Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5-5937-1485153281

5-5937-1485153281

Published by กศน.ตำบลบางเพรียง, 2019-07-07 21:50:15

Description: 5-5937-1485153281

Search

Read the Text Version

¤ÁÙè ×Í การเสริมสร้าง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เล่า” สถาบันราชานกุ ลู กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

ชอื่ หนงั สือ : คูม่ อื การเสรมิ สร้างความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับ เด็กวยั แรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กิน กอด เล่น เล่า” บรรณาธกิ าร : แพทยห์ ญิงชดาพมิ พ์ เผา่ สวสั ด์ิ รวบรวมและเรียบเรยี ง : แพทย์หญงิ ชดาพมิ พ์ เผ่าสวสั ดิ์ และคณะ เผยแพรโ่ ดย : สถาบันราชานุกูล กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์คร้งั ที่ 3 : ธันวาคม 2559 จ�ำ นวน : 4,000 เล่ม พิมพ์ท่ี : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำ กดั

ค�ำ นำ� พื้นฐานของชีวิตเร่ิมตั้งแต่วัยแรกเกิด – 5 ปี สิ่งสำ�คัญที่จะทำ�ให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี และ มีความฉลาดทางอารมณ์นั้น ตอ้ งอาศยั การสร้างสมั พนั ธภาพ และความผกู พนั ทางอารมณร์ ะหวา่ ง พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูกับเด็ก สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต จึงได้พัฒนาคู่มือการเสริมสร้าง ความผกู พนั ทางอารมณส์ ำ�หรับเด็กวัยแรกเกดิ – 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” สำ�หรบั พ่อแม่ หรือผู้เล้ียงดูเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ระหว่างพ่อแม่ หรอื ผเู้ ลย้ี งดกู บั เดก็ วยั แรกเกดิ - 5 ปี เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มคี วามผกู พนั ทางอารมณ์ ทมี่ นั่ คงกบั พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู ซง่ึ จะสง่ ผลใหเ้ ดก็ จะรจู้ กั กนิ เปน็ เลน่ เปน็ ฟงั เปน็ รกั คนอน่ื เปน็ มจี ติ ใจทด่ี ี มกี ารแสดงออกทางอารมณ์ ทเ่ี หมาะสม ยอมรบั นบั ถอื ตนเอง และไดร้ บั การยอมรบั จากผอู้ น่ื ทา้ ยทส่ี ดุ เดก็ จะมคี วามฉลาดทางอารมณ์ พรอ้ มทีจ่ ะออกส่สู ังคม และเผชิญโลกภายนอกไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ และเขม้ แขง็ ต่อไป ดว้ ยความปรารถนาดี สถาบันราชานกุ ูล กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข

สารบัญ หนา้ 1 บทน�ำ : ความผูกพนั ทางอารมณ.์ .. สำ�คัญอย่างไร 7 กนิ อ่มิ ท้อง อบอ่นุ ใจ 25 กอด หอมให้ สมั ผัสรัก 37 เล่น เสรมิ สายใยรกั 45 ฟมู ฟัก เลา่ เคลา้ นิทาน 53 บรรณานกุ รม 55 ภาคผนวก เม่ือมีลกู หลายคน... 60 รายนามทป่ี รึกษา และคณะผู้จดั ทำ�

บทนำ� ความผกู พนั ทางอารมณ.์ .. สำ�คญั อย่างไร ความผกู พนั ทางอารมณ์ หมายถงึ ความผกู พนั ระหวา่ งพอ่ แมห่ รอื บคุ คลส�ำ คญั ทเี่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของชีวิตกบั ลูก เปน็ ความสมั พนั ธ์อนั ลึกซงึ้ ทางจิตใจ ซ่งึ ไม่ไดเ้ กิดขึน้ กับทกุ คนท่ีเล้ยี งดลู ูก ลกู ที่พอ่ แม่ หรือผู้เล้ียงดู เล้ียงดูด้วยความรัก ความเข้าใจ ความเอาใจใส่ และไวต่อสัญญาณที่ลูกแสดงออกมา สามารถตอบสนองได้สอดคล้องกับความต้องการของลูกได้อย่างรวดเร็ว และสม่ําเสมอ มีความใส่ใจ ในการปกป้องดูแลจะท�ำ ใหล้ กู รู้สึกอบอนุ่ ปลอดภยั มีความมน่ั ใจที่จะทำ�ในส่ิงต่างๆ เมอ่ื มผี ูด้ ูแลท่ีลกู รสู้ ึกผกู พันอยู่ใกล้ๆ เกดิ เปน็ ความผูกพันทางอารมณ์ ท่ีเหนยี วแน่นระหว่างพ่อแมห่ รือผูเ้ ลี้ยงดแู ละลูก การสรา้ งความมัน่ ใจ และความมัน่ คงทางอารมณ์ ส่วนส�ำ คัญของความผกู พนั ทางอารมณ์ คอื การสร้างความมน่ั ใจ และความม่นั คงทางอารมณ์ เพอ่ื ใหล้ ูกมีความรู้สึกม่ันใจ มนั่ คง และปลอดภยั ซ่ึงจะทำ�ใหค้ วามผูกพันทางอารมณ์ทเี่ กดิ ขึ้นระหวา่ ง พ่อแม่หรอื ผ้เู ล้ียงดูกบั ลูกค่อยๆ พฒั นาตามล�ำ ดบั ลกู จะมคี วามมน่ั ใจ และความมน่ั คงทางอารมณไ์ ดน้ น้ั ลกู จะตอ้ งไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเขา้ ใจ และทนั ทว่ งที พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดตู อ้ งเขา้ ใจวา่ ลกู ตอ้ งการการดแู ลปกปอ้ ง ตอ้ งการคนใหก้ �ำ ลงั ใจ หรอื ตอ้ งการค�ำ ชนื่ ชม เมื่อไหร่ อย่างไร พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูจะต้องทำ�ความเข้าใจ ฝึกสังเกตความต้องการของลูก และให้ การตอบสนอง อย่างเหมาะสม คู่มอื การเสรมิ สรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เล่า” 1

การตอบสนองต่อความตอ้ งการของลกู การตอบสนองลูกอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ เปน็ สิ่งสำ�คญั ในการสรา้ งความผูกพนั ทางอารมณ์ เม่ือลูกต้องการออกไปเล่น ไปค้นหา เรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ บนโลกใบนี้ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรสนับสนุน ใหค้ วามมน่ั ใจและเปดิ โอกาส ควรปลอ่ ยใหล้ กู ไดเ้ ลน่ เมอื่ ลกู จะ เดินออกไปเล่น พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรพยักหน้า ยิ้มให้ เพอื่ สรา้ งความมนั่ ใจวา่ เขาสามารถเลน่ ได้ ขณะลกู เลน่ ใหม้ อง อยู่ใกล้ๆ อย่างห่วงใย พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู ไม่ควรขัดขวาง หรือรบกวนการเล่นของลูก ไม่ควรห้ามเม่ือลูกอยากเรียนรู้ อยากออกไปเล่น หรือแสดงท่าทีกังวล กลัว รำ�คาญ กบั การทีล่ กู จะเล่นหรือทดลองสง่ิ ใหม่ เม่ือลูกว่ิงกลับมาหาเพราะเหนื่อย หิว กลัว ให้รีบ ตอบสนองความตอ้ งการนน้ั ๆ อยา่ งรวดเรว็ เชน่ การอา้ แขนรบั การโอบกอดใหล้ กู หายตกใจ ยม้ิ พยกั หนา้ ใหก้ �ำ ลงั ใจ หานาํ้ ขนมใหก้ นิ หรอื พาเขา้ ไปพกั โดยในชว่ งทล่ี กู ว่ิงกลับมาหาเพ่ือต้องการการดูแลหรือกำ�ลังใจ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูไม่ควรปล่อยปละละเลย หรือ ไม่สนใจความตอ้ งการของลูกทม่ี ีในขณะน้นั ในกรณีที่ลูกแสดงพฤติกรรมแบบโหยหาต้องการความรักความสนใจ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูต้อง ตอบสนองทนั ที เชน่ เมอ่ื ลกู หนั มามองสบตายม้ิ ให้ ควรตอบสนองดว้ ยการยม้ิ กลบั ลบู ศรี ษะ หรอื ชวนลกู เลน่ เมอื่ ลกู มองหนา้ ชแู ขนขนึ้ ตอ้ งการใหก้ อด ควรตอบสนอง โดยการยม้ิ รบั รู้ แลว้ อมุ้ หรอื กอดอยา่ งนมุ่ นวล เมอื่ ลูกมีอาการโยเย เหนอ่ื ย กลวั ควรช่วยเหลือหรอื ตอบสนองด้วยการอมุ้ กอด หรือปลอบโยนด้วย ความรสู้ ึกรกั และทะนถุ นอม การสรา้ งความมน่ั ใจ และความมน่ั คงทางอารมณท์ �ำ ไดอ้ ยา่ งไร การสรา้ งความมน่ั ใจ และความมนั่ คงทางอารมณใ์ หก้ บั ลกู นนั้ สามารถท�ำ ไดด้ ว้ ยการเพมิ่ ความไว ในการตอบสนองความตอ้ งการของลกู ไดอ้ ยา่ งทนั ที โดยเฉพาะในขวบปแี รก และตอบสนองอยา่ งถกู ตอ้ ง นัน่ คือพ่อแม่หรือผเู้ ลย้ี งดตู อ้ งร้จู ัก และร้ใู จลูกเปน็ อยา่ งดี รู้วา่ เมอ่ื ไหร่ควรตอบสนองอยา่ งไร เม่อื ไหร่ ที่จะปล่อยหรือจะห้ามลูก ดังนั้นพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูต้องเป็นบุคคลที่ช่างสังเกตอารมณ์ พฤติกรรม การแสดงออกของลกู สง่ิ ทช่ี อบหรอื ไมช่ อบ เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจในความตอ้ งการ และธรรมชาตขิ องลกู ซง่ึ จะมลี กั ษณะเฉพาะแตกตา่ งกนั ไปในเดก็ แตล่ ะคน การฝกึ สงั เกต และแปลอารมณข์ องลกู เรม่ิ ตน้ โดย การฝกึ สังเกตสหี น้าทา่ ทางของลกู เมอื่ พ่อแมห่ รอื ผู้เล้ียงดูเขา้ ใจ และตอบสนองไดอ้ ย่างถกู ต้อง ลูกจะ ตอบสนองในทางทด่ี ี เช่น ยม้ิ หวั เราะ สงบนิง่ หยดุ รอ้ งไห้ พ่อแม่หรือผูเ้ ลยี้ งดูควรจดจ�ำ การแสดงออก เหลา่ นน้ั ใหแ้ ม่นย�ำ เพอื่ ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของลูกไดร้ วดเร็วย่งิ ขึ้น 2 คูม่ อื การเสรมิ สรา้ ง ความผูกพันทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กิน กอด เล่น เล่า”

รปู แบบเริม่ ตน้ ของความผกู พันทางอารมณ์ เดก็ สามารถมคี วามผกู พนั ไดก้ บั หลากหลายบคุ คล แตล่ กู จะพฒั นาความผกู พนั ใหเ้ หนยี วแนน่ ได้ กับบุคคลเพียงคนเดียว และบุคคลนั้นคือคนที่ลูกใช้เวลาอยู่ด้วยมากท่ีสุด รู้จักและเข้าใจลูกมากท่ีสุด ซงึ่ พ่อแม่หรือผเู้ ล้ียงดูสามารถพฒั นาความผกู พันนไี้ ดอ้ ย่างงา่ ยๆ ดังน้ี  พยายามสงั เกตพฤตกิ รรม ทา่ ทาง การแสดงออกตา่ งๆ จากลกู วา่ ตอ้ งการสอ่ื สารอะไรกบั พอ่ แม่ หรือผู้เลี้ยงดู และพยายามแปลการแสดงออกน้ันให้ได้ โดยเฉพาะลูกเล็กๆ ที่ยังพูดไม่ได้ ตอ้ งอาศยั การสงั เกตสหี นา้ ทา่ ทาง จดจ�ำ ทา่ ทางเหลา่ นนั้ แลว้ ตอบสนองทนั ที อยา่ งถกู ตอ้ ง และสม่ําเสมอ  เลน่ กบั ลกู โดยใหเ้ ดก็ เปน็ ผเู้ ลอื กและน�ำ เลน่ โดยทพ่ี อ่ แมไ่ มข่ ดั จงั หวะวนั ละอยา่ งนอ้ ย15นาที ต่อวนั ให้แสดงออกถึงความสนุกสนาน มีความสุขทีไ่ ด้เลน่ กับลูก เชน่ หัวเราะ สมั ผสั กอด หอมแก้ม นํา้ เสียง สหี นา้ เพ่อื สอ่ื ให้เหน็ ถึงความสขุ ท่ไี ดเ้ ลน่ กบั เขา  ก�ำ หนดช่วงเวลาในการทำ�กจิ วัตรประจ�ำ วนั ของลกู ใหเ้ ปน็ ปกติ สมํ่าเสมอในแต่ละวัน เชน่ กินเป็นเวลา นอนเป็นเวลา เล่นเป็นเวลา การทำ�กิจวัตรอย่างสมํ่าเสมอจะทำ�ให้ลูกรู้สึก ม่นั คง รูส้ กึ มคี นดูแล และเกิดความเป็นระเบียบในการทำ�กจิ วตั รประจ�ำ วนั  การสอ่ื สารดว้ ยภาษาทา่ ทาง ในเดก็ เลก็ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั เชน่ การมอง การสบตาลกู ขณะอาบนาํ้ การกอด การยม้ิ ให้ การอุ้มเดิน เพื่อแสดงถงึ ความรกั ทำ�ใหล้ กู รู้สกึ ไดร้ ับความอบอ่นุ จาก พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู แม้จะยงั ไมเ่ ข้าใจภาษาพูดของผใู้ หญ่กต็ าม  การสมั ผสั การกอด การอมุ้ เปน็ การใหค้ วามอบอนุ่ ทางใจ โดยเฉพาะเวลาลกู รอ้ งไห้ การอมุ้ เปน็ การช่วยจัดการอารมณ์ของลูกไดด้ ี ท�ำ ใหล้ กู รสู้ กึ ปลอดภัย และสงบลงได้ ค่มู ือการเสรมิ สร้าง ความผกู พนั ทางอารมณ์ สำ�หรับเดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เล่น เล่า” 3

 ในเดก็ วยั เตาะแตะ (1 – 3 ป)ี ควรใหอ้ สิ ระในการเลน่ การออกส�ำ รวจ คน้ หา และทดลองท�ำ สิ่งใหมๆ่ โดยพอ่ แม่ต้องอยใู่ กล้ๆ เนอื่ งจากยงั ตอ้ งการก�ำ ลงั ใจ เพ่อื ยนื ยันว่าการกระท�ำ นน้ั สามารถกระท�ำ ได้ ปลอดภยั และมน่ั ใจในการกระท�ำ ท�ำ ใหเ้ ดก็ กลา้ ทจ่ี ะทดลองท�ำ สง่ิ ใหมไ่ ด้ ด้วยตนเอง  ในชว่ ง 6 เดอื นแรก ไมค่ วรเปลยี่ นคนเลย้ี งบอ่ ย หรอื มคี นเลยี้ งหลายคน ควรมคี นเลย้ี งหลกั เพยี งคนเดยี ว  เดก็ ควรมคี วามผกู พนั ทางอารมณแ์ นบแนน่ ลกึ ซง้ึ ตอ่ เนอ่ื งยาวนานกบั ผใู้ หญอ่ ยา่ งนอ้ ย 1 คน ในครอบครวั เพอื่ ใหพ้ ฒั นาการดา้ นความผกู พนั ของเดก็ ด�ำ เนนิ ไปเปน็ ปกติ และนคี่ อื พนื้ ฐาน จำ�เป็นอย่างยงิ่ ของพัฒนาการทุกๆ ดา้ นต่อไป สงิ่ ตา่ งๆ ทก่ี ลา่ วมานี้ ถอื เปน็ การเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณข์ น้ั พน้ื ฐานใหเ้ ดก็ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มีสัมพันธภาพท่ีดีกับพ่อแม่ และพัฒนาต่อไปเป็นความผูกพันทางอารมณ์ท่ีม่ันคง โดยพ่อแม่ หรอื ผูเ้ ลยี้ งดสู ามารถดูรายละเอยี ดวธิ ีการเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณด์ ว้ ย “กนิ กอด เลน่ เล่า” เพอื่ เปน็ การเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณใ์ หด้ ยี ง่ิ ขนึ้ จากคมู่ อื เลม่ น้ี ในตอนถดั ไป ซง่ึ ไดใ้ หแ้ นวทาง การเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ผ่านการกิน การกอด การเล่น และการเล่า ในแต่ละหัวข้อไว้ อยา่ งละเอียด ในชว่ ง 6 เดือนแรก ไม่ควรเปลยี่ นคนเล้ยี งบอ่ ย หรือมคี นเล้ียงหลายคน ควรมคี นเล้ยี งหลกั เพยี งคนเดียว 4 คู่มอื การเสริมสร้าง ความผกู พันทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เล่น เล่า”

ผลทจี่ ะเกดิ กับลูกเมื่อเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ด้วย กิน กอด เล่น เล่า กจิ กรรม วธิ กี ารเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณ์ ผลทเี่ กิดกับลูก กิน อิ่มท้อง • ให้ลูกกินอาหารในบรรยากาศท่ีอบอุ่น • ลกู รสู้ กึ เปน็ คนส�ำ คญั มเี วลากบั พอ่ แม่ อบอ่นุ ใจ พร้อมหนา้ หรอื ผูเ้ ล้ียงดู • พ่อแม่ลกู ควรมีช่วงเวลาดีๆ ในการพดู คยุ • ลูกรู้สึกพ่อแม่ให้ความสำ�คัญกับ สร้างสัมพันธภาพที่ดี ความรู้สึกของลูกมากกว่าปริมาณ • ลดการบังคับ ดุ เพื่อให้ลูกกินอาหารตาม หรอื สารอาหาร ที่พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูต้องการ ซ่ึงเป็น • ลูกรู้จักรับผิดชอบตนเอง ลูกมี การท�ำ ลายสมั พนั ธภาพทด่ี ี พฒั นาการดา้ นการกนิ อาหารสมวยั ช่วยลดพฤติกรรมต่อตา้ นการกิน กอด หอมให้ • พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูแสดงออกถึงความรัก • ลูกรูส้ ึกเป็นท่รี ัก สัมผสั รัก ความผูกพันกับลูกผ่านการสัมผัสได้ใน • ลกู เปน็ เดก็ ทแ่ี สดงความรกั ตอ่ ผอู้ น่ื เปน็ หลายลกั ษณะ เช่น การกอด หอม โอบอุ้ม และแสดงความรู้สึกของตนเองกับ โดยใหม้ ีความเหมาะสมตามวัยของลูก ผู้อ่ืนอยา่ งเหมาะสม • ลูกจัดการ และควบคุมอารมณ์ ของตนเองไดด้ ี เล่น เสริม • มีช่วงเวลาที่ได้เล่นสนุกร่วมกันระหว่าง • ลกู เปน็ เดก็ ท่เี ลน่ เปน็ มีความม่ันใจ สายใยรัก พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูกับลูก ซ่ึงส่งเสริม ในตนเอง กล้าสำ�รวจ กล้าทดลอง สัมพนั ธภาพที่ดี ทำ�ส่งิ ใหมๆ่ • พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูได้สังเกตความชอบ • ลกู มที กั ษะสงั คมทดี่ ี เรยี นรกู้ ารเลน่ พฒั นาการของลกู เรยี นรแู้ ละรจู้ กั นสิ ยั ใจคอ กบั ผอู้ น่ื จากพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู ท�ำ ให้ ของลกู ผ่านชว่ งเวลาของการเลน่ ด้วยกนั มที กั ษะทางสงั คมและมกี ารปรบั ตวั ทด่ี ี • ลกู สนกุ สนานกบั การเรยี นรู้ ซง่ึ ชว่ ย ส่งเสรมิ ใหม้ พี ฒั นาการท่ดี ี ฟมู ฟัก เล่า • พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูพูดคุย เล่านิทาน • ลกู มนี สิ ัยรักการอา่ น รกั การเรียนรู้ เคลา้ นทิ าน อ่านนทิ านกบั ลกู อยา่ งสมํา่ เสมอ โดยไมต่ ้องบงั คบั • ลกู รสู้ กึ อบอนุ่ เมอื่ ไดน้ ง่ั บนตกั หรอื นอนฟงั • ลูกรักการอ่าน ซึ่งช่วยส่งเสริม นทิ านทพี่ อ่ แมห่ รอื ผ้เู ลยี้ งดูเลา่ พัฒนาการด้านภาษา และช่วยให้ • การเลา่ นทิ าน/การอา่ นนทิ านมกี ารสอดแทรก ลกู มจี นิ ตนาการความคดิ สรา้ งสรรค์ คำ�พูดที่ส่ือถึงความรัก ความผูกพันของ ที่กว้างไกล พ่อแม่หรอื ผู้เล้ียงดทู ีม่ ตี อ่ ลูก คู่มอื การเสริมสร้าง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เล่น เลา่ ” 5

6 ค่มู ือการเสรมิ สรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เด็กวยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ”

กิน อมิ่ ทอ้ ง อบอุน่ ใจ การเสริมสรา้ งความผกู พนั ทางอารมณผ์ ่านการกิน “กิน อมิ่ ท้อง อบอนุ่ ใจ” ส�ำ คญั อย่างไร? การกนิ ของเด็กวยั แรกเกดิ – 5 ปี แตล่ ะคน ได้รบั อทิ ธพิ ลอย่างมากจากครอบครัว จากการ ที่พ่อแมห่ รือผเู้ ล้ยี งดคู อยจดั มือ้ อาหารทสี่ มาํ่ เสมอ ตรงเวลา สอนพฤตกิ รรมการกินทีด่ ี บรรยากาศ ในการกินที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความรัก พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเคยสงสัยหรือไม่ว่า ท�ำ ไมอาหารที่ท่าน ได้กินสมัยยังเด็กถึงมีรสชาติที่อร่อย ประทับใจไม่รู้ลืม แม้ว่าคนอ่ืนๆ จะว่าไม่อร่อย แต่ท่านยัง ยนื ยนั วา่ อาหารทป่ี รงุ โดยแมช่ า่ งอรอ่ ยลา้ํ นน่ั เพราะอาหารทกุ ๆ ค�ำ ทท่ี า่ นไดก้ นิ ท�ำ ใหท้ า่ นรสู้ กึ ไดถ้ งึ ความรัก ความเอาใจใส่ ความต้ังใจปรุงอาหารจากรสมือของแม่ ท่ีตั้งใจเตรียมของโปรดให้กับ ทุกคนในบ้าน ซ่ึงทำ�ให้กินแล้วอิ่มท้อง และอ่ิมไปถึงใจ ก่อให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น มั่นคงใน สายสัมพนั ธ์ของครอบครัว การเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณผ์ า่ นการกนิ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกดิ – 5 ปี การกินอาหารเป็นเร่ืองท่ีไม่สามารถบังคับกันได้ แม้แต่เด็กเล็กๆ เองยังสามารถรับรู้ ความรสู้ กึ หวิ ความรูส้ ึกอ่ิมของตนเอง พ่อแม่หรอื ผเู้ ล้ียงดูต้องเคารพการตัดสินใจของลกู วา่ ลูกอ่มิ และไมก่ า้ วก่าย หรอื บงั คับ ใหล้ กู ต้องกินตามปริมาณที่พ่อแม่กำ�หนด การที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมุ่งเน้นเฉพาะชนิด ปริมาณอาหารที่ลูกควรจะได้ มารยาท บนโต๊ะอาหาร และความสะอาด อาจทำ�ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูมองข้ามสัญญาณบางอย่างจากลูก ละเลยที่จะเข้าใจอารมณ์ และความรู้สึกของลูก อาจนำ�มาสู่ความขัดแย้งในระหว่างม้ืออาหาร ท�ำ ใหเ้ ดก็ มปี ญั หากนิ ยาก เลอื กอาหาร บางครงั้ สง่ ผลตอ่ ความคดิ รเิ รม่ิ ขดั ขวางความอยากชว่ ยเหลอื ตนเอง หรือหากเกดิ อย่างตอ่ เนอ่ื ง จะส่งผลตอ่ ความสัมพันธท์ ่ีดีระหว่างพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดแู ละลูก และสง่ ผลตอ่ ความผกู พนั ทางอารมณใ์ นทสี่ ดุ คมู่ อื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เด็กวยั แรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กิน กอด เล่น เล่า” 7

หลกั การทส่ี �ำ คญั คอื ครอบครวั ควรมเี วลากนิ อาหารรว่ มกนั อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 มอื้ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรสงั เกตพฤตกิ รรม อารมณ์ ปฏกิ ริ ยิ าตา่ งๆ ของลกู ขณะกนิ อาหาร และตอบสนอง ด้วยท่าที ที่เข้าใจ ระมัดระวังสาเหตุท่ีทำ�ให้พ่อแม่ หรือผู้เลี้ยงดูมีอารมณ์หงุดหงิดใส่ลูก ในมือ้ อาหาร พยายามสร้างบรรยากาศการกนิ ที่ดี ใส่ใจความรสู้ ึกของลกู เปน็ ส�ำ คัญ อย่าให้ ความสนใจเรือ่ งอ่ืน และช่วยให้ลกู ได้ชว่ ยเหลือตนเองตามวัย 8 คู่มอื การเสริมสร้าง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กิน กอด เล่น เลา่ ”

พ่อแม่หรอื ผูเ้ ล้ียงดูสามารถเสรมิ สร้างความผูกพันทางอารมณผ์ า่ นการกนิ โดยคำ�นึงถึงชว่ งพัฒนาการของเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ชว่ งวยั พฤตกิ รรมการกนิ ตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผกู พันทางอารมณ์ผ่านการกิน คู่มือการเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เล่น เลา่ ” แรกเกดิ – 6 เดอื น แรกเกิด – 3 เดือน • อาหารทสี่ ำ�คญั ส�ำ หรับเดก็ 6 เดือนแรก คอื นมแม่ ซึง่ ไม่เพียงท�ำ ให้ • ร้องเมอ่ื หวิ กินนมทุก 2 – 3 ชั่วโมง เด็กได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน แต่ยังสามารถเสริมสร้าง • ลูกสามารถดูด หรอื กลนื ควบคมุ ไม่ใหส้ �ำ ลัก ความผูกพันทางอารมณ์ระหว่างที่เดก็ กินนมแมไ่ ด้อีกด้วย • ลกู มองตามขณะที่แม่ก�ำ ลงั ป้อนนม • แม่ควรให้ลูกดูดนมจากเต้าเร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะเร็วได้ เนื่องจากจะช่วย กระตุ้นการสร้างนํ้านม และกระตุ้นให้เกิดความผูกพันระหว่างแม่ 4 – 6 เดอื น และลูกไดอ้ ย่างดี • แสดงอาการวา่ จะไดก้ นิ นม เมอื่ เหน็ นมแมห่ รอื ขวดนม • พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรสังเกตพฤติกรรมในระหว่างการกินนม เช่น ลกู จะแสดงออกให้พ่อแม่หรอื ผเู้ ลย้ี งดู รวู้ ่าหิวโดยการ ท่าทางเมื่อลูกหิว ท่าทางแสดงความพอใจระหว่างได้กินนม ท่าทาง เลยี รมิ ฝีปาก ลูกเมือ่ อิ่ม เพ่ือตอบสนองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง • ลูกเร่ิมทานอาหารเสริมได้เม่ืออายุ 6 เดือน • พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรลูบที่ศีรษะ ใบหน้า หรือตามลำ�ตัวลูก โดยเปน็ อาหารบดหรอื ป่ันละเอียด อยา่ งแผว่ เบา พรอ้ มทง้ั จอ้ งมองใบหนา้ หรอื พดู คยุ กบั ลกู ดว้ ยนาํ้ เสยี ง สงู ตํ่า ขณะท่ีแมก่ ำ�ลังให้นมลกู • หากลกู พยายามออกเสยี งเลน่ เสยี งจอ้ งมองใบหนา้ หรอื สง่ ยมิ้ ให้พอ่ แม่ หรือผู้เล้ียงดูควรรีบตอบสนองโดยการเลียนแบบเสียงเด็ก พูดคุย หรอื ยมิ้ แย้มโต้ตอบ 9

10 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวยั พฤตกิ รรมการกนิ ตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผกู พันทางอารมณผ์ า่ นการกิน 7 – 11 เดือน • สามารถกินอาหารได้วนั ละ 3 มือ้ และของวา่ งวนั ละ • ลูกเริ่มกินอาหารเสริมได้แล้ว หากลกู ปฏเิ สธอาหารเสริม พ่อแมห่ รือ 1 - 3 ปี 2 ถงึ 3 มอื้ ผูเ้ ลย้ี งดไู มค่ วรหงดุ หงดิ ใสล่ กู ท่ลี ูกยงั ไมย่ อมรับอาหารเสริม ลูกต้อง • เคี้ยวและกลืนอาหารทบ่ี ดหยาบได้ ใชเ้ วลาในการปรบั ตวั บา้ ง • รู้จกั หยบิ ขนม หรอื อาหารชิน้ เลก็ ๆ ขนึ้ มากินเอง • ไม่บังคับลูกให้กินเมื่อลูกมีท่าทางปฏิเสธอาหาร เช่น หันหน้าหนี • เม่อื อายุ 8 เดือน สามารถดืม่ นํ้าจากถ้วยทมี่ ีฝาชว่ ยหัด บว้ นอาหาร ไม่ยอมอา้ ปาก ดม่ื หรอื ผู้ใหญช่ ่วย • ถอื ชอ้ น และพยายามตกั อาหาร เข้าปากเอง • ลูกจะแสดงออกชัดเจนถึงความชอบ หรือไม่ชอบ อาหารชนดิ ใดเปน็ พิเศษ 1 – 2 ปี • ให้ลูกวัยเตาะแตะได้กินอาหารพร้อมๆ กับสมาชิกคนอื่นๆ ในบ้าน • เริ่มใช้ชอ้ นตักอาหารเขา้ ปาก เมื่อลูกได้อยู่ในบรรยากาศการกินที่เต็มไปด้วยความอบอุ่นจะทำ�ให้ • อยากจะตักอาหารด้วยตัวเอง แม้ว่าจะยังใช้ช้อน ลกู กนิ อาหารมปี ระโยชน์ได้ง่าย และมีความสขุ ไมค่ ลอ่ งแคล่ว มกั ท�ำ อาหารหกเลอะเทอะ จนกระท่งั • แมค่ วรเปดิ โอกาสใหล้ กู หยบิ อาหารดว้ ยมอื เขา้ ปาก หรอื ตกั กนิ เอง และ อายุ 1 ปี 6 เดอื น หรอื อายุครบ 2 ปีในเด็กบางคน พูดชมเชยลูกเม่ือลูกมีความพยายามที่จะตักอาหารเข้าปาก เพื่อให้ ทกั ษะการตักอาหารเขา้ ปากจะเรมิ่ ดีขน้ึ ลูกรู้สกึ ภมู ใิ จในความสำ�เร็จของตนเองเม่อื เรมิ่ นำ�อาหารเข้าปากได้ • ลูกมักตอ่ ต้านและพดู ว่า “ไม่” กบั เร่ืองตา่ งๆ รวมถึง • ให้คำ�ชมลูก ถ้าลูกกินอาหารได้ดี นั่งกินอาหารได้จนอ่ิมไม่โวยวาย เรื่องการกนิ อาหาร ไม่ใชเ่ ฉพาะเม่ือลูกกนิ อาหารหมดจานเทา่ นัน้ • ลูกมีพลังงานล้นเหลือ และความสนใจ ความอยาก • เมื่อลกู ขว้างอาหารหรืออปุ กรณ์การกนิ ใหห้ ยุดพฤตกิ รรมลูกโดยการ อาหารจะลดลง จบั มอื ใหห้ ยดุ และบอกด้วยนํา้ เสียงหนักแน่น วา่ “ทำ�ไมไ่ ด้” แลว้ เก็บอาหารหรืออุปกรณ์การกินออกไป

ช่วงวัย พฤตกิ รรมการกนิ ตามวยั แนวทางการเสริมสร้างความผกู พันทางอารมณผ์ ่านการกิน 1 - 3 ปี (ต่อ) 2 – 3 ปี • วยั เตาะแตะมักจะห่วงเล่น ท�ำ ให้มีความสนใจในการกินอาหารลดลง • นั่งรว่ มโต๊ะอาหารได้ดีขน้ึ ใชช้ อ้ นส้อมไดด้ ี ปรมิ าณอาหารในแตล่ ะมอื้ ทล่ี กู กนิ อาจจะดลู ดลง พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู • ชอบเลียนแบบ และชอบมีสว่ นร่วม ไม่ควรกังวลกับปริมาณอาหารที่ลูกกินในแต่ละมื้อมากเกินไป คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 11 • แมว้ า่ ลกู จะเตบิ โตกวา่ ตอนเปน็ ทารก แตก่ ย็ งั รบั อาหาร จนบงั คบั ใหล้ กู กนิ อาหารดว้ ยวธิ ขี ู่ บงั คบั ตดิ สนิ บน เชน่ “กนิ อกี ค�ำ นงึ ได้ในปรมิ าณทไี่ ม่มากนัก แล้วแม่จะให้กินไอติม” “ถ้าไม่กินผักแม่ไม่ให้เล่นเกมจริงๆ ด้วย” • ลูกช่วยลา้ งผลไม้ ผกั ดว้ ยการขดั ถู ช่วยฉกี ผักได้ “หยุดเดย๋ี วนนี้ ะ กินใหห้ มดนะ ถ้าไม่หมดไมต่ อ้ งลุกจากเกา้ อ้ี” • เลอื กอาหารทชี่ อบได้เอง ซึ่งจะทำ�ลายความผูกพันระหว่างพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูและลูก • ลกู รจู้ กั บอกเมอ่ื ตอ้ งการอาหารเพม่ิ หรอื เมอ่ื กนิ หมดแลว้ โดยไม่จ�ำ เป็น • ปรบั เปลย่ี นเมนอู าหารใหห้ ลากหลาย มสี สี นั หนา้ ตาแปลกตา รสชาติ ใหมๆ่ ไมซ่ ํ้าซากจ�ำ เจ เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจของลกู • ชกั ชวนใหล้ กู เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั เตรยี มอาหาร ตง้ั แตพ่ าลกู ไป ชว่ ยเลอื กซอ้ื ของ ให้ลูกไดเ้ ลอื กผลไม้หรือของว่างของลกู เอง ล้างผัก ถือจานไปวางบนโต๊ะ • ให้ลกู ไดช้ ว่ ยจัดเตรียมอาหารเล็กๆ นอ้ ยๆ ในครวั • พาลูกไปเดินเล่นในสวนผลไม้ หรือแปลงปลูกผักเพ่ือให้ลูกสนใจ เกี่ยวกบั ผักหรือผลไม้ชนดิ ใหมๆ่

12 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวัย พฤตกิ รรมการกนิ ตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผูกพันทางอารมณ์ผ่านการกนิ 3 - 5 ปี 3 ปี • จดั ทกี่ นิ อาหารใหล้ กู ไดน้ ง่ั รว่ มโตะ๊ อาหารพรอ้ มๆ กบั ผใู้ หญ่ และนงั่ กนิ • เรียนร้กู ารเรยี กรอ้ งความสนใจโดยการปฏิเสธอาหาร• อาหาร ไม่เดินตามปอ้ นอาหาร ลกู มกั มีค�ำ ถามวา่ “ท�ำ ไม” กระตือรอื รน้ ท่ีจะเรยี นรู้ • สร้างบรรยากาศให้ผ่อนคลาย ด้วยการพูดคุยเร่ืองทั่วไป หรือคุย ตลอดเวลา เร่ืองอาหาร เชน่ “วันน้ีเรามแี กงจืดฟัก กบั ไขเ่ จียวนะจะ๊ ลองชิมดูวา่ • บอกช่ืออาหารได้ ลกู ชอบมย้ั ” แตไ่ มค่ วรพดู หรอื สอนเกย่ี วกบั คณุ คา่ อาหารมากจนเกนิ ไป • กระตือรือรน้ ที่จะเลือกอาหารดว้ ยตนเอง เชน่ “กนิ นซ่ี ิ ท�ำ ไมไมก่ นิ นล่ี ะ่ แมอ่ ตุ สา่ หท์ �ำ อาหารทม่ี ปี ระโยชนท์ ง้ั นน้ั ” • เปลี่ยนใจชอบหรือไม่ชอบอาหารแต่ละชนิดอย่าง • ผู้ใหญไ่ มค่ วรทะเลาะกนั ระหว่างมื้ออาหาร รวดเร็ว • สังเกตปฏิกิริยาของลูกระหว่างกินอาหาร เช่น ลักษณะอาหารที่ • ชว่ ยคนอาหาร และเตมิ ส่วนผสมอาหารในภาชนะได้ ลกู ชอบ ปรมิ าณอาหารทล่ี กู อม่ิ พอดใี นแตล่ ะมอ้ื ปรมิ าณอาหารทพ่ี อดี • เขย่าเครอื่ งด่มื ในแก้วทีม่ ฝี าปิดได้ ส�ำ หรบั ลูกในแต่ละค�ำ ท่ปี ้อน จงั หวะในการกินของลูก ความอยากมี • ลูกรู้จักใช้ช้อนส้อมได้ดีขึ้น แต่ยังต้องให้คำ�แนะนำ�ใน ส่วนรว่ มในการกินอาหาร เช่น อยากตักเอง อยากหยิบเอง อยากถอื การตักแบ่งอาหารเปน็ ค�ำ เลก็ ๆ ช้อนเอง และพ่อแม่หรือผู้เล้ยี งดูควรตอบสนองอย่างเหมาะสม

คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 13 ชว่ งวยั พฤตกิ รรมการกนิ ตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผูกพนั ทางอารมณผ์ า่ นการกนิ 4 – 5 ปี • ไมก่ งั วลกบั ปรมิ าณอาหารทล่ี กู จะไดร้ บั มากเกนิ ไป จนท�ำ ใหต้ อ้ งบงั คบั • ถือจาน ชาม ช้อน ตักอาหารได้ดี • ช่วยจัดโตะ๊ อาหารได้ ลกู ให้กนิ อาหารตามที่พ่อแมห่ รือผเู้ ลยี้ งดตู อ้ งการ • สนใจโฆษณาขนมทีเ่ พ่ิงเหน็ ทางโทรทัศน์ • ไม่ควรดุ ตำ�หนิ ต่อว่า ตวาด ตะโกน ตีลูก หรือแสดงอารมณ์ • ชอบทจ่ี ะได้ชว่ ยคดิ เมนู ช่วยปรุงอาหาร • ช่วยปอกผลไม้ง่ายๆ ได้ เชน่ กล้วย สม้ ในทางลบ เมือ่ ลกู ไม่ยอมกนิ กนิ เหลอื • ชง่ั ตวง ส่วนผสมได้ • เปลยี่ นอาหารไมใ่ ห้ซํ้าจำ�เจ อาหารอย่างเดยี วกันไมค่ วรกินซาํ้ ติดกัน • ตัดอาหารนิ่มๆ ไดด้ ว้ ยมีดพลาสตกิ • กินอาหารดว้ ยตนเองได้ดี 2 - 3 มื้อ และไม่เสิร์ฟอาหารเฉพาะท่ีลูกชอบ เพราะจะทำ�ให้ลูก กินอาหารได้ไม่กชี่ นิด • พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดชู กั ชวนใหล้ กู ชว่ ยคดิ เมนอู าหาร พาลกู ไปซอื้ อาหาร หรือซื้อกับข้าวที่ตลาด เปิดโอกาสให้ลูกได้เลือกผักหรือผลไม้ที่ลูก ชอบ• มอบหมายหนา้ ทใี่ ห้ ชว่ ยเตรยี มโตะ๊ อาหาร ชวนลกู มาจดั เตรยี ม อาหารด้วยกนั ในครวั แต่การให้ลูกไดม้ ีส่วนรว่ มในครวั ต้องระวังของ มีคม การเปิดเตาแก๊ส และการระวงั ของร้อน • ใหค้ �ำ ชมลกู ถา้ ลกู รบั ผดิ ชอบตวั เองไดใ้ นมอื้ อาหาร เชน่ กนิ ขา้ วไดเ้ อง ไม่ลุกเดินไปมา เปน็ ต้น

อาหารทเ่ี หมาะกบั เด็กวยั แรกเกดิ – 5 ปี อาหาร และแนวทางการเลอื กอาหารทเ่ี หมาะกบั เดก็ วยั แรกเกดิ – 2 ปี ลกั ษณะอาหารทเ่ี หมาะสมตามวยั o แรกเกิด – 6 เดอื น ใหน้ มแมอ่ ย่างเดยี ว o เรม่ิ อาหารเสริมเม่อื อายุ 6 เดือน  เนอ่ื งจากลกั ษณะของอาหารทเ่ี ปลย่ี นจากอาหารเหลว เปน็ อาหารออ่ นนมุ่ ระยะเปลยี่ น ผา่ นจงึ ส�ำ คญั มาก หากไม่เหมาะสมหรือใหเ้ ร็วเกินไปทารกจะปรบั ตัวไม่ได้ดี มผี ลให้ได้ รบั โปรตีนและพลงั งานไม่พอเพียง  6 – 7 เดือน นมแม่ และอาหารเสริม 1 มอื้ เนื้อละเอียด  เดอื นที่ 7 เพ่มิ เนอื้ สัตว์ ได้แก่ ไก่ หมู ปลานํา้ จืด ตบั ไขท่ ี่ตม้ จนสุกไมเ่ ปน็ ยางมะตมู เรมิ่ อาหารวา่ งเป็นผลไมป้ ่นั ละเอยี ด และเตมิ นาํ้ 1 มอ้ื ปริมาณ 3 – 4 ช้อนโตะ๊  8 – 10 เดอื น นมแม่ และอาหารเสริม 2 ม้ือ เน้อื หยาบขึ้น แต่ยังออ่ นนมุ่  11 – 12 เดอื น นมแม่ และอาหาร 3 มอื้ เน้ืออาหารหยาบขน้ึ ไม่ต้องตุ๋น ใช้การต้ม o การเรมิ่ ใหอ้ าหารเสรมิ ทารกมีข้อปฏิบัติ ดงั นี้  ควรให้อาหารออ่ นนุ่มทลี ะน้อย  ระมัดระวังความสะอาดทัง้ อาหารสด อาหารสุก ภาชนะ  ไมบ่ ังคบั ใหท้ ารกกิน แตใ่ ห้ทารกเริ่มชิมก่อนทีละนอ้ ย จนยอมรบั  ใหอ้ าหารทีละอย่าง เว้นระยะในการให้อาหารแตล่ ะชนิดให้ห่างกันพอควร  ให้ทารกกินนมแมต่ ามทกุ ครง้ั o เม่ือทารกอายุ 1 ปี อาหารที่ได้ควบคู่กับนมแม่จะกลายเป็นอาหารหลัก และให้นมแม่ เป็นอาหารเสรมิ ตอ่ เนื่องจนถงึ อายุ 2 ปี o เด็กอายุ 1 – 2 ปี ควรได้รบั อาหารใน 1 วนั ตามปรมิ าณ ดงั ตอ่ ไปน้ี  นม 1 – 3 แก้ว  ไข่สกุ ครงึ่ ฟอง  เนื้อสตั ว์ 2 ช้อนกนิ ขา้ ว  ข้าว 4 ½ ทพั พี  ผกั ใบเขยี ว 1 ½ ทัพพี  ผลไม้ 3 สว่ น  น้าํ มนั 2 – 3 ช้อนชา ลกั ษณะอาหารทค่ี วรงด หรอื จ�ำ กดั o ไม่ควรใหอ้ าหารทเ่ี คี้ยวยาก มเี น้อื สัมผัสแข็ง หรือเหนยี วเกินไป แต่ไม่จ�ำ เปน็ ต้องสับจน ละเอยี ดเพราะเดก็ จะไมไ่ ดฝ้ กึ เคย้ี วอาหาร ซง่ึ อาจกลายเปน็ เดก็ กนิ อาหารยากในอนาคตได้ 14 คมู่ ือการเสรมิ สรา้ ง ความผูกพันทางอารมณ์ ส�ำ หรับเด็กวยั แรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เลน่ เล่า”

ตัวอยา่ งอาหาร/เมนอู าหารส�ำ หรับเดก็ วยั แรกเกิดถึง 2 ปี ตวั อย่างรายการ สว่ นประกอบของอาหาร สารอาหารทเี่ ด็กจะได้รบั (กิโลแคลอร/ี่ กรัม) อาหารส�ำ หรบั เดก็ อายุ 6 –­ 8 เดือน คารโ์ บไฮเดรต = 48 1. ขา้ วบด ไขแ่ ดง ตำ�ลึง ขา้ วสวย ไขมัน = 41 นํา้ แกงจืด โปรตนี = 11 ไข่แดง คาร์โบไฮเดรต = 52 ตำ�ลึง ไขมัน = 33 น้ํามันพืช โปรตนี = 15 2. ขา้ วบด ตบั ไก่ เต้าหู้ ผกั กาดขาว ข้าวสวย คาร์โบไฮเดรต = 51 นํ้าแกงจืด ไขมนั = 26 ตับไก่ โปรตนี = 23 เต้าหหู้ ลอดไขไ่ ก่ คารโ์ บไฮเดรต = 44 ผกั กาดขาว ไขมนั = 40 โปรตีน = 16 อาหารสำ�หรบั เด็กอายุ 9 – 11 เดือน 3. ขา้ วตม้ ปลา แครอท ขา้ วสวย นา้ํ แกงจดื เนอื้ ปลาทะเลทไ่ี ม่มีกา้ ง แครอท นา้ํ มันพืช 4. ข้าวต้ม หมสู ับ เลอื ด ผกั หวาน ขา้ วสวย นา้ํ แกงจดื หมูสับ เลือดหมู ผักหวาน นํา้ มันพืช คมู่ อื การเสริมสรา้ ง ความผกู พันทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วยั แรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เลา่ ” 15

ตวั อย่างรายการ สว่ นประกอบของอาหาร สารอาหารทเ่ี ด็กจะได้รับ (กิโลแคลอรี่/กรมั ) อาหารส�ำ หรบั เด็กอายุ 1 – 2 ปี คารโ์ บไฮเดรต = 41 5. ขา้ วผดั ไข่ แกงจดื ไก่ ฟักทอง ข้าวสวย ไขมนั = 43 นํา้ มนั พชื โปรตีน = 16 ไขไ่ ก่ คารโ์ บไฮเดรต = 40 นา้ํ แกงจืด ไขมนั = 42 เนอื้ ไก่ ตับไก่ ฟักทอง โปรตนี = 18 6. ขา้ ว เตา้ หูอ้ อ่ นทอด ต้มเลือดหมู ข้าวสวย หมูสับ แครอท ตำ�ลึง เต้าหูห้ ลอดไข่ไก่ น้ํามันพชื นาํ้ แกงจดื เลอื ดหมตู ม้ หมูสับ แครอท ตำ�ลึง 16 คูม่ อื การเสริมสร้าง ความผกู พันทางอารมณ์ สำ�หรบั เด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เล่า”

อาหาร และแนวทางการเลอื กอาหารทเ่ี หมาะกบั เดก็ 3 – 5 ปี สาระสำ�คัญ: ลูกวัยอนุบาลมีความต้องการพลังงานและสารอาหารมากกว่าวัยทารกและ วยั เตาะแตะ การเลอื กอาหารท่ีเหมาะสมแกล่ กู จะท�ำ ให้ลูกมขี ุมพลงั น้อยๆ ท่จี ะน�ำ ไปใชใ้ น การเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั และไดส้ มั ผสั ถงึ ความรกั ของพอ่ แม่ ระหวา่ งการไดก้ นิ อาหารรว่ มกนั ลกั ษณะอาหารทเ่ี หมาะสมตามวยั o อาหารสำ�หรับลูกวัยอนุบาล ในวัยนี้สามารถกินอาหารได้ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ เพียงแต่ รสชาติไมจ่ ดั เกนิ ไป และต้องครบ 5 หมู่ o ลูกวยั น้ีต้องไดอ้ าหารครบ 3 ม้อื แต่ละมอื้ ควรประกอบดว้ ย ดงั น้ี  ข้าวสวย หรอื ขา้ วเหนยี วปรมิ าณ ½ ถ้วยตวง  อาหารอื่น เชน่ ไข่ 1 ฟอง เน้ือปลาหรือเน้ือสตั ว์ 1 ช้อนโตะ๊ เต้าหู้เหลอื ง หรือถัว่ เหลือง ½ ถว้ ยตวง  น้ํามนั พชื ท่ีมีกรดไขมนั จ�ำ เป็น 1 – 2 ชอ้ นชา  ผกั 1 – 2 ชอ้ นโตะ๊ เชน่ ผักต�ำ ลึง ผักบุ้ง ผักกาดขาว  ผลไม้อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เชน่ กล้วยหอม ½ ผล มะละกอสกุ 1 ชนิ้ น้าํ ผลไม้ 2 ออนซ์ เป็นตน้ ลกั ษณะอาหารทค่ี วรงด หรอื จ�ำ กดั o การปรงุ อาหารควรงดใสเ่ ครอ่ื งปรงุ รสมากเกนิ ปรมิ าณ เชน่ นา้ํ ตาล นาํ้ ปลา ผงชรู ส เพราะ จะท�ำ ให้เด็กตดิ รสชาตขิ องความหวาน ความเคม็ o ไม่น�ำ อาหารทีป่ รงุ ดบิ ๆ สกุ ๆ หรืออาหารเหลอื ค้างมาใหล้ กู กิน o ไมค่ วรให้ลูกดมื่ เครอ่ื งดม่ื บางชนิด เชน่ นํ้าอดั ลม นํ้าชา กาแฟ เครือ่ งดม่ื ชกู �ำ ลัง o ไม่ควรให้ลูกกินขนมกรุบกรอบ ขนม หวานจดั และทอฟฟี่ คมู่ ือการเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 17

ตวั อย่างอาหาร/เมนูอาหารส�ำ หรับเดก็ 3 –­ 5 ปี ตวั อยา่ งรายการ สว่ นประกอบของอาหาร สารอาหารทเ่ี ด็กจะไดร้ บั 1. ต้มย�ำ อนุบาล (กิโลแคลอร่/ี กรัม) เนื้ออกไก่ 2. ข้าวต้มเบญจรงค์ นมสด คารโ์ บไฮเดรต = 13.4 ฟกั ทอง มะเขือเทศสุก ไขมนั = 5.9 ผักชีฝร่งั โปรตนี = 11.2 ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรูด เกลอื ป่น นํา้ มะนาว คาร์โบไฮเดรต = 10.5 ซปุ โครงไก่ ไขมนั = 0.8 ขา้ วกลอ้ งสุก โปรตนี = 2.4 ถั่วแดงตม้ สุก ถว่ั ลันเตาตม้ สกุ แครอท เต้าหูข้ าว ซปุ ซอี ๊ิวขาว 18 คู่มือการเสรมิ สรา้ ง ความผกู พันทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กิน กอด เล่น เล่า”

ปญั หาการกนิ ที่พบตามวยั และแนวทางการดแู ล ชว่ ยเหลือเบือ้ งต้น วยั แรกเกดิ –­­ 2 ปี สาระส�ำ คญั : ปัญหาการกนิ ของเด็กเลก็ เปน็ เร่ืองละเอียดออ่ นทพี่ อ่ แม่หรอื ผู้เลย้ี งดูต้องใช้ การสงั เกตพฤตกิ รรมอาการของลกู เนอื่ งจากลกู ยงั สอื่ สารไดไ้ มม่ ากนกั พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู จึงควรมีความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับพัฒนาการของลูกและปัญหาเก่ียวกับการกินอาหารที่ พบบ่อยในวัยแรกเกิด – 2 ปี เพอ่ื หาแนวทางในการดูแลและช่วยเหลอื อย่างทนั ทว่ งที พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู อาจมองว่าปัญหาที่พบในลูกวัยทารกหรือวัยเตาะแตะเป็นเร่ืองเข้าใจยาก เนื่องจากลูกน้อยยังไม่สามารถบอกความต้องการท่ีแท้จริงของตนเองได้ บ่อยคร้ังท่ีพบว่า ลกู รักร้องกวนงอแงจนผดิ สังเกต หรือมอี าการบางอย่างทไี่ มเ่ คยมมี าก่อน เช่น ร้องไมห่ ยดุ บ่ายเบ่ียง เม่อื ป้อนนมหรืออาหาร บ้วนนม บ้วนอาหารท้ิง เป็นต้น ปัญหาทพี่ บบ่อยที่เก่ียวข้องกบั การกนิ ของลกู วยั แรกเกิด – 2 ปี ดังตารางตอ่ ไปน้ี ช่วงอายุท่พี บบอ่ ย ปญั หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การกนิ แนวทางการดแู ล หรือชว่ ยเหลอื เบ้ืองตน้ ขวบปแี รกโดยเฉพาะ • อาเจียนและสำ�รอกนม:  ควรให้ลูกด่มื นมใหเ้ ปน็ เวลา ชว่ งเปลย่ี นจากนมแม่ ลูกมักจะมีการสำ�รอกนมได้บ้าง  หลังกินนมเสร็จ ควรจับลูกข้นึ เปน็ นมผสม หรอื เรม่ิ หลังกนิ นมประมาณ 1 ชม. เปน็ นมทย่ี งั ยอ่ ย พาดบา่ ไลล่ ม หรอื จบั นง่ั บนตกั อาหารเสริมใหมๆ่ ไมเ่ สรจ็ เปน็ กอ้ นเลก็ ๆ ปนกับนํ้านมปริมาณ แลว้ ลูบหลงั เบาๆ สักพกั ไม่มาก ซึ่งไม่ใช่ภาวะผิดปกติ ไม่ต้อง  ถ้าคาดว่าสาเหตุมาจากแม่ วิตกกังวล แต่ในทารกบางคนอาจมีการ ป้อนนมในปริมาณท่ีมาก อาเจียนหลังกินนมทันที เนื่องจากนมล้น จนเกินไป ให้ทดลองลด กระเพาะอาหาร ปริมาณนมลง • ทอ้ งผกู :  สำ�หรับลูกที่กินนมผสม ลอง ไมถ่ า่ ยประมาณ 3 วนั ถา้ ถา่ ยอจุ จาระ เปลย่ี นสูตรนม มลี ักษณะเป็นกอ้ นแข็ง ตอ้ งเบง่ เบ่งนาน  ใหก้ นิ อาหารทม่ี กี ากใยมากขน้ึ เชน่ ผกั ผลไม้ ส�ำ หรบั ลกู ทเ่ี รม่ิ อาหาร เสรมิ แล้ว (อายุ 6 เดอื นขึ้นไป)  คั้ น นํ้ า ส้ ม ผ ส ม น้ํ า ต้ ม สุ ก เ ล็ ก นอ้ ยเพอ่ื เจอื จาง ใหล้ กู จบิ 1 – 2 ชอ้ นชา/คร้งั  ถ้าไม่ได้ผล ให้พบแพทย์ คูม่ อื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเด็กวัยแรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เลา่ ” 19

ชว่ งอายุทพ่ี บบ่อย ปญั หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การกนิ แนวทางการดแู ล หรือชว่ ยเหลือเบือ้ งตน้ 1 - 2 ปี • สงิ่ ของตดิ ล�ำ คอ หรอื ส�ำ ลกั เศษอาหาร:  ระวงั ไมใ่ หล้ ูกเลน่ ของชนิ้ เล็กๆ  เนื่องจากลูกมักจะหยิบของชน้ิ เลก็ เช่น กระดมุ ก๊บิ เมลด็ ถั่ว เขา้ ปาก กลนื ของเลน่  อาหารควรเปน็ อาหารเคย้ี วงา่ ย  ระบบการเคี้ยว การกลืนของลูก ชนิ้ เล็ก ยังไม่สมบูรณ์ ฟันสำ�หรับบดเคี้ยว  สอนให้เด็กรู้จักการเคี้ยวให้ดี ยงั ขึ้นไม่ครบ ไมก่ ระโดด หรอื ตะโกนพดู เมอ่ื  รบี เคย้ี วเพราะหว่ งเลน่ ท�ำ ใหอ้ าหาร มอี าหารอยู่ในปาก ที่มีชิ้นเล็กหรือใหญ่เกินไปค้างใน  เมื่อลูกมีอาหารหรือสิ่งของติด ลำ�คอขณะกินอาหาร คอใหล้ กู ไอแรงๆ หรอื ใชส้ นั มอื ตบระหวา่ งสะบกั แรงๆ4–5ครง้ั • นาํ้ หนักเพม่ิ จนควบคมุ การกินยาก  ลดอาหารทม่ี ไี ขมนั และงดการ  มกั เกดิ จากกนิ นมและขนมหวานมาก เตมิ นา้ํ มนั ในอาหารเสรมิ ของลกู ว่ิงเล่นน้อย นั่งดูโทรทัศน์พร้อม  เพมิ่ ผกั ใหม้ ากข้นึ กินขนมไปดว้ ย  งดนา้ํ หวาน และใหด้ ม่ื นา้ํ เปลา่ แทน  ชักชวนลูกไปวิ่งเล่นนอกบ้าน แทนการนง่ั ดโู ทรทัศน์ • กินยาก ปฏเิ สธอาหาร  งดขนม ของหวาน เคร่ืองดื่ม กอ่ นกินอาหารอย่างนอ้ ย 1 ½ ชวั่ โมง  ปรับเปลีย่ นอาหารให้มรี สชาติ หลากหลาย  กนิ อาหารพรอ้ มๆ กนั กบั ผใู้ หญ่ และปลอ่ ยให้ลกู ไดต้ ักกนิ เอง 20 คมู่ อื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เล่น เลา่ ”

วยั 3 – 5 ปี สาระส�ำ คญั : ปญั หาการกนิ ทพี่ บบอ่ ยในลกู อายุ 3 – 5 ปี มกั สง่ ผลกระทบตอ่ ตวั ลกู เองและ ทกุ คนในบา้ น รวมถงึ การปรบั ตวั เขา้ สงั คมกบั เพอ่ื นๆ ทโ่ี รงเรยี น ดงั นนั้ การสรา้ งบรรยากาศ การกนิ ทด่ี ี รว่ มกับการฝึกระเบียบวินยั ในการกินอาหารจะช่วยป้องกนั ปัญหาการกินของ เดก็ วัยนีไ้ ดเ้ ป็นอยา่ งดี วัย 3 – 5 ปี หรือวัยอนุบาล เป็นวัยที่เด็กก้าวออกสู่โลกภายนอก มีพัฒนาการด้านภาษา ท่ีดีขนึ้ สามารถสอ่ื สารเร่อื งราวต่างๆไดเ้ ป็นอยา่ งดี เน่อื งจากลกู เริ่มเขา้ สังคมมากขนึ้ ปัญหาที่รบกวน การกนิ ของลกู วยั น้ี ไมเ่ พยี งแตส่ ง่ ผลตอ่ ตวั เดก็ เอง แตจ่ ะมผี ลกระทบตอ่ ผอู้ นื่ มากขน้ึ เชน่ เพอ่ื นๆ คณุ ครู ผใู้ หญ่นอกบ้าน การสร้างระเบียบวินัยท่ีดีในการกินอาหาร ในลูกวัยอนุบาล จะเป็นการช่วยป้องกันปัญหา พฤติกรรมการต่อต้านการกนิ ปญั หาลูกกนิ ยาก กินไมเ่ ปน็ เวลาได้ ซ่ึงมีวิธดี ังต่อไปนี้ 1. เรมิ่ ม้ืออาหารบนโต๊ะอาหารเสมอ ไมค่ วรลกุ ออกไป เลน่ ไปกินไป ถา้ ลกู เรมิ่ อมขา้ ว บ้วนข้าว หรือ สะบัดหน้า (ไมย่ อมกิน) 2 – 3 ครั้งแลว้ ควรเลกิ ปอ้ น และน�ำ อาหารไปเกบ็ 2. ไมค่ วรใหก้ นิ ขา้ วพรอ้ มเลน่ ของเลน่ ดโู ทรทศั น์ หรอื วง่ิ เลน่ ไปกนิ ไป เพราะท�ำ ใหไ้ มม่ สี มาธกิ บั การกินอาหาร และเปน็ เดก็ อมข้าว กนิ ข้าวนาน ติดนิสัยต้องตามป้อน 3. เวลาในการกนิ อาหารไมค่ วรเกิน 20 – 30 นาที บางคร้งั การเดินตามป้อนข้าวลูก หรอื ลกู เลน่ ไปกินไป เป็นชวั่ โมง จะยงิ่ ทำ�ให้ลกู รูส้ ึกเบอ่ื หน่ายการกินอาหาร 4. ถา้ จะใหล้ กู กนิ ขนม หรอื เครอื่ งดมื่ เชน่ นา้ํ ผลไมร้ ะหวา่ งมอื้ อาหาร ควรใหก้ นิ กอ่ นมอ้ื อาหารหลกั อย่างนอ้ ย 1 ½ ชัว่ โมง เชน่ ถ้าลูกจะกินข้าวเยน็ เวลา 5 โมงเย็น ไมค่ วรให้ลกู ดม่ื นม น้ําผลไม้ หรอื กินขนมขบเคยี้ ว หลังบ่าย 3 โมงครึ่งเป็นต้นไป คูม่ ือการเสริมสร้าง ความผกู พนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เด็กวัยแรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เล่น เลา่ ” 21

ปญั หาการกนิ ท่พี บบ่อยในเดก็ วยั 3 - 5 ปี ดังตารางตอ่ ไปนี้ ปญั หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การกนิ แนวทางการดูแลหรือช่วยเหลอื เบื้องต้น เบื่ออาหาร: เกดิ จาก  ให้กินเมอ่ื หิว ไม่ควรบงั คบั ให้กนิ อาหาร • ลูกวัยน้ีชอบปฏิเสธ ต่อต้านคำ�ส่ัง  กนิ อาหารเป็นม้อื ๆ ไม่กนิ จุบจิบ การปฏิเสธอาหารเป็นวิธีท่จี ะต่อต้าน  งดขนม และของจกุ จิกระหว่างม้ือ การบงั คับของพ่อแมห่ รือ ผเู้ ลีย้ งดู  ให้กินแบบอารมณ์ดี ให้ลูกหยิบจับกินเอง หกบ้าง • ลกู สามารถรบั รไู้ ดถ้ ึงอารมณ์ ทัง้ ทาง กไ็ ม่เปน็ ไร สรา้ งบรรยากาศทชี่ วนกนิ ไมบ่ งั คับดวุ า่ บวก และทางลบ ดังนั้นหากสภาพ  เปล่ยี นอาหารไมใ่ ห้ซ้าํ ซาก แวดลอ้ มขณะกนิ อาหารไมม่ คี วามสขุ  ให้ลูกมีส่วนร่วมในการประกอบอาหาร เช่น ให้ช่วย จะทำ�ใหค้ วามอยากอาหารลดลง เดด็ ผัก หยบิ อุปกรณต์ ่างๆ • ลูกไม่อยากกิน ไม่หิวแต่ถูกบังคับ ให้กนิ บางคร้ังมกี ารอมข้าว เลือกกินอาหาร หรือกินยาก สาเหตุเกิด  เวลาลูกเกดิ อาการปฏิเสธอาหาร พอ่ แมค่ วรทำ�เปน็ ไม่ ไดจ้ าก สนใจ ไม่ควรให้ขนม ลูกอม หรืออาหารทล่ี กู ตอ้ งการ • ลกู เรียกรอ้ งความสนใจ ควรปลอ่ ยใหล้ กู ระบายความโกรธ ทไี่ มไ่ ดส้ งิ่ ทต่ี อ้ งการ • เลยี นแบบพ่อแม่ จึงค่อยพูดอธิบายเหตุผลภายหลัง ไม่ควรลงโทษลูก • ถกู ตามใจมากเกินไป ขณะเกิดอาการ • เอาแตใ่ จตนเอง  ถ้าให้เวลาลูกอยู่กับอาหาร 10 – 15 นาที ลูกยังคง ปฏเิ สธอาหารนน้ั ใหเ้ กบ็ อาหาร และระหวา่ งมอื้ อาหาร ควรงดขนม นม เพอื่ ใหเ้ ดก็ หวิ และมคี วามพรอ้ มในการ กินม้อื ถดั มากขึ้น  ฝกึ ให้กินอาหารหลายประเภททัง้ ทช่ี อบและไม่ชอบ ลูกไม่กินผัก  ให้ลูกมีส่วนร่วมในการท�ำ อาหารจานผัก เช่น ล้างผัก • ลกู ไม่เคยถกู ฝกึ ใหเ้ รม่ิ กนิ ผัก แกะผัก หั่นผัก เป็นตน้ • พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเล้ียงแบบตามใจ  พ่อแม่หรอื ผู้เลีย้ งดเู ปน็ ตัวอย่างในการกินผักแกล่ กู ให้กินแต่สิ่งที่ลูกชอบและไม่มี  จดั จานผกั ของลกู ดว้ ยผกั ทล่ี กู พอกนิ ได้ และ มสี สี นั สดใส ประโยชน์ เช่น ขนมซอง น้ําอัดลม  เรมิ่ ใหล้ กู กนิ ผกั ทเ่ี คยี้ วงา่ ยไมม่ กี ลน่ิ ควรหลกี เลยี่ งผกั ทม่ี ี ขนมหวาน รสฝาดเฝอ่ื นขมเรม่ิ ตน้ ดว้ ยผกั ทกี่ นิ งา่ ยเชน่ ผดั กาดขาว กะหลํ่าปลี ผกั บงุ้ เปน็ ต้น  การเลอื กผกั ใหล้ กู กนิ ครงั้ แรก อาจแปรรปู ผกั ใหเ้ ดก็ กนิ งา่ ยขึน้ เช่น ผกั ทอดกรอบ หรือผักชุบแปง้ ทอด หรอื หันผักให้เปน็ ชนิ้ เล็กๆ แทรกลงไป ในอาหารท่ลี ูกชอบ  อาจยกตวั อยา่ งบคุ คลทล่ี กู ชน่ื ชมวา่ เปน็ ผทู้ ก่ี นิ ผกั เปน็ ประจ�ำ 22 คมู่ ือการเสริมสรา้ ง ความผูกพันทางอารมณ์ ส�ำ หรับเดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เล่น เลา่ ”

ปญั หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การกนิ แนวทางการดแู ลหรอื ช่วยเหลอื เบื้องต้น เลอื กกนิ อาหารตามความพอใจ เลอื กอาหาร  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรปลูกฝังการเลือกขนมที่มี ท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการน้อยตามร้านค้า ประโยชน์ด้วยนิทานอยา่ งสมาํ่ เสมอ เชน่ ขนมกรุบกรอบ นา้ํ หวาน อาจเกิดจาก  พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรพาลูกไปเลือกซื้ออาหารหรือ • พอ่ แม่หรอื ผเู้ ลีย้ งดูตามใจ ขนมดว้ ยกนั และถอื โอกาสสอนเรอื่ งขนมทมี่ ปี ระโยชน์ • พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูใช้การให้ขนม และขนมทค่ี วรหลกี เลย่ี ง ที่ไม่มีประโยชน์เป็นรางวัล เพ่ือ หยุดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เพอ่ื ใหเ้ ด็กหยดุ รอ้ งไห้ งอแง • พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดไู มไ่ ดส้ อนเรอ่ื งการ เลอื กขนมในร้านค้าใหล้ ูก กนิ อาหารร่วมกบั ผอู้ ื่นไมไ่ ด้:  ใหล้ กู เขา้ รว่ มกล่มุ กบั เดก็ อืน่ ตง้ั แต่อายุ 2 ปี • อาจเกดิ จากพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดปู กปอ้ ง  พ่อแม่หรือผ้เู ล้ียงดูช่วยเสริมสร้างความมั่นใจใหแ้ กล่ ูก ลูกมากเกินไป หรือไม่เคยให้โอกาส ไดก้ ลา้ พดู กลา้ ทำ� และให้ค�ำ ชมเชยเม่อื ลกู ได้รับความ เด็กได้เข้าสังคมตามวัย ทำ�ให้เด็ก ส�ำ เร็จจากการกระทำ�ของตนเอง ขอ้ี าย ไมม่ ่นั ใจในตนเอง  ไมค่ วรดุวา่ หรอื พูดถงึ ปญั หาของลูกต่อหน้าคนอ่ืน คมู่ อื การเสรมิ สรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเด็กวัยแรกเกิด - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 23



กอด หอมให้ สัมผสั รัก การเสรมิ สร้างความผูกพนั ทางอารมณ์ผา่ นการสมั ผัส สัมผัส (กอด)... ในที่นี้หมายถึงการแสดงออกถึงความรักของพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู อาจเป็นการสัมผัสอ่อนโยน การลูบ การจับ การโอบอุ้ม การกอด การหอมแก้ม หอมหน้าผาก หรือตามเน้ือตัว การมองหน้าสบตา การดูแล เอาใจใส่ การสังเกตอารมณ์และการตอบสนอง ความตอ้ งการต่างๆ ของเดก็ แตล่ ะช่วงวัยอยา่ งพอเหมาะ และสมา่ํ เสมอ เมอ่ื การเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณข์ องลกู ตอ่ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดดู �ำ เนนิ ไปอยา่ งมนั่ คง จะสง่ ผลใหล้ กู มีอารมณท์ ด่ี ี รา่ เรงิ ย้ิมแย้มแจม่ ใส รู้สึกว่าโลกนป้ี ลอดภัยและเกิดความไว้วางใจต่อ ผู้อ่ืน ลูกจะรับรู้ว่าตนเองเป็นที่รัก มีคุณค่าพอท่ีจะได้รับความรัก ความรู้สึกเหล่านี้มีความหมาย ต่อการมีชีวิต ส่งผลให้ลูกรู้จักการให้ รู้จักแบ่งปัน รักคนอื่นเป็น และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น เติบโต เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี รู้จักให้อภัย ซ่ึงจะเป็นรากฐานของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ การอยู่ร่วมกนั ในสงั คม ชว่ ยป้องกนั ปัญหาพฤติกรรมเกเร ก้าวร้าวได้ ในอนาคต คู่มอื การเสรมิ สรา้ ง ความผกู พันทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เล่น เล่า” 25

26 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” วิธสี มั ผัส (กอด) เสริมสร้างความผกู พันทางอารมณ์แยกตามช่วงวยั ช่วงวยั พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสริมสร้างความผูกพนั ทางอารมณ์ แรกเกิด – 3 เดือน • มองหน้า เร่มิ ย้ิม และ ทำ�เสียง ในชว่ ง3เดอื นแรกลกู ตอ้ งเจอการเปลยี่ นแปลงอยา่ งมากระหวา่ งโลกทล่ี กู อยมู่ า9เดอื นในทอ้ งแม่กบั โลก ไม่เป็นภาษา ภายนอกทส่ี วา่ งกวา่ อณุ หภมู ไิ มค่ งที่ ท�ำ ใหล้ กู กลวั นน่ั จงึ เปน็ เหตผุ ลทที่ �ำ ใหเ้ ดก็ แรกเกดิ รอ้ งไหเ้ สยี งดงั • ชอบฟงั เสยี ง และเรม่ิ จดจ�ำ เสยี ง และสงบลงไดเ้ มอ่ื ไดร้ บั ความอบอนุ่ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรมหี ลกั ในการดแู ลลกู วยั แรกเกดิ – 3 เดอื น คนในครอบครวั เพ่อื เป็นการสร้างความผูกพันทางอารมณ์กับลูกตง้ั แต่แรกเกิด ดงั น้ี • ร้องไห้เมือ่ มคี วามตอ้ งการ 1. ไวต่อความรู้สกึ ลูก และตอบสนองอยา่ งรวดเร็ว • เรมิ่ ชอบใหม้ กี ารกอด และสมั ผสั • ความรสู้ กึ ผกู พนั จะเกดิ กต็ อ่ เมอ่ื มคี วามรสู้ กึ ไวว้ างใจ มน่ั ใจ ปลอดภยั เมอื่ ลกู รอ้ งไมว่ า่ จะดว้ ยเหตใุ ด ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตอ้ งเขา้ ไปตอบสนองอยา่ งรวดเรว็ และออ่ นโยน ไมก่ ระแทกกระทนั้ ตอ้ งหาสาเหตวุ า่ ลกู รอ้ งเพราะ • รับรู้ และอยากใหม้ ีการปลอบ อะไร ลูกหิว หรอื เปยี กแฉะ ชว่ งแรกพ่อแม่หรือผเู้ ล้ียงดอู าจตอบสนองไม่ถกู ใจ แตไ่ ม่สำ�คัญเท่ากับ • สามารถมองเห็นได้ในระยะอัน ทกุ ครง้ั ทล่ี กู รอ้ ง ลกู ไดร้ บั รวู้ า่ มคี นๆ นอี้ ยดู่ ว้ ยเสมอ ลกู ไมถ่ กู ทอดทง้ิ ความไวว้ างใจ ความรสู้ กึ มนั่ ใจ ใกลป้ ระมาณ 30 ซม. กจ็ ะค่อยๆ เกดิ ข้ึน สายใยแห่งความผกู พันจงึ ค่อยๆ ก่อตัวขึ้น • เรมิ่ ลองสัมผสั ใบหน้า • สงั เกตและแปลสง่ิ ทล่ี กู ตอ้ งการจะสอ่ื ใหพ้ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดรู ู้ โดยการฝกึ สงั เกตสหี นา้ ทา่ ทางของลกู ลักษณะการร้องเม่ือหิว เม่ือเปียก ถ้าเข้าใจ และตอบสนองถูก ลูกจะตอบสนองไปทางที่ดี เชน่ ยิ้ม พอใจ สงบ หยดุ ร้อง 2. สมั ผัสทางกาย และใจท่ีอบอนุ่ • การสมั ผัสลูก การกอด การอมุ้ เปน็ การให้ความอบอนุ่ ทางใจ เวลาลกู รอ้ งไห้ การอุ้มจะเปน็ การ ชว่ ยจดั การอารมณ์ของลูก ท�ำ ให้เด็กรู้สึกปลอดภัย และสงบลงได้ • การโอบอุ้มขณะให้นมควรอุ้มแนบอก แตะเน้ือต้องตัว ลูบหัว กอด หอมอย่างอ่อนโยน มองตา สบตาลกู แมล้ กู จะยังมองเหน็ ไมช่ ดั นกั หากให้นมขวดควรอุ้มลกู ในท่าเดียวกนั กับให้นมแม่ • การอาบน้ําลูก ควรอาบด้วยความรวดเร็ว นุ่มนวล และอุ้มให้กระชับ ผสมน้ําให้อุ่นกำ�ลังดีเม่ือ อาบน้าํ เสร็จรบี ห่อผ้า ทันที ขณะเชด็ ตวั ใสเ่ ส้อื ผ้าให้ลูกควรมองหนา้ สบตา และพูดคยุ กบั ลกู ดว้ ย

ชว่ งวยั พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสรมิ สรา้ งความผูกพันทางอารมณ์ คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 27 แรกเกดิ – • เม่ือลูกมองหน้าควรมองตอบ ออกเสยี งจะ๊ จา๋ ระยะนี้ลูกเรมิ่ จบั ใบหนา้ พ่อแมห่ รือผเู้ ลีย้ งดทู ่เี ขา้ มา 3 เดอื น มองใกลๆ้ พอ่ แม่ หรอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรยม้ิ และสง่ เสยี งออื อาตามลกู จะสงั เกตเหน็ วา่ ลกู จะขยบั แขนขา (ตอ่ ) ทำ�ท่าดใี จ และส่งเสียงอ้อแอ้ • พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรมอี ารมณเ์ ชอื่ มโยงกบั ลกู ไมแ่ สดงสหี นา้ เรยี บเฉย หรอื เลยี้ งลกู อยใู่ นความเงยี บ ไมต่ อบสนองอารมณข์ องลูก • การสื่อโดยภาษาท่าทางในเด็กเล็กๆ เป็นส่ิงสำ�คัญ เช่น การมองสบตาลูกขณะอาบนํ้า การกอด การยม้ิ ให้ การพยกั หนา้ การอมุ้ เดนิ การพาเลน่ โยกเยก ท�ำ ใหล้ กู ทย่ี งั ไมเ่ ขา้ ใจภาษารบั รถู้ งึ ความรกั ได้ 4 – 6 เดอื น • ยม้ิ และหวั เราะบางเวลา ลูกในช่วงวัยน้ีจะแสดงออกถึงความต้องการและความรู้สึกชัดเจนมากข้ึน นอกจากพ่อแม่หรือ • ขยบั แขนขา เมอื่ เกดิ ความสนใจ ผู้เลี้ยงดูต้องดูแลเรื่องความสะอาดร่างกายให้ลูกสบายเนื้อสบายตัว และดูแลลูกให้อ่ิมท้องแล้ว หรือต่ืนเตน้ ยงั ตอ้ งใหเ้ วลากับลูก ดงั น้ี • มองตามวตั ถุ • สัมผสั อ้มุ โอบกอด เวลาใหน้ ม หรือเม่ือลกู ตืน่ • จ้องหน้าคนท่ีพูดกับตัวเองมาก • ส่งเสยี งพูดคุย เรยี กช่ือ ยิ้มหัวเราะไปกับลกู ยง่ิ ข้ึน • อยู่ใกลๆ้ ใหล้ กู ไดส้ มั ผัสเนื้อตัว หนา้ ตาของแม่ • มคี วามสนใจตอ่ ตวั เอง ในกระจก • เม่ือลูกมองตามพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรมองตอบ และทำ�ท่าทีสนใจลูกเม่ือลูกยื่นมือให้อุ้ม พ่อแม่ และยมิ้ หรือผู้เล้ยี งดู ควรตอบสนองทนั ที ไมแ่ สดงอาการเพกิ เฉย หรือปฏิเสธ • เริ่มตอบสนองตอ่ ช่อื ตวั • หันหาเสียงของพ่อแม่ ได้อย่าง ถกู ต้อง • รอ้ งไหเ้ มอ่ื มคี วามอดึ อดั และจะ หยุดรอ้ งเองเมอ่ื รู้สกึ สบายตวั

28 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผูกพนั ทางอารมณ์ 7 – 11 เดอื น • เร่ิมมีอาการกังวลเมื่อพ่อแม่ ในช่วงทลี่ ูกอายุ 7 เดอื น เปน็ ตน้ ไป ทุกส่งิ รอบตัวของเขาจะเปน็ ตัวกระตนุ้ ความสนใจของลกู ไดเ้ ปน็ ไมอ่ ยูด่ ว้ ย อย่างดี ลกู จะพยายามหยบิ จับ คว้าทุกอย่าง เพ่อื เรียนรดู้ ว้ ยตวั เอง ลูกจะเริม่ เล่น ยิม้ หัวเราะกับพ่อ • ผ่อนคลายเมื่อได้ยินเสียงของ แมห่ รือผูเ้ ล้ยี งดูมากข้นึ พอ่ แม่ รบั รวู้ า่ พอ่ แม่ ยงั อยขู่ า้ งๆ • พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดคู อยอยู่ ขา้ งๆ ลกู คอยใหก้ �ำ ลงั ใจ เมอื่ ลกู เรมิ่ หดั นง่ั คลาน เกาะยนื และเรม่ิ หดั เดนิ • เริ่มมีการแสดงอารมณ์ออกมา สง่ สายตามองเขาในขณะที่เขาหนั กลบั มา สง่ เสียงหวั เราะ พูดคุยและช่นื ชมความกา้ วหนา้ ในการ บางอยา่ ง เชน่ ดใี จ จดจอ่ เสยี ใจ เรียนรู้ของลกู เป็นต้น • พยายามสังเกตสัญญาณต่างๆ จากลูกว่าลูกต้องการจะสื่ออะไรกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู • ต้องการความมั่นใจจากการ และพยายามอา่ นสญั ญาณนนั้ ใหอ้ อก และตอบสนองใหไ้ ด้ เดก็ เลก็ ทย่ี งั พดู ไมไ่ ด้ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู แสดงออกทางสหี นา้ ทา่ ทางจาก ต้องสังเกตจากสีหน้า ท่าทาง โดยต้องต้ังคำ�ถามกับตัวเองเสมอว่าลูกต้องการจะส่ืออะไร พอ่ แม่ ในสถานการณ์นี้ ลูกจะรสู้ กึ อยา่ งไร และตอบสนองลูกทันที อยา่ งสม่ําเสมอ และพอเหมาะ สังเกต • แสดงการตอบสนองตอ่ การหอม อาการของลูกหลังการตอบสนองของพ่อแมห่ รือผู้เลี้ยงดู การกอด และการยม้ิ จากพอ่ แม่ • ลูกแตล่ ะคนมคี วามชอบทแี่ ตกตา่ งกัน สังเกตความชอบของลูกต้งั แต่ เสยี ง สมั ผสั อาหาร ของเลน่ หรอื บคุ คลอนื่ ทล่ี ูกชอบ และตอบสนองให้ตรงตามความตอ้ งการ • ท�ำ กิจวัตรประจำ�วันของลกู ใหเ้ ปน็ เวลาสมํ่าเสมอ เชน่ เวลากิน เวลาอาบนาํ้ เวลานอน เวลาเลน่ ไม่ควรเปลี่ยนไป เปล่ยี นมา • ใช้คำ�พดู ใหก้ �ำ ลังใจ ให้เด็กมคี วามมั่นใจท่ีจะทำ�ส่งิ ตา่ งๆ มากข้ึน เช่น “เกือบไดแ้ ลว้ ลกู ” “ดลี กู ...” “ใช่แล้ว...” “ดมี าก” “ไดแ้ ล้ว” เป็นถอ้ ยคำ�ทสี่ ร้างก�ำ ลังใจให้เดก็ มีการเรียนรู้ต่อไป • หากลกู มคี วามชอบ หรอื ตดิ สงิ่ ใดเปน็ พิเศษ เชน่ ผา้ หม่ หมอน หรอื ของเลน่ ตามทีเ่ รยี กกนั ทว่ั ๆ ไป ว่าผ้าเหม็น หมอนเหมน็ หรอื ตุก๊ ตาเหม็น ควรวางสิ่งของทเี่ ขาชอบไว้ใกลต้ วั โดยเฉพาะเวลานอน และเมอ่ื จะน�ำ ไปซักทำ�ความสะอาด ควรบอกลกู ทุกคร้งั

ชว่ งวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผกู พันทางอารมณ์ 1 – 2 ปี • พัฒนาความเป็นตัวของตวั เอง พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดคู วรอยใู่ กลๆ้ กบั ลกู ตลอดเวลา ไมป่ ลอ่ ยไวล้ �ำ พงั คอยมองดหู า่ งๆแตเ่ มอ่ื ลกู มองหา • ตอ้ งการท�ำ ส่งิ ต่างๆ ดว้ ยตนเอง สามารถเห็นไดท้ นั ที สบตาและยิ้มใหล้ กู เสมอ หรอื ส่งสญั ญาณใหล้ กู รูว้ ่า “แม่อยู่น”ี่ “เกง่ มากลกู ” • มีความสนใจ และสนุกกับ “เลน่ ตอ่ ไปได”้ “แมไ่ มไ่ ดไ้ ปไหน” ลกู จะรสู้ กึ ปลอดภยั มน่ั ใจ ท�ำ ใหล้ กู กลา้ ทจี่ ะทดลองท�ำ อะไรใหมๆ่ คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 29 ส่ิงรอบตัว และเม่ือท�ำ อะไรใหมๆ่ ได้ ลกู จะรสู้ กึ ภมู ิใจในตนเอง รู้สกึ วา่ ตนเองมคี วามสามารถ • มอง และสนใจ เมื่อพบปะผู้คน • ในช่วงเวลาทีเ่ ด็กเหนือ่ ย หวิ หรือกลวั เด็กจะว่งิ กลบั เข้ามาหาพอ่ แม่หรอื ผูเ้ ลี้ยงดู เพราะต้องการ ใหม่ๆ ทีไ่ มค่ นุ้ เคย ใหพ้ ่อแม่หรอื ผเู้ ลี้ยงดูกอดหรอื ปลอบ พอ่ แมห่ รอื ผู้เลย้ี งดูควรตอบสนองปฏกิ ริ ิยาเหล่านน้ั ด้วยการ • เล่นหรือค้นหาสิ่งใหม่ๆ แต่ยัง อุ้ม กอด ถามลกู วา่ “เหน่อื ยมยั้ ” “หิวรยึ ัง” “ไมต่ ้องกลัว พ่ออยู่น”่ี อยากให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูอยู่ • พดู กบั ลกู ใหม้ ากขนึ้ ผสมผสานไปกบั การแสดงออกดว้ ยทา่ ทาง ค�ำ พดู ทแ่ี สดงความรกั ความหว่ งใย ใกล้ๆ เช่น เวลา อา่ นหนังสือให้ลูกฟังก่อนนอน ให้กอดเขาไว้แลว้ บอกเขาวา่ “ลูกจ๋า...แม่รักลกู นะ” • ในเดก็ เล็กๆ พอ่ แมห่ รือผู้เลยี้ งดจู ะตอ้ งช่วยลกู ๆ ในการจัดการอารมณ์ของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ลกู สามารถจัดการอารมณข์ องตนเองได้ดขี น้ึ ตามอายุทม่ี ากข้ึน  ส่ิงท่ชี ่วยลูกเมื่อลกู อยใู่ นอารมณท์ ่ไี มด่ ไี ด้มากทีส่ ุด คือ การอยู่กบั ลกู โอบกอด อย่ใู กล้ๆ โดย ไมต่ ้องพยายามหยดุ อารมณน์ ัน้ ของลกู เช่น ไม่ตอ้ งตใี หเ้ งียบ หรอื ดุให้หยดุ ร้อง  แสดงความเข้าใจอารมณ์ของลูกในขณะนั้น โดยการสัมผัสท่ีนุ่มนวล พร้อมคำ�พูดส้ันๆ เช่น “เจบ็ แมร่ ูว้ ่าหนูเจบ็ มาก มาแมเ่ ปา่ ให”้ “พ่อรู้วา่ หนโู กรธ”  เมอื่ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดอู ยกู่ บั ลกู เมอ่ื ลกู โมโห/รอ้ งไห้ เดก็ จะรสู้ กึ วา่ มคี นอยขู่ า้ งๆ มคี นชว่ ยท�ำ ให้ ส่งิ ตา่ งๆ คล่ีคลาย อนุญาตใหล้ ูกไดแ้ สดงด้านไม่ดีออกมา และพอ่ แม่หรอื ผู้เลีย้ งดเู ขา้ ใจ และ ยอมรบั ได้ทง้ั หมดถึงส่ิงที่ลูกเป็น  การทล่ี กู รสู้ กึ มนั่ ใจวา่ ตนไมไ่ ดอ้ ยคู่ นเดยี วเมอื่ เขารสู้ กึ เสยี ใจ/โกรธ แตม่ พี อ่ หรอื แมอ่ ยขู่ า้ งๆ เสมอ คอื หวั ใจของการพฒั นาความมน่ั คงทางอารมณ์ และความเขม้ แขง็ ทางจติ ใจ

30 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสรมิ สร้างความผกู พันทางอารมณ์ 2 – 3 ปี • ใชค้ �ำ ในการสอ่ื สารกบั คนรอบขา้ ง • ความชอบของเด็กแต่ละคนปรากฏชัดต้ังแต่วัยน้ีแล้ว พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรสนับสนุนลูกตาม มากขนึ้ ความสนใจ เช่น • รสู้ กึ กลวั เขินอายในบางอย่างที  ถา้ ลูกชอบดนตรี พอ่ แม่หรือผ้เู ลยี้ งดกู น็ ่าจะรว่ มรอ้ งเพลงด้วย ไดย้ นิ หรอื สงิ่ ใหมๆ่ ทไ่ี มเ่ คยท�ำ  ถา้ ลกู ชอบวาดรปู กค็ วรหาสี กระดาษแผน่ ใหญ่ๆ ให้ • เริ่มรจู้ ักแบ่งปันกับคนอืน่  ถ้าลกู ชอบหนังสอื ก็พาไปรา้ นหนังสอื เลอื กซอ้ื หนงั สือภาพดว้ ยกนั • แสดงความรู้สึกให้เห็น อย่าง  ลกู ชอบออกก�ำ ลัง ก็ซ้ือรถสามล้อเล็กให้ พาไปเดนิ หรือวิ่งด้วยกนั ชดั เจน • ดแู ลความปลอดภยั ใกลช้ ดิ อยใู่ กลๆ้ รว่ มท�ำ กจิ กรรมไปดว้ ยกนั อมุ้ กอด ใหก้ �ำ ลงั ใจตามทล่ี กู ตอ้ งการ • สามารถแสดงอารมณ์ได้ท้ังๆท่ี ส่งเสียงเชียร์ หรือชมเมือ่ ลูกท�ำ ได้หรือเมื่อท�ำ เสรจ็ ไม่เข้าใจว่าอารมณ์น้ันคืออะไร เช่น กังวล โกรธ เครียด เศร้า การเตรยี มลูกไปโรงเรยี น หรอื มคี วามสขุ • การเตรยี มความพรอ้ มเรอ่ื งตา่ งๆ ให้ลูก พอ่ แม่หรอื ผู้เลยี้ งดูควรเตรียมมาตง้ั แต่ขวบปแี รก เรยี กว่า ในช่วง ก่อน 3 ขวบปแี รกก่อนทีจ่ ะเข้าเรียน ควรเตรียมความพร้อมใหล้ ูกอยูต่ ลอด แตเ่ มอื่ จะเขา้ โรงเรียน พอ่ แมผ่ เู้ ลย้ี งดูควรเตรียมความพรอ้ มใหล้ ูกโดยเฉพาะ ในเรอื่ งตอ่ ไปนี้ เตรียมรา่ งกาย รา่ งกายเปน็ เรอื่ งพน้ื ฐาน ตอ้ งใหล้ กู ไดก้ นิ อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ไดพ้ ฒั นาดา้ นรา่ งกาย กลา้ มเนอื้ แขน ขา น้วิ มอื ใหล้ ูกไดอ้ อกก�ำ ลังกาย ท�ำ ให้มีการทรงตัวที่ดี ได้นอนหลับพักผ่อนทเ่ี พยี งพอ ฝึกให้ลกู ช่วยเหลอื ตวั เองได้ ก่อนจะพร้อมเข้าโรงเรียน ลูกต้องช่วยเหลือตนเองได้ดีพอสมควร เช่น กินข้าวได้ด้วยตนเอง บอกปวดปัสสาวะหรืออจุ จาระได้

ช่วงวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผกู พันทางอารมณ์ 2 – 3 ปี  การฝึกให้ลูกรู้จักช่วยเหลือตัวเองได้ควรเป็นไปตามวัย ตามพัฒนาการของลูก เช่น เมื่อ (ต่อ) อายุ 1 - 2 ขวบ ลูกจะเริ่มตักอาหารเข้าปากเองได้ พ่อแม่ควรปล่อยให้ลูกลองกินเอง คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 31 เรม่ิ ฝกึ การขบั ถา่ ยใหเ้ ปน็ เวลา ฝกึ ใหล้ กู รจู้ กั นง่ั ชกั โครก ใหล้ กู ไดช้ ว่ ยเหลอื ตวั เองในเรอื่ งงา่ ยๆ เช่น การแต่งตวั สวมเสอ้ื ตดิ กระดมุ ใส่รองเท้า ถอดรองเทา้ เปน็ ต้น  ควรเปิดโอกาสใหล้ กู ไดท้ ำ�อะไรเองตามวยั ในสิ่งที่เขาทำ�ได้ ไม่ควรทำ�กิจวตั รตา่ งๆ แทนลกู หรือช่วยลูกมากจนเกินไป เพราะด้วยความรักของพ่อแม่ ด้วยความเร่งรีบ พ่อแม่มักจะ ทำ�ให้ลกู เอง หรือ ใหพ้ ่ีเลย้ี งท�ำ ใหแ้ ทน การกระท�ำ เช่นนีเ้ ทา่ กบั เปน็ การปดิ โอกาสทีล่ ูกจะ ได้พฒั นาตามวัย ฝึกเรือ่ งการอดทนรอคอย เวลาทล่ี กู อยโู่ รงเรยี น ลกู จะไมไ่ ดร้ บั การตอบสนองความตอ้ งการทนั ทที นั ใดเหมอื นกบั ตอนทอ่ี ยบู่ า้ น  ในการฝกึ ลกู พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดตู อ้ งคอ่ ยๆ ฝกึ ทลี ะนอ้ ย เชน่ ลกู จะเลน่ อะไรบางอยา่ งทต่ี อนนี้ ยงั ไมถ่ งึ เวลา พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดกู อ็ าจจะใหล้ กู รอสกั ครหู่ นง่ึ ระหวา่ งนนั้ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู ก็อาจจะให้ความสนใจในตวั ลกู ชวนลกู คุย  เวลาท่ีลูกอยากได้อะไร ถ้าเห็นไม่สมควร พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรอธิบายด้วยเหตุผลสั้นๆ อาจจะใชว้ ิธเี บย่ี งเบนให้ลูกหันไปสนใจสิ่งอื่นแทน ซ่งึ เปน็ การสอนให้ลกู รู้ว่าทุกส่ิงทกุ อย่าง มขี อบเขต ไมจ่ �ำ เปน็ วา่ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดตู อ้ งตามใจลกู ทกุ ครงั้ เพราะถา้ กลวั ลกู เสยี ใจแลว้ ตามใจจะย่งิ ทำ�ให้ลกู ปรบั ตัวกบั สง่ิ อน่ื ๆ หรือคนอ่นื ๆ ต่อไปได้ยาก สง่ เสริมทกั ษะการเขา้ สังคม เด็กในวัยอนุบาลควรรู้จักแบ่งปัน แบ่งของเล่น และรู้จักเล่นกับคนอ่ืนเป็น การส่งเสริม ใหล้ ูกรู้จกั เขา้ สงั คมได้ตอ้ งเรม่ิ จากพอ่ แม่หรอื ผเู้ ลยี้ งดู  พอ่ แม่หรอื ผ้เู ลี้ยงดูควรเล่นกับลูกกอ่ น สอนให้ลูกเลน่ กบั เรา และเล่นกับคนอ่นื เป็น

32 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ช่วงวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสรมิ สรา้ งความผูกพนั ทางอารมณ์ 2 – 3 ปี (ตอ่ )  สอนให้ลูกรู้จัก “ขอ” เช่นเม่ืออยากเล่นของที่ไม่ใช่ของตนเอง ควรบอกกับเพ่ือนดีๆ ว่า “ขอเล่นหน่อย” ถ้าเพอื่ นไม่ใหเ้ ลน่ ไม่ควรแย่งของเพอื่ นมาจากมือ หรือเมื่อเพ่ือนมาแย่ง 3 - 5 ปี ของเลน่ แลว้ ลกู สามารถบอกวา่ “อยา่ แย่ง นี่ของฉนั เธอต้องรอกอ่ น” เป็นต้น  หากลกู ยอมแบง่ ของเลน่ ใหเ้ พอ่ื น พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรชน่ื ชมทนั ที แตถ่ า้ ลกู ยงั ไมอ่ ยากแบง่ อยา่ ใช้วธิ บี ังคับ เพราะการบังคับจะยิง่ ท�ำ ให้ลกู หวงของมากข้นึ  สอนจากสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันจริงๆ เม่ือลูกทำ�อะไรไม่เหมาะสม ให้บอกทันที พ่อแมห่ รือผ้เู ลี้ยงดอู าจตอ้ งทำ�เป็นตวั อย่างใหล้ กู ดูก่อน ส่งเสริมใหล้ กู รูจ้ กั ใชภ้ าษาสื่อสาร คอื การสอนใหล้ ูกรจู้ ักบอกความต้องการของตวั เองได้ ควรฝึกลูกให้สามารถพดู ได้วา่ ต้องการ อะไร ชอบหรอื ไมช่ อบอะไร เมอ่ื ลูกสามารถบอกความต้องการของตนเองกบั คนอน่ื ได้ลูกกจ็ ะ ปรบั ตวั ได้ดี ทศั นคติที่ดีต่อโรงเรียน พูดถึงโรงเรียนในเร่ืองที่ดี อย่าใช้คำ�พูดท่ีทำ�ให้เห็นว่าโรงเรียนเป็นส่ิงท่ีน่ากลัว หรือเป็นการ ลงโทษ เช่น “ทำ�ตัวอย่างน้ีเดี๋ยวส่งไปอยู่โรงเรียนเลย” ลูกจะมองว่าโรงเรียนเป็นสิ่งท่ีไม่ดี เพราะเดก็ วัยนีม้ ักจะกลวั การพลัดพราก • ก�ำ ลงั ปรบั ตวั เขา้ โรงเรยี นอนบุ าล วยั นี้ ท�ำ ใหพ้ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดมู ปี ญั หาในการควบคมุ พฤตกิ รรมไดง้ า่ ย เนอื่ งจากเดก็ มภี าษาสอ่ื สารได้ เริ่มเข้าสงั คมใหม่ ดีมากย่งิ ข้นึ ทำ�อะไรดว้ ยตนเองไดม้ ากขนึ้ พอ่ แม่หรอื ผ้เู ลยี้ งดูสามารถช่วยเหลอื และดูแลลกู ได้ ดังน้ี • สามารถท�ำ สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง • ให้ความรัก ดูแลใกล้ชิด พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีส่วนช่วยพัฒนาลูกด้วยการให้เวลา ดูแลเอาใจใส่ ได้มากข้ึน ใกล้ชิด แสดงความรัก และความเข้าใจ ทำ�กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน เช่น เล่านิทาน ทำ�อาหาร • วยั แหง่ จนิ ตนาการและความคดิ เล่นกฬี า ไปเทยี่ ว รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ • ใหโ้ อกาสลูกเรียนรู้ ฝึกท�ำ สง่ิ ต่างๆ ในสภาพแวดล้อมทีป่ ลอดภยั

ชว่ งวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสรมิ สร้างความผูกพนั ทางอารมณ์ 3 - 5 ปี (ต่อ) • พยายามลองผิดลองถูกในการ • เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี การเปน็ ตน้ แบบทดี่ ขี อง พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดเู ปน็ เรอ่ื งทสี่ �ำ คญั มาก เพราะไมเ่ พยี ง แก้ไขปญั หาต่างๆด้วยตนเอง ลูกจะซึมซับ และเลียนแบบการกระทำ�ด้วยสิ่งที่รับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ยังรวมถึงแนวคิด • รจู้ กั และเขา้ ใจอารมณค์ วามรสู้ กึ ทศั นคติ ความเช่ือ บคุ ลิกภาพ ท่าทาง นิสยั และอนื่ ๆ จากพ่อแมห่ รอื ผู้เล้ยี งดู ซ่ึงเปน็ การเรยี นรู้ คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 33 ท่ซี ับซ้อนข้นึ เช่น อิจฉา ภูมิใจ แบบเหน็ ซํ้าๆ บอ่ ยๆ จนหล่อหลอม เปน็ พฤติกรรมตอ่ ไป ทอ้ แท้  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดคู วรสอนใหล้ กู ท�ำ ในสงิ่ ทดี่ ี ฝกึ ลกู รกั การท�ำ ดี เสยี สละ มนี าํ้ ใจ ชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั • แสดงอารมณ์ตามความรสู้ ึก ผอู้ น่ื อยเู่ สมอ ไมเ่ หน็ แกต่ วั ดว้ ยการทพี่ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดปู ฏบิ ตั ติ นใหล้ กู เหน็ เปน็ ตวั อยา่ ง แลว้ • ชอบทจี่ ะท�ำ ใหผ้ ใู้ หญพ่ อใจ และ ลกู จะซึมซับพฤตกิ รรมท่ดี ีเหล่านี้จนกลายเปน็ นิสัยของเขาเอง ไดค้ �ำ ชม แตข่ ณะเดยี วกนั กช็ อบ  เป็นตวั อยา่ งในการควบคมุ อารมณ์ ไม่ควรแสดงอารมณห์ งุดหงิด โมโหง่ายใสล่ กู ท้าทายผู้ใหญ่ • รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการของลกู และพดู คยุ กบั ลกู เคารพความคดิ เหน็ ของลกู เปดิ โอกาส • มีภาษาในการส่ือสารได้ดีมาก ใหล้ ูกได้ตัดสินใจ และท�ำ ในสิง่ ทตี่ ้องการ แตย่ ังอยู่ในกรอบทพี่ ่อแมก่ �ำ หนดไว้ สามารถเถียงได้เวลาพ่อแม่หรือ • เปิดโอกาสใหล้ กู ไดม้ สี ่วนรบั ผดิ ชอบงานบา้ นเล็กๆ น้อยๆ ผเู้ ลยี้ งดคู วบคมุ พฤตกิ รรมตา่ งๆ • เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง ซ่ึงทำ�ได้โดยค้นหาจุดเด่น สังเกตว่าลูกมีความสุขในการทำ� • ความกลัวการพลัดพรากจาก กจิ กรรมใด และสนับสนนุ ใหท้ ำ�กิจกรรมน้นั ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ ผูเ้ ลี้ยงดูลดนอ้ ยลง • ตอบสนองต่อพฤติกรรมท่ีถูกต้อง การตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ดีของลูก จะทำ�ให้ลูกรับรู้ว่า • เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถ การกระทำ�นั้นๆ เปน็ สงิ่ ทด่ี ีและควรท�ำ ตอ่ ไป และผลงานของตนเอง และผอู้ นื่ • ควรสังเกตว่าลูกมีความรู้สึกต่อตนเองอย่างไร รีบแก้ไขหากลูกมีความรู้สึกต่อตัวเองท่ีผิดๆ เช่น • ต้องการใหม้ คี นฟงั คนสนใจ ลูกมองตนเองไม่เก่ง สู้คนอื่นไม่ได้ พ่อแม่ผู้เล้ียงดูควรชื่นชมให้กำ�ลังใจลูกอย่างสร้างสรรค์ • ยดึ ตนเองเปน็ ศนู ยก์ ลางน้อยลง หากลกู ไดพ้ ยายาม และทำ�ในสิง่ ทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม

34 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวยั พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสรมิ สร้างความผูกพันทางอารมณ์ 3 - 5 ปี (ต่อ) • เรม่ิ เขา้ ใจวา่ คนอน่ื จะรสู้ กึ อยา่ งไร • เลย้ี งลกู ใหถ้ กู เพศ เรมิ่ จากสมั พนั ธภาพทด่ี รี ะหวา่ งพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดู และแสดงบทบาททเ่ี หมาะสม เม่ือสมมตเิ หตุการณ์ ของพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู ท่ีมีต่อกัน เพราะทั้งพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีความสำ�คัญในการท่ีจะสร้าง บทบาทที่เหมาะสมให้กับลูก ด้วยการสร้างบรรยากาศที่ดีในบ้าน วางตัวให้ถูกต้องกับบทบาท เพศชาย และเพศหญงิ คณุ พอ่ มีลักษณะของเพศชายทมี่ เี ข้มแขง็ เปน็ ผู้น�ำ แตอ่ อ่ นโยน เอาใจใส่ และดแู ลคนในครอบครวั ใหม้ คี วามสขุ คณุ แมม่ ลี กั ษณะทนี่ มุ่ นวล มนั่ ใจในตนเอง มคี วามภาคภมู ใิ จ ในตวั เอง ลกู จะเกดิ ความศรทั ธา และภมู ใิ จทงั้ ในเพศของตัวเอง และเพศตรงข้าม ช่วยลดปัญหา การเบย่ี งเบนทางเพศ • สรา้ งวนิ ยั ให้ลกู คำ�ว่า “วนิ ยั ” หมายถงึ การจัดระบบระเบียบชวี ติ และการจัดระบบสังคมทัง้ หมด ทำ�ให้ชีวิต และสังคม มีระเบียบ ทำ�อะไรได้คล่อง ดำ�เนินชีวิต และดำ�เนินกิจการได้สะดวกข้ึน พ่อแมห่ รือผเู้ ลีย้ งดูจึงควรฝกึ วนิ ยั ให้ลูกต้ังแต่เลก็ ดังน้ี  ฝกึ กจิ วัตรประจ�ำ วันให้ตรงเวลา และสมา่ํ เสมอ ท้งั เรอ่ื งกิน นอน เล่น อาบนาํ้ ขบั ถา่ ย ตื่นเช้า ไปโรงเรยี น กนิ อาหารเช้า อา่ นหนังสือ ทำ�การบา้ น ช่วยเหลอื งานเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ที่บา้ น  ส่อื สารกบั ลูกให้ชดั เจนเกย่ี วกบั กฎระเบยี บของบ้าน  ฝกึ ใหล้ ูกเรยี นรูข้ อบเขตของตนเอง ใหร้ ู้ว่าสง่ิ ใดท�ำ ได้ และสง่ิ ใดทำ�ไม่ได้  ฝึกให้รู้จักควบคุมอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ กอ่ นวยั เรียน ท�ำ ไดด้ ังนี้  ยอมรับอารมณข์ องลูก ไมต่ ำ�หนิลูกว่าท�ำ ไมถงึ รสู้ กึ แบบนี้ เช่น “ท�ำ ไมต้องโมโหดว้ ย เร่ือง แคน่ ้ีเอง” “ถ้าลกู รสู้ กึ แบบน้ีลูกกเ็ ปน็ เด็กทแี่ ยม่ าก” ลูกจะรสู้ ึกว่าพ่อแมไ่ ม่เขา้ ใจ และรู้สึก ผดิ ทรี่ ูส้ กึ แบบนนั้ และทำ�ให้วนั หลังลกู จะไมแ่ สดงอารมณอ์ อกมา หรือไมเ่ ลา่ อะไรให้ฟังอกี  กระต้นุ ใหล้ กู เล่าสง่ิ ทล่ี ูกรู้สกึ ต้งั ใจฟงั ลูกพูด ว่าลกู คิดอย่างไร อะไรทำ�ให้ลกู รูส้ ึกไม่ดี  ชว่ ยลูกเรียกช่อื ความรสู้ ึก ทำ�ให้ลูกรู้ว่าทีต่ นเองร้สู กึ อยู่น้ันคอื อะไร และพดู บอกได้ดขี ้นึ

ชว่ งวัย พฒั นาการตามวยั แนวทางการเสริมสร้างความผกู พนั ทางอารมณ์ 3 - 5 ปี (ต่อ)  ชว่ ยลกู แกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยๆ เชน่ ถา้ คราวหนา้ มเี หตกุ ารณแ์ บบนอ้ี กี ลกู จะท�ำ ยงั ไง และชว่ ยลกู คดิ คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 35  ช่วยลูกแสดงอารมณ์อยา่ งเหมาะสม เช่น แทนทจี่ ะโวยวาย ควรบอกดๆี เมื่อลกู ไปโรงเรยี น • รับลูกที่โรงเรียนตรงเวลา ถ้าวันใดไม่สามารถรับลูกได้ให้บอกลูกต้ังแต่ตอนเช้า และบอกว่าจะให้ ใครไปรบั แทน ถา้ เกดิ เหตสุ ดุ วสิ ยั ควรตดิ ตอ่ กบั ครผู ดู้ แู ล เพอื่ ขอพดู คยุ กบั ลกู บอกลกู ในสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ และจะไปรบั ลูกช้า หรือ ให้ใครไปรบั แทน ไมค่ วรปล่อยลูกใหค้ อยอย่างไมม่ จี ดุ หมาย • ฝึกให้ลกู รบั ผดิ ชอบของใช้ สมดุ หนงั สือของตนเอง • ตรวจดูงานการบา้ นของลูก เพื่อใหล้ กู เหน็ ว่าพ่อแม่ให้ความใสใ่ จ เอาจรงิ กบั ความรับผดิ ชอบเร่ือง การเรียน • สนใจซักถามเร่ืองของลูกที่โรงเรียน สนใจฟังเมื่อลูกเล่าให้ฟัง และมีคำ�ถามเป็นระยะแสดงความ สนใจในสงิ่ ท่ลี ูกเลา่ • ใชค้ �ำ พูดชมเชยทเ่ี หมาะสม และตรงตามความเป็นจริง เมอื่ ลูกเลา่ เรอื่ งที่ลูกทำ�ความดีทโี่ รงเรยี น

การตอบสนองเม่อื ลูกรอ้ งไห้ เมื่อลูกร้องไห้อาจเป็นสัญญาณในการบอกความต้องการได้ เช่น การหิว การไม่สบายตัว เครียด อดึ อดั เปียก หรือการเรียกร้องความสนใจ ซ่ึงการรอ้ งไห้เปน็ ปกตใิ นเด็ก เนือ่ งจากยังไมส่ ามารถพูดหรอื บอกความต้องการนัน้ ได้ อีกทัง้ เขายังตอ้ งการคนช่วยปลอบใจ คนท่ีท�ำ ให้รสู้ ึกสบายใจ ช่วยท�ำ ให้อารมณ์ ไมด่ ีนน้ั หายไป ซ่ึงการท่ี พ่อแม่หรอื ผูเ้ ลย้ี งดอู ยขู่ ้างๆเม่อื ลูกรอ้ งไห้ เปน็ การทำ�ให้ลูกเรียนรู้และเขา้ ใจได้ว่า เม่อื ลกู มีปญั หา ลกู มคี นเขา้ ใจ และ “เขาไม่ไดอ้ ยเู่ พียงล�ำ พัง” วิธีการปฏิบัตเิ มอ่ื ลูกร้องไห้ 1. ใชว้ ธิ กี ารอมุ้ กอด หรอื สมั ผสั ในทา่ ปกติ แลว้ ท�ำ การตบหลงั หรอื ลบู หลงั ลกู เบาๆ แลว้ ปลอบดว้ ย นํ้าเสยี งออ่ นนมุ่ 2. ใช้เสียงออ่ นโยนท่ีสุด จะโดยการปลอบ อย่าตะโกน ตะคอก วิง่ แรงๆ ขณะเข้าไปอุ้มเพราะลูก อาจเกดิ อาการตกใจ และรอ้ งหนักเขา้ ไปอกี 3. ให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูรีบเข้าไปดูแลเม่ือลูกร้องไห้ ไม่ควรให้คนอ่ืนที่แปลกหน้าเป็นคนปลอบ เพราะลูกจะตกใจ และไมฟ่ งั 4. ในลกู ทม่ี อี าการโคลกิ แนะน�ำ ใหป้ รบั เปลยี่ นสง่ิ เรา้ เชน่ แสง การแสดงออก เสยี ง สมั ผสั ใหอ้ อ่ นโยน แลว้ ลูกจะหยุดร้องเอง 5. พอ่ แม่หรือผูเ้ ล้ียงดูต้องใจเยน็ อดทน เพราะบางครง้ั การเขา้ ไปปลอบจะไม่เกิดผลทันที ให้ลอง หลากหลายวิธีไปเรอื่ ยๆ 6. ให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรตั้งสติและควบคุมอารมณ์ตนเองให้มั่นคง เพราะบางครั้งพ่อแม่หรือ ผูเ้ ลีย้ งดอู าจเกดิ อารมณห์ งุดหงดิ เครยี ดเม่ือลกู ร้องเปน็ เวลานานๆ 7. ถ้าลูกร้องไห้จากการที่ไม่ได้ส่ิงที่ต้องการ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูควรแสดงความเข้าใจว่าลูกผิดหวัง เสยี ใจ ท่ไี ม่ได้สง่ิ ท่ตี ้องการ ควรปล่อยให้ลกู ไดร้ ้องไหเ้ พ่ือเป็นการแสดงออกทางอารมณ์ แต่ไมค่ วรใจออ่ น ยอมตามใจหรอื เปลีย่ นใจยอมท�ำ ตามสงิ่ ท่ีลูกต้องการ ควรยืนยันกบั ลูกด้วยทา่ ทีที่หนกั แน่น 36 คู่มอื การเสรมิ สรา้ ง ความผูกพันทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวยั แรกเกดิ - 5 ปี ด้วย “กนิ กอด เลน่ เล่า”

เล่น...เสริมสายใยรกั การเสรมิ สร้างความผูกพันทางอารมณผ์ า่ นการเลน่ การเลน่ เปน็ การกระท�ำ เพอื่ ความสนกุ หรอื ผอ่ นคลายอารมณ์ การเลน่ ของลกู มรี ปู แบบการเลน่ ทห่ี ลากหลาย เปน็ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ อกี ทง้ั เปน็ การเสรมิ สรา้ งความผกู พนั ทางอารมณร์ ะหวา่ ง เดก็ และพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู การเลน่ สามารถเรมิ่ ไดต้ งั้ แตล่ กู วยั แรกเกดิ จากการมอง การสมั ผสั การใช้ เสยี ง การใชท้ า่ ทาง เพอื่ ใหล้ กู มพี ฒั นาการสมวยั และมคี วามรสู้ กึ มน่ั ใจทจี่ ะสามารถกา้ วไปสโู่ ลกกวา้ ง ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การทพ่ี อ่ แมผ่ เู้ ลย้ี งดมู บี ทบาทในการเลน่ รว่ มกบั เดก็ และคอยใหก้ �ำ ลงั ใจใกลๆ้ นนั้ จะชว่ ยใหล้ กู รสู้ กึ อบอนุ่ และปลอดภยั ในระหวา่ งการท�ำ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ตา่ งๆ พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู สามารถสอดแทรกกิจกรรมการเล่นให้กับลูกได้ เพื่อให้ลูกเกิดความร่วมมือ และอยากทำ�อีก เช่น การเรียงจานสีในขณะเตรียมอาหาร การเล่นบทบาทสมมติในขณะอาบนํ้า เป็นต้น สิ่งที่สามารถ ทำ�ให้ลูกจดจำ�พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้มากที่สุดนั้น คือ เสียงและกิจกรรมท่ีลูกทำ�ร่วมกับพ่อแม่หรือ ผู้เลี้ยงดู ซ่ึงเป็นการแสดงออกถึงความรัก ความเอาใจใส่จากพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูได้เป็นอย่างดี เมื่อลูกได้รับความรัก ความอบอุ่นมากเพียงพอ ลูกจะรู้สึกเป็นที่รัก มีคุณค่า รู้สึกปลอดภัย และกา้ วสโู่ ลกกวา้ งได้อยา่ งมัน่ ใจ คู่มือการเสริมสร้าง ความผูกพันทางอารมณ์ สำ�หรับเด็กวยั แรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เล่า” 37

38 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” การเลน่ เพ่ือสง่ เสรมิ พฒั นาการและการเสรมิ สรา้ งความผูกพันทางอารมณ์แยกตามชว่ งวยั ชว่ งวยั พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสริมสร้างความผูกพัน ตวั อยา่ งการเลน่ /ของเล่น ทางอารมณ์ผา่ นการเล่น แรกเกดิ – • เร่ิมเล่นเม่ืออายุประมาณ  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรเป็นผู้น�ำ ให้ลูกเล่น ไม่ควร  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดคู วรเลน่ เสยี งไปกบั ลกู เชน่ เลน่ 6 เดอื น 4 เดอื น ใช้เสยี งดังกบั ลูก ควรใช้เสียงทีน่ ุ่มนวล หม่นั เรยี ก วาวา หรือเล่นริมฝปี ากออกเสียงปะ๊ ป๊ะ • เร่ิมเล่นโดยการคว้า เขย่า ช่ือของลกู ขณะเล่น  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดเู ลน่ “จะ๊ เอ!๋ ” โดยใชม้ อื ปดิ หนา้ เคาะ หรอื เอาของเลน่ เขา้ ปาก  ระหวา่ งเลน่ กบั ลกู ควรมองหนา้ สบตาลกู ระหวา่ งเลน่ พรอ้ มพดู วา่ “ชอื่ ลกู ...(หรอื สตั ว)์ อยไู่ หนนะ......... ” • ชอบฟังเสียง และเริ่มจดจำ� ไปดว้ ย สงั เกตวา่ ลกู จะพยายามมองตาม และมอี ารมณ์ จากนนั้ เปดิ มอื ออก แล้วพูดว่า “จ๊ะเอ!๋ เจอแล้ว” เสียงคนในครอบครัว เชือ่ มโยงกนั ระหว่างพอ่ แมห่ รือผเู้ ล้ียงดกู ับลกู  การเลน่ ปไู ต่ โดยใชน้ วิ้ ในลกั ษณะไตต่ ามหนา้ ทอ้ ง • เร่ิมต อ บ ส น องต่ อ ชื่ อตั ว  เมอ่ื พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดมู อี ารมณเ์ ครยี ด หรอื ไมพ่ รอ้ ม ล�ำ ตวั แขนขาและฝา่ เทา้ เพอ่ื ใหร้ บั สมั ผสั จากพอ่ แม่ หันหาเสียงของพ่อแม่ได้ ทจี่ ะเลน่ กบั ลกู ใหท้ �ำ การสงบอารมณก์ อ่ นการเลน่ หรอื ผู้เลยี้ งดู อย่างถูกตอ้ ง  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดไู มค่ วรเขนิ อายทจี่ ะเลน่ ลกั ษณะ  ใหล้ กู ไดเ้ ลน่ โมบาย เปน็ โมบายทมี่ สี สี นั สดใส และมี • จ้องหน้าคนท่ีพูดกับตัวเอง ต่างๆ ตามตัวอย่าง เช่น เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นบทบาท เสยี งไมด่ งั เกนิ ไป ใหอ้ ยหู่ า่ งจากดวงตาเดก็ ประมาณ มากย่งิ ขน้ึ สมมติ เปน็ ต้น 8 – 14 นว้ิ หรอื หนง่ึ ไมบ้ รรทดั สามารถเคลอ่ื นทไี่ ด้ • เริ่มชอบให้มีการกอด และ  แสดงออกถึงความสนุกและความสุขที่ได้เล่นกับ ตามแรงลม หรอื ลกู สามารถเออื้ มแตะได้ โดยพอ่ แม่ สัมผสั สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ลูกให้ลูกรู้สึกได้ การแสดงออกของพ่อแม่หรือ หรอื ผเู้ ลยี้ งดใู ชม้ อื จบั โมบายเลน่ พรอ้ มท�ำ เสยี งสตั ว์ • มองตามวตั ถุ สามารถมองเหน็ ผเู้ ลยี้ งดทู กุ อยา่ งตง้ั แต่ หวั เราะ สมั ผสั กอด นา้ํ เสยี ง หรือทำ�เสยี งสนกุ สนานพรอ้ มท้ังหวั เราะตามลกู ไดใ้ นระยะอนั ใกลป้ ระมาณ สหี นา้ สอ่ื ใหล้ กู รวู้ า่ มคี วามสขุ ทไ่ี ดอ้ ยกู่ บั ลกู เลน่ กบั ลกู  พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู นั่งหน้ากระจกขนาดใหญ่ 30 เซนติเมตร ทำ�ให้ลูกรสู้ กึ ตนเองมีคณุ ค่า แลว้ ใหล้ กู อยใู่ นออ้ มกอด หรอื นง่ั ตกั แลว้ โยกไปมา • มี ค ว า ม ส น ใจ ต่ อ ตั ว เ อ ง  เลอื กของเล่นขนาดใหญ่ ไม่เปน็ ของเลน่ ท่ีใช้ไฟฟา้ ใหล้ กู มองในกระจก ในกระจก และยิม้ ไม่แหลมคม ไม่มีพิษ ไม่เป็นพลาสติกที่แตกง่าย  อมุ้ ลกู พาออกเทย่ี วนอกบา้ นใหไ้ ดส้ มั ผสั สง่ิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ และเรยี นรบู้ คุ คลทใ่ี กลช้ ดิ เอย่ ชอ่ื บอกลกู วา่ ใครเปน็ ใคร

ชว่ งวัย พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสรมิ สรา้ งความผกู พัน ตวั อย่างการเล่น/ของเลน่ ทางอารมณ์ผ่านการเลน่ 7 เดือน – • สามารถยกมือขึ้นเหนือหัว  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรเป็นผู้เร่ิมเล่น และเปิด  เล่นข่ีมา้ คอื ให้พอ่ แมห่ รอื ผูเ้ ล้ียงดูนงั่ บนเกา้ อ้ี ให้ 11 เดอื น ยึดเกาะ หรือจบั ได้ โอกาสใหล้ กู ไดเ้ ปน็ ผเู้ ลน่ เองบา้ ง เชน่ สลบั กนั เลน่ ลกู นง่ั บนชว่ งขา คอ่ นไปทางเขา่ แลว้ เขยา่ เขา่ เบาๆ คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 39 • เริ่มนั่งเล่นของเลน่ ได้ จ๊ะเอ๋ ให้ลกู เป็นผู้หาบา้ ง พร้อมทำ�เสียงคล้ายสัตว์ เช่น เสียงม้า หรือเสียง • ต้องการการผ่อนคลายจาก  ไมค่ วรเขนิ อายทจ่ี ะกอด หอม สมั ผสั ลกู ในขณะเลน่ สตั ว์อื่นๆ ทีล่ ูกชอบ การกอดผ้าห่ม หมอนข้าง  หมั่นเรียกชื่อลกู ขณะเล่น  ใหล้ ูกขห่ี ลงั หรอื ขี่คอไปเดนิ เท่ียวในสวนหลงั บา้ น หรอื ของเล่นทช่ี อบ  คอยสงั เกตปฏกิ ริ ยิ าของลกู ระหวา่ งเลน่ วา่ ลกู ชอบ  เลน่ ผลกั ลกู บอลไปมาระหวา่ งพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู • เลียนแบบท่าทางผคู้ น เล่นอะไร ไม่ชอบอะไร การตอบสนองของลกู และ  พอ่ แมผ่ เู้ ลยี้ งดเู ลน่ “จะ๊ เอ!๋ ” โดยใชอ้ ปุ กรณร์ อบตวั • ต้องการความมั่นใจจากการ การคงความสนใจของลูกต่อการเล่นแตล่ ะอย่าง เช่น ผ้าขนหนู มาปิดหน้าแทนมือ พร้อมพูดว่า แสดงออกทางสีหน้าของ  เมอ่ื เกดิ สง่ิ ผดิ พลาด เชน่ ลกู ท�ำ ของหก ท�ำ ของแตก “ชื่อลูก... (หรอื สัตว์) อยไู่ หนนะ......... ” จากนนั้ พอ่ แม่หรอื ผ้เู ลี้ยงดู พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูไม่ควรดุว่ารุนแรง ช่วยดูแล เปดิ ผา้ ออก แลว้ พูดวา่ “จะ๊ เอ!๋ เจอแลว้ ” สลับกัน ท�ำ ความสะอาด ปลอบลูกใหห้ ายตกใจ ไปใหพ้ ่อแมห่ าลกู และลกู หาพอ่ แมห่ รอื ผ้เู ลีย้ งดู  คอยดูแลเร่ืองความปลอดภัยขณะลูกเล่น  การเล่นลูกกลิ้ง โดยการให้ลูกนอนราบกับพื้นท่ี โดยเฉพาะระวังการกระแทกกับพ้ืนท่ีแข็ง ปลอดภยั หรอื เตยี งนมุ่ ๆ แลว้ ใหพ้ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู เพราะลูกกำ�ลังอยู่ในวัยหัดน่ัง หัดคลาน ระวังลูก ใชฝ้ า่ มอื กลง้ิ ลกู ไปมาอยา่ งเบามอื พรอ้ มทง้ั ท�ำ เสยี ง หยิบของเล็กๆ เขา้ ปาก บรนื บรนื ขบั รถ พรอ้ มทั้งกอดและหอมลูก  การเลน่ ในกจิ กรรมตา่ งๆ ตา่ งในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ ตอนอาบนา้ํ ใหเ้ อาเปด็ ลอยนา้ํ หรอื ตกุ๊ ตา มาเลน่ กบั ลกู ขณะอาบนา้ํ หรอื หาลกู บอลเลก็ ๆ ไวใ้ สอ่ า่ งอาบนาํ้

40 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ช่วงวยั พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสรมิ สร้างความผูกพนั ตัวอย่างการเล่น/ของเลน่ ทางอารมณผ์ า่ นการเลน่ 1 – 2 ปี • เรม่ิ เดนิ และวง่ิ ไดค้ ลอ่ ง การเลน่  ในชว่ งวยั นี้ เด็กมกั จะเปน็ ผเู้ ลือกของเลน่ หรือเป็น  ของเล่นที่มีการผลกั หรือดงึ และมีล้อเคลอื่ นทไ่ี ด้ จึงคล่องตัว และหลากหลาย ผนู้ �ำ เองวา่ อยากเล่นอะไร พอ่ แม่หรอื ผเู้ ลีย้ งดูคอย  ของเล่นท่ีสามารถข้ึนไปขี่ได้ เช่น ตุ๊กตาสัตว์ มากขึน้ เป็นผูร้ ว่ มเล่น หรือ อยใู่ กลๆ้ เวลาลกู เลน่ ถ้าลูก จกั รยาน สามลอ้ ฯลฯ ขนาดพอดตี วั เดก็ สสี นั สดใส • เร่ิมเล่นตามหน้าที่ใช้งานของ ยังไมร่ ้จู ักวิธีเล่น พ่อแมห่ รอื ผู้เล้ียงดูควรเล่นให้ลกู  การปีนป่าย การเล่นดินเล่นทราย ม้าหมุน ของเล่น เช่น เอารถมาไถ ดูกอ่ น แลว้ ชักชวนลกู มาเลน่ สไลด์เดอรส์ ำ�หรบั เด็กเล็ก เอาโทรศพั ทข์ องเลน่ มาท�ำ ทา่  เมื่อลูกไปเจอของเล่นที่ลูกยังเล่นไม่เป็นหรือยาก  การเตน้ โดยการเปิดเพลงทล่ี กู ชอบ แล้วให้เขาได้ โทรศัพท์ เกนิ ไป พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรรอดู ปลอ่ ยใหล้ กู ได้ เตน้ และ ย้ิมให้เขาเมอ่ื เขาหันมาขอกำ�ลงั ใจ หรือ • 1 ½ ปี เริ่มมีการเล่นสมมุติ ทดลองทำ�ด้วยตนเองกอ่ น อาจแนะน�ำ ไดเ้ ล็กนอ้ ย รว่ มเตน้ กบั เขา ยง่ิ เปน็ การเสรมิ ความมน่ั ใจใหแ้ กล่ กู อย่างง่ายๆ เช่น ป้อนข้าว ควรใหค้ วามชว่ ยเหลอื เมอ่ื ลกู ยนื่ ของเลน่ มาใหช้ ว่ ย  การเลน่ ทมี่ กี ารเลยี นแบบ หรอื บทบาทสมมตงิ า่ ยๆ ตกุ๊ ตา เอารถมาชนกัน หรือเมื่อเห็นวา่ ลูกทำ�ไม่ไดจ้ ริงๆ เช่น การเล่นทำ�กับข้าว ขายของ เอารถมาไถแข่ง • เล่นได้อย่างต่อเน่ือง สนใจ  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรใหล้ กู ไดท้ �ำ กจิ กรรมตา่ งๆ และ กัน ไมค่ วรวา่ ลูกวา่ เพ้อเจ้อ หรือเลน่ อะไรไรส้ าระ เรียนรู้ส่งิ แวดลอ้ มรอบตัว คอยเฝา้ ดเู รอ่ื งความปลอดภยั ไมค่ วรดุ ไมค่ วรหา้ ม ควรปลอ่ ยให้เขาเล่นตามใจ • สามารถเล่นได้ด้วยตัวเอง เมื่อเล่นปีนป่าย (ที่ไม่อันตรายเกินไป) หรือเลอะ  การเล่นบทบาทสมมติโดยทำ�เสียงเป็นสัตว์ต่างๆ 2 − 3 นาที แตย่ งั ตอ้ งมพี อ่ แม่ ดนิ ทราย แตค่ อยใหก้ �ำ ลงั ใจ เมอื่ เขาลม้ หรอื หนั มา ในขณะท�ำ กจิ กรรมต่างๆ เช่น ขณะนั่งรถ เปน็ ต้น อยขู่ ้างๆ มองเมอ่ื ตอ้ งการการยอมรบั ควรชมเมอ่ื เขาท�ำ ไดด้ ี  การเลน่ ขณะอาบนา้ํ เชน่ เอาขนั ตกั นา้ํ เทใสถ่ งั เลน่ • ความสามารถในการแสดง  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดคู วรปลอ่ ยใหล้ กู ไดม้ เี พอ่ื น และ น้าํ จากฝกั บัว อารมณ์มากยิ่งข้ึน/มีอารมณ์ เข้าสังคมโดยการพาไปเล่นท่ีสนามเด็กเล่น หรือ หลากหลายมากข้ึน สวนสาธารณะ  หากเลน่ อะไรรนุ แรงใหพ้ อ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดเู ขา้ ไปคยุ อธิบายว่าส่ิงนี้ดีหรือไม่ แล้วให้เขาลองเล่นใหม่ใน สิ่งทดี่ พี รอ้ มทง้ั ให้คำ�ชมแกล่ ูก

ชว่ งวยั พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสริมสร้างความผูกพัน ตวั อยา่ งการเลน่ /ของเลน่ ทางอารมณ์ผา่ นการเลน่ 2 – 3 ปี • มีภาษาในการส่ือสารกับ  วัยน้ีอยากจะเล่นสนุกกับกลุ่มเด็กด้วยกัน อยาก การเล่นในวยั นจ้ี ะซับซ้อนยิ่งขึ้นกว่าขวบปีแรก คนรอบข้างมากขึ้น เล่นกับเพ่ือน แต่ก็ยังติดพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู  การเล่นกลางแจ้ง เช่น ว่ิงไล่จับ กระโดด ขว้าง คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 41 • น่ังเล่นข้างๆเด็กคนอ่ืนๆได้ ดังน้ัน ถ้าลูกเล่นกับเพ่ือนๆ พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู ลูกบอล เตะบอล การเล่นนํ้าในสระ พ่อแม่หรือ แตย่ งั เปน็ แบบตา่ งคนตา่ งเลน่ ควรอยู่ใกลๆ้ ผเู้ ลี้ยงดสู ามารถร่วมเล่นกบั ลกู ไดท้ กุ กจิ กรรม • เร่ิมเล่นเกมที่ต้องมีการใช้  เมื่อลูกมีการเล่นจนเกิดอุบัติเหตุ ให้ดูว่าเป็น  การเล่นเกมเลียนแบบสัตว์ โดยมีสัตว์ให้เขาเลือก จินตนาการ รูปภาพ แบบ อุบัติเหตุรนุ แรงหรือไม่ ถ้าไม่รนุ แรงให้มองและให้ 3 ตวั โดยให้ลกู เป็นผูน้ ำ�เลน่ แล้วให้ลูกเลือก 1 ตวั พื้นฐานง่ายๆ ก�ำ ลงั ใจลกู พรอ้ มทงั้ กระตนุ้ ใหล้ กู ลกุ ขน้ึ เอง พอ่ แม่ แลว้ พดู วา่ “พรอ้ มรยึ งั ? พรอ้ มแลว้ ไป...” แลว้ ใหล้ กู • เร่ิมรจู้ ักแบ่งปันกับคนอน่ื แต่ หรอื ผู้เลีย้ งดูอยขู่ า้ งๆ แสดงท่าทางของสตั วน์ ั้นๆ ให้ พอ่ แม่ผู้เลย้ี งดูทาย กห็ วงของเล่น  เมื่อลูกเล่นจนเลอะเทอะ เช่น โคลน ดิน ทราย แล้วสลับให้พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูเลือกสัตว์ท่ีเหลือ • เล่นแรง ยังกะแรงไม่ถกู เปยี กนา้ํ ไมค่ วรดุ ใหย้ ม้ิ และใหล้ กู เลน่ อยา่ งมคี วามสขุ แลว้ แสดงทา่ ทีให้ลูกทาย • เจ้าอารมณ์ มักยึดตนเอง ตอ่ ไป ให้ลกู รู้สึกมั่นใจในการกระท�ำ ของเขา  การเล่นซ่อนหา เป็นศูนยก์ ลาง และมีอารมณ์  เม่ือลูกเล่นกับเด็กคนอื่น ต้องคอยคุยให้ลูกเข้าใจ  การเล่นเกมล่าสมบัติตามลายแทง โดยการทำ� ขนึ้ ๆ ลงๆ ในการแบ่งปันของเลน่ ใหก้ ับผู้อนื่ บา้ ง สัญลักษณ์ตาม ท่ีต่างๆ ในบ้าน และซ่อนของไว้ ตามส่วนต่างๆ เช่น ใต้ต้นไม้ ใต้ม้าหมุน แล้วให้ เด็กๆ ช่วยกันหาตามคำ�ใบ้ เม่ือเขาหา ของพบก็ ใหก้ ลา่ วชืน่ ชม  การว่งิ เล่นกบั ลกู ในสนาม พรอ้ มท�ำ เป็นจดุ ๆ เพอ่ื สอนธรรมชาตริ อบตวั เชน่ จดุ ใตต้ น้ ไมแ้ ลว้ อธบิ าย ส่วนประกอบต้นไม้ จุดริมน้ําแล้วอธิบายเก่ียวกับ สัตว์ตา่ งๆ ในนํ้า เปน็ ต้น

42 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” ชว่ งวัย พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผูกพัน ตวั อย่างการเลน่ /ของเลน่ ทางอารมณผ์ ่านการเลน่ 2 – 3 ปี  อปุ กรณก์ ารเลน่ เชน่ หนงั สอื ทายภาพอปุ กรณว์ าดภาพ (ตอ่ ) หนังสอื ลากเสน้ ตามจุดประ จ๊กิ ซอว์ แตง่ ตัวตุ๊กตา ของเล่นท่ีขไ่ี ด้ 3 – 5 ปี 3 ปี  วยั นี้ พอ่ แมห่ รือผู้เล้ยี งดสู ามารถสอนทักษะสังคม การเลน่ กบั ลกู ในวยั น้ี ลกู จะเปน็ ผนู้ �ำ การเลน่ โดยน�ำ • เรม่ิ เลน่ รวมกลมุ่ กบั เดก็ อน่ื ๆ ได้ ระเบยี บวนิ ยั การเขา้ ใจผอู้ นื่ ผา่ นการเลน่ กบั พอ่ แม่ ของเล่นต่างๆ มาเล่นกับพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู พ่อแม่ • ชอบเล่นกับเพื่อน หรือ หรอื ผู้เล้ียงดู หรือผู้เล้ียงดูเพียงแต่เล่นไปกับลูก แต่พ่อแม่หรือ คนรอบข้าง แต่หวงของของ  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูควรสอนทักษะพื้นฐานใน ผเู้ ลย้ี งดตู อ้ งเลน่ ใหส้ นกุ ใจอยกู่ บั การเลน่ กบั ลกู และใช้ ตนเอง การเล่นกับผู้อ่ืน ส่ิงสำ�คัญท่ีต้องให้ลูกเรียนรู้คือ เวลาการเลน่ เพอ่ื ถา่ ยทอดสง่ิ ทพี่ อ่ แมอ่ ยากสอนไดใ้ น • เล่นสมมตุ ิได้ดี การแบ่งของเล่น การรู้จักขอ การรอคอย ขณะเดยี วกนั แตร่ ะมดั ระวงั อยา่ ท�ำ ใหล้ กู เบอื่ ทพี่ อ่ แม่ 4 ปี การขอบคุณ และการขอโทษ ซ่ึงลูกวัยนจ้ี ะเขา้ ใจ หรือผเู้ ลี้ยงดพู ยายามสอนระหวา่ งลกู เล่น • เล่นสมมุติมีความซับซ้อน และพฒั นาไดด้ ีกวา่ วยั 2 – 3 ขวบโดยส่งิ เหล่าน้ี ของเล่นท่เี หมาะกับลูกวัย 3 - 5 ปี มากข้ึน เช่น เล่นสมมติ จะเกิดขึ้นเองเม่ือลูกเล่นกับพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู  แปง้ โดวป์ น้ั เปน็ รปู ตา่ งๆ บลอ็ คตอ่ ตวั ตอ่ เลโก้ ของ เลยี นแบบชีวติ ในบ้าน สังคม อย่างสม่าํ เสมอ เลน่ วาดรปู ระบายสี งานศลิ ปะ เครอ่ื งดนตรตี า่ งๆ • เริ่มมีการหยอกล้อเพื่อน  พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดสู ามารถสรา้ งวนิ ยั ผา่ นการเลน่ ได้ จก๊ิ ซอตอ่ ภาพ ตอ่ อกั ษร เกมส์กระดานอย่างงา่ ย ได้แก่ การฝึกเก็บของเล่นทุกคร้ัง ฝึกจัดเก็บ  อปุ กรณว์ ทิ ยาศาสตรง์ า่ ยๆ เชน่ แวน่ ขยาย อปุ กรณ์ ระหว่างเล่นด้วยกนั และแยกของตามหมวดหมู่ แบ่งเวลาในการเล่น เครือ่ งมือช่างสำ�หรับเดก็ จักรยาน 5 ปี รู้ว่าเวลาไหนควรเล่น เวลาไหนควรทำ�กิจวัตร ของเลน่ ส�ำ หรบั ลูกชาย • เด็กเรียนรู้ทักษะทางสังคม ประจำ�วันตามหน้าที่ ชื่นชมลูกเม่ือลูกทำ�ได้ หุ่นยนต์ เคร่ืองเล่นประกอบ ช่วยสรา้ งจินตนาการ ตามท่ีบอก แบบผใู้ หญม่ ากขึน้ เช่น ร้จู ัก ขอโทษเมอื่ ท�ำ ผดิ รจู้ กั แบง่ ปนั รอคอยไดด้ ีขน้ึ

ช่วงวัย พฒั นาการการเลน่ ตามชว่ งวยั แนวทางการเสริมสรา้ งความผูกพัน ตัวอยา่ งการเลน่ /ของเลน่ 3 – 5 ปี ทางอารมณ์ผ่านการเล่น (ต่อ) คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผกู พนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรบั เดก็ วยั แรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กนิ กอด เลน่ เลา่ ” 43  เมอ่ื ลกู เลน่ กบั พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดแู ลว้ ลกู อาละวาด ของเล่นของลกู สาว ไมพ่ อใจ ใชโ้ อกาสในขณะนน้ั ชว่ ยใหล้ กู ฝกึ ควบคมุ งานเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย งานประดดิ ประดอย รอ้ ยลกู ปดั อารมณ์ ไมอ่ าละวาดหรอื ระเบดิ อารมณ์ และฝกึ พา หรอื งานเยบ็ ผ้า เลน่ ตกุ๊ ตา เลน่ ขายของ ตนเองไปสงบสตอิ ารมณ์ แลว้ คอ่ ยกลบั มาเลน่ ใหม  เมื่อลูกเล่นกับพี่น้องหรือเพ่ือนแล้วทะเลาะกัน หรือแย่งของเล่นกัน ให้พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูเข้าไป หา้ มด้วยท่าทีสงบ ไมค่ วรดุ หรอื ตี แรงๆ ให้พาลูก ออกจากสถานการณ์ พร้อมทั้งทำ�การปลอบจน เขาเกิดความสงบ แล้วอธิบายว่าควรแบ่งของเล่น หรือ ของช้ินน้ีไม่ใช่ของของเรา หรือตอนน้ีไม่ใช่ คิวของเรา ให้อดใจรอก่อน และให้แบ่งกันเล่น เม่ือเขาสงบสติอารมณ์ได้ ก็ให้พากลับไปเล่นได้ และชื่นชมเขาเม่ือเขารู้จักแบง่ ปัน



ฟูมฟกั เลา่ ...เคลา้ นทิ าน การเสริมสรา้ งความผกู พันทางอารมณ์ผา่ นการเลา่ การอ่านนิทานให้มากกว่าความสนุก แต่การอ่านนิทานยังสามารถเสริมสร้างความผูกพัน ทางอารมณ์ และพัฒนาจิตใจของเด็กได้อีกด้วย เพราะระหว่างการเล่านิทานนั้นจะมีการพูดคุยกัน ระหวา่ งพอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลย้ี งดกู บั ลกู มกี าร มองหนา้ สบตา มกี ารใชเ้ วลารว่ มกนั มกี ารเรยี นรซู้ ง่ึ กนั และกนั มีอารมณ์สนุกสนานร่วมกัน และเป็นช่วงเวลาที่ พ่อแม่หรือผู้เล้ียงดูได้ถ่ายทอดความรัก ผ่านการเล่า ผ่านการสัมผัสในระหว่างเล่านิทานซ่ึงลูกได้น่ังอยู่บนตัก หรือน่ังในอ้อมกอดของพ่อแม่หรือผู้เล้ียงดู ท�ำ ให้ลูกรูส้ ึกอบอุน่ มั่นคง และปลอดภัย นอกเหนือจากการเล่านิทานแล้ว การสื่อสารพูดคุยกันในชีวิตประจำ�วันถือว่าเป็นส่ิงสำ�คัญที่ จะท�ำ ให้พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ล้ียงดแู ละลูกรับรู้ไดว้ า่ มคี วามรสู้ ึกตอ่ กันอยา่ งไร ซ่งึ การส่งเสรมิ ความผูกพนั ทาง อารมณน์ นั้ สว่ นหนงึ่ มาจากการสอ่ื สารพดู คยุ กนั ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เปน็ การถา่ ยทอดความรสู้ กึ ทมี่ ตี อ่ กนั ที่จะทำ�ให้เด็กเกิดความรู้สึกใกล้ชิดกัน ไว้วางใจ รู้สึกปลอดภัยพร้อมที่จะออกไปใช้ชีวิตเรียนรู้โลก ภายนอกได้ในช่วงวัยต่อไป นอกจากน้ีการสนทนาพูดคุยกับเด็กเป็นอีกทางหน่ึงจะทำ�ให้พ่อแม่หรือ ผ้เู ลี้ยงดูสามารถตรวจสอบความผิดปกติของพฒั นาการการใชภ้ าษา และการพดู ของลูกไดอ้ กี ด้วย พัฒนาการการใช้ภาษาและการพูดของเด็กและแนวทางการเสริมสร้างความผูกพัน ทางอารมณ์ ในแตล่ ะชว่ งวยั ใน 5 ขวบปแี รก พฒั นาการการใชภ้ าษาและการพดู ของลกู จะมคี วามแตกตา่ งกนั ซึ่งจะสัมพันธ์ไปกับการพูดคุยท่ีเหมาะสมและลักษณะการเล่านิทานในแต่ละช่วงวัย สามารถแบ่งเป็น ช่วงตา่ งๆ ไดด้ ังน้ี ชว่ งอายุ พฒั นาการการใชภ้ าษาและการพดู แนวทางการเสรมิ สรา้ งความผูกพัน แรกเกดิ – ทางอารมณ์ผ่านการเลา่ 6 เดือน • ลูกลืมตาตื่น กระพริบตา หรือสะดุ้ง  พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูสามารถเล่านิทาน คล้ายตกใจเมื่อได้ยินเสียงดัง เช่น ให้ลูกฟังได้ตั้งแต่ในวัยน้ี จะเล่าด้วย เสยี งแตรรถ เดก็ จะท�ำ ทา่ คลา้ ยหยดุ ฟงั หนังสือนิทานที่มีรูปภาพขนาดใหญ่ เม่ือพอ่ แมอ่ ุม้ และพูดคุยอยู่ใกลๆ้ ลกู หรือจะเล่านิทาน จากความจำ�ของ พ่อแม่หรือผู้เลย้ี งดูกย็ ่อมได้ คูม่ ือการเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ สำ�หรบั เด็กวยั แรกเกดิ - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เล่น เล่า” 45

ชว่ งอายุ พฒั นาการการใชภ้ าษาและการพดู แนวทางการเสรมิ สร้างความผกู พนั แรกเกิด – ทางอารมณ์ผา่ นการเลา่ 6 เดือน • ลูกสามารถหันศีรษะไปทางด้านที่มา  การเล่าไม่จำ�เป็นต้องเป็นนิทาน (ต่อ) ของเสียงท่ีเกิดขึ้นข้างตัวลูก ถึงแม้มี เลา่ เรือ่ งราว เหตุการณต์ ่างๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ เสยี งคอ่ นขา้ งเบา เชน่ เสยี งของเลน่ ตา่ งๆ รอบตวั ลกู โดยตอ้ งเปน็ เรอื่ งราวดๆี เชน่ 7 – 11 • ลกู จะออกเสยี งคลา้ ยพยญั ชนะ และสระ มีญาติมาหา หรือพูดเล่า สิ่งท่ีพ่อแม่ เดือน รวมกนั เชน่ “กา-กา” “บา-บา” ซา้ํ ๆ หรือผู้เล้ียงดูกำ�ลังทำ�ให้ลูก เช่น กำ�ลัง • ชอบการตอบสนองด้วยการสัมผัส อาบนา้ํ นะ ก�ำ ลังทาแปง้ เป็นตน้ ถกู เนอ้ื ถกู ตวั  นอกจากเลา่ หรอื พดู พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู ใช้การร้องเพลงกล่อมเด็ก เป็นคำ�ร้อง หรือทำ�นองเพียงอย่างเดยี วก็ได้  ระวังอย่าใชเ้ สยี งดงั เกนิ ไป  ระหว่างเล่านิทาน หรือพูดคุยเล่า เรื่องต่างๆ กับลูก อย่าลืมที่จะสบตา ด้วยความอ่อนโยน หันหน้าให้ลูกเห็น ริมฝีปากที่ขยับไปมา ใบหน้ายิ้มแย้ม แสดงความร้สู ึกสนุกสนาน  ระหวา่ งการพดู คยุ ใหม้ กี ารสมั ผสั พรอ้ ม กบั พดู คยุ เช่นการกอด การหอม  พูดคุยด้วยคำ�พูดเชิงบวก เช่น “แม่รัก ลกู จงั เลย”“คนดขี องแม”่ และสบตาลกู เม่อื พดู คยุ กัน • ลกู จะหนั ศรี ษะไปมาเพอ่ื หาเสยี งเรยี กชอ่ื  ในช่วงน้ีลูกเริ่มนั่งได้มั่นคงมากขึ้น ซง่ึ เรยี กมาจากดา้ นหลงั ของลกู พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดสู ามารถพาลกู นง่ั ตกั • ลูกจะออกเสียงพยัญชนะ และสระได้ น่ังอา่ นนทิ านไปดว้ ยกนั ไดอ้ ยา่ งสบาย มากขน้ึ โดยท�ำ เสยี งตดิ ตอ่ กนั ยาวๆ ได้  ชวนให้ลูกมองตามภาพนิทาน ช้ีส่ิงท่ี 4 – 6 พยางค์ เช่น “ลา-ลา-ลา-ลา” เกิดข้ึนพร้อมกับคำ�สำ�คัญ เช่น “บาคาบาคา” “แมวนอนอยู่ใต้ต้นไม้” ให้รู้ว่าใคร • ลูกจะฟังและเลียนเสียงต่างๆ จากส่ิง ทำ�อะไร ทีไ่ หน แวดลอ้ ม เชน่ เสยี งหมาเหา่ เสยี งจง้ิ จก  ลูกเริ่มส่งเสียงเรียกคนรอบข้าง พ่อแม่ ตกุ๊ แก หรือ ผเู้ ล้ยี งดูควรใหค้ วามสนใจเม่อื ลกู • จดจ�ำ บางค�ำ ไดอ้ ยา่ งสน้ั ๆ เชน่ “ปาปา” เรยี กด้วยการตอบรับ และสง่ ยิ้มให้ “มามา” เปน็ ตน้ 46 คู่มอื การเสริมสรา้ ง ความผูกพนั ทางอารมณ์ ส�ำ หรับเดก็ วัยแรกเกิด - 5 ปี ดว้ ย “กิน กอด เลน่ เล่า”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook