Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทางธรรมชาติ

ทางธรรมชาติ

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-09 05:29:28

Description: ทางธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งทอ่ งเท่ยี ว ทางธรรมชาติ กรมการท่องเท่ียว กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกีฬา

ค ู่มอื การตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ พิมพค์ รง้ั ที่ 2 สิงหาคม 2557 จ�ำนวนพมิ พ์ 2,000 เลม่ ผู้จดั พมิ พ์ กรมการทอ่ งเที่ยว กระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า โทร. 0 2219 4010-17 ต่อ 332 โทรสาร 0 2215 8848 www.tourism.go.th พิมพ์ท ่ี สำ� นักงานกิจการโรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โทร. 0 2910 7001-2 โทรสาร 0 2585 6466

ค�ำน�ำ ตามที่ กรมการทอ่ งเทย่ี ว กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า ไดจ้ ดั ทำ� มาตรฐาน คุณภาพแหล่งท่องเที่ยวและประกาศใช้มาแล้ว จ�ำนวน 14 มาตรฐาน พร้อมทั้ง ตลอดระยะเวลาท่ผี ่านมาภายหลังจากท่ีได้ประกาศใช้ ไดม้ กี ารตดิ ตามประเมนิ ผลและ ปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้มาตรฐาน คุณภาพแหล่งท่องเที่ยวได้รับการพัฒนาเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและสามารถ นำ� ไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ กบั แหลง่ ท่องเที่ยวของประเทศไทย ในปีที่ผ่านมา ได้มีการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว ตามคู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว โดยน�ำมาตรฐานคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยวทั้ง 14 ประเภท ไปประเมินในแหล่งท่องเท่ียว ผลการประเมิน ในครงั้ นนั้ พบวา่ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วบางประเภทมจี ดุ บกพรอ่ งทค่ี วรไดร้ บั การปรบั ปรงุ เพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ สำ� หรบั ผปู้ ระกอบการแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จงึ ไดม้ อบหมาย ให้สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นที่ปรึกษาในการพัฒนามาตรฐาน คณุ ภาพแหล่งท่องเทีย่ วดงั กล่าว โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพือ่ ศึกษาวิเคราะหแ์ นวทาง การก�ำหนดเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพแหล่งทอ่ งเท่ียว เพือ่ ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการพัฒนา แหล่งทอ่ งเทย่ี วอยา่ งเหมาะสม 2) เพือ่ ศึกษาและวเิ คราะห์สภาพปัญหาของมาตรฐาน คุณภาพแหล่งท่องเท่ียว และ 3) เพื่อพัฒนาและปรับปรุงองค์ประกอบต่างๆ ของ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเที่ยวใหม้ คี วามทนั สมยั สอดคล้องกบั บริบทท่ีแท้จริงของ แหลง่ ท่องเท่ยี ว และเกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ในการประเมนิ แหล่งทอ่ งเท่ยี ว

โดยการปรบั ปรงุ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วมกี ระบวนการดำ� เนนิ งาน ประกอบด้วย การศึกษาแนวคิดทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ยกร่างเกณฑ์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การทดสอบเกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัด และการจัดประชุมเพื่อรับฟัง ความคดิ เหน็ จากผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง โดยมงุ่ หวงั ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญ นกั วชิ าการ ผปู้ ระกอบการ แหล่งท่องเทยี่ ว นกั ท่องเทย่ี วและผูส้ นใจทั่วไปได้วิพากษ์วิจารณอ์ ย่างเตม็ ที่ เพ่อื ให้ได้ มาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทย่ี วทที่ ุกภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำขนึ้ กรมการท่องเที่ยวหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐาน คุณภาพแหลง่ ท่องเท่ยี วทางธรรมชาติทจี่ ัดทำ� ข้ึนในครั้งน ี้ จะเป็นแนวทางในการตรวจ ประเมินมาตรฐานคุณภาพของแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติของประเทศไทย ให้มีมาตรฐานเป็นทยี่ อมรับทัง้ ในระดับประเทศ และในระดบั สากล กรมการท่องเทย่ี ว สงิ หาคม 2557

สารบัญ หนา้ ค�ำน�ำ 1 สารบัญ 2 ความส�ำคัญของมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ 3 นิยามของคำ� ส�ำคัญ 4 ประเภทของแหลง่ ธรรมชาติ 6 กรอบแนวคิดและการก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ 8 การกำ� หนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ 10 12 การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ 13 14 • วิธกี ารให้คะแนน • วธิ กี ารคดิ คะแนน 41 • การกำ� หนดระดบั มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ 43 • ตัวอยา่ งการตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทย่ี ว 73 ทางธรรมชาติ ••ภาคผนวก : แบบประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ ประกาศสำ� นกั งานพฒั นาการทอ่ งเทีย่ ว



คู่มอื การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทย่ี ว ทางธรรมชาติ ความส�ำคัญของมาตรฐานคุณภาพแหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติมีความแตกต่างจากแหล่งท่องเที่ยวประเภท อน่ื ๆ เนอ่ื งจากเปน็ สงิ่ ทมี่ อี ยแู่ ละเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ มสี ภาพและการเปลยี่ นแปลง ไปได้ตามกาลเวลา มีระบบความสมั พันธ์ทีซ่ บั ซอ้ นในตัวเองด้วยปจั จัยตา่ งๆ กัน และ องค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นอาจค่อยเป็นค่อยไปหรืออาจรวดเร็วมากจน เห็นได้ชัดเจนแล้วแต่กรณีไป ซ่ึงผลจากการใช้ประโยชน์ของมนุษย์อาจท�ำให้เกิด การสญู สลายของแหลง่ ธรรมชาตนิ นั้ ได้ ถา้ ปราศจากความเขา้ ใจในการใชท้ รพั ยากรนน้ั ๆ ความสวยงามของแหล่งธรรมชาติที่มีอยู่มากมายในประเทศไทย เปน็ จดุ ดงึ ดดู สำ� คญั ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว แตก่ ารเปดิ พน้ื ทธ่ี รรมชาตเิ พอ่ื เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว อยา่ งรเู้ ท่าไมถ่ งึ การณ์หรอื ขาดการจดั การทด่ี ีท�ำใหแ้ หลง่ ธรรมชาติหลายแหง่ เกดิ ความ เสอื่ มโทรม และสง่ ผลกระทบทางลบต่อการทอ่ งเทย่ี วในทีส่ ดุ ดงั น้ันการกำ� หนดกรอบ หรือเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวที่ชัดเจนส�ำหรับให้หน่วยงานและ ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการดูแลแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติต่างๆ ได้น�ำไปใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบมาตรฐาน แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว เพอ่ื ยกระดบั มาตรฐานในการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วตน จงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั ต่อการจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของประเทศไทย และยังสามารถใช้เป็น ส่ิงบ่งบอกให้นักท่องเที่ยวรับรู้ในคุณภาพของแหล่งท่องเท่ียว และมีส่วนส�ำคัญใน การตัดสินใจเลือกใช้บริการ ซึ่งหมายถึงการเพิ่มข้ึนของรายได้ทางการท่องเท่ียวด้วย รวมท้ังเป็นการเพิ่มมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียวของประเทศไทยให้เป็นที่ยอมรับทั้งใน และต่างประเทศเพ่ิมมากขน้ึ กรมการท่องเที่ยว 1

นยิ ามของค�ำสำ� คญั แหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ (Natural Attraction) หมายถึง สถานที่ ที่เปิดใช้เพื่อการท่องเที่ยว โดยมีทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่ิงดึงดูดใจให้นักท่องเท่ียว มาเยือน ซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติ เหล่าน้ีอาจจะเป็นความงดงามตามสภาพธรรมชาต ิ ความแปลกตาของสภาพธรรมชาติ สัณฐานท่ีส�ำคัญทางธรณีวิทยาและภูมิศาสตร์ อันเป็นเอกลักษณ์หรือเป็นสัญลักษณ์ของท้องถิ่นนั้นๆ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาต ิ ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ (Special Environmental Features) หรอื สภาพแวดลอ้ มทม่ี คี ณุ คา่ ทางวิชาการกไ็ ด้ แหลง่ ท่องเทีย่ วประเภทธรรมชาติมลี ักษณะเฉพาะ คือ เม่อื ถูกทำ� ลายแล้ว ก็จะหมดสภาพไปไม่สามารถฟื้นฟูคืนสู่สภาพเดิมได้โดยง่ายหรือต้องใช้เวลานาน ในการฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิม จึงต้องมีการดูแลรักษาทรัพยากรอย่างดี ทรัพยากร การท่องเท่ียวประเภทน้ีมิได้เกิดขึ้นเพื่อการท่องเที่ยว แต่เป็นการน�ำการท่องเท่ียว เข้าไปผนวกกิจกรรมที่เกิดข้ึน จึงเป็นกิจกรรมท่ีสัมพันธ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ เช่น เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ดูนก/แมลง ส่องสัตว์ เล่นน้�ำตก เป็นต้น มีวัตถุประสงค์ เพอื่ ความเพลดิ เพลนิ และนนั ทนาการในรปู แบบทใ่ี กลช้ ดิ กบั ธรรมชาตแิ ละอาจเสรมิ กจิ กรรม เพ่ือการศึกษาหาความรูเ้ ขา้ ไปดว้ ย มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ (Natural Attraction Standard) หมายถึง แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติท่มี อี งคป์ ระกอบ 3 ประการ คือ คุณค่าของแหล่งธรรมชาติและความเส่ียงต่อการถูกท�ำลาย ศักยภาพในการพัฒนา การท่องเท่ียวและการบริหารจัดการ โดยแต่ละองค์ประกอบจะมีหลักเกณฑ์และ ดัชนีช้ีวัดในการพิจารณาความมีศักยภาพ ความมีประสิทธิภาพและความมีคุณภาพ เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ มาตรฐานของแหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาตินน้ั ด้วย ดชั นี (Index) หมายถงึ ปจั จยั หรอื ตวั แปรทถี่ กู กำ� หนดขน้ึ มาเพอ่ื ใชก้ ำ� หนด คุณลกั ษณะขององค์ประกอบของแหลง่ ท่องเทย่ี ว ตัวชว้ี ดั (Indicator) หมายถึง ปัจจัยหรอื ตัวแปรทก่ี ำ� หนดขนึ้ เพือ่ แสดงถงึ 2 คู่มอื การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ

คุณสมบัติของแต่ละดัชนี ซึ่งตัวชี้วัดในการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว ทางธรรมชาตมิ ีท้ังทอ่ี ยู่ในรปู ของค่าเชิงคณุ ภาพหรอื ในรูปของค่าเชิงปรมิ าณ ประเภทของแหล่งธรรมชาติ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตสิ ามารถจำ� แนกประเภทไดเ้ ปน็ 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. แหลง่ ท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ จำ� แนกตามประเภทของแหลง่ ธรรมชาติ ได้แก่ 1) ชายหาด (Beach) 2) เกาะ (Island) 3) นำ้� ตก (Waterfall) 4) แหลง่ น�้ำ (Water Resource) หมายถงึ พรุ หนอง บึง ทะเลสาบ คลอง ลำ� ธาร และแม่น้ำ� 5) ถ้ำ� (Cave) 6) ภูเขา (Mountain & Hill) 7) แก่ง (Rapid) 8) โป่งพรุ ้อน (Thermal Spring) 9) ซากดกึ ด�ำบรรพ์ (Fossil) 10) ธรณีสัณฐานและภูมิประเทศท่ีมีลักษณะพิเศษ (Special Geography and Topography) 11) ตน้ ไมแ้ ละสตั วป์ า่ ทม่ี ลี กั ษณะพเิ ศษ (Special Plant and Wildlife) 2. แหล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาต ิ จำ� แนกตามการจัดการพืน้ ท่ี ไดแ้ ก่ 1) แหล่งธรรมชาติที่หน่วยงานของรัฐเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ ได้แก่ อุทยานแหง่ ชาติ (National Park) วนอทุ ยาน (Forest Park) เขตรักษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ (Wildlife Sanctuary) เขตหา้ มลา่ สัตวป์ ่า (Non-Hunting Area) สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical Garden) สวนรุกขชาติ (Arboretum) สวนป่าและพันธุ์ไม้ (Forestry Plantations) กรมการทอ่ งเที่ยว 3

2) แหล่งธรรมชาติที่เป็นพ้ืนท่ีสาธารณะประโยชน์ โดยมีองค์กร ปกครองส่วนท้องถนิ่ เปน็ ผดู้ แู ลรับผิดชอบ 3) แหล่งธรรมชาตทิ เี่ อกชนเป็นผูด้ ูแลรบั ผิดชอบ กรอบแนวคดิ และการก�ำหนดเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทยี่ ว ทางธรรมชาติ ประเทศไทยมีแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติที่มีความหลากหลายและ มีความสวยงามมากมาย แต่ปัจจุบันแหล่งท่องเที่ยวเหล่าน้ีบางแห่ง ได้ถูกท�ำลายไปจนหมดสภาพ หรือถูกท�ำลายเสียหายไปเป็นบางส่วน หรืออยู่ในสภาพล่อแหลมต่อการถูกท�ำลาย มิใช่น้อย ดังนนั้ การเขา้ ไปใช้ประโยชน์ด้านการท่องเทย่ี วในแหล่งธรรมชาติจึงมีสง่ิ ที่ ต้องพึงระวังไว้เสมอว่าแหล่งธรรมชาติน้ันสามารถสูญสลายไปได้ และบางแห่งนั้น ยากต่อการฟื้นฟู การเข้าไปใช้ประโยชน์จะต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบต่อ แหลง่ ธรรมชาตนิ ้อยทสี่ ุด ท้งั ยงั ต้องพจิ ารณาถึงกิจกรรมต่างๆ ท่จี ะด�ำเนินการในพ้ืนท่ี แหล่งธรรมชาติอย่างรอบคอบว่าจะมีผลกระทบอย่างไรมากน้อยแค่ไหน มีมาตรการ ในการลดผลกระทบอย่างไร และมีระบบการจัดการให้กิจกรรมท่ีจะเกิดใน แหล่งธรรมชาตินั้น ไม่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของแหล่งธรรมชาต ิ จนเส่ือมสภาพลงไปกวา่ เดิม การก�ำหนดมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติในคร้ังน้ี นอกจากจะ เนน้ ไปทค่ี ณุ คา่ หรอื ความสำ� คญั ของตวั แหลง่ ธรรมชาติ ซง่ึ เปน็ ศกั ยภาพในการดงึ ดดู ใจ ให้นักท่องเท่ียวเข้าไปเย่ียมชมแล้ว ยังพิจารณาถึงความเหมาะสมในการจัดการ ท่องเท่ียวที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศท่ีมีความอ่อนไหว ทั้งในด้าน ความเปราะบางต่อการถูกท�ำลายและศักยภาพในการรองรับด้านการท่องเที่ยว ของแหลง่ ธรรมชาต ิ รวมทง้ั การบรหิ ารจดั การดา้ นการทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื 4 ค่มู อื การตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติ

จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น จึงได้ก�ำหนดองค์ประกอบพื้นฐานส�ำหรับ ประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 ด้าน ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 คุณค่าของแหล่งธรรมชาติและความเสี่ยงต่อการ ถกู ทำ� ลาย คณุ คา่ หรอื ความสำ� คญั ของแหลง่ ธรรมชาติ เกดิ ขน้ึ จากหลายองคป์ ระกอบ ทงั้ ในดา้ นความสำ� คญั ของแหลง่ ธรรมชาตทิ ม่ี ตี อ่ ระบบนเิ วศและความสำ� คญั ตอ่ มนษุ ย์ ทง้ั จากการเขา้ ไปใชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ ธรรมชาติ คณุ คา่ ทางดา้ นการเรยี นรู้ และคณุ คา่ ทางดา้ นจิตใจ การประเมินคณุ ค่าของแหล่งธรรมชาตปิ ระกอบดว้ ยปจั จยั หลกั 3 ด้าน คือ คณุ คา่ ทางดา้ นชวี ภาพ คณุ คา่ ทางด้านกายภาพ และคณุ ค่าทางสังคม ความเสยี่ งตอ่ การถกู ทำ� ลาย คอื ภาวะทป่ี จั จยั ตา่ งๆ ทอี่ ยรู่ อบๆ สงิ่ แวดลอ้ ม ธรรมชาติส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติด้านใดด้านหนึ่ง ปัจจัยต่างๆ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติน้ัน อาจมาจากภัยธรรมชาต ิ ท่ีมนุษย์ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าหรือคาดการณ์ล่วงหน้าได้ แต่ไม่สามารถ ยับยั้งภัยธรรมชาตินั้นได้ และอีกประการหน่ึงเกิดจากการกระท�ำของมนุษย ์ ซ่ึงอาจจะต้ังใจหรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ส่งผลท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงในด้านลบ ข้ึนกับสิ่งแวดล้อมได้ ตัวอย่างเช่น ปะการังในทะเลอันดามันบางบริเวณท่ีเคย อุดมสมบูรณ์ แต่ปัจจุบันเส่ือมโทรมลงไปมาก เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ขิ องนำ้� การเกบ็ ปะการงั มาขาย การทอดสมอเรอื การประมง กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวใตน้ �ำ้ เป็นต้น ในการประเมินคุณค่าของแหล่งธรรมชาติและความเสี่ยงต่อการถูกท�ำลาย มหี ลักเกณฑท์ ใี่ ชพ้ จิ ารณา 4 ด้าน ได้แก่ 1. คุณค่าทางด้านชีวภาพ ประกอบด้วย 4 ดัชนีช้ีวัด ได้แก่ 1) ความ หลากหลายของระบบนเิ วศในแหลง่ ธรรมชาติ 2) ความอดุ มสมบรู ณข์ องแหลง่ ธรรมชาติ 3) ความเป็นแหล่งรวมพืชหรือสัตว์ท่ีมีลักษณะโดดเด่น หายาก ใกล้สูญพันธุ์ หรือ มีจำ� นวนมาก 4) ความโดดเด่นเฉพาะตัวของระบบนเิ วศในแหลง่ ธรรมชาติ กรมการท่องเที่ยว 5

2. คุณค่าทางกายภาพ ประกอบด้วย 4 ดัชนีชี้วัด ได้แก่ 1) จ�ำนวน ประเภทของแหล่งธรรมชาติภายในแหล่งท่องเที่ยว 2) ขนาดของแหล่งธรรมชาต ิ 3) สภาพความสวยงามทางกายภาพและสภาพภูมิทัศน์ของแหล่งธรรมชาต ิ 4) ความเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัวทางกายภาพของพื้นท่ี 3. คุณค่าทางสังคม ประกอบด้วย 2 ดัชนีชี้วดั ได้แก่ 1) คุณคา่ ต่อวถิ ีชีวิต ความเป็นอยู่ของชุมชนท้องถิ่น 2) คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ประเพณี และ วฒั นธรรม 4. ความเส่ียงต่อการถูกท�ำลาย ประกอบด้วย 2 ดัชนีช้ีวัด ได้แก ่ 1) ความเส่ียงต่อการถูกท�ำลายโดยมนุษย์ 2) ความเส่ียงต่อการถูกท�ำลายจาก ภัยธรรมชาติ องค์ประกอบที่ 2 ศกั ยภาพในการพฒั นาการท่องเท่ียว ศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยว หมายถึง องค์ประกอบต่างๆ ท่ีมี ส่วนช่วยเสริมแหล่งธรรมชาติน้ันๆ ให้มีความส�ำคัญ มีความเหมาะสมในการจัดการ ท่องเท่ียว ตัวอย่างเช่น แหล่งธรรมชาติอาจมีสภาพธรรมชาติท่ีสวยงามมาก แต่ขาดความสะดวกในการเข้าถึง หรือเส้นทางเข้าแหล่งท่องเท่ียวไม่ปลอดภัย ทำ� ใหน้ กั ท่องเท่ยี วไม่นิยมเข้าไปทอ่ งเที่ยว ส�ำหรบั ศกั ยภาพในการพฒั นาการทอ่ งเท่ียว มีดัชนชี ี้วัดท่ีใช้พิจารณา 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) ศักยภาพในการจัดกิจกรรมการท่องเทยี่ ว 2) การเข้าถึงแหลง่ ธรรมชาติ 3) ความปลอดภัยด้านการท่องเทีย่ ว 4) ศกั ยภาพในการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกข้ันพนื้ ฐาน 5) ศกั ยภาพในการพฒั นาการท่องเท่ียวจากปจั จยั ภายนอก องค์ประกอบท่ี 3 การบริหารจัดการ การบรหิ ารจดั การแหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ หมายถงึ ความสามารถ ในการควบคุมดูแลการด�ำเนินงานการจัดการแหล่งท่องเท่ียว โดยมีองค์ประกอบ ที่เก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ 6 คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ

1) การจัดการท่องเท่ียวเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ประกอบด้วย การจัดการ ด้านการอนุรักษ์แหล่งธรรมชาติ การจัดการด้านส่ิงแวดล้อมและการจัดการด้านการ ทอ่ งเทยี่ ว 2) การจัดการด้านการให้ความรู้และการสร้างจิตส�ำนึก โดยพิจารณา จากการด�ำเนินงานขององค์กรที่ดูแลรับผิดชอบพื้นท่ีในการสร้างเสริมจิตส�ำนึกและ การเรยี นรใู้ นเรอื่ งคณุ คา่ ของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบนเิ วศและการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม แก่นักท่องเที่ยว เจ้าหน้าท่ีดูแลพ้ืนที่ ผู้ประกอบการและชุมชนท้องถิ่นท่ีอยู่โดยรอบ แหล่งท่องเที่ยว 3) การจัดการด้านเศรษฐกิจและสังคม พิจารณาจากการมีส่วนร่วม ของชุมชนในกิจกรรมการท่องเท่ียว โดยการเปิดโอกาสให้ประชาชน หรือชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการคิด การพิจารณาตัดสินใจ การด�ำเนินการและร่วมรับผิดชอบ ในเรอ่ื งต่างๆ ท่ีจะมผี ลกระทบตอ่ ประชาชนหรอื ชมุ ชนนั้นๆ รวมท้ังการกระจายรายได้ หรอื ผลประโยชนส์ ู่ท้องถิ่น การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในประเทศไทย สามารถ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ตามหน่วยงานหรอื องค์กรท่ีรับผิดชอบ ไดแ้ ก่ • แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทบี่ รหิ ารจดั การโดยหนว่ ยงานกลาง เชน่ อทุ ยานแหง่ ชาติ วนอุทยานเขตรกั ษาพันธ์ุสัตว์ป่า เป็นต้น • แหล่งท่องเท่ียวท่ีบริหารจัดการโดยท้องถ่ิน เช่น องค์การบริหาร สว่ นต�ำบล เทศบาล เปน็ ต้น ข้อแตกต่างระหว่างแหล่งท่องเที่ยวที่ดูแลโดยหน่วยงานกลางและ แหล่งท่องเท่ียวท่ีดูแลโดยท้องถ่ิน คือ แหล่งท่องเท่ียวท่ีหน่วยงานกลางดูแลจะม ี นโยบาย แผนงานและโครงการในการจัดการดา้ นการอนุรักษ์แหลง่ ธรรมชาตทิ ชี่ ัดเจน รวมถึงในด้านงบประมาณและบุคลากร แต่แหล่งท่องเที่ยวท่ีดูแลโดยท้องถิ่นส่วนมาก มกั จะขาดระบบการจัดการดา้ นส่ิงแวดลอ้ มในระยะยาว ท�ำให้แหล่งท่องเที่ยวมโี อกาส ทจี่ ะเสอื่ มโทรมไดง้ า่ ยกวา่ อยา่ งไรกต็ าม แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทบี่ รหิ ารจดั การโดยหนว่ ยงาน ทอ้ งถน่ิ สามารถเปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนทอ้ งถน่ิ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การพนื้ ที่ ของตนไดม้ ากกว่า รวมทงั้ เป็นการสรา้ งรายได้ใหแ้ กช่ ุมชนทอ้ งถิน่ อีกด้วย กรมการท่องเทีย่ ว 7

หลกั เกณฑท์ ใ่ี ชป้ ระเมนิ การบรหิ ารจดั การของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ประกอบด้วย 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. การจดั การดา้ นการอนรุ กั ษแ์ หลง่ ธรรมชาตแิ ละการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย 5 ดชั นชี ว้ี ดั ไดแ้ ก่ 1) การจดั การดา้ นการใชป้ ระโยชนข์ องตวั แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว 2) การจดั การดา้ นการตดิ ตามและการประเมนิ การเปลยี่ นแปลงของพน้ื ทอี่ นั เนอ่ื งมาจาก การทอ่ งเทย่ี ว 3) การจดั การของเสยี และสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณโดยรอบแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว 4) การจัดการด้านกิจกรรมการท่องเท่ียวที่เหมาะสม 5) การให้ความรู้ถึงคุณค่าของ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วและการอนรุ กั ษก์ บั พนกั งานนำ� เทยี่ วนกั ทอ่ งเทยี่ ว และชมุ ชนทอี่ ยโู่ ดยรอบ พ้ืนท่ี 2. การจัดการด้านการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 4 ดัชนีชี้วัด ได้แก่ 1) การจัดการด้านการบริการและสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานแก่นักท่องเท่ียว 2) มีศูนย์บริการท่ีให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวและความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว 3) มีบุคลากรที่มีความรู้เร่ืองระบบนิเวศและการอนุรักษ์ให้บริการด้านความรู ้ แก่นักทอ่ งเทยี่ วผ้ปู ระกอบการและชุมชนโดยรอบ 4) การมีสว่ นร่วมของชมุ ชนท้องถิน่ การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ การตรวจประเมนิ มาตรฐานแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตสิ ามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 กรณี ตามลกั ษณะการบรหิ ารจัดการดา้ นการท่องเทย่ี วของพ้นื ท่ีธรรมชาติ ไดแ้ ก่ กรณีท่ี 1 การประเมินแหล่งธรรมชาติท่ียังไม่มีการบริหารจัดการด้าน การทอ่ งเทย่ี ว กรณที ่ี 2 การประเมินแหล่งธรรมชาติที่มีการบริหารจัดการด้านการ ทอ่ งเทย่ี ว กรณที ี่ 1 การประเมินแหลง่ ธรรมชาติทีย่ งั ไม่มีการบรหิ ารจดั การดา้ นการท่องเทย่ี ว แหล่งธรรมชาติที่ยังไม่มีการด�ำเนินการด้านการท่องเที่ยวหรือจัดกิจกรรม ดา้ นการทอ่ งเทยี่ ว ในกรณที ผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบดแู ลพน้ื ทน่ี น้ั มคี วามประสงคท์ จ่ี ะทราบวา่ พนื้ ที่ 8 คมู่ ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเท่ียวทางธรรมชาติ

ของตนมศี กั ยภาพหรอื ความดงึ ดดู ใจในการทจี่ ะพฒั นาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ หรอื ไม่ กส็ ามารถทจี่ ะนำ� แบบตรวจประเมนิ ไปใชป้ ระเมนิ พน้ื ทธี่ รรมชาตไิ ด้ โดยทำ� การ ประเมินเฉพาะองค์ประกอบด้านคุณค่าของแหล่งธรรมชาติและความเสี่ยงต่อการ ถูกท�ำลายซงึ่ มเี กณฑใ์ นการพิจารณา 4 ด้าน ไดแ้ ก่ เกณฑ์ คะแนน 1) คุณคา่ ทางด้านชวี ภาพ 10 2) คณุ ค่าทางกายภาพ 10 3) คุณคา่ ทางสังคม 10 4) ความเส่ยี งต่อการถกู ทำ� ลาย 10 รวม 40 ท้ังนี้ เกณฑแ์ ต่ละขอ้ จะมีค่าคะแนนเท่ากบั 10 คะแนน ซ่งึ แหลง่ ธรรมชาติ ทม่ี ศี ักยภาพเปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติจะตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ �ำ่ กวา่ 20 คะแนน หรือได้คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้นึ ไป แต่ถา้ แหล่งธรรมชาตไิ ดค้ ะแนนต�่ำกวา่ 20 คะแนน แสดงวา่ พน้ื ทนี่ น้ั ขาดความดงึ ดดู ใจหรอื มศี กั ยภาพตำ่� ในการพฒั นาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ทางธรรมชาติ กรณีที่ 2 การประเมนิ แหลง่ ธรรมชาตทิ มี่ กี ารบรหิ ารจัดการด้านการท่องเท่ียว แหล่งธรรมชาติที่มีการด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยวหรือจัดกิจกรรมด้าน การทอ่ งเทย่ี วอยใู่ นปจั จบุ นั ถา้ ประสงคจ์ ะขอรบั การตรวจประเมนิ จะตอ้ งทำ� การประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเที่ยวทางธรรมชาตทิ ้งั 3 องคป์ ระกอบ โดยการให้คะแนน จะให้ความส�ำคัญกับองค์ประกอบด้านคุณค่าของแหล่งธรรมชาติและความเส่ียง ตอ่ การถกู ทำ� ลายมากทส่ี ดุ เนอื่ งจากเปน็ สงิ่ ดงึ ดดู ใจสำ� คญั สำ� หรบั ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วเขา้ ไป เท่ียวชม ส่วนองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการมีความส�ำคัญของคะแนนรองลงมา และองค์ประกอบด้านศักยภาพในการพัฒนาการท่องเท่ียวมีความส�ำคัญของคะแนน น้อยทสี่ ุด รายละเอยี ดของคา่ คะแนนเต็มในแต่ละองคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ กรมการท่องเที่ยว 9

องคป์ ระกอบในการประเมนิ มาตรฐาน คะแนนเต็ม คณุ ภาพแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ 1. คุณคา่ ของแหล่งธรรมชาตแิ ละความเสย่ี งตอ่ การถกู ทำ� ลาย 40 2. ศักยภาพในการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี ว 25 3. การบรหิ ารจัดการ 35 รวม 100 วิธีการใหค้ ะแนน การใหค้ ะแนนมี 2 วิธีคือ วิธที ี่ 1 การให้คะแนนโดยพิจารณาว่าแหล่งท่องเท่ียวมีคุณสมบัติตรง กับดัชนีชี้วัดข้อใดมากที่สุด และจะให้ค่าคะแนนในข้อท่ีเห็นว่าแหล่งท่องเที่ยวควรได ้ ในข้อนนั้ เพยี งขอ้ เดยี ว ทั้งน้จี ะมคี า่ การให้คะแนน ตง้ั แต่ 0 คะแนน ถงึ 5 คะแนน หรอื 1 คะแนน ถึง 5 คะแนน โดยให้ผู้ประเมนิ ท�ำเคร่ืองหมาย รอบหมายเลขท่ตี อ้ งการ ในช่องคะแนน (A) ตัวอย่างการให้คะแนนแบบวธิ ีท่ี 1 คะแนน (A) 1.1.2 ความสมบรู ณข์ องแหล่งธรรมชาติ 1 2 • มีระบบนิเวศ 1 ประเภท 3 • มีระบบนเิ วศ 2 ประเภท 4 • มีระบบนิเวศ 3 ประเภท 5 • มรี ะบบนิเวศ 4 ประเภท 4 • มรี ะบบนเิ วศ 4 ประเภทขึน้ ไป คะแนนท่ไี ด้ 10 คมู่ ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ

ตวั อยา่ งการใหค้ ะแนนในดชั นชี วี้ ดั หวั ขอ้ ความสมบรู ณข์ องแหลง่ ธรรมชาติ ประเมินไดว้ า่ แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาตินน้ั มีคุณสมบตั ติ รงกบั ข้อ “มรี ะบบนเิ วศ 4 ประเภท” ซึ่งมีคา่ คะแนนเทา่ กบั 4 วธิ ีท่ี 2 การใหค้ ะแนนโดยพจิ ารณาวา่ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วนนั้ มคี ณุ สมบตั ติ รง กบั ดชั นชี ว้ี ดั ขอ้ ใดบา้ ง โดยดชั นชี ว้ี ดั 1 ขอ้ จะมคี า่ เทา่ กบั 1 คะแนน หากไมม่ คี ณุ สมบตั ิ ตรงกับดัชนีชี้วัดใดเลย จะมีค่าเท่ากับ 0 คะแนน หากมีคุณสมบัติตรงแต่ไม่ได ้ ด�ำเนินการหรือไม่มีประสิทธิภาพจะมีค่าเท่ากับ 0.5 คะแนน หากมีคุณสมบัติครบ ทุกขอ้ จะมคี า่ เท่ากบั 5 คะแนน โดยให้ผปู้ ระเมนิ ทำ� เครื่องหมาย รอบหมายเลข ท่ีต้องการในชอ่ งคะแนน (A) ตวั อย่างการให้คะแนนแบบวิธที ี่ 2 3.1.3 การจัดการของเสียและสภาพแวดล้อมบริเวณโดยรอบแหล่งท่องเที่ยว (5 คะแนน) หากไม่มีคุณสมบัติตามที่ระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรอื ไม่มีประสทิ ธิภาพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมคี ุณสมบัติตรง ให้ 1 คะแนน ดชั นี คะแนน (A) • มีระบบการจัดการน�้ำเสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 0 0.5 1 • มรี ะบบการจัดการขยะทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ 0 0.5 1 • มรี ะบบการจดั การดา้ นคณุ ภาพอากาศและเสยี ง 0 0.5 1 • มกี ารใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ทีป่ ระหยัดพลงั งาน 0 0.5 1 • มนี โยบายลดปรมิ าณการใชน้ ้ำ� 0 0.5 1 คะแนนทีไ่ ด้ 3 กรมการท่องเทย่ี ว 11

ตวั อยา่ งการใหค้ ะแนนในดชั นชี ว้ี ดั หวั ขอ้ การจดั การของเสยี และสภาพแวดลอ้ ม บริเวณโดยรอบแหล่งท่องเที่ยว ประเมินได้ว่า แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาตินั้น มคี ณุ สมบตั ติ รง 2 ขอ้ (ขอ้ 4 และ 5) โดยแตล่ ะขอ้ มคี า่ เทา่ กบั 1 คะแนน และมคี ณุ สมบตั ิ ตรงแต่ไม่ได้ด�ำเนินการหรือไม่มีประสิทธิภาพ 2 ข้อ (ข้อ 1 และ 2) โดยแต่ละข้อ มีคา่ เท่ากบั 0.5 คะแนน ฉะน้นั การประเมินในเกณฑ์นไ้ี ด้ 3 คะแนน วิธีการคดิ คะแนน คา่ น้�ำหนัก ค่าน�้ำหนัก มี 2 ค่า คือ 0.5 และ 1 ซ่ึงค่าน้�ำหนักท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้สอดคล้องกับค่าคะแนนเต็มที่ก�ำหนดไว้ในแต่ละองค์ประกอบซ่ึงมีจ�ำนวน ดัชนชี ี้วดั ทใี่ ช้ในการพิจารณาแตกตา่ งกนั ดงั นัน้ ค่านำ้� หนกั ทใี่ ห้ในแต่ละเกณฑจ์ ึงไมไ่ ด้ บง่ ชถ้ี ึงความสำ� คัญของดชั นชี ้ีวัดนน้ั ๆ การคดิ คะแนน น�ำคะแนนคณู กับค่าน้�ำหนกั จะได้เปน็ คา่ คะแนนที่ได้ ค่าคะแนนท่ีได้ = คะแนน x ค่าน�้ำหนกั 12 คมู่ ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ

ตวั อย่างของการคิดคะแนน 1.1.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศในแหลง่ ธรรมชาติ (2.5 คะแนน) ดัชนี คะแนน คา่ น�้ำหนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มีระบบนิเวศ 1 ประเภท 1 0.5 2 • มรี ะบบนิเวศ 2 ประเภท 2 0.5 • มรี ะบบนิเวศ 3 ประเภท 3 0.5 • มีระบบนิเวศ 4 ประเภท 4 0.5 • มีระบบนเิ วศ 4 ประเภทขึน้ ไป 5 0.5 คะแนนท่ีได้ 2 การกำ� หนดระดบั มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ การก�ำหนดระดับมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว จะน�ำคะแนนท่ีได ้ ไปเทียบระดับมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ซ่ึงระดับมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาต ิ ไดแ้ สดงไวด้ งั ตารางข้างลา่ ง ค่าคะแนน ระดบั มาตรฐาน สัญลกั ษณ์ 81 ข้ึนไป ดเี ยีย่ ม 71 - 80 ดีมาก 61 - 70 51 - 60 ดี 50 หรือนอ้ ยกว่า ปานกลาง ต�่ำ กรมการท่องเท่ยี ว 13

ตวั อยา่ ง การตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ผลการตรวจประเมินถ�้ำน�้ำลอด อำ� เภอปางมะผ้า จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน ผลการทดสอบแบบตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ บริเวณถ้�ำนำ้� ลอด อำ� เภอปางมะผ้า จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน โดยทมี งานซ่ึงอยใู่ นความดูแล ของอทุ ยานแหง่ ชาติ ถ้�ำน�้ำลอด มีรายละเอยี ดดงั น้ี 1. คุณค่าของแหล่งธรรมชาติ คะแนนเตม็ 40 คะแนน 1.1 คุณคา่ ทางดา้ นชีวภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 1.1.1 ความหลากหลายของระบบนเิ วศในแหล่งธรรมชาติ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากจ�ำนวนของระบบนิเวศในแหล่งธรรมชาติ ทั้งน้ีตัวอย่างของ ระบบนิเวศ ไดแ้ ก่ ระบบนเิ วศน้ำ� ไหล ระบบนเิ วศนำ�้ นิ่ง ระบบนเิ วศปา่ ดบิ เขา ระบบนเิ วศ ปา่ เตง็ รงั ระบบนเิ วศทงุ่ หญา้ ระบบนเิ วศถำ้� ระบบนเิ วศปา่ ชายเลน ระบบนเิ วศปา่ ชายหาด ระบบนเิ วศหาดหนิ ระบบนิเวศหาดทราย ระบบนเิ วศหาดเลน ฯลฯ ดชั นี คะแนน ค่านำ�้ หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มรี ะบบนิเวศ 1 ประเภท 1 0.5 1.5 • มรี ะบบนิเวศ 2 ประเภท 2 0.5 • มีระบบนิเวศ 3 ประเภท 3 0.5 • มรี ะบบนเิ วศ 4 ประเภท 4 0.5 • มีระบบนเิ วศ 4 ประเภทข้ึนไป 5 0.5 คะแนนที่ได้ 1.5 14 คู่มอื การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

1.1.2 ความสมบรู ณข์ องแหลง่ ธรรมชาติ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ แหล่งธรรมชาติท่ีมีคุณภาพดีควรที่จะมีสภาพความเป็นธรรมชาติที่สมบูรณ์ และไดร้ ับการรบกวนจากมนุษยน์ อ้ ยที่สุด ดัชนี คะแนน ค่านำ�้ หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • แหล่งธรรมชาตถิ ูกทำ� ลายไปจนหมด และมสี ิ่งก่อสรา้ ง 0 0.5 2 ตา่ งๆ แทนท่ี 1 0.5 • แหล่งธรรมชาติส่วนใหญ่ถูกท�ำลายคงเหลือน้อย 2 0.5 บริเวณที่ยังคงสภาพธรรมชาติ 3 0.5 • แหลง่ ธรรมชาตสิ ่วนใหญถ่ ูกท�ำลาย แต่มมี ากบรเิ วณ ท่ียงั คงสภาพธรรมชาติ 4 0.5 • แหลง่ ธรรมชาตคิ งสภาพในระดับปานกลาง โดยพื้นท ี่ 5 0.5 กึ่งหน่ึงถูกรบกวนหรือดัดแปลงจากการกระท�ำ ของมนุษย์ • แหล่งธรรมชาติส่วนใหญ่คงสภาพดี แต่มีร่องรอย การรบกวนจากมนุษยบ์ า้ ง • แหลง่ ธรรมชาตยิ งั คงสภาพสมบูรณ์ ไม่มีการรบกวน จากมนุษย์ คะแนนท่ีได ้ 2 กรมการทอ่ งเที่ยว 15

1.1.3 ความเป็นแหล่งรวมพืชหรือสัตว์ท่ีมีลักษณะโดดเด่น หายาก ใกล้สูญพันธุ์ หรือมจี ำ� นวนมาก (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการทพ่ี ืน้ ทีม่ สี ตั วห์ รือพืชชนิดใดชนิดหน่ึงจ�ำนวนมาก หรอื มชี นดิ ทห่ี ายาก หรอื ใกลส้ ญู พนั ธท์ุ สี่ ามารถพบเหน็ ไดน้ อ้ ยแหง่ ในประเทศไทย ซง่ึ จะเปน็ สง่ิ ดงึ ดดู นักทอ่ งเทย่ี วให้เข้าไปเที่ยวชมได้เป็นอยา่ งดี ดชั นี คะแนน ค่านำ้� หนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • แหล่งธรรมชาติมีสัตว์หรือพืชประเภทที่สามารถ 1 0.5 พบได้ท่ัวไปในประเทศไทย 2 0.5 • แหล่งธรรมชาติมีสัตว์หรือพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง 3 0.5 1.5 จำ� นวนมาก หรอื มชี นดิ ทีห่ ายาก หรือใกล้สญู พันธ์ุ ทพ่ี บไดใ้ นแหล่งธรรมชาติบางแห่งในประเทศไทย 4 0.5 • แหล่งธรรมชาติมีสัตว์หรือพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง จำ� นวนมากหรือมชี นดิ ที่หายาก หรือใกลส้ ูญพันธ์ุ 5 0.5 ประเภททพี่ บได้นอ้ ยแหง่ ในประเทศไทย แต่โอกาส ที่จะพบเหน็ มีน้อย • แหล่งธรรมชาติมีสัตว์หรือพืชชนิดใดชนิดหนึ่ง จ�ำนวนมากหรือมชี นิดทห่ี ายาก หรือใกลส้ ูญพันธุ์ ประเภทท่พี บได้น้อยแห่งในประเทศไทยและโอกาส ท่ีจะพบเหน็ มมี าก • แหล่งธรรมชาติมีสัตว์หรือพืชชนิดใดชนิดหน่ึง จ�ำนวนมากหรอื มชี นิดที่หายาก หรอื ใกลส้ ญู พนั ธุ์ ประเภททีพ่ บไดน้ ้อยแหง่ ในประเทศไทย โอกาสท่ี จะพบเหน็ มีมากและนักท่องเทยี่ วมคี วามประสงค์ ทีจ่ ะไปชมส่งิ ดงั กลา่ ว คะแนนที่ได้ 1.5 16 คู่มอื การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเท่ยี วทางธรรมชาติ

1.1.4 ความโดดเด่นเฉพาะตวั ของระบบนเิ วศในแหลง่ ธรรมชาติ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากความเป็นระบบนิเวศที่หายากและมีจ�ำนวนน้อยแห่ง ในประเทศไทย เช่น ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ป่าเสม็ด บริเวณเกาะพระทอง ระบบนิเวศ ป่าสกั ทอง อุทยานแหง่ ชาตแิ ม่ยม เป็นตน้ ดชั นี คะแนน ค่าน�้ำหนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มีระบบนิเวศที่มีความโดดเด่น ประเภทที่สามารถ 1 0.5 1.5 พบไดท้ ั่วไปในประเทศไทย 2 0.5 • มีระบบนิเวศที่มีความโดดเด่น ประเภทท่ีสามารถ 3 0.5 พบไดใ้ นแหลง่ ธรรมชาตบิ างแห่งในประเทศไทย 4 0.5 • มีระบบนเิ วศทมี่ ีความโดดเด่น ประเภทที่พบได้น้อยแหง่ ในประเทศไทย 5 0.5 • มรี ะบบนเิ วศท่มี คี วามโดดเด่น ประเภททีพ่ บได้นอ้ ยแหง่ แหง่ ในประเทศไทยและนักท่องเทย่ี วมีความประสงค์ ท่ีจะไปชม • มีระบบนิเวศที่มีความโดดเด่น ประเภทที่พบเพียง แห่งเดียวในประเทศไทยและนักท่องเท่ียวมีความ ประสงคท์ จี่ ะไปชมมาก คะแนนที่ได ้ 1.5 คะแนนรวมขอ้ 1.1 (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 6.5 กรมการท่องเท่ียว 17

1.2 คณุ ค่าทางกายภาพ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1.2.1 จ�ำนวนประเภทของแหล่งธรรมชาติภายในแหล่งทอ่ งเที่ยว (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากจ�ำนวนประเภทของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ท่ีก�ำหนดไว้ โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (2545) ได้แก่ เกาะ แก่ง ภูเขา ถ้�ำ น�้ำตก โปง่ พุร้อน ทะเลสาบ หนอง บงึ หาดทราย หาดหนิ แหล่งท่ีมซี ากดึกดำ� บรรพ์ (พืช และสตั ว์) และสณั ฐานอน่ื ๆ ทมี่ ีความส�ำคัญทางธรณสี ัณฐานวิทยาและภมู ิลักษณวรรณนา ดัชนี คะแนน ค่าน้ำ� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มแี หล่งธรรมชาติจ�ำนวน 1 ประเภท 1 0.5 1.5 • มีแหล่งธรรมชาติจ�ำนวน 2 ประเภท 2 0.5 • มีแหลง่ ธรรมชาติจำ� นวน 3 ประเภท 3 0.5 • มีแหลง่ ธรรมชาติจำ� นวน 4 ประเภท 4 0.5 • มีแหลง่ ธรรมชาติจ�ำนวนมากกว่า 4 ประเภทข้นึ ไป 5 0.5 คะแนนทไี่ ด ้ 1.5 18 คมู่ ือการตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทย่ี วทางธรรมชาติ

1.2.2 ขนาดของแหลง่ ธรรมชาติ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ แหลง่ ธรรมชาตทิ มี่ ขี นาดใหญจ่ ะมศี กั ยภาพสงู เหมาะสมตอ่ การอนรุ กั ษช์ นดิ พนั ธ์ุ ของสตั วแ์ ละพชื ทสี่ ำ� คญั ตอ่ ระบบนเิ วศใหส้ ามารถมวี วิ ฒั นาการและรกั ษาความหลากหลาย ทางพนั ธกุ รรมได้ อกี ทง้ั แหลง่ ธรรมชาตทิ ม่ี ขี นาดใหญจ่ ะมคี วามเสยี่ งตอ่ การถกู ทำ� ลายนอ้ ย มโี อกาสฟนื้ ตวั กลบั สู่สภาพเดิมสูง ดชั นี คะแนน คา่ น�ำ้ หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีขนาดพน้ื ท่ี 1 - 10 ตารางกิโลเมตร 1 0.5 1.5 • มขี นาดพน้ื ที่ 11 - 50 ตารางกโิ ลเมตร 2 0.5 • มขี นาดพื้นที่ 51 - 100 ตารางกโิ ลเมตร 3 0.5 • มขี นาดพนื้ ที่ 101 - 500 ตารางกิโลเมตร 4 0.5 • มขี นาดพน้ื ทมี่ ากกว่า 500 ตารางกโิ ลเมตร 5 0.5 คะแนนท่ีได้ 1.5 กรมการท่องเทย่ี ว 19

1.2.3 สภาพความสวยงามทางกายภาพและสภาพภูมิทัศน์ของแหล่งธรรมชาติ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากลักษณะและองค์ประกอบของพื้นที่ท่ีประกอบกันข้ึนเป็น สภาพทิวทัศน์ตามธรรมชาติที่ปรากฏแก่สายตา ท้ังน้ีพิจารณาจากความสวยงามของ แหลง่ ธรรมชาตแิ ละสภาพภมู ทิ ศั น์โดยรอบแหล่งธรรมชาติด้วย ดัชนี คะแนน คา่ นำ้� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มคี วามสวยงามน้อยมาก 1 0.5 2 • มีความสวยงามนอ้ ย 2 0.5 • มคี วามสวยงามปานกลาง 3 0.5 • มีความสวยงามมาก 4 0.5 • มีความสวยงามมากที่สุด 5 0.5 คะแนนท่ไี ด้ 2 20 คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาติ

1.2.4 ความเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละโดดเดน่ เฉพาะตวั ทางกายภาพของพน้ื ท่ี (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากลักษณะเด่นแปลกตาที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทางกายภาพ ของพ้ืนที่และจ�ำนวนที่แพร่หลายในประเทศไทย เช่น ถ้�ำที่มีหินงอกหินย้อยรูปทรง แปลกตา ภเู ขารูปร่างโดดเดน่ ดัชนี คะแนน ค่านำ�้ หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีลักษณะเด่น ประเภทท่ีสามารถพบได้ทั่วไป 1 0.5 1.5 ในประเทศไทย 2 0.5 • มลี ักษณะเดน่ ประเภทท่สี ามารถพบได้ 3 0.5 ในแหล่งธรรมชาติบางแห่งในประเทศไทย 4 0.5 • มีลักษณะเดน่ ประเภททพ่ี บไดน้ อ้ ยแหง่ ในประเทศไทย 5 0.5 • มีลักษณะเด่น ประเภทที่พบได้เพียงแห่งเดียวใน ประเทศไทย • มีลักษณะเด่น ประเภทที่พบเพียงแห่งเดียว ในประเทศไทยและปัจจบุ ันนักท่องเท่ยี วมคี วามประสงค์ ท่จี ะไปชมจ�ำนวนมาก คะแนนท่ีได ้ 1.5 คะแนนรวมขอ้ 1.2 (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 6.5 กรมการทอ่ งเที่ยว 21

1.3 คณุ ค่าทางสงั คม คะแนนเตม็ 10 คะแนน 1.3.1 คณุ คา่ ต่อวถิ ีชีวติ ความเป็นอยู่ของชุมชนทอ้ งถิน่ (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการมีชุมชนดั้งเดิมอาศัยอยู่ในพื้นที่ธรรมชาติ แหล่งธรรมชาต ิ มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชุมชนหรือการที่ชุมชนต้องพึ่งพาธรรมชาติในบริเวณน้ัน เชน่ เป็นแหล่งอาหารและแหลง่ ประกอบอาชีพ ดัชนี คะแนน ค่าน�้ำหนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • แหล่งธรรมชาติไม่มคี วามสัมพนั ธ์กบั วถิ ีชวี ติ ของชุมชน 0 1 5 และไมพ่ บหลกั ฐานการตงั้ ถนิ่ ฐานของมนุษย์ 1 1 • แหล่งธรรมชาตไิ ม่มคี วามสมั พันธ์กบั วถิ ีชีวิตของชมุ ชน แต่พื้นทีส่ ว่ นหน่ึงมีหลกั ฐานการตง้ั ถ่ินฐานหรือการใช้ 2 1 ประโยชนโ์ ดยชุมชนในอดีต 3 1 • แหลง่ ธรรมชาติมคี วามสัมพันธ์กับวถิ ชี ีวติ ของชุมชน ทอี่ าศยั อย่ภู ายในและโดยรอบพ้นื ท่ใี นระดบั ต่�ำ 4 1 • แหลง่ ธรรมชาติมีความสมั พนั ธก์ ับวิถีชีวิตของชมุ ชน ระดับปานกลางโดยชุมชนใช้ทรัพยากรส่วนหนึ่ง 5 1 จากแหลง่ ธรรมชาตแิ ละสว่ นหนง่ึ จากภายนอก • แหลง่ ธรรมชาตมิ ีความสมั พนั ธ์กบั วถิ ชี ีวติ ของชุมชน คอ่ นข้างมากโดยชมุ ชนยงั ใช้ทรัพยากรจากภายนอก อยบู่ ้าง แต่อย่ใู นระดบั ท่ีจำ� กัด • แหลง่ ธรรมชาตมิ ีความสัมพนั ธก์ ับวถิ ชี วี ติ ของชมุ ชน อย่างเห็นได้ชัด โดยชุมชนมีวิถีชีวิตที่ต้องพึ่งพา ธรรมชาตใิ นบริเวณนั้นเป็นหลัก อาจเปน็ ชุมชนท่ีอยู่ มาดั้งเดิมในพื้นที่ หรือมีหลักฐานการต้ังถิ่นฐาน หรอื เปน็ แหล่งวฒั นธรรมในอดีต คะแนนทไี่ ด้ 5 22 คู่มอื การตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทางธรรมชาติ

1.3.2 คณุ ค่าทางด้านประวตั ศิ าสตร์ ประเพณี และวฒั นธรรม (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากความสัมพันธ์ของแหล่งธรรมชาติกับประวัติศาสตร์ ประเพณี และวฒั นธรรมของชุมชนท้องถ่นิ เช่น มคี วามเชื่อ ตำ� นาน นิทานพน้ื บา้ น นิทานปรัมปรา ดชั นี คะแนน ค่านำ้� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • แหลง่ ธรรมชาติไมม่ ีความส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ 0 1 4 ประเพณีและวฒั นธรรมตอ่ ชุมชนทอ้ งถิน่ เลย 1 1 • แหล่งธรรมชาติมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ 2 1 ประเพณีและวัฒนธรรมต่อคนในชุมชนน้อยมาก 3 1 โดยชมุ ชนไมค่ ่อยให้ความสนใจในสง่ิ ดงั กล่าว 4 1 • แหล่งธรรมชาติมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ประเพณแี ละวฒั นธรรมตอ่ คนในชมุ ชนนอ้ ย มีเพียง 5 1 ชุมชนบางส่วนให้ความสนใจ • แหล่งธรรมชาติมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ประเพณีและวัฒนธรรมต่อคนในชุมชนปานกลาง โดยชมุ ชนมีการจัดงานหรอื พธิ กี ารตา่ งๆ เป็นประจ�ำทกุ ปี • แหล่งธรรมชาติมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ประเพณแี ละวฒั นธรรมของคนในชุมชนสงู โดยชมุ ชน มีการจัดงานหรือพิธีการต่างๆ เป็นประจ�ำทุกปี และมีชมุ ชนใกลเ้ คยี งเขา้ มารว่ มงานดว้ ย • แหล่งธรรมชาติมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ประเพณีและวัฒนธรรมต่อคนในชุมชนสูงมาก โดยชมุ ชนหรอื จังหวดั มกี ารจัดงานหรือพธิ ีการตา่ งๆ เป็นประจำ� ทุกปี และมชี ่อื เสียงในระดับชาติ คะแนนท่ไี ด ้ 4 คะแนนรวมข้อ 1.3 (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 9 กรมการท่องเทีย่ ว 23

1.4 ความเสีย่ งต่อการถูกทำ� ลาย คะแนนเต็ม 10 คะแนน 1.4.1 ความเสย่ี งต่อการถูกท�ำลายโดยมนษุ ย์ (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากโอกาสที่แหล่งธรรมชาติจะได้รับผลกระทบจากการบุกรุกหรือ การเขา้ มาใชป้ ระโยชนข์ องชมุ ชนสภาพการบกุ รกุ ทำ� ลายจากกจิ กรรมของมนษุ ยใ์ นปจั จบุ นั และการมีหน่วยงานดแู ลแหล่งธรรมชาติและพืน้ ทโ่ี ดยรอบไมใ่ หเ้ กดิ การเส่ือมสภาพ ดชั นี คะแนน คา่ น้�ำหนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • แหล่งธรรมชาติมีชุมชนอาศัยอยู่โดยรอบ และมกี าร 1 1 5 เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่จนก่อให้เกิดผลกระทบ 2 1 ต่อสภาพแวดล้อม และปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงาน 3 1 ควบคมุ ดแู ลทช่ี ดั เจน 4 1 • แหล่งธรรมชาติอยู่ห่างจากแหล่งชุมชน แต่มีการ 5 1 เดินทางเข้าไปใช้ประโยชน์ในพ้ืนท่ีจนก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมบางส่วน และปัจจุบัน ยังไมม่ ีหน่วยงานควบคมุ ดแู ลทีช่ ดั เจน • แหล่งธรรมชาติอยู่ห่างจากแหล่งชุมชน โดยมีการ เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีเป็นบางฤดูกาลและเป็น ส่วนน้อย แต่ปัจจุบันยังไม่มีหน่วยงานควบคุมดูแล ที่ชัดเจน • แหล่งธรรมชาติอยู่ห่างจากชุมชนและยังไม่มีการ เข้าไปใช้ประโยชน์ในพื้นท่ี แต่มีกิจกรรมในบริเวณ ใกล้เคียงท่ีอาจส่งผลกระทบต่อแหล่งธรรมชาติบ้าง แตม่ ีการควบคุมดูแลพืน้ ทโ่ี ดยองค์กรท้องถ่นิ • แหล่งธรรมชาติอยู่ในพ้ืนที่ประกาศเป็นเขตอนุรักษ์ หรือเขตคุ้มครองตามกฎหมาย มีหน่วยงานของรัฐ ดแู ลรับผิดชอบ คะแนนทไี่ ด้ 5 24 คมู่ ือการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหลง่ ท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ

1.4.2 ความเส่ยี งต่อการถูกท�ำลายจากภยั ธรรมชาติ (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากโอกาสที่แหล่งธรรมชาติจะถูกท�ำลายจากภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว พายุ การกัดเซาะชายฝั่ง น�้ำท่วม ไฟป่า ฯลฯ โดยวัดจากสถิติการเกิด ภัยธรรมชาติ ดัชนี คะแนน ค่านำ�้ หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีภยั ธรรมชาติในบางฤดูกาลหรือเพียงบางช่วงของปี 1 1 • มภี ยั ธรรมชาติ 1-2 ครงั้ ต่อปี 2 1 • มภี ยั ธรรมชาติ 1-2 ครั้ง ในรอบ 3 ปี 3 1 3 • มภี ยั ธรรมชาติ 1-2 ครั้ง ในรอบ 5 ปี 4 1 • มีภยั ธรรมชาติ 1-2 ครัง้ ในรอบ 10 ปี หรอื นานกว่า 5 1 คะแนนที่ได้ 3 คะแนนรวมขอ้ 1.4 (คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 8 คะแนนรวมข้อ 1 (คะแนนเต็ม 40 คะแนน) 30 กรมการทอ่ งเทย่ี ว 25

2. ศักยภาพในการพฒั นาการท่องเที่ยว คะแนนเต็ม 25 คะแนน 2.1 ศกั ยภาพในการจัดกิจกรรมการทอ่ งเท่ียว (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากจำ� นวนกิจกรรมการทอ่ งเทยี่ วในแหลง่ ธรรมชาติ ซ่งึ แหล่งทอ่ งเที่ยว ทม่ี กี จิ กรรมหลากหลายจะทำ� ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วมโี อกาสเลอื กทำ� กจิ กรรมทตี่ นพอใจไดม้ ากขน้ึ และความเชื่อมโยงกับแหลง่ ทอ่ งเท่ียวใกลเ้ คยี ง ดัชนี คะแนน คา่ น้ำ� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • ไม่มกี ิจกรรมอืน่ นอกเหนือจากการเทย่ี วชม 1 1 2 แหลง่ ธรรมชาติ 2 1 • นอกเหนือจากการเท่ียวชมแหล่งธรรมชาติ ยังมี 3 1 กิจกรรมการทอ่ งเที่ยวชนดิ อน่ื ภายในแหล่งธรรมชาติ 1-2 ประเภท 4 1 • นอกเหนือจากการเที่ยวชมแหล่งธรรมชาติ ยังมี 5 1 กิจกรรมการทอ่ งเทย่ี วชนิดอน่ื ภายในแหลง่ ธรรมชาติ 1-2 ประเภท และบริเวณใกล้เคยี งมแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ประเภทอืน่ • นอกเหนือจากการเท่ียวชมแหล่งธรรมชาติ ยังมี กจิ กรรมการท่องเที่ยวชนดิ อ่นื ภายในแหลง่ ธรรมชาติ มากกวา่ 2 ประเภท • นอกเหนือจากการเท่ียวชมแหล่งธรรมชาติ ยังมี กิจกรรมการทอ่ งเทีย่ วชนดิ อน่ื ภายในแหลง่ ธรรมชาติ มากกวา่ 2 ประเภท และบริเวณใกลเ้ คียงมี แหล่งทอ่ งเที่ยวประเภทอ่นื คะแนนทไี่ ด้ 2 26 คมู่ อื การตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ

2.2 การเขา้ ถงึ แหล่งธรรมชาติ (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งธรรมชาติ ได้แก่ สภาพถนน ความลาดชนั และความคดเค้ยี วของเสน้ ทางเข้าถึง และความปลอดภัยจากอุบตั เิ หตุ ดชั นี คะแนน ค่าน�้ำหนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มที างเข้าถงึ ได้แตไ่ ม่สะดวก 1 1 5 • มที างเข้าถงึ ไดส้ ะดวก รถเดนิ ได้ 2 ทาง แต่สามารถ 2 1 ใช้ความเรว็ ได้ต�ำ่ กว่า 30 กิโลเมตร/ชวั่ โมง 3 1 • มีทางเขา้ ถึงไดส้ ะดวก รถเดนิ ได้ 2 ทาง และสามารถ 4 1 ใชค้ วามเร็วได้เกนิ 30 กิโลเมตร/ชว่ั โมง 5 1 • มีทางเขา้ ถงึ ได้สะดวกด้วยรถยนต์นง่ั • มที างเขา้ ถงึ ได้สะดวกดว้ ยรถขนาดใหญ่ ไดแ้ ก ่ รถโดยสารหรอื รถทัศนาจร คะแนนทไ่ี ด้ 5 กรมการทอ่ งเทย่ี ว 27

2.3 ความปลอดภยั ด้านการท่องเท่ยี ว (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากโอกาสท่ีจะเกิดอันตรายจากปัจจัยในตัวแหล่งท่องเท่ียวเองหรือ จากปัจจัยภายนอก โดยวัดจากสถิติการเกิดอันตราย เช่น น้�ำป่า ดินถล่ม หน้าผาสูงชัน กระแสนำ�้ รนุ แรง สัตวด์ ุร้าย มาลาเรีย ภัยจากโจรผ้รู ้าย โรคระบาดอ่ืนๆ เปน็ ต้น ดัชนี คะแนน คา่ น�้ำหนกั ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มเี หตุอันตรายบอ่ ยตลอดปี 0 1 2 • มีเหตุอนั ตรายทุกปี แตเ่ กดิ ข้ึนในบางฤดกู าล 1 1 2 หรอื เพียงบางช่วงของปี 2 1 • มเี หตอุ ันตราย 1-2 คร้ังตอ่ ปี 3 1 • มีเหตุอันตราย 1-2 ครง้ั ในรอบ 3 ปี 4 1 • มีเหตอุ นั ตราย 1-2 ครงั้ ในรอบ 5 ปี 5 1 • มีเหตอุ นั ตราย 1-2 ครั้ง ในรอบ 10 ปี หรือนานกวา่ คะแนนที่ได ้ 28 คู่มอื การตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหล่งทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ

2.4 ศักยภาพในการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐาน (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการพฒั นาสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกข้ันพื้นฐาน ไดแ้ ก่ น้�ำ ไฟ ถนน ที่พัก ฯลฯ เพ่อื การทอ่ งเท่ียวในปจั จุบัน และข้อจ�ำกดั ในการพฒั นาตอ่ ไปในอนาคต ดัชนี คะแนน คา่ น�ำ้ หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • ยังไม่มีการพัฒนาส่ิงอ�ำนวยความสะดวกข้ันพ้ืนฐาน 1 1 5 และมขี อ้ จ�ำกัดสงู ในการพัฒนาต่อไปในอนาคต 2 1 • มีการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงสามารถรองรับนักท่องเที่ยวในปัจจุบันได้เป็น 3 1 บางช่วงเวลา และมีข้อจ�ำกัดสูงในการพัฒนาต่อไป 4 1 ในอนาคต • มีการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกข้ันพ้ืนฐาน 5 1 ซ่ึงสามารถรองรับนักท่องเท่ียวในปัจจุบันได้ปานกลาง แตม่ ขี อ้ จำ� กดั บางประการในการพฒั นาต่อไปในอนาคต • แหล่งท่องเที่ยวมีการพัฒนาส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ขัน้ พนื้ ฐานซงึ่ สามารถรองรับนักท่องเทีย่ วในปัจจบุ ัน ได้ดี แต่มีข้อจ�ำกัดบางประการในการพัฒนาต่อไป ในอนาคต • แหล่งท่องเที่ยวมีการพัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ขัน้ พื้นฐานซึง่ สามารถรองรับนักท่องเท่ียวในปจั จุบัน ได้อย่างสะดวกสบาย และยังสามารถพัฒนาต่อไป ได้อกี คะแนนท่ีได ้ 5 กรมการท่องเที่ยว 29

2.5 ศกั ยภาพในการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวจากปัจจยั ภายนอก (5 คะแนน) หมายเหต ุ พิจารณาจากการมีกลุ่มองค์กรท้ังภายในและภายนอกในระดับต่างๆ ให้การ สนับสนุนด้านนโยบาย งบประมาณและบุคลากรส�ำหรับพัฒนาการท่องเที่ยว ได้แก ่ กลุ่มองคก์ รทอ้ งถิน่ หนว่ ยงานภาครฐั และภาคเอกชน ดัชนี คะแนน คา่ น้ำ� หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีการจัดตั้งกลุ่มโดยชุมชน เพ่ือก�ำหนดนโยบาย 1 1 5 วางแนวทางการจดั การท่องเท่ียว แตย่ ังไม่สัมฤทธผ์ิ ล 1 ที่ชดั เจน 1 • มีกลุ่มองค์กรท้องถิ่นให้การสนับสนุนและจัดการ 2 1 ดา้ นนโยบาย งบประมาณและบคุ ลากรสำ� หรบั พฒั นา 1 แหล่งทอ่ งเทย่ี ว • มีหน่วยงาน กลุ่มองค์กรท้องถ่ิน และภาคเอกชนให้ 3 การสนับสนุนและใหค้ ำ� ปรึกษาด้านนโยบายงบประมาณ และบุคลากรสำ� หรบั พฒั นาแหล่งทอ่ งเทย่ี ว • มีหน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนและจัดการ 4 ดา้ นนโยบายงบประมาณ และบุคลากรในการพฒั นา แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว • มีหนว่ ยงานทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองคก์ รท้องถน่ิ 5 ร่วมกันให้การสนับสนุนและจัดการด้านนโยบาย งบประมาณ และบคุ ลากรในการพัฒนาแหล่งทอ่ งเทย่ี ว คะแนนทีไ่ ด ้ 5 คะแนนรวมข้อ 2 (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) 19 30 คมู่ ือการตรวจประเมินมาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาติ

3. การบรหิ ารจัดการ คะแนนเตม็ 35 คะแนน 3.1 การจัดการดา้ นการอนรุ กั ษ์แหลง่ ธรรมชาติ คะแนนเตม็ 25 คะแนน และการจดั การส่งิ แวดลอ้ ม 3.1.1 การจดั การดา้ นการใชป้ ระโยชนข์ องตัวแหลง่ ท่องเท่ียว (5 คะแนน) หมายเหตุ พจิ ารณาจากเกณฑ์ 3 ด้าน ดงั น้ี ก. การก�ำหนดเขตการใช้ประโยชนพ์ ้นื ที่เพือ่ การทอ่ งเทย่ี ว เชน่ มีการแบ่งเขตพื้นที่สงวน พ้นื ท่ีนนั ทนาการและพ้ืนที่พกั อาศัย ข. การก�ำหนดช่วงเวลาในการเข้าพ้นื ทท่ี ่เี หมาะสมตามชว่ งเวลาของวนั และ/หรือฤดูกาล ค. การจำ� กดั จ�ำนวนนกั ท่องเทย่ี ว ใหพ้ อเหมาะกับศกั ยภาพของพื้นทแ่ี ละการบริการ ดัชนี คะแนน คา่ นำ�้ หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • ไม่มกี ารจัดการในข้อ ก ข และ ค 0 1 • มกี ารจัดการในขอ้ ก ข และ ค น้อยมาก 1 1 และไม่เป็นระบบ 1 • มีการจัดการในข้อ ก ข และ ค โดยมีระเบียบการ 2 1 ปฏบิ ตั เิ ป็นหลักฐานอยูบ่ า้ ง แตก่ ารปฏิบตั ิมีข้อยกเวน้ 1 • มีการจัดการทเี่ ปน็ ระบบหรือไดม้ าตรฐาน 1 ข้อ 3 1 3 • มีการจัดการทเ่ี ป็นระบบหรือไดม้ าตรฐาน 2 ข้อ 4 • มีการจดั การทเี่ ป็นระบบหรอื ได้มาตรฐานครบ 3 ขอ้ 5 คะแนนทไี่ ด ้ 3 กรมการทอ่ งเท่ยี ว 31

3.1.2 การจดั การด้านการตดิ ตามและการประเมินการเปล่ียนแปลงของพ้ืนท่ีอนั เน่อื ง มาจากการท่องเทย่ี ว (5 คะแนน) หมายเหต ุ พิจารณาจากแผนการติดตามและประเมินการเปลยี่ นแปลงที่เกิดขน้ึ กับพน้ื ที่ ดชั นี คะแนน คา่ น้ำ� หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • ไม่มีแผนการติดตามและการประเมนิ การเปล่ยี นแปลง 0 1 4 ของพื้นทีเ่ ลย 1 1 • มีแผนการด�ำเนนิ งาน แต่การปฏบิ ตั ิตามแผนไมช่ ดั เจน 2 1 • มีแผนการด�ำเนินงาน และมีการเก็บข้อมูลการ 3 1 เปลี่ยนแปลงของพ้ืนท่ีตามแผนการด�ำเนินงาน 4 1 แตไ่ มม่ ีการด�ำเนินการอ่นื ๆ • มีแผนการด�ำเนินงาน มกี ารเกบ็ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง 5 1 ของพ้ืนท่ตี ามแผนการดำ� เนินงาน และมกี ารวเิ คราะห์ ประเมินผลกระทบ • มีแผนการด�ำเนินงาน มีการเก็บข้อมูลการเปลยี่ นแปลง ของพื้นท่ีตามแผนการด�ำเนินงาน มีการวิเคราะห์ ประเมินผลกระทบ และมีการปรับปรุงและแก้ไข ปัญหาทเ่ี กิดจากการทอ่ งเที่ยว • มีแผนการดำ� เนินงาน มีการเกบ็ ข้อมลู การเปลยี่ นแปลง ของพื้นท่ีตามแผนการด�ำเนินงาน มีการวิเคราะห์ ประเมินผลกระทบ มีการปรับปรุงและแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดจากการท่องเที่ยว และมีการปฏิบัติด้าน การตดิ ตามการประเมินผลอยา่ งต่อเน่อื งทกุ ปี คะแนนท่ีได้ 4 32 คมู่ ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติ

3.1.3 การจดั การของเสยี และสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณโดยรอบแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว (5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการมีระบบการจัดการของเสียท่ีมีประสิทธิภาพ ระบบป้องกัน มลพิษทเ่ี หมาะสม และมกี ารด�ำเนนิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน หากไม่มีคุณสมบัติตามที่ระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมคี ุณสมบตั ติ รง ให้ 1 คะแนน ดัชนี คะแนน ค่านำ�้ หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มีระบบการจดั การนำ�้ เสียทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 0 0.5 1 1 0 • มรี ะบบการจดั การขยะทม่ี ีประสิทธภิ าพ 0 0.5 1 1 0.5 • มีระบบการจดั การดา้ นคณุ ภาพอากาศและเสียง 0 0.5 1 1 0 • มีการใชว้ ัสดุอปุ กรณท์ ีป่ ระหยดั พลังงาน 0 0.5 1 1 1 • มนี โยบายลดปริมาณการใชน้ �้ำ 0 0.5 1 1 0.5 คะแนนท่ีได้ 2 กรมการท่องเท่ียว 33

3.1.4 การจัดการดา้ นกิจกรรมการทอ่ งเทย่ี วทเ่ี หมาะสม (5 คะแนน) หมายเหตุ การจัดกิจกรรมการท่องเท่ียวในแหล่งธรรมชาติจะต้องค�ำนึงถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับสภาพธรรมชาติเป็นหลัก รวมทั้งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถ่ินดว้ ย หากไม่มีคุณสมบัติตามท่ีระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมคี ณุ สมบัตติ รง ให้ 1 คะแนน ดชั นี คะแนน ค่านำ้� หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • กิจกรรมการทอ่ งเท่ียวไมม่ ีผลกระทบต่อพืน้ ที่ 0 0.5 1 1 0.5 ทม่ี คี วามเปราะบางทางนเิ วศวทิ ยาและสภาพ 1 1 ทางกายภาพ เชน่ พน้ื ท่ีสืบพนั ธ์ุของสัตว์ 1 1 • กิจกรรมการท่องเที่ยวเปน็ ทย่ี อมรับของคนใน 0 0.5 1 1 0.5 ท้องถิน่ ไม่รบกวนความสงบสขุ ของคนสว่ นใหญ่ 1 1 ในพ้ืนที่ และไม่ขัดต่อกฎหมายศีลธรรมอันดี หรือวัฒนธรรมของชาติ • มีการศึกษา วิจัยสถานภาพของทรัพยากร 0 0.5 1 ธรรมชาติในพื้นที่และน�ำข้อมูลท่ีได้มาวาง แนวทางที่ไม่ก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ และสภาพกายภาพของพ้นื ท่ี • มกี ารศกึ ษา วจิ ยั เก่ยี วกับวฒั นธรรมในท้องถน่ิ 0 0.5 1 และน�ำข้อมูลมาวางแนวทางการด�ำเนินการ ท่องเท่ียวที่ไม่เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตประเพณี ของคนในท้องถ่นิ • กจิ กรรมการทอ่ งเทยี่ วไมท่ ำ� ให้แหล่งธรรมชาติ 0 0.5 1 เกดิ ความเสอ่ื มโทรม เชน่ ไม่ทำ� ให้เกดิ ปรมิ าณ ขยะและของเสยี ทขี่ ัดต่อทัศนียภาพ คะแนนท่ีได้ 4 34 คมู่ ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ

3.1.5 การให้ความรู้ถึงคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวและการอนุรักษ์กับพนักงานน�ำเท่ียว นักทอ่ งเท่ียว และชมุ ชนที่อยู่โดยรอบพืน้ ท่ี (5 คะแนน) หมายเหตุ พจิ ารณาจากกจิ กรรมและการดำ� เนนิ งานตา่ งๆ ทใ่ี หค้ วามรแู้ ละเผยแพรข่ อ้ มลู แก่นกั ท่องเทย่ี ว พนกั งานน�ำเท่ยี ว ผูป้ ระกอบการ และชุมชนที่อยู่โดยรอบ หากไม่มีคุณสมบัติตามท่ีระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไม่มปี ระสทิ ธิภาพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมีคุณสมบตั ิตรง ให้ 1 คะแนน ดัชนี คะแนน คา่ น้ำ� หนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีการจัดอบรมพนักงาน ผู้ประกอบการ และ 0 0.5 1 1 1 ชุมชนเก่ียวกับคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ 1 1 และการอนุรกั ษ์เป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม 1 1 • มีการจัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติและป้ายส่ือ 0 0.5 1 ความหมายบนเส้นทางเพ่ือให้ความรู้กับ 1 1 นกั ทอ่ งเทีย่ ว 1 0.5 • มีการจดั กจิ กรรมดา้ นการศึกษาธรรมชาติใหก้ ับ 0 0.5 1 กลุ่มนักท่องเท่ียวที่มีความสนใจเฉพาะด้าน เปน็ ครงั้ คราว เชน่ กิจกรรมการดนู ก การศกึ ษา พนั ธ์ุไม้ ฯลฯ • มีการเผยแพร่ข้อมูลในด้านต่างๆ ของแหล่ง 0 0.5 1 ทอ่ งเที่ยวในระดับทอ้ งถ่ิน หรือระดบั ประเทศ • มีการเผยแพร่ข้อมูลในด้านต่างๆ ของ 0 0.5 1 แหล่งท่องเท่ียวผ่านเว็บไซด์ ทั้งภาษาไทย และภาษาองั กฤษ คะแนนที่ได ้ 4.5 คะแนนรวมขอ้ 3.1 (คะแนนเตม็ 25 คะแนน) 17.5 กรมการทอ่ งเทย่ี ว 35

3.2 การจดั การด้านการท่องเทีย่ ว คะแนนเต็ม 10 คะแนน 3.2.1 การจัดการดา้ นการบรกิ ารและสาธารณูปโภคขั้นพืน้ ฐานแกน่ กั ทอ่ งเทยี่ ว (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการด�ำเนินงานด้านการให้บริการขั้นพ้ืนฐานแก่นักท่องเท่ียว โดยมีการจัดการท่ีเหมาะสมให้นักท่องเท่ียวมีความพึงพอใจท่ีได้รับบริการท่ีคุ้มค่า กบั การมาท่องเที่ยว หากไม่มีคุณสมบัติตามท่ีระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมคี ณุ สมบัตติ รง ให้ 1 คะแนน ดชั นี คะแนน คา่ น้ำ� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มีจำ� นวนบุคลากรดา้ นบรกิ ารเพยี งพอต่อการให้ 0 0.5 1 0.5 0.5 บรกิ ารนกั ทอ่ งเท่ยี ว 0.5 0 • มีระบบเตอื นภัย และระบบรกั ษาความปลอดภัย 0 0.5 1 0.5 0.25 แกช่ ีวติ และทรัพย์สนิ ของนกั ทอ่ งเทีย่ ว • มกี ารจดั การดา้ นสง่ิ กอ่ สรา้ งและสาธารณูปโภค 0 0.5 1 0.5 0.25 ขนั้ พืน้ ฐาน เพอื่ อำ� นวยความสะดวกแก่นักท่องเท่ยี ว และตอ้ งมีความเหมาะสมกลมกลืนกบั สภาพพื้นที่ 0.5 0.25 • มีการจัดการด้านอาหารและโภชนาการที่ 0 0.5 1 ถูกสุขลักษณะ มีการจัดเก็บและก�ำจัดของเสีย อย่างถูกวธิ ี • มีการจัดการด้านท่ีพักส�ำหรับนักท่องเท่ียว 0 0.5 1 อย่างเหมาะสม เชน่ มกี ารออกแบบและใชว้ สั ดุ กอ่ สร้างท่กี ลมกลนื กับสภาพแวดล้อม ประหยัด พลงั งาน และมีระบบกำ� จดั ของเสียที่ไดม้ าตรฐาน คะแนนทไี่ ด ้ 1.25 36 คมู่ อื การตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ยี วทางธรรมชาติ

3.2.2 มีศนู ยบ์ ริการทใี่ ห้ขอ้ มูลแหล่งทอ่ งเทย่ี วและความสะดวกแกน่ กั ทอ่ งเทย่ี ว (2.5 คะแนน) หมายเหตุ ศูนย์บริการเป็นส่วนส�ำคัญท่ีจะให้ข้อมูลและความรู้ต่างๆ เก่ียวกับ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวแกน่ กั ทอ่ งเท่ียวกอ่ นทจี่ ะด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว ห ากไม่มีคุณสมบัติตามท่ีระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไม่มปี ระสิทธิภาพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมคี ณุ สมบตั ติ รง ให้ 1 คะแนน ดชั นี คะแนน ค่าน้�ำหนกั คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • มีศูนย์บรกิ ารหรือมกี ารก�ำหนดพน้ื ทีเ่ พ่ือเป็น 0 0.5 1 0.5 0.5 ศนู ยบ์ ริการอย่างชัดเจนและมีเจา้ หนา้ ท่ีประจ�ำ 0.5 0.5 • มสี ่อื หลากหลายประเภทในการให้ข้อมูลแก่ 0 0.5 1 0.5 0.5 นักท่องเท่ยี ว เช่น แผน่ พับ โปสเตอร์ นิทรรศการ 0.5 0.5 • มีเจ้าหน้าทปี่ ระชาสัมพนั ธ์ทีม่ อี ัธยาศัยดี และ 0 0.5 1 0.5 0.5 สามารถสือ่ สารภาษาองั กฤษไดพ้ อสมควร • ส่อื มคี วามน่าสนใจ และขอ้ มลู เปน็ ปัจจบุ ัน 0 0.5 1 • ภาษาท่ีใช้ในสื่อมที ง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 0 0.5 1 คะแนนท่ไี ด ้ 2.5 กรมการท่องเทย่ี ว 37

3.2.3 มีบุคลากรที่มีความรู้เร่ืองระบบนิเวศและการอนุรักษ์ให้บริการด้านความรู้ แก่นักทอ่ งเทย่ี ว ผู้ประกอบการและชมุ ชนโดยรอบ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ บุคลากรที่ให้ความรู้แก่นักท่องเท่ียวควรที่จะมีความรู้ในเรื่องระบบนิเวศ ส่ิงแวดล้อม และการอนุรักษ์ ซึ่งอาจได้รับความรู้มาจากประสบการณ์ การบอกเล่า การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การฝึกอบรม หรือการศึกษาในระดับปริญญาในสาขา ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทง้ั นบี้ คุ ลากรใหบ้ รกิ ารดา้ นความรคู้ วรทจี่ ะสอ่ื สารไดท้ ง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ดชั นี คะแนน คา่ นำ�้ หนัก คา่ คะแนน (A) (B) (A*B) • ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ให้บริการแก่นักท่องเท่ียว 0 0.5 2 • มีบุคลากรท่ีมีความรู้โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ 1 0.5 และการบอกเล่า 2 0.5 • มบี คุ ลากรท่มี คี วามรู้โดยการเรยี นร้จู ากการศกึ ษา และค้นคว้าด้วยตนเองจากเอกสารหรือเว็ปไซต์ 3 0.5 ทเี่ ช่ือถอื ได้ 4 0.5 • มีบคุ ลากรทผ่ี ่านการฝกึ อบรมความรดู้ ้านระบบนิเวศ 5 0.5 และการอนุรกั ษ์ • มบี ุคลากรทม่ี ีความรู้ระดับปริญญาด้านส่ิงแวดล้อม นเิ วศวิทยา หรอื สาขาทเี่ กยี่ วข้อง • มบี คุ ลากรทม่ี คี วามร้รู ะดบั ปริญญาดา้ นส่งิ แวดล้อม นิเวศวทิ ยา หรอื สาขาที่เกยี่ วขอ้ ง และสามารถสอ่ื สาร และใหค้ วามรู้โดยใชภ้ าษาอังกฤษได้ คะแนนทไ่ี ด้ 2 38 ค่มู ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเทยี่ วทางธรรมชาติ

3.2.4 การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนทอ้ งถ่นิ (2.5 คะแนน) หมายเหตุ พิจารณาจากการมีส่วนร่วมของชุมชนในรูปแบบต่างๆ และการที่ชุมชน ทอ้ งถ่ินได้รบั ประโยชนจ์ ากการด�ำเนนิ กจิ กรรมการทอ่ งเทีย่ วท้ังทางตรงและทางอ้อม หากไม่มีคุณสมบัติตามที่ระบุ ให้ 0 คะแนน หากมีแต่ไม่ได้ด�ำเนินการ หรือไม่มีประสิทธภิ าพ ให้ 0.5 คะแนน และหากมีคณุ สมบตั ิตรง ให้ 1 คะแนน ดชั นี คะแนน ค่าน้ำ� หนัก ค่าคะแนน (A) (B) (A*B) • มตี ัวแทนของชุมชนในการวางแผนหรือบรหิ าร 0 0.5 1 0.5 0.5 จดั การการทอ่ งเที่ยวในแหลง่ ท่องเทยี่ ว 0.5 0.5 • ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากร 0 0.5 1 0.5 0.5 ธรรมชาติในพื้นทท่ี อ่ งเทยี่ ว • มีการก่อตั้งองค์กรหรือโครงการอนุรักษ์ต่างๆ 0 0.5 1 0.5 0.5 ท่ีเกิดจากท้องถ่ินซึ่งมีบทบาทต่อการจัดการ 0.5 0.5 การทอ่ งเที่ยวในแหล่งทอ่ งเท่ยี ว • ชมุ ชนมรี ายไดห้ รอื เงนิ เดอื นจากการถูกจ้างงาน 0 0.5 1 ท่ีเกี่ยวข้องกับการท่องเท่ยี ว • ชุมชนมีรายได้จากการท�ำธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องกับ 0 0.5 1 การท่องเท่ยี ว เช่น การน�ำเท่ียว การให้บรกิ าร ในกิจกรรมการท่องเที่ยว การให้บริการด้าน ท่ีพัก การขายอาหารและสินคา้ พน้ื เมอื ง เป็นตน้ คะแนนทีไ่ ด ้ 2.5 คะแนนรวมข้อ 3.2 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 8.25 คะแนนรวมขอ้ 3 (คะแนนเตม็ 35 คะแนน) 25.75 กรมการทอ่ งเท่ยี ว 39

ผลการให้คะแนน องคป์ ระกอบ คะแนนเตม็ ผลการใหค้ ะแนน 1. คุณคา่ ของแหลง่ ธรรมชาติและ ความเส่ยี งตอ่ การถูกทำ� ลาย 40 30 2. ศกั ยภาพในการพฒั นาการท่องเที่ยว 25 19 3. การบริหารจดั การ 35 25.75 รวมทง้ั ส้ิน 100 74.75 ผลการประเมินมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติของถ�้ำน้�ำลอด อ�ำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน เม่ือพิจารณาจากองค์ประกอบหลักทั้ง 3 ด้าน ของประเมนิ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาตใิ นทกุ ดชั นชี ว้ี ดั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง สามารถสรปุ ไดว้ า่ ถำ้� นำ�้ ลอดไดค้ ะแนนรวมทงั้ สน้ิ 74.75 คะแนน ซงึ่ จดั วา่ มมี าตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ทางธรรมชาตอิ ยู่ในระดับดมี าก หรอื ได้สัญลักษณ์ 40 ค่มู อื การตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ

ภาคผนวก กรมการท่องเท่ียว 41

42 ค่มู ือการตรวจประเมนิ มาตรฐานคุณภาพแหล่งทอ่ งเที่ยวทางธรรมชาติ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook