Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IQEQTP

IQEQTP

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-04 23:35:48

Description: IQEQTP

Search

Read the Text Version

                        1. เพอ่ื พฒั นาการประสานสัมพันธกันระหวา งมือ และตา 2. เพอ่ื พัฒนาการรบั รูส ัมผสั และการกะระยะ 3. เพ่ือพัฒนาการเรยี นรูรปู ราง รูปทรง การเปรียบเทยี บ 4. เพื่อพัฒนาทักษะดานสังคม การเลนรวมกันเปนกลุม การแบงปน การยอมรับ ชนื่ ชมตนเองและผูอ น่ื เรยี นรูก ฎกตกิ า   1. ขวดนาํ้ แกว นาํ้ 2. นํ้าใสสผี สมอาหาร 3. กะละมังใสนาํ้   1. ครแู บง เดก็ เปน 3 กลุม 2. ครสู อนสาธิตวิธกี ารเลนโดยใชแ กว ตักนา้ํ กรอกใสข วด 3. จากน้นั ใหเด็กใชแ กว ตกั นาํ้ กรอกใสข วด ภายในเวลาที่กาํ หนด 4. หลงั จากนน้ั ใหเด็กนําขวดทีใ่ สนาํ้ แลว มาเปรียบเทยี บปริมาณนํา้ ทต่ี างกัน มาก นอย 5. ถามสจี ากนา้ํ ท่เี ด็กเห็น 6. เกบ็ อปุ กรณแ ละลา งมอื ทาํ ความสะอาด    ครูอาจเรมิ่ สอนจากน้ําท่ผี สมแมส ี (แดง เหลือง น้ําเงิน) หลังจากแขง ขันกนั ใหเด็กแบง นา้ํ เปน 3 สว น เทา ๆ กนั ใสขวดใหเพ่อื นกลุม ละ 1 ขวด ทดลองผสมสี เพ่อื ใหเด็กสังเกตสที เี่ ปล่ียนแปลง 143

           ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินยั ราเริง ความชาง การถายทอด การคิดเชอ่ื มโยง การทาํ งาน การรูจกั และ สงั เกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 3 มอื และตา อารมณ 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผ ลมาก 3 = ไดผ ล 144

                     1. เพ่อื พฒั นาทกั ษะดา นการเคล่อื นไหวและความแข็งแรงของกลา มเนื้อมดั ใหญและมดั เล็ก 2. เพ่ือพฒั นาการประสานสัมพันธกนั ระหวางมอื และตา 3. เพอื่ พัฒนาการรบั รสู มั ผัส 4. เพือ่ พัฒนาทักษะดา นสังคม การเลนรวมกันเปนกลุม การดแู ลรกั ษาความสะอาด    1. ภาชนะรูปทรงตางๆ เชน ถวยไอศกรีม แกวน้ําพลาสติก 2. อปุ กรณที่ใชตักทรายได 3. กระบะทราย 4. ขวดใสน ้ําพลาสตกิ เจาะรทู ่ีฝาไว   1. ครสู อนสาธติ การบีบขวดนํา้ ใสก ระบะทราย 2. มอบขวดน้ําใหคนละ 1 ขวด บบี น้าํ ในขวดใหทั่วกระบะทราย 3. ใหเดก็ ตักทรายใสในภาชนะตา งๆ 4. หลงั จากนัน้ กดทรายใหแ นน 5. จากนัน้ นาํ ภาชนะควาํ่ ลงกับพ้นื ทราย 6. ยกภาชนะขน้ึ ใหเ หน็ เปน รูปทรงของทราย 7. เมอ่ื เสร็จแลว ใหซ กั ถามเดก็ วาเปนรูปทรงใด 8. หลังเสรจ็ กิจกรรม ใหเกบ็ อปุ กรณแ ละลา งมอื ใหส ะอาด    ครอู าจใชภ าชนะอนื่ ๆ เชน ถว ยไอศกรมี แกว นา้ํ พลาสตกิ ทอ PVC เพอ่ื ใหเ ดก็ สงั เกต รปู ทรงทปี่ รากฏ ตา งๆ กนั แลว จินตนาการเพม่ิ เตมิ วาเหมือนอะไร 145

            ผลที่ไดรับ อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวนิ ัย ราเริง ความชา ง การถายทอด การคิดเช่ือมโยง การทํางาน การรูจ กั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคมุ 33 3 มอื และตา อารมณ 3 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 146

                          1. เพือ่ พัฒนาอวยั วะทุกสวนใหม ีความสมั พันธกนั ในขณะเคลอื่ นไหว 2. เพอ่ื ใหเ กดิ ความสนุกสนาน ผอยคลายความตึงเครียดทั้งรา งกายและจิตใจ 3. เพือ่ พฒั นาภาษา ฝก ฟงคาํ ส่ัง ขอ ตกลงและปฏบิ ัติตามได 4. เพอ่ื ฝกความจาํ และเสรมิ สรา งประสบการณ 5. เพือ่ พฒั นาทักษะดา นสงั คม การปรับตัวและความรวมมอื ในกลุม 6. เพื่อปลูกฝง ใหม ีคุณธรรม จริยธรรม 7. เพื่อสงเสรมิ การกลาแสดงออก ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง และความคิดรเิ ร่มิ สรา งสรรค    1. ไมกระดานกวาง 10 เซนตเิ มตรและ 5 เซนตเิ มตร อยา งละ 1 แผน 2. เชอื ก 2 เสน   1. ครูนาํ อุปกรณท ง้ั หมดใหเด็กดู แลวถามเด็กๆ วา “เด็กๆ ลองดซู ิวา วนั นคี้ รูมอี ะไรมาใหเ ลน” จากนนั้ ใหเ ดก็ คดิ คน วธิ เี ลน จากอปุ กรณทคี่ รจู ัดใหไ วอ ยางอิสระดวยตนเอง หรือคดิ รวมกบั เพอ่ื น แลว ใหเ วลาเดก็ เลน สกั ครู 2. ครูชวนเดก็ เลนรถไฟ โดยใหเ ขา แถวเรยี งกนั ใหหวั แถวจับเชอื ก สวนเด็กคนอ่ืนกจ็ ับเชือกตอๆ กนั สมมตติ ัวเองเปน ขบวนรถไฟ 3. ครสู มมติใหไมก ระดานเปนรางรถไฟ แลวใหเ ดก็ ๆ เดนิ บนรางรถไฟ กวา ง 10 ซ.ม. เม่ือเด็ก เดินไดใหลดขนาดเปน ไมก ระดานกวาง 5 เซนตเิ มตร 147

             148

                149

               ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรียนรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินยั ราเรงิ ความชาง การถายทอด การคิดเชือ่ มโยง การทาํ งาน การรจู กั และ สงั เกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 3 มือและตา อารมณ 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 150

                          1. เพอื่ พฒั นาและเพมิ่ ความแขง็ แรงของกลามเนื้อมดั เล็ก 2. เพ่ือพฒั นาการทํางานประสานสัมพนั ธกนั ระหวา งมอื และตา 3. เพื่อพฒั นาการรบั รูสัมผสั และการกะระยะ 4. เพอื่ การเรียนรูรปู ราง รูปทรง สี คําศัพท 5. เพื่อพัฒนาทักษะดานสงั คม การเลนรว มกนั เปน กลมุ การแบงปน   1. ดินนํ้ามนั สีแดง เหลือง เขยี ว 2. แกว พลาสติกใส 3 ใบ 3. ไมบ รรทดั   1. ครสู อนสาธติ การคลึงดนิ นํา้ มัน เปน เสนยาว 2. หลงั จากนั้น ใหเ ด็กนําไมบ รรทัดมาตดั เปน ช้ินๆ โดยแบง เปน สีตางๆ และถามเด็กวา นอกจาก ใชไมบ รรทดั ตัดแลว เรายงั สามารถใชอ ะไรตัดไดอีก 3. ใหเ ดก็ แยกสดี นิ น้ํามนั ใสต ามแกวพลาสติกแตละใบ 4. เสร็จกจิ กรรม ทบทวนสีแดง สเี หลอื ง สเี ขียว 5. เก็บอปุ กรณ ลา งมือทาํ ความสะอาด   ครอู าจใหเ ด็กใชนิว้ ดงึ ดนิ น้ํามนั หรอื แปง โด แทนการใชไ มบ รรทัด เพอ่ื พฒั นาการควบคมุ น้าํ หนัก นว้ิ เอน็ ขอ และ การกะระยะ 151

            ผลท่ีไดรับ อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวนิ ัย รา เรงิ ความชาง การถายทอด การคดิ เชือ่ มโยง การทาํ งาน การรจู กั และ สงั เกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 3 มอื และตา อารมณ 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผล 152

                         1. เพื่อพัฒนาการประสานสมั พันธก นั ระหวา งมือ และตา 2. เพ่อื พฒั นาทกั ษะดา นภาษาและคําศพั ท 3. เพอื่ พฒั นาการเรียนรคู วามสัมพนั ธ การจบั คู 4. เพือ่ พฒั นาทกั ษะดานสังคมและอารมณ ช่ืนชมตนเองและผูอ ืน่    - ถุงเทา หลายสี หลายคู   1. ครูนําถุงเทาหลายสี หลายคมู าปะปนกัน 2. ครสู อนสาธติ เลอื กถงุ เทาคทู เ่ี หมือนกัน 1 คู 3. ใหเ ดก็ ชว ยกนั เลือกถุงเทา จับเปนคู ในเวลาทกี่ ําหนด 4. ชมเชยเดก็ ทเ่ี ลือกคถู งุ เทา ไดถ ูกตอง      คณุ ครอู าจเพมิ่ เติมกจิ กรรมโดยใหเ ดก็ ใสถ งุ ทจี่ บั คไู ดแ ลว หรอื ใชกระดาษหลากสี มาตดั เปน รปู ตา งๆ เชน รูปหัวใจสแี ดง สีขาว แลวใหเ ด็กจับคสู ที เี่ หมือนกนั 153

         ผลท่ีไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินัย ราเรงิ ความชาง การถายทอด การคิดเชอ่ื มโยง การทาํ งาน การรูจกั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม 3 มือและตา อารมณ 33 3 หมายเหตุ 33 = ไดผ ลมาก 3 = ไดผ ล 154

                          1. เพอ่ื พัฒนาการประสานสัมพนั ธก นั ระหวา งมือ และตา 2. เพอ่ื พฒั นาทักษะดา นภาษาและคําศัพท 3. เพือ่ พฒั นาการเรียนรคู วามสมั พนั ธ การจบั คู การสมั ผสั 4. เพ่ือพฒั นาทกั ษะดา นสงั คมและอารมณ ชน่ื ชมตนเองและผูอืน่   1. สิ่งของ เชน ลูกบอล รถเดก็ เลนคนั เลก็ ตกุ ตา 2. ถงุ ผา ทึบใสเ มลด็ พืช เชน ถว่ั ขาวสาร   1. ครูนําถุงผา ทใี่ สเมล็ดพืชตางๆไว นาํ อุปกรณสิ่งของตา งๆ ซอนลงในถุงผา 2. เลอื กส่ิงของ 1 ชนิ้ แบบเดยี วกับที่มีอยใู นถงุ วางไวบนโตะ เชน รถ 3. จากนน้ั ใหเ ดก็ ลว งคลําของในถงุ โดยไมใหเห็นส่งิ ของ บอกใหเ ด็กหาของที่เหมือนกับตวั อยาง 4. ชมเชยเดก็ เมอื่ เดก็ เลอื กสงิ่ ของไดถ ูกตอง 5. เสร็จกจิ กรรม ลา งมอื ทาํ ความสะอาด    ครอู าจเปลยี่ นสงิ่ ของเปน สงิ่ ตา งๆ ทเี่ ดก็ สนใจ แตไ มเ ปนอนั ตรายและในถงุ ผา อาจเปลยี่ นเปน เมลด็ พชื ขา วเปลอื ก มักกะโรนี สําลี เพือ่ ใหเ ดก็ ไดร บั สัมผสั ทต่ี างๆ กนั ไป 155

             ผลที่ไดรับ อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินยั รา เริง ความชาง การถา ยทอด การคดิ เชื่อมโยง การทํางาน การรูจกั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคุม มือและตา อารมณ 33 3 หมายเหตุ 33 = ไดผ ลมาก 3 = ไดผ ล 156

                         1. เพื่อพฒั นาการประสานสัมพันธกันระหวางมอื และตา 2. เพ่ือพฒั นาทกั ษะดานภาษาและคาํ ศพั ท 3. เพือ่ พฒั นาการเรยี นรูความสัมพันธ การจบั คู การสัมผสั 4. เพ่อื พฒั นาทักษะดา นสังคมและอารมณ ชืน่ ชมตนเองและผูอน่ื   ส่งิ ของ เชน ชอน สอม ดนิ สอ ยางลบ   1. ครสู อนสาธิต โดยนาํ สิง่ ของท่ีสัมพันธกันจับคกู ัน 2. เลือกสงิ่ ของ 1 ชน้ิ วางบนโตะ จากนั้นใหเดก็ เลือกของทส่ี ัมพันธกนั คูก ัน เชน หยิบ ชอ น ให เลือกสอ ม มาคกู ัน 3. ชมเชยเดก็ เมอื่ เดก็ เลอื กสงิ่ ของไดถ กู ตอ ง   ครอู าจเลอื กหาสงิ่ ของทสี่ มั พนั ธกนั โดยทาํ ในรปู ของบตั รคาํ เพอ่ื สะดวกในการเตรยี มอปุ กรณก ารสอน 157

                 ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบียบวินยั รา เริง ความชาง การถา ยทอด การคิดเชอ่ื มโยง การทํางาน การรูจกั และ สังเกต จนิ ตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคุม มือและตา อารมณ 33 3 3 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผล 158

                        1. เพ่ือใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ 2. เพอ่ื สงเสรมิ การใชกลา มเน้อื มอื และพัฒนาประสานสัมพนั ธระหวางมือกบั ตา 3. เพอ่ื ฝก ทกั ษะการสงั เกต การคิด และการแกปญหา 4. เพอื่ สง เสริมการกลา แสดงออกและมีความมั่นใจในตนเอง 5. เพอ่ื สง เสริมการปรับตวั ในการทาํ งานรว มกบั ผอู นื่    - รปู ปรศิ นาอาจเปน รูปคน สัตว สงิ่ ของท่ีมีสวนตอกันหลาย ๆ ช้ิน ( 6,7,10 ชิน้ )   - นาํ ชิ้นสวนรูปปริศนาใหเ ด็กดู แลวถามเด็กวา “เด็ก ๆ ลองดูซิวาวันนี้ครูมีอะไรมาใหเลน” จากน้นั แจกชน้ิ สวนรูปปรศิ นากลมุ ละ 1 ชดุ ซ่ึงมีจาํ นวนชนิ้ สวนเทา กับจาํ นวนเด็กภายในกลุม แลว ใหเ ดก็ ๆ ภายในกลมุ ชว ยกนั คดิ ตอ ชน้ิ สว นปริศนา กลมุ ใดเสรจ็ กอนใหยกมอื แลว ชว ยกนั สรปุ วาเปนรปู อะไร 159

             160

                161

               ผลที่ไดรบั อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินยั ราเริง ความชา ง การถา ยทอด การคิดเชอื่ มโยง การทาํ งาน การรูจกั และ สงั เกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวา ง ควบคมุ 33 มอื และตา อารมณ 33 3 3 หมายเหตุ 33 = ไดผ ลมาก 3 = ไดผล 162

                             1. เพอ่ื สงเสรมิ ความคดิ รเิ รมิ่ สรางสรรคและจินตนาการ 2. เพอ่ื ใหเ กิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ 3. เพ่อื สง เสรมิ การใชกลามเนื้อมอื และพัฒนาประสานสมั พันธร ะหวา งมอื กับตา 4. เพ่อื ฝก ทกั ษะการสงั เกต การคดิ และการแกป ญหา 5. เพอ่ื สงเสรมิ การกลา แสดงออกและมคี วามมนั่ ใจในตนเอง    - รปู ภาพปริศนา 1 รปู อาจเปนหนาคน สัตว ส่ิงของ แบง ออกเปน 3 - 5 ชิ้น   1. ครนู าํ อปุ กรณท ง้ั หมดใหเ ดก็ ดู แลวถามเดก็ วา “เดก็ ๆ ลองดซู วิ า วนั นคี้ รมู อี ะไรมาใหเ ลน ” จากนนั้ ใหเ ด็กคดิ คน วธิ เี ลนจากอปุ กรณทคี่ รจู ัดใหไวอยา งอสิ ระดว ยตนเอง หรือคดิ รว มกับเพ่อื น แลว ให เวลาเดก็ เลนสกั ครู 2. ครแู จกชน้ิ สวนของรปู ปริศนาใหเ ดก็ คนละ 1 ชน้ิ จากนนั้ ใหเ ด็กวาดรูปตอ เตมิ จากชน้ิ สว นทต่ี นมี 3. เดก็ ตา งคนตางวาดรูปท่ีตนมี จากนั้นใหนําเสนอวา ชิน้ สวนทตี่ นเองไดน าจะเปนรปู อะไร 4. ครูใหเ ด็กนําชน้ิ สวนทงั้ หมดมาตอกนั วา สรปุ แลวเฉลยวา เปน รปู อะไร 163

          ผลที่ไดรับ อีคิว ไอคิว การเรยี นรู ความสนกุ สนาน ระเบยี บวินัย ราเรงิ ความชา ง การถายทอด การคิดเช่อื มโยง การทํางาน การรูจกั และ สังเกต จินตนาการ เหตุผล ประสานระหวาง ควบคมุ 3 มือและตา อารมณ 3 33 หมายเหตุ 33 = ไดผลมาก 3 = ไดผ ล 164

                        1. เพ่ือ สงเสรมิ การคดิ เชือ่ มโยงความรู และการรับรูส่งิ ของตางๆ 2. เพื่อสง เสรมิ ทกั ษะการใชภ าษาในการส่ือสารกับผูอ ่นื 3. เพ่ือสงเสริมใหเ ดก็ กลาแสดงออกทางการคดิ การตดั สินใจ และการพูด    - กลอ ง 1 ใบ ภายในบรรจุส่งิ ของหรอื ลูกสัตวตัวเล็ก ๆ สําหรับทายปริศนา    1. ครหู ยิบสงิ่ ของที่มรี ูปรา ง ขนาด แตกตางกนั มาใหเดก็ ดูแลว ใหเด็กชว ยกันอธิบาย รูปรา งลกั ษณะ ที่เหน็ ถามวา ควรอยทู ่ีไหน ใชทาํ อะไร เปนการทบทวนความรูเ ดิมของเดก็ 2. ครูอธิบายและสาธิตการเลนเกม โดย 2.1 ครูนาํ กลอ งกระดาษ ภายในมีส่ิงของ 1 สิ่ง ซึง่ เดก็ จะไมท ราบวา เปน อะไร ครูจะใหเ ดก็ ๆ ชวยกันทายวาสง่ิ ของทอี่ ยใู นกลองคอื อะไร 2.2 เรม่ิ ตนครจู ะบอกใบใ หด ว ยขอ ความเพยี ง 3 ประโยคทเ่ี กย่ี วกบั รปู รา ง ทอี่ ยู ประโยชนการ ใชข องสง่ิ ของภายในกลอ ง 2.3 จากน้ันใหเด็กๆ หาคําตอบใหไดว าสิ่งของภายในกลองนา จะเปน อะไร โดยใหเ ด็กๆ ทั้งหมด สามารถถามคาํ ถามครูได เพียง 5 คําถาม ในแตล ะคําถามจะตอ งมีคาํ วา “ใช หรอื ไม” ตอ ทายเสมอ เชน สง่ิ ของนมี้ ีขนาดเล็กเทา จานใชไหม สงิ่ ของนนี้ า้ํ หนกั เบาพอท่ี เดก็ ๆ จะยกไดใชไ หม สิ่งของน้ที ําดวยพลาสตกิ ใชไ หม เปนตน 2.4 ถา คาํ ถามนนั้ มคี ณุ สมบตั ทิ ตี่ รงกบั สงิ่ ของปรศิ นา ครูกจ็ ะพยกั หนา รบั วา ใช ถา ไมใชจะใช การสา ยหนา 2.5 เมอื่ ครบ 5 คาํ ถามแลว เดก็ จะตองตอบวา สิ่งของน้นั คืออะไร ถาเดก็ คนใดตอบถูกจะได คะแนน 1 คะแนน ใหเ ด็กสะสมคะแนนไปจนสน้ิ สุดของการเลนเกม จงึ จะสรปุ ผลผูท ่ี ชนะการแขง ขนั 165

        3. ครูทดลองเกมการเลน กับเด็กพอประมาณจนกวาเด็กจะเขาใจกติกาการเลน จากนั้นครูเลือก อาสาสมคั รออกมาเลน แทนครู ครูเปน เพียงผคู วบคมุ การเลนเกมของเด็ก 4. ครูและเด็กรวมกันสรุปวา เราสามารถทายปริศนาไดถูกตองเพราะเหตุใด การฟง การคิด การพดู มสี วนเก่ียวขอ งกบั การทายคาํ ตอบอยา งไร 166

                  กองวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ. คูม ือพฒั นาวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจรยิ ธรรม ระดบั ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค รุ สุ ภา ลาดพราว. 2544. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ . คมู ือกิจกรรมเสรมิ สรางความฉลาดทางอารมณเ ด็ก อายุ 3-11 ป. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั งานกจิ การโรงพมิ พ องคก ารสงเคราะหท หารผา นศกึ . 2547. กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ . คูมอื คลายเครยี ดดวยตนเองสําหรบั วยั รุน กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พองคก าร สงเคราะหท หารผา นศกึ . 2548. นชุ นาฏ เนตรประเสรฐิ ศร.ี เชอ่ื เถอะ EQ คณุ ชว ยสราง EQ ลกู . กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เพาเวอร พรนิ ท จาํ กดั . 2545 มธรุ ส กุลจินต. เชื่อเถอะ ลกู คุณก็ฉลาดได. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท เพาเวอรพ รินท จาํ กดั . 2546 มูลนิธศิ นู ยพทิ กั ษส ทิ ธเิ ดก็ . Activity Book for Treatment Strategies for Abused Chilren. เอกสารอัดสาํ เนา . ไมป รากฏปพิมพ. โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คมู ือการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนา เด็กดอยโอกาส. ไมปรากฏทีพ่ ิมพ. 2544. 167

             ที่ปรึกษา นายแพทยสจุ รติ สุวรรณชีพ ทีป่ รกึ ษากรมสุขภาพจิต นายแพทยหมอมหลวงสมชาย จักรพันธุ อธบิ ดกี รมสขุ ภาพจิต นายแพทยอภชิ ัย มงคล รองอธบิ ดกี รมสขุ ภาพจติ แพทยหญิงศภุ รัตน เอกอัศวนิ ผอู าํ นวยการสํานักพัฒนาสขุ ภาพจติ นายแพทยสมยั ศริ ทิ องถาวร ผอู ํานวยการสถาบันพฒั นาการเดก็ ราชนครินทร แพทยห ญิงพรรณพมิ ล หลอ ตระกูล ผอู ํานวยการสถาบนั ราชานกุ ลู นายแพทยด ุสติ ลิขนะพชิ ิตกลุ ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ นายแพทยบณั ฑิต ศรไพศาล ผูอาํ นวยการสถาบันสุขภาพจติ เด็กและวยั รุนราชนครินทร คณะทาํ งาน พัวสกุล กลุมทป่ี รึกษากรมสขุ ภาพจิต (ประธาน) แพทยห ญงิ อนิ ทริ า ศรวี งคพ านชิ สถาบนั ราชานกุ ลู แพทยห ญิงนพวรรณ เวชวริ ฬุ ห สถาบันราชานกุ ลู นางสาวชนสิ า อภยั ยานกุ ร สถาบันราชานุกลู นางสธุ ญั ญา ธรี นันทน สถาบันราชานุกลู นางพรพิมล คุมรกั ษา สถาบนั ราชานุกูล นางนริ มัย จิตตภ กั ดี สถาบันพัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร นางสินนี าฏ ธาํ รงวจนะเมธาวี สถาบนั พฒั นาการเด็กราชนครนิ ทร นางสาวสงั เวยี น บญุ ศรี สถาบันพัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร นางสาวกนกวรรณ กว่ิ แกว สถาบันพฒั นาการเดก็ ราชนครนิ ทร นายภทั ราวธุ อปุ ระโจง สถาบนั พฒั นาการเด็กราชนครินทร นายยทุ ธการ แกวหิรญั สถาบันพฒั นาการเดก็ ราชนครินทร นางสาวเสาวรส ศรสี ืบ สถาบนั พัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร นางสาวพงึ พศิ ธรรมขันโท สถาบนั พัฒนาการเดก็ ราชนครินทร นางสาวขวญั ใจ ยอดอญั มณวี งศ สถาบนั พฒั นาการเด็กราชนครินทร นางสาวแสงเดอื น แสงรัตนายนต โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ นางเดอื นฉาย พงษพานิช โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถมั ภ นางชะไมพร เกวลิน โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถัมภ นางอภริ ตั น จันเที่ยง โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถัมภ นางสาวอศิ ราวลั ย ศภุ รฤทัย สถาบนั สขุ ภาพจิตเด็กและวยั รนุ ราชนครินทร นางสุจติ รา ตรที พิ ยธ ิคณุ สถาบันสขุ ภาพจติ เด็กและวัยรนุ ราชนครนิ ทร นางยุพาวดี รุมวริ ยิ ะพงษ สถาบันสุขภาพจิตเดก็ และวยั รนุ ราชนครนิ ทร นางสาวจุฬาลกั ษณ ชนนิ ทยทุ ธวงศ สาํ นักพฒั นาสุขภาพจติ นางวนดิ า อนิ โอชานนท สํานักพฒั นาสุขภาพจติ นางสาวอมรากลุ วณชิ รมณยี  สาํ นกั พัฒนาสขุ ภาพจติ นางสาวกาญจนา ศรสี ชุ าติ สํานักพฒั นาสขุ ภาพจติ นางสาวรววิ รรณ แกว เมอื ง สํานักพฒั นาสุขภาพจิต นางธัญลักษณ 168

                169

             170


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook