกฉีดยารว่ มกนั 3. การถา่ ยทอดเชือ้ จากแมส่ ่ลู ูก หญิงตั้งครรภ์ทต่ี ดิ เช้อื เอชไอวแี ละไดร้ ับยา ตา้ นไวรัสก่อนคลอดและใช้นมผสมแทนการให้นมแม่ มโี อกาสถา่ ยทอดเช้อื แก่ลกู เพยี งประมาณ 1 – 2 % โอกาสเส่ียงในการรบั และถา่ ยเชอื้ เอชไอวขี ้นึ อยกู่ บั ปจั จัย ดังนี้ 1. ปรมิ าณและแหลง่ ทอ่ี ยขู่ องเชอื้ จะตอ้ งรบั เชอื้ เอชไอวปี รมิ าณมากพอ ซง่ึ เชอ้ื เอชไอวีพบมากในน้�ำคัดหลั่งต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ เลือด น้�ำเหลือง น�้ำอสุจิ น้�ำในชอ่ งคลอด นำ้� หลอ่ ล่ืน แตใ่ นน�้ำมูก น�้ำลาย อุจจาระ ปสั สาวะ มีปรมิ าณเชอื้ ไม่ มากพอทีจ่ ะท�ำให้ตดิ เช้ือได้ 2. คณุ ภาพของเชอ้ื เชอื้ เอชไอวที สี่ ามารถถา่ ยทอดกนั ได้ คอื เชอ้ื ทอ่ี ยใู่ นรา่ งกาย ของมนษุ ยเ์ ท่านั้น เช้ือท่อี ยนู่ อกร่างกาย บนพืน้ หรอื อย่ใู นสัตวอ์ ่นื ไมส่ ามารถติดตอ่ ไปยงั ผู้อน่ื ได้ 2

3. ช่องทางการติดต่อ ไดแ้ ก่ การมีเพศสมั พันธแ์ บบสอดใสโ่ ดยไม่ไดใ้ ชถ้ งุ ยาง อนามยั การใชเ้ ข็มหรือกระบอกฉดี ยาร่วมกนั ถา้ ขาดปจั จยั ขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ไป กไ็ มเ่ สย่ี งตอ่ การรบั เชอ้ื เอชไอวี เราจึงสามารถใช้ชีวิตประจ�ำวันได้อย่างสบายใจ ไม่ตอ้ งกังวลเก่ียวกบั การตดิ เชอ้ื เอชไอวี สิ่งท่ีควรรเู้ ก่ียวกบั เอดส์ 1. ยงุ กัดทำ� ให้ไม่ติดเช้ือ เนือ่ งจาก - เชื้อเอชไอวีไม่สามารถมชี วี ิตอยู่ในยงุ ได้ - ปากยงุ มีขนาดเล็กมาก เวลากัดคน มกั จะไม่มีเลือดตดิ อยู่ 2. คนท่สี ุขภาพแข็งแรง อาจจะมีเชอ้ื เอชไอวีในรา่ งกายได้ - เนอ่ื งจากในระยะแรกผตู้ ดิ เชอ้ื สว่ นใหญไ่ มม่ อี าการแสดงใหเ้ หน็ แตส่ ามารถ ถา่ ยทอดเชอื้ ใหผ้ อู้ น่ื ได้ ใครมเี ชอ้ื เอชไอวหี รอื ไม่ ทราบไดโ้ ดยการตรวจเลอื ด หาการติดเช้อื เอชไอวีเทา่ น้ัน 3. การมีคู่นอนเพียงคนเดียวที่ไม่ติดเชื้อ เป็นวิธีหน่ึงท่ีป้องกันตนเองจาก การตดิ เช้ือเอชไอวไี ด้ 4. ถงุ ยางอนามยั /ถงุ อนามยั สตรี สามารถปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ เอชไอวี โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ และการตัง้ ครรภไ์ ด้ 3หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

5. การรบั ประทานอาหารรว่ มกบั ผตู้ ดิ เชอื้ เอชไอว/ี ผปู้ ว่ ยเอดส์ ไมท่ ำ� ใหต้ ดิ เอดส์ - เนอื่ งจากเชอ้ื เอชไอวมี มี ากในเลอื ด นำ�้ อสจุ ิ สารคดั หลง่ั จากชอ่ งคลอดและ นำ้� นม สว่ นนำ้� ลายมปี รมิ าณเชอ้ื นอ้ ยมากจนไมท่ ำ� ใหต้ ดิ เชอื้ แมจ้ ะเลด็ ลอด ลงไปในกระเพาะอาหาร นำ้� ยอ่ ยในกระเพาะซงึ่ มฤี ทธเ์ิ ปน็ กรดจะทำ� ลาย เชอื้ นไ้ี ด้ เราจะได้รับบริการอะไรบ้างจากการปรึกษาและตรวจหาการติดเช้ือ เอชไอวี 1. ไดร้ ับบรกิ ารปรึกษาเรื่องเอชไอวี/เอดส์ เพ่ือให้พร้อมก่อนการตรวจเลอื ด - ประเมนิ พฤตกิ รรมเสยี่ งและรู้วธิ ปี ้องกนั - เข้าใจขั้นตอนการตรวจและความหมายของผลเลือด - ไดร้ ับขอ้ มลู เพยี งพอตอ่ การตดั สนิ ใจตรวจเลอื ดด้วยความสมคั รใจ - ลดความวติ กกังวล และเขา้ ใจเกี่ยวกับเอชไอวี/เอดส์ มากขึน้ 2. เม่ือตรวจพบว่าไม่ติดเชื้อเอชไอวี จะได้รับการปรึกษาเพ่ือการป้องกัน ทีเ่ หมาะสมของตนเองและคู่ และการแนะนำ� เพอื่ การตรวจซ้�ำในกรณที ี่จ�ำเป็น 3. หากตรวจพบวา่ ติดเชอื้ เอชไอวี จะไดร้ บั การปรกึ ษาเร่อื งต่าง ๆ ได้แก่ - การตรวจสขุ ภาพ และตรวจระดับภมู ิคุ้มกัน - การรักษาดว้ ยยาต้านไวรสั (ARV) อย่างต่อเนอื่ ง - ส่งเสริมสุขภาพเพื่อปอ้ งกนั การรบั เช้อื เพ่ิมและป้องกันคนทีเ่ รารกั - การวางแผนชวี ิต - ปรกึ ษาเกีย่ วกับการช่วยเหลือและสวสั ดกิ ารต่างๆ สอบถามข้อมูลเพ่ิมเติมได้ท่ี ส�ำนักโรคเอดส์และโรคติดต่อ ทางเพศสมั พนั ธ์ โทรศพั ท์ 0-2286-0431 0-2286-4483 4

โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คือกลุ่มโรคท่ีติดต่อโดยการ มีเพศสัมพนั ธ์ บางโรคอาจตดิ โดยการสมั ผัส หรือการถา่ ยทอดสู่ ลูกขณะอยใู่ นครรภ์ แบ่งตามลักษณะอาการดงั นี้ แผล ไดแ้ ก่ ซฟิ ลิ ิส แผลริมอ่อน เรมิ อวัยวะเพศ ฝี ไดแ้ ก่ กามโรคของตอ่ มและทอ่ นำ้� เหลอื ง หรอื ฝมี ะมว่ ง แผลรมิ อ่อน ทีม่ ีภาวะแทรกซ้อน หนอง ได้แก่ หนองใน หนองในเทยี ม อ่ืน ๆ ได้แก่ หูดหงอนไก่ หูดข้าวสกุ พยาธิช่องคลอด เช้ือราช่องคลอด จากสถานการณ์วัยรุ่นเป็นมากขึ้น เนื่องจาก มเี พศสมั พนั ธโ์ ดยไมไ่ ดป้ อ้ งกนั หรอื มกี ารปอ้ งกนั แต่ไมถ่ ูกวิธี จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ ติดโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ เมื่อมีอาการเหล่าน้ี อาจมีความผิดปกติในช่องทางที่ใช้มีเพศสัมพันธ์ เช่น มหี นองจากทอ่ ปสั สาวะ ปสั สาวะแสบขดั ผหู้ ญงิ อาจมตี กขาวมากกวา่ ปกติ มแี ผล ตมุ่ เป็นตน้ ในรายท่ไี ม่มอี าการ จะไม่สามารถทราบดว้ ยตัวเอง ตอ้ งมกี ารตรวจ 5หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ถ้าสงสัยวา่ ตดิ โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ ตอ้ งทำ� อย่างไร - ใหไ้ ปพบแพทย์ - งดรบั ประทานยาปฏิชีวนะ (ยาแกอ้ ักเสบ/ยาฆา่ เช้อื ตา่ งๆ) - งดบบี รดี เค้นอวยั วะเพศกอ่ นมาพบแพทย์ - ผูช้ ายให้กลน้ั ปสั สาวะก่อนพบแพทย์ 4 ช่ัวโมง ผหู้ ญิงงดสวนล้างช่องคลอด กอ่ นมาพบแพทย์ ถงุ ยางอนามัย (Condom) และถุงอนามยั สตรี (Female Condom) ถุงยางอนามัย และ ถุงอนามัยสตรี เป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวที่สามารถป้องกัน การตดิ เชอื้ เอชไอว/ี เอดส์ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และการตง้ั ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงคไ์ ด้ ถงุ ยางอนามัย.. ใช้ง่ายกว่าท่ีคิด เลือกถกู ไซส์ : ควรเลอื กใชข้ นาดทีเ่ หมาะสม เพราะถ้าขนาดเลก็ ไปจะท�ำให้ถุง ยางอนามัยฉกี ขาดไดง้ า่ ย หรอื ถ้าขนาดใหญ่ไป จะไม่กระชบั ทำ� ใหเ้ ลอื่ นหลุดได้ ใช้ถกู สเต็ป : - ฉกี ซอง ระวงั อยา่ ใหเ้ ลบ็ สะกิดถงุ ยางอนามยั - บบี ปลายถงุ ยางอนามัยไล่ลมก่อนใส่เสมอ หากมฟี องอากาศทีป่ ลายถุงยาง อนามัย จะทำ� ให้ฉีกขาดขณะมีเพศสมั พันธ์ - สวมถุงยางอนามัยขณะทป่ี ลายอวยั วะเพศแขง็ ตวั บบี ปลายถุงยางอนามยั ขณะสวมแลว้ รดู ให้สดุ โคน - เม่ือเสร็จกิจ ให้รีบถอดถุงยางอนามัยออก ขณะที่อวัยวะเพศแข็งตัวอยู่ โดยใช้น้ิวสอดเข้าในขอบถุงยางอนามัยแล้วรูดออก หรือใช้กระดาษทิชชู หุม้ หอ่ แล้วรูดออก และทิ้งในถงั ขยะทม่ี ดิ ชิด 6

เก็บถูกวิธี - ไมค่ วรเกบ็ ถงุ ยางอนามยั ในทท่ี ม่ี คี วามชนื้ สงู ในทรี่ อ้ น หรอื สมั ผสั กบั แสงแดด โดยตรง เพราะจะทำ� ให้ถงุ ยางอนามัยเส่อื มคุณภาพ - ไม่เกบ็ ในลกั ษณะที่ไมเ่ หมาะสม เช่น ในกระเป๋าสตางค์ หรอื กระเปา๋ กางเกง ด้านหลงั เพราะจะเกิดการกดทับ หกั งอ ท�ำใหฉ้ ีกขาดได้ง่าย - เกบ็ ในทห่ี ยิบสะดวก และหยิบใช้ได้ง่าย ถงุ อนามัยสตรี (Female Condom) - เพิ่มการป้องกันมากย่ิงขึ้น โดยเป็นตัวกั้นระหว่างอวัยวะเพศชายกับ ปากชอ่ งคลอด ปากมดลกู และอวยั วะสบื พนั ธภ์ุ ายนอกเพศหญงิ จงึ สามารถ ปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ เอชไอว/ี เอดส์ มะเรง็ ปากมดลกู รวมถงึ เชอ้ื เริม และแผลบรเิ วณรอบอวยั วะเพศ - เป็นทางเลือกหน่ึงที่ผู้หญิงน�ำมาเป็นเครื่องต่อรองในการป้องกันการติด โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ และปอ้ งกนั การต้งั ครรภ์ได้ - ผลติ จากไนทรลี โพลเิ มอร์ ไมเ่ สอื่ มสภาพในทอ่ี ณุ หภมู สิ งู ไมต่ อ้ งเกบ็ รกั ษาพเิ ศษ - ใช้กบั สารหล่อล่ืนชนิดใดกไ็ ด้ - ใส่ลว่ งหนา้ ไดถ้ งึ 8 ชว่ั โมง - ใชไ้ ด้ขณะมีประจำ� เดอื น ถงุ อนามัยสตรีเหมาะสำ� หรับ - ผทู้ ่ีแพ้ยางพารา/ลาเท็กซ์ ท่ีใช้ทำ� ถงุ ยางอนามยั - ชายทด่ี ดั แปลงอวัยวะเพศ เชน่ ฝังมุก ผา่ เบนซ์ - อวยั วะเพศชายขนาดใหญ่กว่าถงุ ยางอนามัย - อวัยวะเพศชายแข็งตัวไมพ่ อท่ีจะใสถ่ งุ ยางอนามัย - ผูห้ ญิงเปน็ ฝา่ ยเลอื กและผนู้ ำ� ในการปกป้องตนเอง - ชายที่มีเพศสมั พนั ธ์กับชาย (ใส่ในช่องทวารหนัก) 7หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ข้อพงึ ระวงั ในการใชถ้ ุงอนามยั สตรี - ระวงั สอดใสอ่ วัยวะเพศชายไมเ่ ขา้ ในถงุ อนามยั สตรี - ห้ามใชซ้ ำ�้ - หา้ มใชร้ ว่ มกบั ถงุ ยางอนามยั เพราะอาจทำ� ใหถ้ งุ ยาง อนามยั หรอื ถุงอนามัยสตรแี ตกได้ บรกิ ารปรกึ ษา คดั กรอง ตรวจรกั ษาโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และ ตรวจเลือดหาการติดเชอ้ื เอชไอวี/เอดส์ - กลุ่มบางรักโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส�ำนักโรคเอดส์ วัณโรค และ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - www.aidsstithai.org - กลมุ่ งานวิจยั และพัฒนาวชิ าการทางคลนิ ิก โทร. 0 2286 4483 หรือ 0 2286 0431 ต่อ 40 จันทร์ – ศกุ ร์ เวลา 8.30 – 15.00 น. คลินิกวัยรุน่ บางรัก ใหบ้ รกิ ารฟรี เฉพาะวัยรุ่นอายุ 10 – 24 ปี โทร. 0 2286 4483 หรอื 0 2286 0431 ตอ่ 32 เสาร์ เวลา 8.30 – 12.00 น. - โรงพยาบาลของรฐั ทุกแห่ง - ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร ทกุ แหง่ บรกิ ารปรึกษาและตรวจเลือดหาการตดิ เช้ือเอชไอวี คลินิกนิรนาม สภากาชาดไทย โทร. 0 2256 4107 – 9 จันทร์ – ศุกร ์ เวลา 07.30 – 18.00 น. เสาร์ เวลา 07.30 – 15.00 น. ตรวจเลอื ดเอดส์ สถาบนั บำ� ราศนราดูร โรปงีลพะยา2บคารลง้ั ขอไดงรท้ ัฐี่ โทร. 0 2590 3737 ทกุ แห่ง จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น. สายดว่ นปรกึ ษาเอดส์ 1663 โรงพยาบาลของรัฐทุกแหง่ สอบถามขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ไดท้ ีส่ �ำนักโรค เอดส์และโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ โทรศัพท์ 0-2590-3289 0-2590-3291 8

โรควัณโรค “วัณโรค” เป็นโรคติดต่อท่ีเกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งท่ีเล็กมาก คอื เชอ้ื Mycobacterium tuberculosis ตดิ ตอ่ โดยการสดู อากาศทมี่ ตี วั เชอื้ นเี้ ขา้ ไป ซง่ึ เชอื้ โรคชนดิ นมี้ คี ณุ สมบตั พิ เิ ศษคอื มคี วามคงทนตอ่ อากาศแหง้ ความเยน็ ความร้อน สารเคมี และอย่ใู นอากาศไดน้ าน ยกเว้นไมท่ นทาน ตอ่ แสงแดด คนสว่ นใหญม่ กั คดิ วา่ วณั โรคเปน็ โรคเกยี่ วกบั ปอด แตค่ วามจรงิ แล้ว เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช่น ท่ีต่อมน�้ำเหลือง กระดูก เย่ือหุ้มสมอง ปอด แต่ที่พบและเป็นปัญหามากท่ีสุดในปัจจุบันคือ “วัณโรคปอด” มักพบในคนแก่ คนท่ีร่างกายอ่อนแอจากการเป็นโรคอ่ืนๆ มากอ่ น เชน่ หวดั หดั ไอกรน และโรคเอดส์ และในคนทตี่ รากตรำ� ทำ� งานหนกั พักผ่อนไม่พอ ขาดอาหาร ดื่มเหล้าจัด หรือในคนที่มีประวัติใกล้ชิดกับ คนที่เป็นโรค เช่น นอนห้องเดียวกัน หรืออยู่บ้านเดียวกัน และพบว่า ผปู้ ่วยโรคเอดสเ์ ปน็ วณั โรคแทรกซอ้ นกนั มาก และท�ำให้วณั โรคที่เคยลดลง มีการแพร่กระจายมากขึ้น หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง จะท�ำให้ แพรก่ ระจายไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เนอื่ งจากตดิ ตอ่ ไดง้ า่ ยโดยระบบทางเดนิ หายใจ และมอี นั ตรายถงึ ชวี ติ 9หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

อาการ ไอเรอื้ รงั เกนิ 2 สปั ดาห์ บางรายไอแหง้ ๆ บางรายอาจมเี สมหะสี เหลือง เขียว หรือไอ ปนเลอื ด เจบ็ แนน่ หนา้ อก มไี ขต้ ำ่� ๆ ตอนบา่ ย หรือเย็น เหนือ่ ยหอบ อ่อนเพลยี เบอ่ื อาหาร น้�ำหนักลด การปฏบิ ัตติ นเมอ่ื เป็นวณั โรค 1. กินยาตามชนิดและขนาดทแ่ี พทย์ส่ังให้อยา่ งสม่ำ� เสมอจนครบก�ำหนด 2. หลงั กนิ ยาไประยะหนง่ึ อาการไอและอาการท่วั ๆ ไปจะดขี น้ึ อยา่ หยดุ กนิ ยาเด็ดขาด 3. ควรงดสง่ิ เสพตดิ ทุกชนิด เช่น เหล้า บุหร่ี ฯลฯ 4. สวมผา้ ปดิ จมูก เพอื่ ปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเช้อื ไปสู่ผ้อู ่นื 5. เปลยี่ นผา้ ปดิ จมกู ทสี่ วมบอ่ ย ๆ เพราะผา้ ปดิ จมกู เองกเ็ ปน็ พาหะไดเ้ ชน่ กนั 6. บว้ นเสมหะลงในภาชนะหรือกระป๋องท่ีมฝี าปิดมดิ ชิด 7. จดั บา้ นใหอ้ ากาศถา่ ยเทสะดวก ใหแ้ สงแดดสอ่ งถงึ และหมนั่ น�ำเครอื่ งนอน ออกตากแดด 8. รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชนไ์ ดท้ กุ ชนดิ โดยเฉพาะเนอ้ื สตั ว์ เนอื้ ปลา นม ไข่ ผักและผลไม้ 9. นอนกลางวันอย่างนอ้ ยวันละ 1 ช่ัวโมง เพือ่ นำ� โปรตีนจากอาหารเขา้ ไป ซอ่ มแซมส่วนทสี่ กึ หรอของร่างกาย 10

10. ไม่เท่ียวในสถานที่ที่มีผู้คนแออัด เพราะอาจน�ำเช้ือไปแพร่ให้ผู้อื่น หรือ ติดเช้อื โรคจากผู้อื่นเข้าสู่รา่ งกายเพมิ่ เติม 11. ในระยะ 2 เดอื นแรกหลังจากเริ่มการรกั ษา (เรยี กว่า “ระยะแพร่เชือ้ โรค”) ผปู้ ว่ ยควรจะนอนในหอ้ งทมี่ อี ากาศถา่ ยเท และนอนแยกหอ้ งกบั สมาชกิ ใน ครอบครัว รวมไปถึงการรับประทานอาหาร การใช้ถ้วยชาม และเสื้อผ้า ควรแยกล้าง หรือแยกซักตา่ งหาก และต้องนำ� ไปตากแดดเพอ่ื ฆา่ เช้ือโรค 12. หลงั จากแพทยล์ งความเหน็ วา่ พน้ จากระยะแพรเ่ ชอ้ื โรคแลว้ ผปู้ ว่ ยสามารถ กลับมาท�ำกิจกรรมร่วมกับครอบครัวได้ดังเช่นเดิม เช่น การนอน การรบั ประทานอาหาร และซกั ผา้ รว่ มกบั สมาชกิ ผอู้ น่ื โดยในระยะนผ้ี ปู้ ว่ ย ต้องทานยาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เป็นเวลา 4 เดอื น (โรควัณโรคจะต้องใชเ้ วลา ในการรกั ษาระยะสัน้ ท่สี ุด 6 เดอื น ยาวทสี่ ดุ 1 - 2 ป)ี การป้องกันวณั โรค 1. ถา้ มอี าการผดิ ปกตทิ นี่ า่ สงสยั วา่ เปน็ วณั โรค เชน่ ไอเร้ือรัง 2 สปั ดาหข์ นึ้ ไป มไี ขต้ ำ่� ๆ โดยเฉพาะ ตอนบ่ายๆ หรือค่�ำๆ เจ็บหน้าอกเหนื่อยหอบ เบอื่ อาหาร น้�ำหนักลด ควรรีบไปรับการตรวจ รกั ษาโดยการเอกซเรยป์ อด ตรวจเสมหะ 2. รกั ษาสขุ ภาพใหแ้ ขง็ แรงอยเู่ สมอ ออกกำ� ลงั กาย สมำ�่ เสมอ กนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชนใ์ หค้ รบ 5 หมู่ 3. หลีกเลี่ยงปัจจัยเส่ียงท่ีท�ำให้เกิดโรค เช่น การ ส�ำส่อนทางเพศ เพื่อป้องกันการติดเช้ือเอดส์ เพราะจะท�ำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายเสื่อมลง มโี อกาสทจี่ ะปว่ ยเปน็ วณั โรค จะไดร้ บี รกั ษากอ่ น ที่จะลุกลามมากข้นึ 11หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

4. ประชาชนท่ัวไป ควรตรวจร่างกายโดยการเอกซเรย์ปอดหรือตรวจเสมหะ (AFB) อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครัง้ ถ้าพบว่าเป็นวณั โรคจะไดร้ บี รักษาก่อนที่จะ ลกุ ลามมากข้ึน 5. ในเด็กควรได้รับการฉีดวัคซีนบีซีจี (Bacilus Calmette Guerin) รวมถึง ผู้ท่ีท�ำการทดสอบทูเบอร์คูลินเทสท์ (Tuberculin test) ให้ผลเป็นลบเพื่อ สร้างภูมคิ ุม้ กนั แนวทางการรักษา ในปัจจุบันวัณโรคเป็นโรคท่ีรักษาให้หายขาดได้ โดยใช้ระยะเวลาการรักษา สั้นทส่ี ุด 6 เดอื น ทั้งนี้ขนึ้ อยู่กับการปฏิบัติตัวของผปู้ ว่ ยเองวา่ กนิ ยาครบตามทแ่ี พทย์ ส่ังหรือไม่ ถ้ากิน ๆ หยุด ๆ อาจท�ำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อวัณโรคดื้อยา (MDR TB, XDR TB) ได้ จะท�ำใหร้ ะยะเวลาการรักษายาวนานและการรกั ษายากมากยงิ่ ขนึ้ สถานท่ใี หบ้ รกิ ารตรวจรักษาวัณโรค และฉดี วคั ซีน บี ซี จี • ศนู ย์บริการสาธารณสุข ทุกแห่ง • โรงพยาบาลสังกดั กรุงเทพมหานคร ทกุ แหง่ • สถานตรวจโรคปอด กรุงเทพฯ • สมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ • โรงพยาบาลของรัฐทกุ แหง่ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เตมิ ได้ท่ี สำ� นกั วัณโรค โทรศพั ท์ 0-2211-2138 12

โรคไขห้ วัดใหญ่ “โรคไข้หวัดใหญ่” (Influenza) เป็นโรคท่ี เกิดจากเชื้อ Influenza virus เป็นการติดเชื้อ ระบบทางเดินระบบหายใจ พบได้บ่อยในคน ทกุ เพศทุกวัย พบได้เกือบทั้งปี แตจ่ ะเปน็ มากใน ชว่ งฤดูฝน ซ่ึงบางปอี าจจะพบการระบาดของโรค และเปน็ สาเหตอุ นั ดบั ตน้ ๆ ของอาการไขท้ เ่ี กดิ ขน้ึ เฉียบพลัน แพทย์มักจะให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มี อาการตัวร้อนมา 2 - 3 วัน โดยไม่มีอาการ อย่างอ่ืนชัดเจนวา่ เป็นไข้หวดั ใหญ่ ซ่งึ บางคร้ังเช้ือ อาจจะลามเขา้ ปอดทำ� ใหเ้ กดิ ปอดบวม ผปู้ ว่ ยจะมี ไข้สงู ปวดศรี ษะ ปวดตามตวั ปวดกล้ามเนือ้ มาก การตดิ ตอ่ เชอื้ ไขห้ วดั ใหญน่ จ้ี ะอยใู่ นนำ้� มกู นำ้� ลาย หรอื เสมหะของผู้ป่วย ติดต่อได้ง่ายโดยทางเดินหายใจ จากการไอหรอื จาม เชอื้ จะเขา้ ทางปากและเยอื่ บตุ า สมั ผสั เสมหะของผ้ปู ว่ ยทางแก้วน�้ำ ผ้า จบู สัมผสั ทางมอื ทป่ี นเปอ้ื นเชอ้ื โรค ระยะเวลาทต่ี ดิ ตอ่ คนอนื่ คือ 1 วันกอ่ นเกดิ อาการ 5 วันหลงั จากมีอาการ ในเด็กอาจจะแพรเ่ ชือ้ 6 วนั กอ่ นมีอาการ และแพร่ เชื้อไดน้ าน 10 วัน ในการเกิดโรคแต่ละครั้งจะเกดิ จากสายพนั ธย์ุ อ่ ย ๆ เพยี งพนั ธเ์ุ ดยี ว ซง่ึ เปน็ แลว้ จะ มภี มู คิ มุ้ กนั ตอ่ สายพนั ธน์ุ นั้ เชอื้ ไขห้ วดั ใหญบ่ างพนั ธ์ุ อาจผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันท�ำให้เกิดการระบาด ใหญ่ และมกี ารเรยี กช่อื โรคทรี่ ะบาดแต่ละครง้ั ตาม ชอ่ื ของประเทศทเี่ ป็นแหลง่ ตน้ ก�ำเนิด 13หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

อาการของโรคไขห้ วัดใหญ่ มกั จะเกดิ ขน้ึ ทนั ทที นั ใดดว้ ยอาการไขส้ งู ตวั รอ้ น หนาว ปวดเมอื่ ยตามกลา้ มเน้อื มาก โดยเฉพาะท่หี ลงั ต้นแขน ต้นขา ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร ขมในคอ คดั จมูก มีน�้ำมูกใส ๆ ไอแห้ง ๆ จกุ แนน่ ทอ้ ง แต่บางรายอาจไม่มีอาการคัดจมูก หรือเป็นหวัดเลย กไ็ ด้ มขี อ้ สงั เกตวา่ ไขห้ วดั ใหญม่ กั จะพบอาการของหวดั ค่อนข้างนอ้ ย เชน่ อาการคัดจมกู นำ�้ มูกไหล ไอ จาม ซง่ึ แตกตา่ งกบั ไขห้ วดั จะพบกบั อาการเหลา่ นไี้ ดค้ อ่ นขา้ ง บอ่ ย ไขม้ ักเปน็ อยู่ 2 - 4 วนั แลว้ ค่อยๆ ลดลง อาการ ไอและอ่อนเพลีย อาจเปน็ อยู่ 1 - 4 สัปดาห์ แมว้ ่า อาการอื่นๆ จะหายลงแล้ว บางรายเม่ือหายจาก ไขห้ วดั ใหญแ่ ลว้ อาจมอี าการเวยี นศรี ษะ เมารถเมาเรอื เนื่องจากการอักเสบของอวัยวะการทรงตัวในหูชั้นใน ซึง่ มกั จะหายเองใน 3 - 5 วัน ข้อแนะน�ำในการดแู ลรกั ษา โรคนไี้ มถ่ อื วา่ เปน็ โรครา้ ยแรง สว่ นมากใหก้ ารดแู ลตามอาการ และจะหายเองได้ภายใน 3 - 5 วนั ซ่งึ มีวธิ ีดังนี้ 1. ใหน้ อนพกั ไมค่ วรจะออกก�ำลงั กาย 2. ใหด้ มื่ น้�ำเกลอื แรห่ รอื น�้ำผลไม้ ดม่ื จนปสั สาวะใส ไมค่ วรดม่ื น�้ำเปลา่ มากเกนิ เพราะอาจจะขาดเกลอื แร่ 3. รักษาตามอาการ หากมีไข้ให้ใช้ผ้าชุบน้�ำเช็ดตัว หากไข้ ไมล่ ดให้รับประทานยาลดไข้ เชน่ พาราเซตามอล หา้ มใช้ ยาแอสไพรนิ โดยเฉพาะในเด็กทอ่ี ายุต�่ำว่า 12 ปี เพราะ อาจทำ� ใหเ้ กิดอาการรุนแรงอืน่ ๆ ตามมา 14

พาราเซตามอล ยาแอสไพรนิ 4. หากทานยาแลว้ อาการไมด่ ขี น้ึ ควรรบี พบแพทย์ ไมค่ วรซอื้ ยารบั ประทานเอง 5. ในผูท้ เ่ี จบ็ คออาจจะใชน้ �้ำ 1 แกว้ ผสมเกลือ 1 ชอ้ นกล้วั คอ อยา่ สัง่ นำ�้ มูก แรงๆ อาจจะทำ� ใหเ้ ช้ือลกุ ลาม 6. ในชว่ งทมี่ กี ารระบาดใหห้ ลกี เลย่ี งการใชโ้ ทรศพั ทส์ าธารณะ ลกู บดิ ประตู เวลา ไอหรอื จามต้องใชผ้ ้าเชด็ หน้าปิดปากและจมกู การป้องกัน 1. ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ด้วยนำ้� และสบู่ 2. หลีกเลยี่ งการสมั ผสั ใกล้ชิดกับผู้ป่วย 3. ไมใ่ ช้ของสว่ นตัวร่วมกบั ผอู้ ่นื เชน่ หลอดดูด ผา้ เชด็ ตวั แก้วน�้ำ ชอ้ น 4. หลกี เลี่ยงการไปในสถานทีแ่ ออดั อากาศถา่ ยเทไมส่ ะดวก 5. ปดิ ปากปดิ จมกู เม่อื ไอ จาม หรือสวมหนา้ กากอนามัย 6. เม่ือป่วยควรหยดุ งาน หยดุ เรยี น แลว้ พักผ่อนอย่กู บั บ้านจนกว่าจะหาย แมว้ า่ ไขห้ วดั ใหญจ่ ะหายไดเ้ อง แตผ่ ปู้ ว่ ยบางราย หากอาการไมท่ เุ ลาควรพบแพทย์ หากทา่ นสงสยั วา่ จะ เปน็ ไขห้ วดั ใหญท่ า่ นตอ้ งรบี ไปพบแพทยเ์ พอ่ื รบั ยาตา้ น ไวรสั ภายใน 48 ชั่วโมงหลงั เกดิ อาการ สอบถามขอ้ มลู เพมิ่ เติมได้ที่ สำ� นักโรคตดิ ต่ออบุ ตั ิใหม่ โทรศพั ท์ 0-2590-3275 15หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคเบาหวาน “โรคเบาหวาน” เป็นภาวะท่ีร่างกายมีระดับ น้�ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดเน่ืองจากการขาด ฮอร์โมนอินซูลิน หรือประสิทธิภาพของอินซูลิน ลดลง เน่ืองจากภาวะด้อื ต่ออินซูลนิ ท�ำให้น้�ำตาล ในเลอื ดสงู โรคเบาหวานเป็นโรคเรอื้ รงั เมื่อเป็นเบาหวานแลว้ ไมไ่ ด้ดูแลตนเองเพือ่ ควบคุม ระดับน�้ำตาล จะก่อให้เกิดโรคแทรกซ้อน ได้แก่ โรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือด สมองและระบบประสาท เชน่ จอประสาทตาเสอ่ื ม ชาปลายมือปลายเท้า สาเหตุของการเกดิ โรคเบาหวาน โรคเบาหวานมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์ ถ้ามี พี่น้อง พ่อแม่ (ญาติสายตรง) เป็นโรคเบาหวาน จะมโี อกาสหรอื ความเสย่ี งในการเกดิ โรคเบาหวาน ได้มากกว่าคนท่ีไมม่ ปี ระวตั คิ รอบครวั และในทาง กลบั กนั คนทไี่ มม่ พี อ่ แมพ่ น่ี อ้ งเปน็ กอ็ าจจะเปน็ คน แรกเลยกไ็ ดท้ เ่ี ปน็ โรคเบาหวาน สว่ นปจั จยั อนื่ ๆ ก็ ส�ำคัญ เช่น ความอ้วน ขาดการออกก�ำลังกาย 16

กินอาหารแป้ง น�้ำตาลมากเกนิ ไป ดื่มเหล้ามากๆ สว่ นอีกสาเหตหุ น่งึ ที่พบ คือ เบา หวานจากการต้งั ครรภ์ เบาหวานจากยา เชน่ ยาสเตยี รอยด์ ท่ใี ชแ้ บบผิดๆ เปน็ ต้น อาการของคนทเ่ี ปน็ โรคเบาหวาน อาการของคนที่เป็นโรคเบาหวานเกิดจาก การที่น�้ำตาลในเลือดสูงท�ำให้ปัสสาวะบ่อย และ อาจจะพบว่าปัสสาวะมีมดตอม จะหิวน้�ำบ่อย เนอ่ื งจากตอ้ งทดแทนนำ�้ ทถี่ กู ขบั ออกทางปสั สาวะ ผู้ป่วยจะกินเก่ง หิวเก่ง แต่น�้ำหนักจะลดลง เนื่องจากร่างกายน�ำน้�ำตาลไปใช้เป็นพลังงาน ไมไ่ ด้ จงึ มกี ารสลายพลงั งานจากไขมนั และโปรตนี จากกล้ามเนื้อออ่ นเพลีย อาการอื่น ๆ ท่ีอาจเกิด ได้แก่ การติดเชื้อ แผลหายช้า คันตามผิวหนัง มีการติดเชื้อรา โดยเฉพาะอย่างย่ิงบริเวณ ช่องคลอดของผู้หญิง เห็นภาพไม่ชัด ตาพร่ามัว ตอ้ งเปลยี่ นแวน่ บอ่ ย ทงั้ นอ้ี าจจะเปน็ เพราะมกี าร เปลี่ยนแปลงสายตา เช่น สายตาส้ัน ต้อกระจก น้�ำตาลในเลือดสูง ชาไม่มีความรู้สึกเจ็บตาม แขนขา หย่อนสมรรถภาพทางเพศ เน่ืองจาก นำ้� ตาลสงู นานๆ ทำ� ใหเ้ สน้ ประสาทเสอื่ ม เกดิ แผล ท่ีเทา้ ได้ง่ายเพราะไมร่ ้สู ึก 17หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การดแู ลรักษาเมือ่ เป็นโรคเบาหวาน 1. การควบคุม อาหาร เลือกทานอาหารท่มี ีความหวานต�ำ่ ปรบั สัดสว่ นอาหาร ให้เหมาะสม จะท�ำให้การดูดซึมกลูโคสช้าลง ท�ำให้ระดับน้�ำตาลในเลือด ลดลงได้ 2. การออกก�ำลงั กาย อยา่ งสม่�ำเสมอ 3. การใหย้ ารบั ประทาน ยาจะชว่ ยกระตนุ้ การหลง่ั อนิ ซลู นิ ทำ� ใหม้ กี ารใชก้ ลโู คส มากขนึ้ ลดการสรา้ งกลโู คสใหมใ่ นรา่ งกาย และยบั ยงั้ การดดู ซมึ กลโู คส ทำ� ให้ ระดับน�ำ้ ตาลตำ่� ลงได้ 4. การฉีดอินซูลนิ เพ่อื ทดแทนอินซลู ินทีข่ าดไป อินซลู ินจะพากลโู คสเขา้ ไปใช้ ในเนอ้ื เยอ่ื รา่ งกาย ทำ� ให้ระดบั นำ�้ ตาลลดลงได้ การปฏิบตั ิตนเพอื่ ป้องกันโรคเบาหวาน ออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ : การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอมีผลดี ตอ่ รา่ งกายมาก เชน่ จะชว่ ยเพมิ่ สมรรถภาพรา่ งกาย ชว่ ยควบคุมน้�ำหนกั ลดไขมนั เพม่ิ การเผาผลาญพลงั งาน เพิม่ ประสิทธภิ าพในการใช้อินซูลินของรา่ งกาย และชว่ ย ในการควบคมุ ระดบั นำ้� ตาลในเลือด การวจิ ยั แสดงวา่ ไมว่ า่ คณุ จะออกกำ� ลงั กายดว้ ย การวง่ิ หรอื ยกนำ้� หนกั กส็ ามารถชว่ ยปอ้ งกนั และลดความเสย่ี งของโรคเบาหวานได้ 18

กนิ อาหารท่มี ีกากใยสงู : อาหาร ทม่ี ีกากใยสงู เช่น ถ่ัว, ธญั พืช จะช่วยให้ ร่างกายควบคุมระดับน�้ำตาลได้ดีข้ึน เหตผุ ลทเ่ี หน็ ไดช้ ดั อยา่ งหนงึ่ กค็ อื มนั จะ ชว่ ยทำ� ใหค้ ุณหิวน้อยลง ลดนำ้� หนัก : น้�ำหนักสว่ นเกินของ คุณเป็นอันตรายต่อร่างกาย เพราะจะมี โรคท่จี ะตามมาอกี หลายโรค หนึ่งในโรค นั้นก็คือเบาหวาน ในการวิจัยพบว่า ในกลมุ่ ของคนที่เปน็ โรคอ้วน หากมกี าร ยอมลดน�้ำหนัก ก็จะสามารถลดความ เส่ยี งในการเป็นโรคเบาหวานได้ การตรวจร่างกาย : เม่ือคุณอายุ เกิน 35 ปี คุณก็ควรไปพบแพทย์และ ตรวจรา่ งกาย อยา่ งนอ้ ยปลี ะครง้ั เพราะ ถา้ หากแพทยเ์ รมิ่ พบระดบั ของนำ้� ตาลใน เลือดท่ีเร่ิมผิดปกติก็จะได้ท�ำการรักษา แต่เนิ่นๆ นั่นย่อมดีกว่าการที่จะปล่อย ใหม้ ันลกุ ลาม กลายเปน็ โรคอืน่ ๆ ท่ีอาจ ตามมาในภายหลัง สอบถามขอ้ มลู เพ่มิ เติมได้ที่ สำ� นกั โรคไม่ติดต่อ โทรศัพท์ 0-2590-3987-8 โทรสาร 0-2951-0273 19หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคความดนั โลหติ สงู โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นภาวะโรค อย่างหนึ่ง จากการตรวจพบความ ดันโลหิตสูงอยู่ในระดับที่สูงกว่า ปกติตงั้ แต่ 140/90 มิลลเิ มตรปรอท ข้ึนไปเมื่อมีภาวะความดันโลหิตสูงอยู่เป็น เวลานาน จะย่ิงเพ่ิมความเส่ียงต่อการเกิด โรคตา่ ง ๆ เชน่ โรคหลอดเลอื ดในสมองตบี โรคหวั ใจ โรคไตวาย เสน้ เลอื ดแดงใหญโ่ ปง่ พอง อมั พาต ฯลฯ สาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ไม่ทราบชัดเจน มีส่วนน้อย ทจี่ ะรสู้ าเหตทุ ท่ี ำ� ใหค้ วามดนั สงู เชน่ ไตวาย เนอ้ื งอกของไต มคี วามผดิ ปกตขิ องระบบ ไหลเวยี นโลหิต แตม่ ีปัจจยั เสีย่ งทสี่ ัมพนั ธ์ต่อการเกดิ โรคความดันโลหิตสงู ไดแ้ ก่ อายุ มากกวา่ 35 ปี มพี อ่ หรอื แม่ พหี่ รอื นอ้ งเปน็ ความดนั โลหติ สงู เบาหวาน มสี ง่ิ แวดลอ้ ม ปัจจัยเส่ียง และวิถีชีวิตท่ีเปล่ียนแปลงไปในลักษณะคนเมืองมากข้ึน เช่น ขาดการ ออกกำ� ลงั กาย ภาวะอว้ น ภาวะเครยี ดเรอ้ื รงั ดมื่ เครอ่ื งดมื่ ทมี่ แี อลกอฮอล์ สบู บหุ รเี่ ปน็ ปริมาณมากเปน็ ประจ�ำและรับประทานอาหารท่ีมรี สเคม็ จัด 20

อาการของโรคความดัน โลหิตสงู โรคความดันโลหิตสูงในระยะแรก จะไม่แสดงอาการ ผู้เป็นโรคจะมาพบ แพทย์ด้วยโรคอ่ืน และพบโดยบังเอิญ ส ่ ว น อ า ก า ร ท่ี อ า จ พ บ ใ น ผู ้ ที่ มี ค ว า ม ดนั โลหติ สงู คอื ปวดศรี ษะ มึนงง โดย ทว่ั ไปจะปวดบรเิ วณทา้ ยทอย และมกั จะ เป็นในตอนเช้า ถ้าความดันโลหิตสูงมากและเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วจะมีอาการคล่ืนไส้ และตามัวร่วมด้วย ในบางรายอาจจะมอี าการอืน่ ร่วมด้วย เช่น เหนอื่ ยง่ายเนือ่ งจาก หัวใจต้องทำ� งานหนัก เลอื ดกำ� เดาออก การปฏบิ ัติตวั เม่อื เป็นโรคความดนั โลหติ สูง เมื่อตรวจพบว่าเป็นความดันโลหิตสูง ควรได้รับการ รกั ษาจากแพทยแ์ ละปฏบิ ัติตัวดงั นี้ 1. งดอาหารทมี่ รี สเค็ม เชน่ ไขเ่ คม็ กะปิ เตา้ เจ้ียว หมเู คม็ ฯลฯ อาหารทร่ี ับประทานควรปรงุ ด้วยเกลือ หรือนำ้� ปลาในปริมาณน้อยทีส่ ุด 2. ลดอาหารมันทุกชนดิ และหลีกเลี่ยงไขมันสตั ว์ เช่น ขาหมู หมสู ามชนั้ อาหารประเภททอดหรอื ผดั อาหาร ที่ปรงุ ดว้ ยกะทิ และควรใชน้ �ำ้ มันพืช (ยกเวน้ นำ�้ มัน ปาลม์ และนำ้� มนั มะพร้าว) ในการปรงุ อาหาร 3. ควรรับประทานไข่ไม่เกนิ อาทิตยล์ ะ 3 ฟอง 4. หลกี เลย่ี งอาหารประเภทแป้งและน้�ำตาล เชน่ ขา้ ว กว๋ ยเต๋ยี ว เกย้ี มอี๋ วุ้นเสน้ เผอื ก มนั ขนมหวาน และ ผลไมท้ ี่มีรสหวาน เชน่ ทเุ รียน ลำ� ไย ลิน้ จ่ี 5. งดบุหรี่ และเหล้า 6. ทำ� จติ ใจใหส้ บายไม่เครยี ดและวติ กกงั วล หลกี เลยี่ ง สิง่ ทีจ่ ะทำ� ใหอ้ ารมณเ์ สีย หงดุ หงดิ โมโห ตนื่ เต้น 21หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

7. ออกกำ� ลงั กายอย่างสม่�ำเสมอโดยการเดิน วิง่ ขจ่ี กั รยาน โดยเรม่ิ ทลี ะน้อยๆ และค่อยๆ เพ่มิ ขน้ึ จนถงึ 30-45 นาทีตอ่ วนั การออกก�ำลงั กายจะชว่ ยให้ จติ ใจผอ่ นคลายจากความเครยี ด และท�ำใหห้ วั ใจสบู ฉดี โลหติ ดขี น้ึ แตไ่ มค่ วร ออกก�ำลังกายประเภทท่ีต้องออกแรงดึงดัน กลั้นหายใจหรือเบ่ง เช่น การชกั เย่อ ยกน�้ำหนกั วิดพื้น เปน็ ตน้ 8. สตรีท่ีมีความดันโลหิตสูงจากยาคุมก�ำเนิดควรหยุดยา ปรึกษาแพทย์และ พยาบาลเพ่ือหาวิธีการคุมกำ� เนิดทีเ่ หมาะสม 9. รบั ประทานยาตามทแี่ พทยแ์ ละพยาบาลแนะนำ� และมาตรวจตามนดั ยาทใี่ ช้ ในการรกั ษาภาวะความดนั โลหิตสงู ไดแ้ ก่ ยากลอ่ มประสาท เพอ่ื ลดความเครยี ดและ ความวิตกกังวล ภายหลังรับประทานยาอาจจะ รู้สึกง่วง จึงไม่ควรขับรถหรือท�ำงานท่ีเสี่ยง อนั ตราย ยาขบั ปสั สาวะ เพอื่ ลดจำ� นวนนำ�้ และเกลอื ในรา่ งกาย ผทู้ ่ีรับประทานยาจะปสั สาวะบอ่ ยขนึ้ และอาจมีอาการอ่อนเพลีย ท้องอืด หน้ามืด วงิ เวยี น หรอื เป็นตะครวิ เนือ่ งจากมกี ารขับเกลอื แรอ่ อกไปทางปสั สาวะ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งรบั ประทาน เกลือแร่ทดแทน หรือรับประทานผลไม้ท่ีมี เกลือแร่เปน็ ประจ�ำ เชน่ สม้ กลว้ ย เปน็ ต้น ยาลดความดนั โลหติ ภายหลงั รบั ประทาน ยาถ้าสังเกตพบว่ามีอาการหน้ามืด วิงเวียน อาจเปน็ เพราะความดนั โลหติ ลดตำ�่ ลงมากเกนิ ไป 22

ถ้ามีอาการดังกล่าวควรปรึกษาแพทย์ เพื่อปรับขนาดยาให้เหมาะสม ผู้ที่มีความ ดนั โลหติ สงู อาจจะซอ้ื เครอื่ งวดั ความดนั โลหติ ไวส้ ำ� หรบั ตรวจสอบความดนั โลหติ ดว้ ย ตนเองและบันทกึ ขอ้ มูลเพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการรกั ษาส�ำหรับแพทย์ การปอ้ งกันความดันโลหิตสูง 1. การลดน�้ำหนกั 2. การลดปริมาณเกลือในอาหาร 3. การงดหรอื ลดการด่มื เคร่อื งดม่ื ท่ีมีแอลกอฮอล์ 4. การออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ 5. ไม่เครียด รู้จักปล่อยวาง การควบคุมความดนั โลหิตใหป้ กติอย่างสมำ่� เสมอ สามารถลดโอกาส เกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือด ได้อย่างมี นยั สำ� คญั ทางสถติ ิ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทางการแพทยท์ เี่ ปน็ ทยี่ อมรบั กนั โดยทว่ั ไป สอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติมไดท้ ่ี สำ� นักโรคไม่ติดตอ่ โทรศพั ท์ 0-2590-3987-8 โทรสาร 0-2951-0273 23หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคหัวใจขาดเลือด “โรคหวั ใจขาดเลอื ด” หรอื (Ischemic heart disease ชอ่ื ยอ่ IHD) เปน็ อาการทเ่ี กดิ จากการมเี ลอื ดไปเลยี้ งหวั ใจไมเ่ พยี งพอ บางคนเรยี กวา่ โรคหัวใจโคโรนารี ปัจจุบันพบมากในคนที่มอี ายมุ ากกวา่ 30 ปี โรคนี้ เกิดจากการที่ผนังหลอดเลอื ดหัวใจมกี ารแขง็ ตวั ท�ำให้หลอดเลือดหวั ใจ ค่อย ๆ ตีบลงจนถึงอุดตัน ผสู้ งู อายุทุกคนมักมีภาวะหลอดเลือดแขง็ ตวั ซง่ึ เปน็ ความเสอ่ื มตามธรรมชาติ สำ� หรบั วยั กลางคน (40-50 ป)ี กอ็ าจจะ เป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้ อาการเบ้ืองต้นคือการเจ็บที่หน้าอกและ อ่อนแรง ยิ่งถ้าเป็นคนท่ีสูบบุหรี่ คนอ้วน คนที่เครียดง่าย ขาดการ ออกกำ� ลงั กาย จะยง่ิ มคี วามเสยี่ งกวา่ คนทวั่ ไป ถา้ เปน็ โรคหวั ใจขาดเลอื ด แล้วมกั จะมีอาการเรื้อรัง ตอ้ งเข้าพบแพทยอ์ ยเู่ สมอ แตถ่ า้ ในรายท่ีเปน็ น้อยการดูแลตัวเองก็อาจจะทำ� ให้ทุเลาลงได้ สาเหตุหรือปจั จัยเสี่ยงในการเกิดภาวะหวั ใจขาดเลือด 1. อายุและเพศ ในผู้ชายและสตรีวัยหมดประจ�ำเดือน หรือมีอายุมากขึ้น เส้นเลือดก็จะเกดิ ความเสอื่ มและแข็งขึน้ โอกาสท่ีจะเกดิ การตบี หรอื อุดตนั ก็มากขนึ้ 2. มีระดบั ไขมันในเลือดสงู 3. เป็นโรคความดนั โลหิตสงู 4. เป็นโรคเบาหวานเนื่องจากภาวะท่ีระดับน้�ำตาลในเลือดสูง เซลล์บุผนัง หลอดเลือดจะท�ำงานผิดปกติ โดยผู้ท่ีเป็นเบาหวานจะมีความเส่ียงในการ 24

เกดิ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจมากขนึ้ ประมาณ 3-5 เท่า 5. การรับประทานอาหารท่ีมีไขมันอ่ิมตัว หรือโคเลสเตอรอลสูง เช่น ไขมันสัตว์ เน้ือสัตว์ติดมัน เคร่ืองในสัตว์ ไข่แดง หอยนางรม ปลาหมึก และกุ้ง หรือ อาหารทีม่ ีกากใยอาหารน้อยเกนิ ไป 6. ขาดการออกก�ำลังกาย 7. เปน็ โรคอ้วน หรอื มภี าวะนำ้� หนกั เกิน 8. สูบบหุ ร่ี ดื่มสรุ า 9. มีประวัติญาติหรือบุคคลในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดแดงอุดตันหรือ หลอดเลอื ด อาการของโรคหัวใจขาดเลือด 1. ปวดทต่ี ำ� แหนง่ ยอดอก หรอื ล้ินป่ี เจ็บตรงหน้าอกซีกซา้ ยต�ำแหน่งหวั ใจ 2. มีลักษณะปวดแบบจุกๆ เหมือนถูกบีบ หรือถูกของกดทับ และมีอาการ ปวดร้าวขึ้นไปถึงคอ ขากรรไกร หัวไหล่หรือต้นแขน ขณะมีอาการมักจะมี อาการออ่ นเปลย้ี เพลียแรงรว่ มด้วย 3. ระยะเวลาปวดจะเกดิ คร้ังละ 2 - 3 นาที อย่างมากไมเ่ กนิ 15 นาที นัง่ พัก สักคร่กู ็จะหายไดเ้ อง 4. อาการเหล่าน้ีสามารถกระตุ้นได้จาก การท�ำงานหนัก ออกก�ำลังกาย มากเกินไป การรว่ มเพศ หรือ การมีอารมณ์โกรธ โมโห ต่นื เต้น ตกใจ หรือ แมแ้ ตก่ ารกนิ ขา้ วอ่มิ หรือหลังจากการอาบน�้ำเย็น หรือ ถูกอากาศเยน็ ก็ได้ 25หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การรกั ษาโรคหัวใจขาดเลอื ด หากมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมกับอาการข้อใดข้อหนึ่ง ได้แก่ มีอาการเป็นลม มอื เท้าเยน็ หอบเหน่ือย เจบ็ หนา้ อกรุนแรง ควรไปพบแพทย์ทันที แพทย์มกั จะตรวจ ลกั ษณะอาการและรา่ งกายอยา่ งละเอยี ดและแนะนำ� ขอ้ ปฏบิ ตั ติ า่ งๆ พรอ้ มทง้ั จา่ ยยา ช่วยให้หลอดเลือดขยายตัว ซึ่งมีทั้งชนิดกินประจ�ำและชนดิ อมใต้ลน้ิ โดยยาอมใตล้ น้ิ คนไขต้ อ้ งพกตดิ ตวั อยตู่ ลอดเวลา ใชอ้ มเมอื่ มอี าการเจบ็ หนา้ อกกำ� เรบิ ยานจี้ ะชว่ ยให้ หายเจบ็ หนา้ อกไดท้ นั ทีแต่มีผลขา้ งเคยี งคือ อมแล้วจะมีอาการ วงิ เวยี น มนึ งง หน้า มืด หนา้ แดงคอแดง คลื่นไส้อาเจียน การป้องกันโรคหวั ใจขาดเลือด 1. งดการสูบบหุ ร่ี 2. อย่าปล่อยใหต้ วั เองอ้วน รกั ษาน�้ำหนักและสขุ ภาพอยเู่ สมอ 3. ลดอาหารท่ีมีไขมันสูง กะทิ น้�ำมันมะพร้าว น้�ำตาล ของหวาน กินผลไม้ ใหม้ าก ๆ 4. ออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ 5. ลดภาวะความเครยี ดทางอารมณ์ ฝกึ สมาธิเพื่อความผอ่ นคลาย 6. ตรวจร่างกายประจำ� ปี ถ้าครอบครัวมีคนปว่ ยโรคน้ีเพราะอาจจะมสี าเหตุ จากกรรมพนั ธ์ุ 7. ผ้ปู ่วยทเี่ ป็นโรคความดัน เบาหวาน เกาต์ ตอ้ งรกั ษากบั แพทย์อย่าไดข้ าด เพราะจะชว่ ยป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ โรคหัวใจขาดเลอื ดแทรกซ้อนเข้าไปอกี สอบถามข้อมูลเพ่มิ เติมได้ท่ี ส�ำนกั โรคไมต่ ดิ ต่อ โทรศัพท์ 0-2590-3987-8 โทรสาร 0-2951-0273 26

โรคไขเ้ ลอื ดออก “โรคไขเ้ ลอื ดออก” เปน็ โรคตดิ ตอ่ ทเ่ี กดิ จากเชอ้ื ไวรสั เดงก่ี ซึง่ มียุงลายเปน็ พาหะนำ� โรค หลงั จากถกู ยุงมเี ช้อื กัด จะอยใู่ นรา่ งกายคนประมาณ 5 - 8 วัน ผ้ปู ่วยจะเรม่ิ มี อาการ มไี ข้สงู ลอย 2 - 7 วัน มจี ุดเลือดออกใต้ผวิ หนัง โรคนเ้ี กดิ ขน้ึ ไดท้ ง้ั ในเดก็ และผใู้ หญ่ และมกั ระบาดในฤดฝู น เพราะมียุงเพ่ิมมากข้ึน ยุงลายอาศัยอยู่ภายในบ้านและ รอบ ๆ บ้าน ดูดกินเลือดคนเฉพาะเวลากลางวนั ในระยะ เวลา 10 ปที ผ่ี า่ นมา ไขเ้ ลอื ดออกมกี ารระบาดเพม่ิ มากขนึ้ และกลายเปน็ โรคประจำ� ทอ้ งถน่ิ ของประเทศมากวา่ 100 ประเทศในแถบแอฟรกิ า อเมรกิ า เอเซยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยมคี วามรนุ แรงมากในแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ อาการของโรคไข้เลอื ดออก ผปู้ ว่ ยทต่ี ดิ เชอื้ ไขเ้ ลอื ดออกอาจจะไมม่ อี าการ หรอื มีอาการเพยี งเลก็ นอ้ ย หรอื อาจจะเกดิ อาการ รุนแรงจนเสียชีวิต ความรุนแรงของการติดเชื้อ ขนึ้ กบั อายุ ภาวะภมู คิ มุ้ กนั และความรนุ แรงของเชอ้ื ลักษณะทีส่ ำ� คญั ของไขเ้ ลือดออก คือ 27หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

1. ไข้สูงเฉียบพลัน ประมาณ 2-7 วัน 2. เบ่ืออาหาร หนา้ แดง ปวดศีรษะ ร่วมกบั อาการคลนื่ ไสอ้ าเจยี น และอาจมี อาการปวดทอ้ งร่วมดว้ ย 3. บางรายอาจมีจุดเลือดสแี ดงขนึ้ ตามลำ� ตวั แขน ขา อาจมกี ำ� เดาออก หรือ เลอื ดออกตามไรฟนั และถา่ ยอุจจาระดำ� เนอื่ งจากเลอื ดออก และอาจท�ำให้ เกดิ อาการช็อกได้ 4. ในรายทชี่ อ็ กจะสงั เกตไดจ้ ากอาการไขล้ ดแตผ่ ปู้ ว่ ยซมึ ลง ตวั เยน็ ชพี จรเบาเร็ว หมดสติ หากรกั ษาไมท่ นั อาจเสียชวี ิตได้ การรักษาโรคไขเ้ ลือดออก ไม่มียารักษาเฉพาะโรคไข้เลือดออก การ รักษาจะใช้วิธีประคับประคอง เช่น ให้ยาลดไข้ เช็ดตัวลดไข้ และให้สารน้�ำชดเชยทางปาก เนอ่ื งจากผู้ปว่ ยมกั มีภาวะขาดน�้ำ เนื่องจากไขส้ งู ถ้ามีอาการปวดท้อง ปัสสาวะน้อยลง กระสับ กระสา่ ย มือเท้าเยน็ โดยเฉพาะในช่วงไข้ลด ตอ้ ง รีบน�ำสง่ โรงพยาบาลทนั ที วธิ ปี อ้ งกนั และควบคมุ ไขเ้ ลอื ดออก 1. ป้องกันยงุ ลายกัด ยุงลายจะกัดคนใน เวลากลางวัน ควรนอนในมุ้งหรือติดมุ้งลวดเพ่ือ ป้องกนั ยุงเขา้ มาในบ้าน หลีกเล่ยี งการอย่บู ริเวณ มุมอับชน้ื ทายากันยงุ ทส่ี กัดจากพืชธรรมชาติ 2. กำ� จดั แหลง่ เพาะพนั ธย์ุ งุ ลายใหห้ มดไป ยุงลายจะเพาะพันธุ์ในน�้ำใส ในภาชนะท่ีเก็บน�้ำ ใช้ในบ้าน เช่น โอ่งนำ�้ ถ้วยรองขาต้กู นั มด แจกนั ดอกไม้ ภาชนะนอกบา้ นทม่ี นี ำ้� ขงั เชน่ ยางรถยนต์ การท�ำลายแหลง่ เพาะพันธ์ยุ งุ ลายกระทำ� ได้โดย 28

• ภาชนะท่ใี ชเ้ กบ็ น�้ำต้องมฝี าปิดให้มิดชดิ • ใชท้ รายกำ� จัดลูกน�้ำใสใ่ นภาชนะขังน�้ำ • ท�ำลายภาชนะที่ไมจ่ �ำเปน็ เพราะอาจมี น�้ำขังได้ • ปล่อยปลากนิ ลกู น�้ำ เชน่ ปลาหางนกยงู ในภาชนะทมี่ นี ้�ำขังขนาดใหญ่ เช่น อา่ งบวั • เปล่ียนน้�ำในภาชนะเลก็ ๆ เช่น แจกนั ทกุ 7 วนั • ปรบั ปรงุ ส่งิ แวดล้อมในบา้ นและรอบบา้ นให้เปน็ ระเบียบ • ขัดขอบภาชนะทกุ ครั้งทีเ่ ปลีย่ นน�้ำเพื่อทำ� ลายไข่ยุงลาย การปฏบิ ตั เิ ม่ือมคี นในบา้ นเป็นไขเ้ ลอื ดออก 1. ควรจะบอกคนในบ้าน หรอื ข้างบ้านว่ามไี ข้เลอื ดออก 2. ก�ำจดั ลกู น�้ำและยงุ ตัวเต็มวยั ทัง้ ในบ้านและรอบบา้ น 3. ให้สมาชิกในครอบครัว ป้องกันการถูกยุงกัดโดยการป้องกันส่วนบุคคล ดงั กล่าวข้างตน้ 4. แจ้งสาธารณสขุ ให้มาฉดี ยาเพ่อื ฆ่ายุง 5. เฝ้าดูอาการของสมาชกิ ในบา้ น หากมไี ขใ้ หร้ ะวังวา่ อาจจะเป็นไขเ้ ลอื ดออก 6. ให้ผูป้ ว่ ยนอนในมุ้งเพื่อป้องกนั ยุงกัด สอบถามขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดท้ ่ี ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง โทรศพั ท์ 0-2590-3103-5 29หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคอุจจาระร่วง “โรคอจุ จาระรว่ ง” หมายถงึ ภาวะทม่ี กี ารถา่ ยอจุ จาระเหลวจ�ำนวน 3 ครงั้ ตดิ ตอ่ กันหรอื มากกว่าหรือถ่ายเป็นน�้ำมากกวา่ 1 คร้ัง ใน 1 วนั หรอื ถา่ ยเปน็ มกู หรือปน เลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง อาจมีอาเจียนร่วมด้วย สาเหตุเกิดจากการติดเช้ือเช่น เช้ือ แบคทเี รีย ไวรสั โปรโตซัว ปรสติ และหนอนพยาธิ ในลำ� ไส้ จากการรบั ประทานอาหาร และนำ�้ ไมส่ ะอาด การไมล่ า้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นการเตรยี มหรอื ปรงุ อาหาร และภาชนะ สกปรกมเี ชอื้ โรคปะปน อนั ตรายจากโรคอจุ จาระรว่ งท�ำใหร้ า่ งกายขาดน�้ำและเกลอื แร่ ไปพร้อมกับการถ่ายอุจจาระจ�ำนวนมาก จนอาจท�ำให้ช็อค หมดสติ และถึงแก่ ความตายได้ โดยเฉพาะในเดก็ เล็ก อาการของโรค โดยท่ัวไปผู้ป่วยจะมีอาการอยู่นาน 1-6 วัน หากอุจจาระร่วงจากอาหารเป็นพิษ มักมีอาการ ปวดทอ้ งรว่ มกบั ถา่ ยอจุ จาระเหลว คลน่ื ไส้ อาเจยี น อาจมีอาการปวดศีรษะ ปวดเม่ือยตามเน้ือตัว โรคอุจจาระร่วงจะมีการถ่ายอุจจาระเหลวจำ� นวน มากกวา่ 3 ครงั้ ตอ่ วนั ในทารกและเดก็ เลก็ ๆ อาจมี ไข้ต่�ำ ๆ เปน็ หวัด มีอาการคลนื่ ไส้ อาเจยี น และ ถ่ายอจุ จาระเหลวตามมา 30

วิธปี ฏิบัตเิ มอื่ เกดิ อาการอุจจาระร่วงท่บี า้ น 1. สามารถรบั ประทานอาหารไดโ้ ดยกนิ หรอื ดมื่ ของเหลว อาหารออ่ น ยอ่ ยงา่ ย มากกวา่ ปกติ เพอ่ื ป้องกนั การขาดน้�ำ และเกลอื แร่ ไดแ้ ก่ สารละลายนำ้� ตาล เกลอื แร่ โออาร์เอส น้�ำแกงจดื หรอื นำ้� ข้าวใส่เกลือ 2. การดูแลเด็ก • เด็กท่ีเลย้ี งด้วยนมแม่ ใหล้ ูกดูด นมแม่มากขึน้ • เด็กทกี่ นิ นมผสม ให้ผสมนมตาม ปกติแล้วให้กินคร่ึงหน่ึงสลับกับสารละลายน้�ำตาลเกลือแร่โออาร์เอส ในปริมาณเท่ากบั นมท่ีเคยกินตามปกติ • เด็กอายุ 6 เดือนข้ึนไป ให้อาหารเหลวที่ย่อยง่าย เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม ปลาตม้ เนื้อสตั วต์ ้มเปอ่ื ย เป็นตน้ 3. หากอาการไม่ดขี ้ึน ยังถ่ายเป็นน้ำ� จำ� นวนมาก อาเจียนบอ่ ย กินอาหารหรือ ดื่มน้�ำไม่ได้ มีไข้ กระหายน้�ำมากกว่าปกติ อ่อนเพลียมาก ตาลึกโหล ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือดต้องพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที หลีกเลี่ยงการใช้ ยาหยดุ ถ่ายเพราะกนิ ยาหยุดถ่ายทำ� ให้ล�ำไส้เกบ็ กกั เชื้อโรคไวน้ านขน้ึ คำ� แนะนำ� ในการป้องกนั ตนเอง โรคอุจจาระร่วงหรือโรคติดต่อทางอาหารและน�้ำ ท้ังหมดเป็นโรคท่ีประชาชน สามารถป้องกันได้ด้วยการช่วยกันดูแลสุขอนามัยในการรับประทานอาหาร การเก็บ อาหาร และการปรุงอาหาร รวมทั้งล้างมือหลังเข้าห้องน�้ำทุกครั้ง โดยมีแนวปฏิบัติ ในการปอ้ งกันตนเองใหป้ ลอดภัยจากโรคอุจจาระร่วง ดงั นี้ 31หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

1. เลือกอาหารท่ีผ่านกระบวนการผลิต อย่างปลอดภัย เช่น เลือกนมที่ผ่าน กระบวนการพาสเจอไรซ์ ผกั ผลไมค้ วร ล้างด้วยน้�ำสะอาดปริมาณมากๆ ให้ สะอาดท่วั ถึง 2. ปรงุ อาหารใหส้ กุ ทว่ั ถงึ กอ่ นรบั ประทาน 3. รบั ประทานอาหารทปี่ รงุ สกุ ใหม่ ๆ ดมื่ น�้ำท่สี ะอาด เชน่ น�้ำตม้ สุก 4. หากมีความจ�ำเป็นต้องเก็บอาหารที่ ปรุงสกุ ไว้นานกวา่ 4 ช่ัวโมง ควรเกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ สว่ นอาหารสำ� หรบั ทารกนน้ั ไม่ควรเกบ็ ไว้ข้ามม้อื 5. ก่อนทีจ่ ะน�ำอาหารมารบั ประทานควรอนุ่ ให้รอ้ น 6. ไมน่ ำ� อาหารทปี่ รงุ สกุ แลว้ มาปนกบั อาหารดบิ อกี เพราะอาหารทส่ี กุ อาจปน เป้อื นเชอื้ โรคได้ 7. ล้างมือใหส้ ะอาดด้วยสบู่ และน�ำ้ สะอาดทุกคร้ังกอ่ นการปรงุ อาหาร ก่อน รบั ประทาน และโดยเฉพาะหลังการเขา้ หอ้ งนำ�้ 8. ดูแลความสะอาดของพื้นที่ส�ำหรับเตรียมอาหาร ล้างท�ำความสะอาด หลังการใช้ทุกคร้ัง ก�ำจัดขยะมูลฝอย เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ แมลงวนั 9. เก็บอาหารให้ปลอดภยั จากแมลง หนู หรอื สตั ว์อ่นื ๆ 10. ใช้น้�ำสะอาดในการปรุงอาหารล้างภาชนะ และควรระวังเป็นพิเศษในการ ใช้นำ�้ เพ่อื เตรียมอาหารเด็กทารก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ท่ี ส�ำนกั โรคติดต่อท่ัวไป โทรศัพท์ 0-2590-3196 32

บุหรี่ “บุหร่ี” ถือเป็นส่ิงเสพติดชนิดหนึ่ง ในบุหรี่จะมีฤทธ์ิผสมของ สารพิษที่เป็นตัวการส�ำคัญท�ำให้เกิดโรคร้ายแรงท่ีเป็นอันตรายต่อ สุขภาพอยูก่ วา่ 4,000 ชนิด โดยเฉพาะสารกอ่ มะเร็งซ่ึงมไี ม่ต่�ำกวา่ 42 ชนดิ เช่น นโิ คตนิ ทาร์ (น้�ำมนั ดิน) สารจ�ำพวกกรดและฟนี อล สารจ�ำพวกอัลดีไฮด์ และคีโตน สารจ�ำพวกโพลีไซคลิกอะโรมาติก ไฮโดรคารบ์ อน สารจำ� พวกก๊าซต่าง ๆ ได้แก่ คาร์บอนมอนอกไซด์, ไนโตรเจนไดออกไซด,์ แอมโมเนยี , ไฮโดรเจนไซยาไนด์ และสารพษิ ชนดิ อื่น ๆ ได้แก่ สารเคมีกำ� จัดแมลง เช่น พาราไธออน ซึ่งตกค้าง มาจากใบยาสบู และโลหะหนักบางชนิด เชน่ สารหนู เปน็ ตน้ คนที่ ตดิ บหุ รจี่ งึ มโี อกาสเปน็ มะเรง็ ทป่ี อด ปาก หลอดลม กระเพาะปสั สาวะ หรือที่ตับอ่อน และมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนที่ไม่ สบู บหุ ร่ี และอาจมอี นั ตรายต่อทารกในครรภ์ ผทู้ อ่ี ยอู่ าศยั ในบรเิ วณใกลเ้ คยี งและอยใู่ กลช้ ดิ ผู้สูบบุหรี่ จะมีโอกาสได้รับสารพิษจากควันบุหร่ี มากกว่าผู้สูบ 2-5 เท่า เน่ืองจากสารเคมีท่ีอยู่ใน ควนั บหุ รที่ ไี่ มไ่ ดส้ บู โดยตรง จะมมี ากกวา่ สว่ นทผี่ า่ น บุหร่ีเข้าสู่ปาก เพราะได้มีการกรองด้วยเส้นยาสูบ และกน้ กรอง ก่อนเขา้ ส่ปู ากของผู้สบู บหุ รี่ 33หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

อนั ตรายของควนั บหุ ร่ตี ่อสุขภาพร่างกาย 1. สมองเสอ่ื มสมรรถภาพ เปน็ ลมหมดสติ เสน้ เลอื ด สมองแตก เพราะการสบู บุหรี่ 2. หน้าเห่ยี วย่น แกเ่ ร็ว 3. โรคเหงือก ฟันด�ำ และกลิ่นปาก 4. ไอเปน็ เลอื ด ไอเร้อื รัง ผอมลง ซึง่ เปน็ อาการ ของโรคมะเรง็ ปอด 5. เหน่ือยง่าย หอบ แน่นหน้าอก ซึ่งเป็นอาการ ของโรคถงุ ลมโป่งพอง 6. หัวใจขาดเลือด กลา้ มเนือ้ หวั ใจตาย หัวใจวาย เกดิ จากการสะสมของคลอเรสเตอรอล ท�ำให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือด อันเป็น อปุ สรรคตอ่ การสง่ เลอื ดไปเลยี้ งหวั ใจ และอวยั วะ ตา่ งๆ ของรา่ งกาย 7. เล็บเหลอื ง นิ้วเหลือง 8. น้ิวเป็นแผลเรื้อรัง นิ้วกุด เกิดจากหลอดเลือด ตบี ตนั ขาดเลอื ดไปเลี้ยง 9. ท้องแนน่ อืด เบอื่ อาหาร 10. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ขอ้ แนะนำ� ในการเลกิ สูบบหุ ร่ี การเลิกบุหรี่ไม่ใช่เร่ืองยาก ขึ้นอยู่กับความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจของ แต่ละคน รวมถึงโอกาสและระยะเวลาสักชว่ งหนึ่ง อยา่ งไรก็ตามทุกคนสามารถทำ� ได้ โดยอาศยั ข้ันตอนดังนี้ 1. ขอคำ� ปรกึ ษา จากผทู้ เ่ี ชยี่ วชาญ หรอื จากบคุ ลากร ทางการแพทย์ 2. หากำ� ลงั ใจ จากคนใกลช้ ดิ เพอ่ื ใหช้ ว่ ยเปน็ กำ� ลงั ใจ โดยเฉพาะเวลาทต่ี อ้ งต่อสกู้ ับอาการขาดนิโคติน 3. วางเป้าหมายไว้ล่วงหน้า โดยก�ำหนดวันที่ที่จะ เลกิ สบู อาจเลอื กวนั สำ� คญั ของครอบครวั ของชาติ 34

ของตัวเอง หรอื วนั ส�ำคญั ทางศาสนา โดยควรก�ำหนดวนั ท่ีใกลท้ ่สี ดุ 4. ลงมือปฏบิ ัติ โดยการท้งิ บุหรแ่ี ละอปุ กรณ์ท่ีเกยี่ วขอ้ งทง้ั หมด เตรียมนำ�้ และ ผลไม้ หรอื ของขบเคยี้ วทไี่ มห่ วาน เพอ่ื ชว่ ยลดความอยากสบู บหุ ร่ี ปรบั เปลยี่ น พฤติกรรม เช่น อ่านหนงั สือแทนการสบู บุหรร่ี ะหว่างเข้าหอ้ งน�้ำ ลุกจากโตะ๊ อาหารทนั ทที ร่ี บั ประทานอาหารอมิ่ แปรงฟนั ทกุ ครง้ั หลงั รบั ประทานอาหาร เม่ือเครียดหรือหงุดหงิดก็อาบน้�ำหรือใช้ผ้าเย็น เช็ดหน้า ด่ืมน้�ำมากๆ หากจิ กรรมอนื่ ท�ำ 5. ถอื ค�ำม่นั ไมห่ วั่นไหว ต้องตั้งใจอย่างแน่วแน่ ไม่หวนั่ ไหวกับคำ� ล้อเลยี นหรอื ค�ำชกั ชวน 6. หา่ งไกลสิ่งกระตุน้ อย่ใู ห้ห่างจากกจิ กรรมทีท่ ำ� ให้อยากสูบบหุ รี่ เชน่ การดม่ื กาแฟ ด่ืมแอลกอฮอลแ์ ลว้ ตอ้ งสูบบุหรี่ ในระยะแรกทเี่ ลกิ สบู บุหรี่ ควรเลี่ยง ไมอ่ ยใู่ นกล่มุ ผูส้ บู บหุ ร่ี 7. ไม่หมกมุ่นความเครียด ให้คิดอยู่เสมอว่า คนส่วนใหญ่ก็ใช้วิธีคลายเครียด ด้วยวธิ ีอน่ื ท่ไี ม่ใช้บหุ รี่ 35หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

8. จดั เวลาสำ� หรบั การออกกำ� ลังกาย อย่างนอ้ ยวนั ละ 15-20 นาที เพราะ นอกจากจะเป็นการควบคุมน้�ำหนักแล้ว ยังท�ำให้สมองปลอดโปร่ง เพิ่ม ประสิทธภิ าพการทำ� งานของปอดและหัวใจ 9. ไม่ท้าทายบุหรี่ อย่าคิดว่าลองแค่เพียงมวนเดียว เพราะจะทำ� ให้หวนกลับ ไปตดิ ไดอ้ กี 10. อย่าท้อใจ ถ้าต้องเร่ิมต้นใหม่ ขอให้พยายามและท�ำให้ส�ำเร็จสิ่งท่ีส�ำคัญ ทีส่ ดุ กค็ ือ คุณต้องตั้งใจใหม้ ั่นวา่ คุณทำ� ได้ กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกบั บุหรี่ นอกจากนป้ี ระเทศไทยยงั มกี ฎหมายหา้ มจำ� หนา่ ยบหุ รี่ แก่เด็กอายุต่�ำกว่า 18 ปี แล้วกฎหมายก�ำหนดเขตห้าม สูบบุหร่ี ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา สถานท่ีสาธารณะท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกัน ได้แก่ สถานที่ ออกก�ำลังกาย สถานกีฬา รา้ นคา้ สถานบรกิ ารและบันเทงิ สถานบริการทั่วไป สถานที่ท�ำงาน ยานพาหนะสาธารณะ ทุกประเภท ได้แก่ ยานพาหนะสาธารณะ และสถานขี นส่ง สาธารณะทกุ ประเภท ศาสนสถาน และสถานปฏบิ ตั ธิ รรมใน ศาสนาและนกิ ายต่าง ๆ หากฝ่าฝนื มีโทษปรบั 2,000 บาท สอบถามข้อมูลเพิม่ เตมิ ไดท้ ่ี ส�ำนกั ควบคมุ การบริโภคยาสบู โทรศัพท์ 0-2580-9264 โทรสาร 0-2580-9237 Website http ://btc.ddc.moph.go.th 36

เครือ่ งด่ืม แอลกอฮอล์ “เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์” หมายถึง เคร่ืองด่ืมท่ีมี เอทลิ แอลกอฮอลผ์ สมอยู่ ไดแ้ ก่ เบยี ร์ บรน่ั ดี วสิ ก้ี ไวน์ เปน็ ตน้ แอลกอฮอล์จะมีฤทธ์ิกดระบบประสาทส่วนกลาง เนื่องจาก แอลกอฮอลไ์ ปกดจติ ใตส้ ำ� นกึ ทคี่ อยควบคมุ ตนเองอยู่ แตเ่ มอื่ ดื่มมากฤทธิ์ของแอลกอฮอล์จะกดสมองและระบบประสาท ส่วนกลาง ทำ� ให้พดู จาไมช่ ดั เสยี การทรงตวั สายตาพร่ามวั ขาดสติ ตับแขง็ และอาจเกดิ อันตรายนานัปการต่อผดู้ ่ืมและ คนรอบข้าง เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลก์ บั สุขภาพ การดม่ื เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลน์ อกจากจะสง่ ผลกระทบ ต่อจิตใจแล้ว ยังเกิดผลเสียต่อร่างกายท�ำให้หลอดเลือด ขยายตวั เกิดการสญู เสยี ความร้อนจากร่างกาย ทำ� ลาย เย่ือบุกระเพาะอาหาร ท�ำให้เกิดอาการอักเสบและเป็น แผลในกระเพาะอาหาร เลือดออกในทางเดินอาหาร ท�ำให้เกดิ โรคตบั แขง็ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง อบุ ัติเหตุ และยังท�ำให้ผู้ดื่มมีแนวโน้มที่จะท�ำร้ายตัวเองและผู้อื่น สตรีต้ังครรภ์ท่ีด่ืมจะส่งผลเสียต่อแม่และการพัฒนาของ ทารกในครรภ์ เดก็ ทด่ี ม่ื สรุ าจะทำ� ใหก้ ารพฒั นาของสมอง ผิดปกติ ดังนนั้ จึงไมค่ วรด่ืมอยา่ งเดด็ ขาด 37หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

ข้อแนะน�ำในการเลิกสรุ า วธิ เี ลกิ แบบหักดบิ การเลิกสุราแบบหักดิบโดยทันที เป็นวิธีที่ เหมาะส�ำหรับผู้ดื่มที่ไม่มีอาการถอนพิษสุราในช่วง เชา้ หลังต่นื นอน เชน่ คลื่นไส้ อาเจยี น มือสน่ั ใจส่ัน เหงื่อแตก เป็นต้น และไม่เคยมีอาการถอนพิษสุรา ท่ีรุนแรงหลังหยุดด่ืมสุรา เช่น อาการชัก กระสับ กระส่ายอย่างรุนแรง สมองสับสน หูแว่ว ประสาทหลอน เปน็ ตน้ เน่อื งจากความเสย่ี งตอ่ การ ถอนพษิ สุราอย่างรุนแรงมีไม่มาก ลดปรมิ าณการดมื่ การลดปริมาณการดื่มสรุ า จะช่วยลด ความเส่ียงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ลงไดแ้ ละ ช่วยให้สุขภาพดีขึ้น หรือควบคุมโรคท่ี เปน็ อยู่ไม่ให้รนุ แรง และเปน็ หนทางหนงึ่ ท่ี ชว่ ยใหส้ ามารถหยดุ สรุ าไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด แต่ อย่าลืมว่าไม่มีปริมาณการด่ืมใดที่ปลอดภัย ผู้ที่ติดสุราแล้วมักจะไม่ประสบความส�ำเร็จ ในการลดปริมาณการด่มื ลง หนทางทดี่ ที ี่สดุ คอื การหยุดด่มื การด่ืมสุรามักท�ำให้ชีวิตของผู้ดื่มตกต�่ำ เพราะเคยชินกับการใช้สุราเป็นทางออก เปรียบเสมือนสุราเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต การ เลิกสุราอย่างยั่งยืนไม่ใช่เพียงแค่หยุดด่ืมเท่าน้ัน การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต โดยการ ออกก�ำลงั อ่านหนังสือ ท�ำงานอดเิ รกที่ชอบ ท�ำให้ ไมค่ ดิ ถงึ การดม่ื สุรา จงึ เปน็ วิธที ่ไี ด้ผลดีท่สี ุด 38

แนวทางการคัดกรองบำ� บัดรกั ษาผูม้ ีปัญหาการดืม่ สุรา คัดกรอง + บำ� บดั ภาวะ บำ� บัดเบ้ืองต้น ถอนพษิ ดแู ลหลงั บำ� บัดรักษา การรักษา ฟื้นฟู ๑. การคดั กรอง และการใหค้ �ำแนะนำ� ปรกึ ษาเบื้องต้น : เพอ่ื แบง่ กลุม่ ผู้ดมื่ ตาม ระดบั ความเสย่ี ง และบำ� บดั รกั ษาโดยใหค้ ำ� แนะนำ� ปรกึ ษาเบอื้ งตน้ ตามระดบั ความเส่ยี ง ๒. การบ�ำบัดรกั ษาภาวะถอนพิษสรุ า และโรครว่ มทางกาย : การประเมินความ เส่ยี งการติดสรุ า และการบำ� บัดรักษาภาวะแทรกซ้อนทางร่างกาย ๓. การบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูสภาพ : การบ�ำบัดรักษาในข้ันตอนนี้ด�ำเนินการ หลังผู้ป่วยพ้นระยะขาดสุรา รูปแบบการรักษามีความหลากหลาย เช่น การบำ� บัดรกั ษาทางจติ สังคมและการรกั ษาดว้ ยยา ๔. การดแู ลระยะยาวหลงั การรกั ษา : เพื่อใหผ้ ู้ทีเ่ คยประสบปัญหาจากการดมื่ และหยดุ ด่มื ได้ สามารถดำ� เนินชวี ิตอยูใ่ นสังคมโดยไมก่ ลับมาดืม่ อกี 39หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

สถานบรกิ ารให้บริการใหค้ �ำปรกึ ษาและบำ� บดั รกั ษาผูต้ ิดสรุ า การบำ� บดั รกั ษาผตู้ ดิ สรุ าเปน็ สว่ นหนงึ่ ของบรกิ ารทางดา้ นจติ เวชหรอื บรกิ ารทาง ดา้ นการบ�ำบัดรกั ษายาเสพติด ผทู้ ีต่ อ้ งการเลกิ ดม่ื สุรา สามารถรบั บริการการบ�ำบัด รักษาสุราได้จากสถานพยาบาลที่มีคลินิกจิตเวชหรือคลินิกยาเสพติดของสถาน พยาบาลนนั้ ๆ ซึ่งมอี ยู่ตามโรงพยาบาลประจำ� จังหวดั , โรงพยาบาลอำ� เภอ, สงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ทวั่ ประเทศ สถานพยาบาลทม่ี กี ารใหบ้ รกิ ารทางดา้ นจติ เวชหรอื การบ�ำบัดรกั ษายาเสพตดิ กฎหมายเกีย่ วกบั สรุ า ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์ ฉบับปี 2551 ซึ่งมีหลากหลายประเด็นท่ี ประชาชนทว่ั ไปควรรู้ เชน่ มีขอ้ ก�ำหนดหา้ มจ�ำหนา่ ยสรุ า ใหแ้ กบ่ คุ คลซงึ่ มอี ายตุ ำ่� กวา่ 20 ปบี รบิ รู ณ์ และหากฝา่ ฝนื จ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 หม่ืนบาท หรือ ทงั้ จำ� ทงั้ ปรบั และกำ� หนดเขตปลอดเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา สถานท่ี สาธารณะทใ่ี ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ไดแ้ ก่ สถานทอ่ี อกกำ� ลงั กาย สถานกฬี า รา้ นคา้ สถานบรกิ ารและบนั เทงิ สถานบรกิ าร ทัว่ ไป สถานท่ีทำ� งาน ยานพาหนะสาธารณะทุกประเภท ได้แก่ ยานพาหนะสาธารณะ และสถานีขนส่งสาธารณะ ทกุ ประเภท ศาสนสถาน และสถานปฏบิ ตั ธิ รรมในศาสนา และนิกายตา่ ง ๆ หากฝ่าฝืนจำ� คุกไมเ่ กิน 6 เดอื น ปรบั 10,000 บาท หรอื ทง้ั จำ� ทง้ั ปรับ ฯลฯ หนว่ ยงานทใ่ี ห้ค�ำปรกึ ษาเก่ียวกบั ปัญหาสรุ า โทรสายดว่ นกรมควบคุมโรค 1422 โทรสายด่วนกรมสุขภาพจิต 1323 สอบถามข้อมูลเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี โทรสายดว่ นอยากเลิกเหล้า 1413 ส�ำนกั งานคณะกรรมการ ควบคมุ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ โทรศัพท์ 0-2590-3032 40

41หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคมาลาเรีย “โรคมาลาเรีย” เป็นโรคติดต่อท่ีเกิดจากเช้ือ พลาสโมเดียม โดยมียุงก้นปล่องซ่ึงมักอาศัยอยู่ตามป่า เขาเป็นพาหะ เมื่อยุงก้นปล่องตัวเมียท่ีมีเชื้อกัดคน ยงุ จะปลอ่ ยเชอื้ จากตอ่ มนำ�้ ลายเขา้ สกู่ ระแสเลอื ดของคน ซงึ่ จะใชร้ ะยะฟกั ตวั อยรู่ ะหวา่ ง 10-14 วนั ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของเชื้อ โดยเชื้อจะเข้าสู่ตับและแตกออกจากตับเข้าสู่ วงจรในเม็ดโลหิตแดง ระยะนี้ผู้ป่วยจะเร่ิมแสดงอาการ ของโรค คอื มีไข้ หนาวสนั่ ปวดศรี ษะเป็นพกั ๆ ในเวลา เดมิ ๆ หากไปพบแพทยท์ ันกส็ ามารถรกั ษาหายได้ด้วย การทานยาไม่กี่วัน แต่ถ้าไปพบแพทย์ช้าผู้ป่วยอาจเกิด ภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะมาลาเรียข้ึนสมอง ภาวะ ปอดบวมนำ้� ภาวะไตวาย ซ่ึงท�ำให้เสยี ชีวติ ได้ การติดต่อของโรคมาลาเรยี 1. โดยถูกยุงก้นปล่องท่ีมีเช้ือมาลาเรียในต่อมน�้ำลายกัด และปล่อยเช้ือเข้าสู่ กระแสเลอื ดคน เป็นวธิ ีธรรมชาติทพี่ บได้มากที่สดุ 2. ตดิ ตอ่ จากมารดา ซงึ่ มเี ชอ้ื มาลาเรยี ในรา่ งกายและถา่ ยทอดทางรกไปสทู่ ารก ในครรภ์ วธิ นี พ้ี บได้นอ้ ยมาก มักพบไดใ้ นท้องที่มมี าลาเรยี ชุกชุม กรณีเช่นนี้ 42

จะพบระยะฟักตัวส้ันกว่าการถูกยุงกัดทารกแรกเกิดและมารดาจะมีเชื้อ มาลาเรียชนิดเดียวกัน 3. ติดตอ่ โดยวธิ กี ารถ่ายเลือด จะพบรายท่ผี บู้ รจิ าคโลหติ มีความหนาแนน่ ของ เช้ือมาลาเรียในกระแสโลหิตต�่ำและไม่มีอาการ หากไม่ได้ตรวจโลหิต หาเชื้อมาลาเรยี ก่อน ผู้ปว่ ยท่ีรับการถ่ายเลอื กจะปว่ ยเป็นมาลาเรียได้ อาการของโรคมาลาเรยี อาการแสดงของโรคมาลาเรียไม่มีลักษณะ บ่งเฉพาะ โดยมากจะมีอาการน�ำคล้ายกับเป็น ไข้หวัด คือ มีไขต้ �่ำๆ ปวดศรี ษะ ปวดตามตวั และ กลา้ มเนือ้ อาจมอี าการคล่นื ไส้ เบื่ออาหาร อาการ นี้จะเป็นเพียงระยะส้ัน เป็นวัน หรือหลายวันก็ได้ ขน้ึ อยกู่ บั ระยะเวลาการฟกั ตวั ของเชอ้ื ชนดิ ของเชอื้ จ�ำนวนของเชื้อทีผ่ ปู้ ่วยไดร้ ับเข้าไป ภาวะภมู คิ ุ้มกนั ต่อเชื้อมาลาเรียของผู้ป่วย ภาวะท่ีผู้ป่วยได้รับยา ป้องกันมาลาเรียมาก่อน หรือได้รับยารักษา มาลาเรียมาบ้างแล้ว อาการจับไข้ซึ่งเป็นอาการที่เด่นชัดของ มาลาเรยี ประกอบดว้ ย 3 ระยะ คอื ระยะหนาวสนั่ ระยะร้อน และระยะเหง่ือออก ปัจจุบันจะพบ ลักษณะทั้ง 3 ระยะได้น้อยมาก ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ลอยตลอดเวลา โดยเฉพาะในผปู้ ว่ ยทเี่ ปน็ มาลาเรยี ครั้งแรก เนื่องจากในระยะแรกๆ ของการติดเช้ือ มาลาเรีย เช้ืออาจเจรญิ ถงึ ระยะแกไ่ มพ่ ร้อมกัน ซ่ึง อาจเปน็ ผลมาจากไดร้ บั เชอื้ ในเวลาตา่ งกนั ทำ� ใหเ้ กดิ มีเชื้อหลายระยะ ดงั นน้ั การแตกของเม็ดเลือดแดง จึงไม่พร้อมกัน ท�ำให้ผู้ป่วยมาลาเรียในระยะแรก อาจมีไข้สูงลอยตลอดวันได้ แต่เม่ือผ่านไประยะ หนึ่งแล้ว การแตกของเม็ดเลือดแดงพร้อมกัน จงึ เห็นผู้ป่วยมีการจับไขห้ นาวส่ันเป็นเวลา 43หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การรักษา เมื่อพบว่ามีการติดเชื้อมาลาเรีย ผู้ป่วยต้องได้รับยาและการรักษาตามอาการ ในกรณีอาการไม่หนัก ไม่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลการใช้ยารักษา โรคมาลาเรยี จำ� แนกตามชนิดเชอื้ ตอ้ งรับประทานยาใหค้ รบตามจำ� นวนน้ัน การปอ้ งกันโรคมาลาเรีย เน่ืองจากในประเทศไทยมีปัญหาเช้ือ มาลาเรยี ดอื้ ยาตอ่ ยารกั ษาหลายขนาน จงึ ไม่ แนะน�ำให้ใช้ยาปอ้ งกนั การปอ้ งกันตนเองจงึ เป็นวิธปี อ้ งกนั ท่ีดที สี่ ุด ดงั น้ี 1. การนอนในมุ้ง มุ้งท่ีใช้ควรอยู่ใน สภาพดีไม่มีรูขาดและเสียหาย ในพนื้ ทแ่ี พรเ่ ชอ้ื มาลาเรยี ควรนำ� มงุ้ ไปชุบสารเคมีที่มฤี ทธ์ไิ ล่และฆา่ ยงุ 2. การใช้ยาทากันยุงในการป้องกันไม่ ให้ยงุ มากดั 3. การใชย้ าจุดกนั ยุง เมอ่ื ใชจ้ ุดไฟแลว้ สามารถระเหยสารออกฤทธ์ิขับไล่ และฆา่ ยงุ ได้ 4. การสวมเสื้อผ้าปกปิดร่างกายให้ มดิ ชิด เชน่ ใชเ้ สือ้ แขนยาว กางเกง ขายาว เป็นต้น สอบถามขอ้ มูลเพิ่มเติมไดท้ ี่ ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง โทรศัพท์ 0-2590-3134 44

โรคพยาธใิ บไมต้ ับ “โรคพยาธิใบไม้ตับ” เป็นโรคในกลุ่มระบบทางเดิน อาหาร มสี าเหตมุ าจากพยาธทิ มี่ ชี อื่ เรยี กวา่ “พยาธใิ บไมต้ บั ” (Opisthorchis viverrini) ซึ่งมีรปู ร่างแบนคลา้ ยใบไม้ สว่ น หัวและท้ายเรียวมน ขนาดยาว 5-10 มิลลิเมตร กว้าง 0.7-1.5 มิลลเิ มตร สีแดงเรือ่ คลา้ ยสีโลหิตจาง ๆ โรคนี้เกดิ ได้ในคนและสัตว์เล้ยี งลูกด้วยนมหลายชนดิ เช่น แมว สนุ ัข เปน็ ตน้ ในประเทศไทยพบมากทงั้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภาคเหนอื ส่วนภาคอ่นื ๆ พบไดบ้ ้างแต่น้อยมาก ปจั จยั ของการเกิดโรค 1. จากนสิ ยั การกนิ อาหารของประชาชนทอ้ งถนิ่ ทนี่ ยิ มกนิ อาหารทปี่ รงุ จากปลานำ�้ จดื แบบดบิ หรอื สกุ ๆ ดิบๆ ทีเ่ รียกว่า “กอ้ ยปลา” ส่วนมากจะได้ปลามากใน ช่วงปลายฤดูฝน ซ่ึงปลามีตัวอ่อนพยาธิระยะติดต่อ “เมตาเซอรค์ าเรยี ” ในเนอ้ื ปลามากกวา่ ฤดอู นื่ ๆ 2. การแพร่กระจายของโรคยังด�ำเนินอยู่ตลอด เวลา เนอื่ งจากสขุ าภบิ าลในชนบทยงั พฒั นาไปไมท่ วั่ ถงึ การท่ีชาวบ้านท�ำนา ยังถ่ายอุจจาระลงน�้ำ หรือตาม 45หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

พุ่มไม้ เมื่อฝนตกจะชะอุจจาระลงแหล่งน้�ำ ท�ำให้หอยบิไทเนียหรือหอยไซ มโี อกาสกนิ ไขพ่ ยาธแิ ละเจรญิ เตบิ โตในหอยได้ 3. จากแหลง่ น้�ำตา่ งๆ มหี อยบิไทเนยี หรือหอยไซโฮสต์ตัวกลางตัวที่ 1 และมี ปลาน้�ำจืดเกล็ดขาวโฮสต์ตัวกลางตัวท่ี 2 อยู่ร่วมกันท�ำให้วัฏจักรชีวิตของ พยาธิใบไม้ตบั ครบวงจรสมบูรณ์ 4. รัฐบาลสนับสนุนการเกษตรโดยสร้างแหล่งน้�ำเป็นการเพ่ิมแหล่งเพาะพันธุ์ ของหอยและปลาซึ่งเปน็ โฮสตต์ ัวกลาง ดงั นัน้ การปรงุ สกุ ดว้ ยความรอ้ นใน การกนิ ปลาจงึ จะปลอดภยั จากการกนิ ตัวอ่อนพยาธิเขา้ ไป อาการโรคพยาธิใบไมต้ ับ ผปู้ ว่ ยโรคพยาธใิ บไมต้ บั เมอ่ื เรม่ิ แสดงอาการผปู้ ว่ ยจะแนน่ ทอ้ งทใี่ ตช้ ายโครงขวา อาจจกุ แนน่ ไปทีใ่ ตล้ ้ินป่ี อาการอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่ เบอื่ อาหาร ท้องอืด ตบั โต ถา่ ยเหลวเป็น บางครั้ง มีไข้ต�่ำๆ มีอาการ “ออกร้อน” ในระยะท้ายของโรคผู้ป่วยอาจมี ท่อน้�ำดี อุดตัน เกิดภาวะตัวเหลืองหรือดีซ่าน มีตับโตมากคล�ำได้เป็นก้อนแข็งผิวขรุขระ ตับนุ่มอ่อน มีน�้ำในช่องท้องและมีอาการบวมน้�ำ ผู้ป่วยอ่อนเพลียน้�ำหนักลด เม่ือ มะเรง็ ลกุ ลามไปยงั อวยั วะระบบอน่ื ๆ อาการจะทรดุ หนกั และเสยี ชวี ติ ปจั จบุ นั องคก์ าร อนามัยโลกยอมรับว่าพยาธิใบไม้ตับเป็นปัจจัยหลักท่ีท�ำให้เกิดมะเร็งท่อน�้ำดีในคน พยาธิใบไม้ตับถือเปน็ ปัจจัยเส่ียงที่ส�ำคญั ของการเกดิ โรคมะเร็งทอ่ น�้ำดี 46

การรกั ษา ให้ยาพราซิควอนเทล 600 มิลลิกรัม ตาม นำ้� หนักตวั ให้กนิ 40 มิลลกิ รมั ต่อน�้ำหนัก 1 กโิ ลกรมั กินครั้งเดียวหลังอาหาร หรอื กอ่ นนอน การควบคุมและปอ้ งกัน 1. ใหส้ ขุ ศกึ ษาใหท้ ราบถงึ อนั ตรายทพ่ี ยาธใิ บไมต้ บั เป็นสาเหตุท�ำให้เป็นมะเร็งท่อน้�ำดี ให้เกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนท่ี ชอบรับประทานปลาดบิ หรือสุกๆ ดิบๆ 2. สง่ เสรมิ ให้ประชาชนถ่ายอุจจาระในสว้ มหรอื ขดุ หลมุ ฝงั กลบเม่ือถ่าย นอกสว้ ม 3. ใหก้ ารรักษาสตั วท์ ่ีเปน็ แหล่งแพร่กระจายของพยาธิใบไมต้ บั คอื สนุ ขั แมว ฯลฯ (อาหารประเภท หอย, ปลา กินแบบปรงุ สกุ ) เพ่ือกำ� จดั ตัวอ่อนพยาธิ ในโฮสต์ตัวกลาง (อาหารทุกเมนปู รุงให้สกุ ด้วยความรอ้ น) 4. ใหก้ ารรักษาผูท้ ่ีเป็นพยาธิใบไมต้ ับทกุ คน สอบถามขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี สำ� นักโรคตดิ ตอ่ ท่ัวไป โทรศัพท์ 0-2591-8437 0-2590-3180, 0-2590-3160 47หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

โรคอาหารเปน็ พิษ “โรคอาหารเป็นพิษ” เป็นค�ำกว้างๆ ท่ีใช้อธิบาย อาการปว่ ยทเ่ี กดิ จากการรบั ประทานอาหาร หรอื นำ้� ทม่ี กี าร ปนเปือ้ นของเชอ้ื แบคทีเรีย ไวรัส หรอื ไข่ / ตัวออ่ นหนอน พยาธิท่ีปนเปือ้ นอยูใ่ นอาหาร หรอื สารพิษที่พบได้ตามพชื และสตั ว์ เชน่ เหด็ พษิ สบู่ดำ� มะกลำ�่ ตาหนู สาหรา่ ยบาง สายพันธุ์ คางคก ปลาปักเป้า แมงดาทะเล และปลาทะเล บางชนดิ และยงั รวมถงึ สารเคมที ปี่ นเปอ้ื นอยใู่ นอาหารดว้ ย เชน่ สารคารบ์ าเมต ยาฆ่าแมลงที่ตกค้างในผกั ผลไมท้ เี่ รา ล้างไม่สะอาด และมกั พบในอาหารท่ปี รุงสุกๆ ดบิ ๆ จาก เนอ้ื สตั ว์ ไข่ นมทปี่ นเปอ้ื นเชอ้ื รวมทง้ั อาหารจ�ำพวกอาหาร กระป๋อง อาหารทะเล เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา ปลาหมึก ที่ปรุงไม่สุกพอ อาหารค้างมื้อและไม่ได้แช่เย็น อาหาร จ�ำพวกนี้อนุ่ ให้รอ้ นที่ 75 องศาเซลเซียส จึงจะปลอดภัย ถ้าเราไม่อุ่นให้ร้อนท่ัวถึงก่อน อาจท�ำให้เราเจ็บป่วยด้วย โรคอาหารเป็นพิษได ้ 48

อาการของโรค อาการของโรคอาหารเปน็ พษิ นั้นจะเกิดหลังจาก ที่เรารับประทานอาหารท่ีปนเปื้อนเช้ือนี้เข้าไปแล้ว 1 ชั่วโมงถึง 8 วัน ส่วนใหญ่จะพบในหมู่คนท่ีมีการ รับประทานอาหารร่วมกัน และจะมีอาการพร้อมกัน แต่จะมีอาการมากหรือน้อยนั้นก็ขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อ หรือสารพิษทไ่ี ด้รบั เขา้ ไป อาการส�ำคัญที่พบ ได้แก่ คล่ืนไส้ อาเจียน มีไข้ ปวดท้อง ถ่ายอุจจาระ เป็นน�้ำจากการอักเสบ ทก่ี ระเพาะอาหารและลำ� ไส้ นอกจากนอี้ าจมปี วดศรี ษะ ปวดเมื่อยตามเน้ือตัวร่วมด้วย หากมีอาการถ่ายบ่อย ทำ� ใหร้ า่ งกายขาดนำ้� และเกลอื แรไ่ ด้ หรอื มอี าการรนุ แรง จากการตดิ เชื้อและเกดิ การอักเสบที่อวยั วะตา่ งๆ ของ รา่ งกาย รวมทง้ั มกี ารตดิ ตอ่ เชอ้ื ในกระแสโลหติ สำ� หรบั กรณีโรคอาหารเป็นพิษจากสารเคมี พืชพิษ หรือสัตว์ พิษบางชนิดจะมีผลต่อระบบประสาท เช่น อาการชา ชัก ตาตัวเหลือง หมดสติ และรุนแรงถึงข้ันเสียชีวิต โดยเฉพาะเด็กทารก เด็กเล็ก และผูส้ ูงอายุ การรกั ษาโรคอาหารเปน็ พษิ การรกั ษาเรามกั จะรกั ษาตามอาการนน้ั ๆ อยา่ งเชน่ ถา้ ผปู้ ว่ ยยงั พอรบั ประทาน อาหารได้ เราควรใหด้ ม่ื ผงนำ้� ตาลเกลอื แร่ เพอ่ื ปอ้ งกนั การขาดนำ�้ และเกลอื แร่ รวมถงึ ควรใหผ้ ปู้ ว่ ยดมื่ นำ้� หรอื อาหารเหลวออ่ นยอ่ ยงา่ ย เชน่ แกงจดื , ผลไม,้ โจก๊ หรอื ขา้ วตม้ , ปลา, เน้ือสัตว์ต้มเปื่อย ฯลฯ และถ้าหากอาเจียนมากรับประทานไม่ได้ ถ่ายเป็น มูกเลือด หรือถ่ายเป็นน้�ำ และมีไข้ควรจะน�ำส่งโรงพยาบาล หากเราทราบแน่ชัดว่า ผปู้ ว่ ยไดร้ ับประทานสารพิษจากพชื พิษ สตั วม์ ีพษิ อยา่ งเชน่ ปลาปักเปา้ หรือสารเคมี ทเ่ี ปน็ พษิ ควรรบี นำ� ตัวผ้ปู ว่ ยส่งโรงพยาบาลโดยทันที 49หนังสือชุดความรู้เรื่องโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค

การปอ้ งกันโรคอาหารเปน็ พษิ ใชม้ าตรการปอ้ งกนั โดยใชก้ ฎหลกั 10 ประการ ในการเตรียมอาหารท่ปี ลอดภยั ได้แก.่ .. 1. เลือกอาหารท่ีสะอาดผา่ นการเตรยี มเป็น อย่างดี 2. ปรงุ อาหารทีส่ ุกทว่ั ถึงกอ่ นรับประทาน 3. ควรกินอาหารทปี่ รงุ สกุ ใหม่ๆ 4. ระมัดระวังอาหารท่ีปรุงสุกแล้วอย่าให้มี การปนเปื้อน หากมีความจ�ำเป็นต้องเก็บ อาหารที่ปรงุ สุกไว้นานกว่า 4 ชั่วโมง ควร เก็บไว้ในตู้เย็น ส่วนอาหารส�ำหรับทารก ไม่ควรเกบ็ ไวข้ ้ามมอ้ื 5. อาหารที่ค้างมื้อต้องอุ่นให้ร้อนก่อน รบั ประทาน 6. แยกอาหารดิบและอาหารสุก ให้ระมัดระวังการปนเปื้อน 7. ล้างมือให้สะอาดทั้งก่อนปรุง อาหาร ก่อนรับประทานอาหาร โดยเฉพาะหลงั จากเขา้ หอ้ งน้�ำ 8. ใหพ้ ถิ พี ถิ นั เรอื่ งความสะอาดของ ห้องครัว 9. เกบ็ อาหารใหป้ ลอดภยั จากแมลง หนู หรือสตั วอ์ ่ืนๆ 10. ใช้น�้ำสะอาดในการปรุงอาหาร และควรระวังเป็นพิเศษในการใช้ นำ�้ เพือ่ เตรียมอาหารเด็กทารก สอบถามขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ ได้ที่ สำ� นักโรคติดต่อทว่ั ไป โทรศพั ท์ 0-2590-3183, 0-2590-3187 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook