Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง-อช21003

8พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง-อช21003

Published by sawitree.icando9, 2022-05-17 00:25:57

Description: 8พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง-อช21003

Search

Read the Text Version

1

เอกสารสรปุ เนอื้ หาท่ตี อ งรู รายวิชา พฒั นาอาชีพใหม คี วามเขม แขง็ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน รหสั อช21003 หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร หา มจาํ หนา ย หนงั สือเรียนนจี้ ัดพมิ พด วยเงนิ งบประมาณแผนดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของสาํ นักงาน กศน.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั หนา คาํ นํา สารบญั คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรปุ เนอื้ หาทตี่ อ งรู บทที่ 1 ศักยภาพธรุ กจิ ..........................................................................................................1 เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และความจําเปนในการพัฒนาอาชีพ........................... 1 เรอ่ื งท่ี 2 ความจาํ เปนและคณุ คาของการวิเคราะหศ ักยภาพธรุ กิจ .................................... 1 เร่ืองที่ 3 การวเิ คราะหตาํ แหนง ธรุ กจิ ................................................................................. 4 เรื่องที่ 4 การวเิ คราะหตามศักยภาพทง้ั 5 ดา น ................................................................. 6 แบบฝกหดั ท่ี 1 ................................................................................................................... 8 แบบฝกหัดที่ 2 .................................................................................................................10 บทท่ี 2 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการตลาด......................................................................................12 เรื่องท่ี 1 การกําหนดทิศทางการตลาด.............................................................................12 เรือ่ งท่ี 2 การกาํ หนดเปา หมายการตลาด.........................................................................12 เรอื่ งท่ี 3 การกําหนดกลยุทธส เู ปา หมาย ..........................................................................15 เรื่องท่ี 4 การวเิ คราะหกลยุทธ..........................................................................................17 เรอ่ื งท่ี 5 กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด..............................................................19 แบบฝกหดั ท่ี 1 .................................................................................................................21 แบบฝกหัดท่ี 2 .................................................................................................................23 บทที่ 3 การจัดทําแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบรกิ าร ..............................................................26 เรอื่ งที่ 1 การกําหนดคุณภาพการผลิตหรือการบริการ.....................................................26 เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหท นุ ปจจัยการผลติ หรอื การบรกิ าร ................................................27 เรอ่ื งท่ี 3 การกําหนดเปา หมายการผลิตหรือการบรกิ าร ..................................................28 เรื่องท่ี 4 การกําหนดแผนกจิ กรรม...................................................................................30 เรอ่ื งท่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร..........................................................31 แบบฝกหดั ........................................................................................................................33

สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 4 การพัฒนาธุรกจิ เชิงรกุ ....................................................................................................35 เรอ่ื งท่ี 1 ความจําเปน และคุณคาของธรุ กิจเชิงรุก.............................................................35 เรอื่ งท่ี 2 การแทรกความนยิ มเขา สูค วามตอ งการของผบู ริโภค ........................................36 เรอ่ื งท่ี 3 การสรางรูปลกั ษณแ ละคณุ ภาพสินคา ใหม .......................................................37 เรือ่ งท่ี 4 การพัฒนาอาชพี ใหมคี วามเขมแข็ง....................................................................40 แบบฝก หัด ........................................................................................................................44 บทที่ 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขม แข็ง..................................................................46 เรอื่ งที่ 1 การวเิ คราะหความเปนไปไดของแผนตา ง ๆ .....................................................46 เรื่องที่ 2 การเขียนโครงการการพฒั นาอาชีพ ...................................................................49 เร่ืองที่ 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดข องโครงการพัฒนาอาชีพ ..................................51 เร่อื งท่ี 4 การปรับปรุงแกไ ขโครงการพัฒนาอาชพี ............................................................54 แบบฝก หัด ........................................................................................................................55 เฉลยแบบฝก หดั ...................................................................................................................57 บรรณานกุ รม ......................................................................................................................61 คณะผจู ัดทาํ .........................................................................................................................62

คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทีต่ อ งรู หนงั สอื สรปุ เนื้อหาท่ีตองรหู นังสือเรียนรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง เลมนี้ เปนการสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียนรายวิชาบังคับ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชา พัฒนา อาชีพใหมีความเขมแข็ง อช21003 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหนักศึกษาได เรยี นรแู ละทําความเขา ใจในเน้ือหาสาระของรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง อช21003 ท่ีสําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาใจยิ่งขึ้น ในการศึกษาหนังสือสรุปเน้ือหาท่ีตองรูหนังสือ เรยี นรายวิชา พัฒนาอาชพี ใหม คี วามเขมแข็งเลม นี้ นักศึกษาควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือเรียนรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็ง อช21003 สาระการ ประกอบอาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตนใหเขา ใจกอน 2. ศกึ ษาเนอ้ื หาสาระของหนังสือสรุปเนื้อหาที่ตองรหู นังสือเรยี นรายวิชา พัฒนาอาชีพ ใหมีความเขมแข็ง อช21003 ใหเขาใจอยางถองแท พรอมทั้งทําแบบฝกหัดทายบททีละบท และตรวจคาํ ตอบจากเฉลยแบบฝก หัดทายเลมใหค รบ 5 บท 3. หากนักศึกษาตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหาสาระรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมี ความเขม แขง็ อช21003 เพมิ่ เตมิ สามารถศึกษาคนควาไดจากสื่ออ่ืน ๆ ในหองสมุดประชาชน อินเทอรเ น็ต หรือครผู สู อน

1 บทท่ี 1 ศักยภาพธุรกิจ เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ และความจําเปน ในการพฒั นาอาชีพ การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การพัฒนาทักษะอาชีพดานตาง ๆ ใหสามารถพัฒนา ผลิตภัณฑห รอื การบรกิ ารไดตรงกบั ความตองการของผูบริโภคและทันตอการเปลี่ยนแปลงของ ตลาด ความสําคัญ และความจําเปน ในการพฒั นาอาชพี ใหมีความเขมแข็ง มดี ังนี้ 1. ทาํ ใหอ าชพี มคี วามเจรญิ กา วหนา เขม แข็ง พงึ่ ตนเองได 2. ผปู ระกอบอาชีพไดพ ัฒนาตนเองไมลา สมยั 3. ชว ยใหส รางภาพลกั ษณทด่ี ีใหก บั ตนเองและกจิ การ 4. ทาํ ใหผ ปู ระกอบธรุ กิจดงึ บคุ ลากรที่มีความสามารถสงู เขา มาทํางานไดมากขึ้น 5. เปน การรบั ประกนั บคุ คลท่มี คี วามสามารถใหอ ยทู าํ งานตอ ไป 6. ผูประกอบอาชพี รูเทาทันการเปล่ยี นแปลงท่ีมีผลตออาชพี ของตน 7. ผปู ระกอบอาชพี รทู ศิ ทางการพฒั นาอาชีพของตน เรื่องที่ 2 ความจาํ เปนและคณุ คาของการวิเคราะหศ ักยภาพธรุ กจิ ศกั ยภาพธรุ กิจ หมายถึง ความสามารถหรอื ความพรอ มทมี่ อี ยูภายในธุรกิจนั้น ๆ ท่ีจะ เอ้อื อาํ นวยตอ การพัฒนา ปรับปรงุ ทจี่ ะทาํ ใหธรุ กิจประสบความสาํ เร็จ การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ หมายถึง การแยกแยะความสามารถหรือความพรอม องคประกอบของธุรกิจ ไดแก ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ และการจัดการ เพ่ือใหผูประกอบ ธรุ กจิ มคี วามเขา ใจในแตล ะสว นของธรุ กิจอนั จะนําไปสูการพัฒนาอาชพี ใหม คี วามเขม แข็ง

2 ปจ จยั นําเขา เพื่อขยายอาชีพในแตละปจจยั จะมตี วั แปรรว ม ดังน้ี 1. ทุน เปนปจจัยในการดําเนินธุรกิจประกอบดวย เงินทุน ท่ีดิน อาคารสถานท่ี ทนุ ทางปญญา 2. บุคลากร เปน ปจ จัยที่สําคัญที่สุด เพราะธุรกิจจะเกิดข้ึนไดตองอาศัยความคิดของ คน มีคนเปนผูดําเนินการหรือจัดการทําใหเกิดกิจกรรมทางธุรกิจหลายรูปแบบ ประกอบดวย ผปู ระกอบธรุ กจิ หุนสว นและแรงงาน 3. วัสดุอุปกรณ ในการผลิตสินคาตองอาศัยวัตถุดิบในการผลิต ดังน้ัน ผูประกอบ ธรุ กิจตองรูจกั บรหิ ารวัตถุดบิ ใหมปี ระสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหไดตนทุนท่ีต่ํา และทําใหธุรกิจไดผลกําไร สูงสุด ประกอบดว ย วัตถุดิบ อปุ กรณแ ละเครือ่ งมอื 4. การจัดการ ในการปฏิบัติงานในแตละข้ันตอนของการดําเนินธุรกิจ ควรมีการ วางแผนและควบคุมใหการปฏบิ ัตงิ านน้ันมปี ระสิทธภิ าพ ประกอบดวย การจัดการผลิตและการ จัดการตลาด ความจาํ เปนและคณุ คา ของการวเิ คราะหศ กั ยภาพธุรกจิ 1. ผปู ระกอบธุรกิจรูขอบเขตความสามารถของตนเองและคูแขง ขัน 2. ผูประกอบธรุ กจิ สามารถนาํ ขอ มูลทุน บคุ ลากร วัสดุอุปกรณ และการจัดการ มาใช ในการวางกลยทุ ธท างธรุ กจิ ได 3. ผปู ระกอบธุรกิจสามารถมองเห็นชอ งทางการขยายธุรกิจ ตวั อยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพธรุ กิจ นายพงษศกั ดิ์ ชัยศิริ เจา ของรานเฟอรน เิ จอรเครื่องเรือนไม วิเคราะหศักยภาพธุรกิจ ของตนเองไดดังนี้ 1. มีใจรกั ดา นการคา เฟอรนเิ จอร ชอบบรกิ ารงานดานการขาย 2. มมี นุษยสัมพนั ธทดี่ ี ยม้ิ แยม แจมใส เปน กนั เอง ออ นนอมถอมตน 3. มคี วามซื่อสตั ยต อลูกคา ขายสนิ คา เหมาะสมกับราคา ไมเอาเปรยี บลูกคา 4. มีความรูดานเฟอรน ิเจอรเ ครอ่ื งเรอื นไมเปนอยางดี 5. ทําเลท่ีตง้ั รานมคี วามเหมาะสม 6. เครอื่ งจกั รทใ่ี ชในการผลิตมีอายุการใชง านนาน ชํารดุ บอ ย 7. มเี งนิ ทุนหมนุ เวยี นคลอ งตัว

3 8. มีแหลง ทนุ ในทอ งถ่นิ 9. มสี วนแบง ตลาดในทอ งถ่นิ ประมาณ 30% 10. ลูกคาสวนใหญอาชีพพนักงานบริษัท ขาราชการ ระดับรายไดปานกลาง ในหมูบานจดั สรรบริเวณใกลเ คียงประมาณ 7 หมูบา นแถบชานเมือง 11. ในทอ งถ่ินมผี ูป ระกอบกิจการคา เฟอรนเิ จอรไ มเชนเดียวกนั 3 ราย 12. ทิศทางในอาชีพนี้ ยงั มีอนาคตอีกยาวไกลจะมีจํานวนหมบู านจดั สรรเพมิ่ ขน้ึ ใน แถบนี้อีกประมาณ 5 หมูบาน จากขอ มลู ขา งตน สามารถนํามาวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ ดงั น้ี ทุน บุคลากร 1. ทาํ เลทตี่ งั้ รา นมีความเหมาะสม 1. มใี จรกั ดานการคา เฟอรน ิเจอร ชอบบริการ 2. มเี งนิ ทุนหมุนเวยี นคลองตัว งานดานการขาย 3. มแี หลงทุนในทอ งถิ่น 2. มมี นุษยสัมพนั ธท ด่ี ี ยิ้มแยมแจม ใส เปน กันเอง ออ นนอมถอ มตน 3. มคี วามซือ่ สตั ยตอ ลกู คา ขายสนิ คา เหมาะสมกับราคา ไมเอาเปรยี บลกู คา 4. มีความรดู านเฟอรน ิเจอรเ คร่อื งเรือนไมเปน อยา งดี วัสดอุ ปุ กรณ การจัดการ เครื่องจักรท่ีใชในการผลติ มอี ายุการใชง าน 1. มีสวนแบงตลาดในทอ งถ่ินประมาณ 30% นานชาํ รดุ บอ ย 2. ลกู คาสวนใหญอ าชีพพนักงานบริษทั ขา ราชการ ระดับรายไดปานกลาง ใน หมูบานจัดสรรบรเิ วณใกลเ คียงประมาณ 7 หมูบานแถบชานเมือง 3. ในทองถิ่นมีผูป ระกอบกิจการคา เฟอรนเิ จอร ไมเชนเดยี วกัน 3 ราย 4. ทิศทางในอาชีพนี้ ยังมีอนาคตอีกยาวไกลจะ มีจํานวนหมูบานจัดสรรเพมิ่ ข้นึ ในแถบนอ้ี ีก ประมาณ 5 หมูบ า น

4 จะเห็นไดวา การวิเคราะหศักยภาพมีความสําคัญและจําเปนตอการพัฒนาอาชีพให เขมแข็งมาก หากไดวิเคราะหแยกแยะศักยภาพของตนเองอยางรอบดาน ปจจัยภายในของผู ประกอบธุรกิจ ปจจัยภายนอกของผูประกอบธุรกิจ โอกาสและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ การคา ยง่ิ วิเคราะหถ กู ตอ งและแมน ยาํ มาก ซงึ่ จะทาํ ใหผ ปู ระกอบธุรกิจรูจักตนเอง อาชีพของ ตนเองไดดีย่งิ ข้นึ เหมอื นคํากลาว “รูเ ขา รูเรา รบรอยคร้งั ชนะท้งั รอ ยครั้ง” เรอ่ื งท่ี 3 การวเิ คราะหต ําแหนงธรุ กจิ ตําแหนงธุรกิจ หมายถึง ระยะเวลาในชวงการประกอบอาชีพหรือธุรกิจ ในแตละ ระดบั ขนั้ ตอนของการดาํ เนินกจิ การ โดยทั่วไปแบง ระยะดงั น้ี 1. ระยะเร่มิ ตน 2. ระยะสรางตวั 3. ระยะทรงตัว 4. ระยะตกตาํ่ หรือสงู ข้ึน

5 ซง่ึ จะอธบิ ายเปนรปู แบบกราฟดังน้ี 4.1 ธุรกิจกา วหนา จะมีผคู นเขามาเรียนรู ทาํ ตาม ทาํ ใหเกิดวกิ ฤตสว นแบง ทาง มลู คาธุรกจิ การตลาด 1. ระยะเรมิ่ ตน 2. ระยะสราง 3. ระยะทรงตวั 4.2 ถาไมมีการพฒั นาธุรกจิ จะเปน ขาลง จาํ เปนตอ งขยายขอบขาย จึงมคี วามตอ งการ ใชนวตั กรรมเทคโนโลยเี ขา มาใช 4. ระยะตกตา่ํ หรือสงู ขน้ึ เวลา 1 เปน ระยะท่ีอาชพี 2 – 3 ธรุ กจิ อยูใ นชวงพัฒนาขยายตวั หรอื ธุรกจิ อยใู นระยะ หรือยงั ทรงตัวจะมีคนจบั ตามองและ ฟกตัวของการเขา สู พรอมทําตาม อาชีพ (เรม่ิ มีคแู ขง ขัน) กราฟวเิ คราะหต าํ แหนง วงจรธรุ กจิ 1. ระยะเริ่มตน เปนระยะท่อี าชีพหรอื ธรุ กิจอยใู นระยะฟกตัวของการเขาสูอาชีพ 2. – 3. ระยะสรางตัว และระยะทรงตัว ธุรกิจอยูในชวงพัฒนาขยายตัว หรือยังทรง ตวั อยู ซ่ึงชวงน้จี ะมคี นจับตาและพรอ มทาํ ตาม (เรม่ิ มีคแู ขง ขนั ทางการคา ) 4. ระยะตกต่ําหรอื สงู ขน้ึ 4.1 เมอื่ ธุรกิจกาวหนาจะมีผคู นเขามาเรียนรู ทาํ ตาม ทาํ ใหเ กดิ วกิ ฤตสิ ว นแบงทาง การตลาด 4.2 ถาไมม ีการพัฒนาธรุ กจิ จะเปนขาลง จําเปน ตองขยายขอบขายจึงมีความตองการ ใชนวัตกรรม เทคโนโลยเี ขา ใชง าน โดยสรุป ผูประกอบธุรกิจตองมีการวิเคราะหตําแหนงธุรกิจของตนใหไดวาอยูในชวง ระยะใด กาํ ลังสรางตัว ทรงตัว หรือเปนขาขึ้นและหรอื ขาลง

6 เร่ืองท่ี 4 การวิเคราะหต ามศักยภาพทั้ง 5 ดาน 1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตล ะพืน้ ท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซ่ึงมนุษยสามารถ นําไปใชใ หเกดิ ประโยชนต อ ชีวติ ประจําวันและการประกอบอาชีพได เชน การวางแผนการปลูก คะนา มีแหลงน้ําเพียงพอตอระยะเวลาในการปลูก 1 ฤดูกาล หรือไม และความอุดมสมบูรณ ของดนิ มีมากนอ ยเพยี งใด ซงึ่ จะสง ผลตอการปรบั ปรุงบํารงุ ดินและการใสปุย 2. ศกั ยภาพของพ้นื ทตี่ ามลักษณะภูมิอากาศ ลกั ษณะภูมอิ ากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจําถ่ินในชวงระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงมี อิทธิพลตอ การประกอบอาชีพในแตละพื้นท่ี ซ่ึงมีสภาพอากาศท่ีแตกตางกัน การเตรียมปจจัย การปลูกคะนาเก่ียวกับเมล็ดพันธุ ควรเลือกเมล็ดพันธุใหเหมาะสมกับฤดูกาล เพราะจะทําให คะนา มกี ารเจริญเตบิ โตที่ดี 3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ และทาํ เลทีต่ งั้ ของแตละพนื้ ท่ี ภมู ปิ ระเทศ หมายถงึ ลกั ษณะทางกายภาพของแผนดนิ ความสงู ต่ํา ทรี่ าบลมุ ที่ราบสูง ภูเขา แมน้ํา ทะเล เปนตน สภาพภูมิประเทศในการปลูกคะนา ควรเลือก พืน้ ทีท่ รี่ าบสงู ใกลแ หลง นํา้ 4. ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวิตของแตละพ้ืนท่ี ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี หมายถึง ความเชื่อ การกระทําที่มีการปฏิบัติสืบเนื่อง กนั มาเปนเอกลกั ษณ และมคี วามสําคญั ตอ สงั คม ในแตละภาคของประเทศไทย มีวิถีชีวิต ความ เปนอยู และการบริโภคท่ีแตกตางกัน การปลูกคะนา ควรปลูกใหตรงกับความตองการของ ผูบรโิ ภคและตลาด 5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยในแตละพืน้ ที่ ทรัพยากรมนุษยในแตละพ้นื ท่ี หมายถงึ ความรู ความสามารถของมนุษยท ่เี ปนภูมิรู ภูมปิ ญญา ทัง้ ในอดีตและปจ จบุ ันตางกัน ในแตละทองถ่ินมีความถนัดและความชํานาญในการ จัดการแรงงาน การดแู ลรักษา การเก็บเก่ียวท่ไี มเหมอื นกนั สงผลใหผ ลผลติ และรายไดท ต่ี างกนั

7 ตัวอยางการวเิ คราะหศ กั ยภาพท้ัง 5 ดา น ศกั ยภาพของ ศกั ยภาพของภูมอิ ากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพอากาศชื้นเหมาะสมกบั - มแี หลงนํ้าเพยี งพอ การปลกู คะนา - ดินมีความอดุ มสมบรู ณ ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย การปลูก ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศและ คะนา ทําเลทตี่ ้งั - มีแรงงานดา นเกษตรกรรม - มีภมู ิปญญาผรู ดู า นเกษตรกรรม ลกั ษณะภูมิประเทศที่ราบลมุ ริมแมน้ํา ศักยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ชี วี ติ - คนในพ้ืนที่นิยมบรโิ ภคผักคะนา - มีตลาดรบั ซอ้ื ผกั คะนา ตลอดป

8 แบบฝก หัดที่ 1 ใหผ ูเรยี นเลอื กคําตอบทถ่ี กู ตอ งทีส่ ดุ เพียงขอ เดยี ว 1. ขอ ใดคอื ความสาํ คัญของการพัฒนาอาชพี ใหเ ขม แข็ง ก. มีการทํางานเปนเอกเทศ ข. มกี ารวางแผนการดาํ เนินงาน ค. มีการพัฒนาสินคา ไดตามท่ีลกู คาตอ งการ ง. มกี ารปรบั ปรุงสถานท่ผี ลติ สนิ คาใหทนั สมยั 2. เหตุใดผูประกอบธรุ กจิ จาํ เปน จะตองวเิ คราะหศ กั ยภาพทางธรุ กิจ ก. เพอ่ื ดยู อดขายกบั จดุ คุมทุนท่ีเกิดขึน้ ข. เพือ่ จะไดเ ห็นทศิ ทางเชงิ กลยุทธของธุรกจิ ค. เพื่อทดสอบความเหมาะสมของแผนการตลาด ง. เพื่อจะไดข อ มูลใหมเ ก่ยี วกับสนิ คา และการตลาด 3. ขอ ใดกลาวถงึ การพฒั นาศกั ยภาพไดถูกตอ ง ก. การเปลย่ี นแปลงอยางมกี ระบวนการ ข. การเปลยี่ นแปลงโดยมจี ุดมุง หมายกาํ หนดไว ค. การนาํ เอาคนภายในมาใชใ นการผลิตใหไ ดม ากทสี่ ดุ ง. การนําความสามารถท่ีซอ นเรนภายในมาพฒั นาธรุ กจิ ใหด ีขน้ึ 4. ขอใดไมใชคณุ คา ของการวิเคราะหศักยภาพของธุรกจิ ก. ทาํ ใหค าดการณไดว าระยะเวลาใดธุรกิจจงึ จะคุมทุน ข. ทําใหรูว า ลูกคา มีความตองการสนิ คาใหมร ปู แบบใด ค. ทาํ ใหรวู า ลูกคามีความพึงพอใจตอ สินคามากนอ ยเพียงใด ง. ทําใหร ูวา มหี นว ยงาน องคกรใดบางที่จะชวยเหลือธรุ กจิ ของตน 5. ตาํ แหนงธรุ กจิ ระยะใดทมี่ ีการลงทุนและขยายกําลงั การผลติ มากทสี่ ุด ก. ระยะเร่ิมตน ข. ระยะสรา งตวั ค. ระยะทรงตัว ง. ระยะตกตํา่ หรือสงู ขึ้น

9 6. “นางวันดตี อ งการขายเสอื้ ผา สําเรจ็ รูป จึงไดมาตดิ ตอหาสถานทจี่ ําหนา ยในตลาดนัด” นาง วนั ดีจัดอยใู นระยะใด ของตาํ แหนงธุรกจิ ก. ระยะเริ่มตน ข. ระยะสรา งตวั ค. ระยะทรงตัว ง. ระยะสงู สุด 7. “นายมงคลประกอบธุรกิจจําหนายน้าํ ดม่ื แบบบรรจุถงั ขนาด 20 ลติ ร ตอมาไดร บั การเรียกรอง จากลูกคา ใหผลิตนํ้าดื่มบรรจุขวดขนาดเล็ก นายมงคลจึงไดจัดซ้ือเครื่องจักรมาบรรจุขวด เพมิ่ ขึน้ ทาํ ใหไดจาํ นวนลูกคามากขน้ึ ” นายสมศกั ด์ิจัดอยใู นระยะใดของตําแหนงธรุ กิจ ก. ระยะเรมิ่ ตน ข. ระยะสรา งตัว ค. ระยะทรงตวั ง. ระยะสูงสุด 8. สดุ าผลิตผาฝา ยทอมอื ซ่งึ เปน เอกลักษณข องทอ งถนิ่ เปนการประกอบอาชพี ตามศกั ยภาพ ในขอใด ก. ศักยภาพของภูมปิ ระเทศ ข. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย ค. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ ง. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต 9. อาชีพการทําประมง เปน การประกอบอาชีพตามศกั ยภาพในขอ ใด ก. ศกั ยภาพของภูมอิ ากาศ ข. ศักยภาพของภมู ปิ ระเทศ ค. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย ง. ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวติ 10. นายวิชยั มีอาชีพขบั รถรับ-สง สนิ คา เปน การประกอบอาชีพตามศกั ยภาพในขอ ใด ก. ศกั ยภาพของภูมอิ ากาศ ข. ศักยภาพของภมู ิประเทศ ค. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย ง. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต

10 แบบฝกหดั ท่ี 2 ใหผเู รยี นพิจารณาสถานการณต อ ไปนี้ แลวตอบคําถาม นายสมศกั ดิป์ ระกอบอาชพี รบั จา งทัว่ ไป อยากเปลย่ี นมาประกอบอาชีพปลูกผกั ปลอด สารพิษจําหนาย จงึ ไดทาํ การวิเคราะหศักยภาพทางธุรกิจเพือ่ ประกอบการตัดสนิ ใจ ผลการ วเิ คราะหศักยภาพมดี ังน้ี 1. ลักษณะพนื้ ที่ของชมุ ชนสว นใหญเ ปน ท่ีราบลุม 2. ดินเปนดินรว นปนทราย มีความอุดมสมบูรณพอสมควร 3. สภาพอากาศทองถ่นิ เปน แบบรอ นช้ืน ฤดฝู นมีระยะเวลา 3-4 เดอื น 4. มีคลองชลประทานภายในหมบู าน และมีน้ําตลอดทง้ั ป 5. แรงงานทองถิ่นมเี พยี งพอ สว นใหญอ ยูใ นวัยกลางคน 6. แรงงานทองถิ่นมคี วามรู ทักษะดานเกษตรกรรม 7. ตลาดผูบรโิ ภคผกั ปลอดสารพษิ ในทองถ่ิน และพน้ื ท่ีใกลเคียงมคี วามตองการสงู 8. คนในทองถิ่นเริ่มตระหนักถงึ การรักษาสขุ ภาพ และการบริโภคอาหารปลอดสารพิษ 9. คนในทอ งถ่ินมคี วามคิดเห็นวา ผกั ปลอดสารพิษมีราคาสงู 10. มีภมู ปิ ญ ญาดานเกษตรกรรมในชุมชนทจี่ ะเปนที่ปรกึ ษา ใหข อเสนอแนะได

11 จากขอมลู ขางตน จงระบศุ ักยภาพในขอ 1-10 วา เปนศกั ยภาพดา นใด ศักยภาพ ผลการวิเคราะห 1. ทรพั ยากรธรรมชาติ ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 2. ภูมอิ ากาศ ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 3. ภมู ิประเทศและทําเลทตี่ ้งั ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 4. ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ………………………………………………………………………………….. และวิถชี วี ติ ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 5. ทรัพยากรมนษุ ย ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………..

12 บทท่ี 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด เรอ่ื งท่ี 1 การกําหนดทศิ ทางการตลาด การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการกําหนดแนวทางในการพัฒนาธุรกิจใหมี ประสทิ ธิภาพโดยผปู ระกอบการหรือสถานประกอบการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลของตนเอง และสภาพแวดลอม มากําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการผลิต วิเคราะหธุรกิจวาอยูใน ตาํ แหนงใด และนํามากาํ หนดเปนเปา หมายในอนาคตของธรุ กจิ ตามตําแหนงทว่ี ิเคราะหไ ด รวบรวมและวิเคราะห กาํ หนดวัตถปุ ระสงค วิเคราะหธ ุรกิจวา อยู กําหนดเปน เปา หมายใน ขอมลู ของผปู ระกอบการ และเปา หมายการผลติ ในตาํ แหนงใดของ อนาคตของธุรกิจ การตลาดหรือคูแขง และสภาพแวดลอม ในธรุ กิจเดียวกนั ทิศทางการตลาด เรือ่ งที่ 2 การกาํ หนดเปา หมายการตลาด เปา หมายการตลาดเปน การบอกใหท ราบวา ผูประกอบการหรอื สถานประกอบการนั้น สามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกาํ หนดไวเปนระยะส้ันหรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกําหนดเปาหมายจะตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได หาก สามารถกาํ หนดเปน จํานวนตวั เลขไดก จ็ ะย่ิงดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยใหการวางแผน มีคุณภาพยิง่ ขน้ึ และจะสง ผลในทางปฏบิ ตั ิไดด ยี ่ิงข้นึ

13 การวางแผนการปฏิบตั กิ ารและการทที่ าํ ใหธรุ กิจบรรลุเปาหมายทตี่ ง้ั ไว ประกอบดว ย 3 สว น 1. การวางแผนวธิ กี ารเพือ่ บรรลุเปา หมาย 2. การปฏิบตั ิตามแผน 3. การควบคุมและตรวจสอบ การตลาดในยคุ โลกาภวิ ตั นม ีการเปลยี่ นแปลงเรว็ มาก ซึ่งขน้ึ อยูก บั 1. กระแสหรือความนยิ มของผบู ริโภค 2. กําลังซอ้ื ของผบู ริโภค 3. สว นแบง ของตลาด ผูประกอบการจําเปนตองศึกษากระบวนการตลาดอยูตลอดเวลา เพ่ือนํามากําหนด ทิศทางและเปาหมายทางการตลาด โดยพยายามผลิตสินคาหรือบริการขึ้นมาท่ีจะสามารถ ตอบสนองความตอ งการของผูบริโภคใหไ ดมากท่ีสุด ดังน้ันจําเปนท่ีจะตองมีการกําหนดทิศทาง และเปาหมายทางการตลาด เพอื่ เอาชนะคแู ขงขนั ทางการตลาดและเปนผูประสบความสําเร็จ ในที่สุด การกําหนดทิศทางและเปาหมายทางการตลาดจะตองตอบคําถามเหลาน้ีใหได ดังน้ี 1. ตลาดตอ งการซอ้ื อะไร หมายถงึ สินคาท่ผี ูบริโภคตองการ 2. ทาํ ไมจงึ ซอ้ื หมายถงึ จดุ ประสงคใ นการซอื้ สินคา ไปทําไม 3. ใครคอื ผซู ือ้ หมายถงึ กลุมเปาหมายทีจ่ ะซือ้ คอื กลมุ ใด 4. ซ้ืออยางไร หมายถึง กระบวนการซื้ออยางไร เชน ซื้อแบบออนไลน ซื้อโดยผาน พนกั งานขาย ซื้อจากรานคา เปน ตน 5. ซือ้ เมื่อไร หมายถึง โอกาสหรอื ความถที่ จี่ ะซือ้ สินคาเม่อื ไร เชน ทุกวนั ทุกเดือน 6. ซ้ือที่ไหน หมายถึง สินคาท่ีจะซ้ือมีขายตามรานคาประเภทใด เชน รานขายของ เบ็ดเตลด็ รานขายทวั่ ไป ผูประกอบการจะตองสรุปใหไดวาผูบริโภคตองการสินคาชนิดใดนําไปใชทําอะไร กลมุ เปาหมายที่ตองซอ้ื เปนกลุม ท่ีมกี าํ ลงั ซ้ือหรอื ไม วธิ ีการท่ซี ื้อ ซอื้ ใชเ ม่อื ใดและควรซ้ือแหลงใด ส่ิงเหลาน้ีจะเปนทิศทางในการผลิตสินคาแลวนํามากําหนดเปาหมายท่ีจะผลิตสินคา เชน มี ขอ มูลเกยี่ วกบั ผบู ริโภค คือ ผูซ อื้ ตอ งการกนิ อาหารปลอดสารเคมี กลมุ เปาหมายเปนผูสูงอายุใน

14 หมูบาน ซ้ือมาทําอาหารทุกวันและซ้ือตามรานคาในชุมชน จึงตัดสินใจวาจะผลิตผัก อนิ ทรียจําหนาย รวมถงึ ถาไดร บั ขอมูลของความตอ งการของผูบริโภคดานอื่น ๆ และสภาพของ ตลาดในปจจุบนั มาใชใ นการกาํ หนดทิศทางการตลาดดว ย ตวั อยาง การวเิ คราะหพ ฤตกิ รรมการบรโิ ภคของลูกคา สายการบนิ 1. ตลาดตองการซื้ออะไร : การเดินทางที่สะดวก สบาย รวดเร็ว การบริการท่ี ประทับใจ มเี ที่ยวบนิ ใหเลอื กมาก มเี ที่ยวบนิ ตรง 2 ทาํ ไมจงึ ซื้อ : ตองการประหยัดเวลา ตองการเดนิ ทางอยา งรวดเรว็ มคี วามภมู ใิ จ 3. ใครคอื ผซู ือ้ : นกั ธรุ กจิ นักทองเท่ยี ว 4. ซ้อื อยา งไร : ซื้อซ้ํา ซ้ือเม่อื มธี รุ ะดวนและจําเปน ซ้อื จากความประทบั ใจ 5. ซ้ือเมือ่ ไร : ซือ้ สมํา่ เสมอ ซือ้ เรง ดว นเปน ครัง้ คราว ซอ้ื เมือ่ ตอ งการเดนิ ทางทอ งเท่ียว 6. ซื้อที่ไหน : ตวั แทนจําหนา ย สํานกั งานขายของสายการบิน การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market) น้ัน เปนองคประกอบที่สําคัญของเปาหมาย ทางการตลาด ซง่ึ นกั การตลาดจะเลือกตลาดเปาหมายได จะตอ งทําการวิเคราะหสิ่งตา ง ๆ ดงั นี้ 1. ผูที่คาดวาจะเปนลูกคาในอนาคตมีลักษณะการบริโภคอยางไร มีความตองการ สนิ คาชนิดใด มรี ูปแบบพฤตกิ รรมการบริโภคอยางไร และผูทค่ี าดวาจะเปนลูกคาในอนาคตเปน ใครอยทู ไี่ หน 2. สวนผสมทางการตลาด และความสามารถในการจัดสวนผสมทางการตลาดให เขาถึงเปา หมายทางการตลาดท่ีไดว างไว ซ่ึงสวนผสมทางการตลาดประกอบดวย 1) ผลิตภัณฑ 2) ราคา 3) ชอ งทาง/วิธกี ารขาย และ 4) การสง เสริมการขาย 3. เปาหมายของธุรกจิ โดยวิเคราะหถ ึงการแสวงหาโอกาสทางการตลาดท่ีเห็นวาพอมี ชอ งทาง 4. ปจจยั อ่ืน ๆ ซ่ึงสวนมากเปนตัวแปรหรือสภาพแวดลอมทางการตลาดที่ควบคุมไมได เพราะปจ จยั น้ี มผี ลตอ การเลือกตลาดเปา หมายเชนกนั 5. การแบงสวนตลาด เปนการแบงตลาดสําหรับผลิตภัณฑชนิดใดชนิดหน่ึงออกเปน ตลาดยอ ย ๆ กแ็ ตกตา งกันดานความชอบ ความตองการและพฤติกรรมผูบริโภคในแตละตลาด น่ัน ๆ เพอื่ ท่จี ะไดแ นวทางหรอื วธิ ีการทางการตลาดใหเ หมาะสมกบั ตลาดแตละสว น

15 ดังนั้น เปาหมายทางการตลาด เปนการคัดเลือกกลุมลูกคาท่ีเปนเปาหมายโดยตอง คาํ นึงถงึ ปจ จยั สําคญั คือ สว นผสมทางการตลาด ผทู ี่คาดหวงั วาจะเปนลูกคา ในอนาคตและกรณี มสี ว นแบง ในการตลาด หลกั การกาํ หนดเปาหมายทางการตลาด มดี งั น้ี 1. เปา หมายท่ีกําหนดตอ งมีความเปน ไปได 2. เปา หมายตอ งชดั เจน 3. การกําหนดเปา หมายตองมีความละเอยี ดเพยี งพอ เรือ่ งที่ 3 การกําหนดกลยทุ ธส เู ปา หมาย กลยุทธ หมายถึง วิถีทางหรือขอกําหนดท่ีสมควรปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงคท่ี กําหนด ภายใตขอจํากัดของสภาพแวดลอมภายนอกและภายใน และขีดความสามารถของ ธุรกจิ กลยุทธการพัฒนาการตลาด เปนกลยุทธท่ีนํามาใชเพื่อเพ่ิมยอดขายและขยายการ เติบโต โดยใชผลิตภัณฑท่ีมีอยูออกจําหนายในตลาดใหม กลุมลูกคาในพ้ืนที่แหงใหม เพ่ือให สามารถครอบคลมุ ใหค รบทุกพนื้ ทีท่ ้ังในประเทศและตางประเทศ การกาํ หนดกลยทุ ธ เปนการพัฒนาแผนระยะยาวบนพื้นฐานของโอกาสและอุปสรรค ภายในสภาพแวดลอมภายนอก จุดแข็งและจุดออนภายในสภาพแวดลอมของสถาน ประกอบการ การกําหนด กลยุทธจะตองรวมท้ังการรุก การรับ การกําหนดเปาหมายกอนการ พฒั นากลยทุ ธ และการกาํ หนดนโยบาย ในการกาํ หนดกลยทุ ธ ควรมกี ารศึกษาความเปน ไปไดใ นดานตาง ๆ คือ ความเปนไปได ทางการเงนิ ความเปนไปไดทางการตลาด ความเปนไปไดทางการผลิต และความเปนไปไดทาง เทคโนโลยี เพอื่ ใหไ ดแนวทางในการกําหนดกลยทุ ธ

16 ตัวอยา งการกาํ หนดกลยุทธ ความเปน ไปได กลยุทธ 1. ทางการเงนิ ลงทนุ ตํา่ ท่สี ุด 2. ทางการตลาด เปนธุรกิจทส่ี ามารถทาํ ไดใ นระยะยาว 3. ทางการผลติ ทําจํานวนนอย แลว คอย ๆ เพ่ิมไปสจู าํ นวนมาก 4. ทางเทคโนโลยี นาํ เครอื่ งจักรมาใชในการทาํ งาน นอกจากน้ี ควรมีการศึกษาความสามารถในการแขงขัน ดงั น้ี 1. อะไรทีเ่ ราทาํ ไดด ีทส่ี ุดเม่อื เทยี บกับผูอ ื่น 1.1 ดีกวา 1.2 เรว็ กวา 1.3 ถกู กวา 1.4 แตกตางกวา เดนกวา 2. มองจุดเดนทีเ่ รามี 2.1 สินคา หรอื บริการของเราดอี ยา งไร 2.2 ใครคือลกู คาของเรา 2.3 ขนาดตลาดมมี ลู คา เทาไร 2.4 เทคโนโลยีในการผลติ สุดยอดเพียงใด 2.5 ถา คแู ขง ทาํ ไดจะใชเวลาอกี นานเทาไร กลยุทธก ารตลาดโดยใช 4P กลยุทธก ารตลาดนนั้ มอี ยมู ากมาย แตเปนที่รจู กั และเปนพน้ื ฐาน คอื การใช 4P ซ่งึ มี รายละเอยี ด ดงั นี้ 1. สินคาหรือบริการ (Product) กําหนดสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคา เชน ลกู คา สงู อายตุ อ งการนา้ํ ผลไมท ่ีมรี สหวานเล็กนอ ย 2. ราคาสินคา (Price) เปนการตัง้ ราคาทเี่ หมาะสมกับสนิ คา หรอื บรกิ าร และกําลงั ซื้อ ของลกู คา พจิ ารณาจากราคาของคูแขง บางคร้ังอาจลดราคาต่ํากวาคูแขงก็ได โดยลดคุณภาพ

17 บางตัวที่ไมจําเปนก็จะทําใหสินคามีราคาต่ํากวาคูแขง หรือกําหนดราคาสูงกวาคูแขงก็ไดถา สนิ คา ของเราดีกวา คูแ ขง ดานใดเพอ่ื ใหลูกคา มีโอกาสเปรียบเทยี บ 3. สถานท่ีขายสินคา (Place) ควรเลือกทําเลขายใหเหมาะสมกับลูกคา หรือคิดหา วิธีการสงของสินคาใหถ งึ มือลกู คา ไดอ ยางไร 4. การสง เสริมการขาย (Promotion) เปนการทํากิจกรรมตาง ๆ เพ่ือใหลูกคารูจัก สินคาและอยากทจี่ ะซอื้ มาใช เชน การแจกใหทดลองใช การลดราคาในชวงแรก การแถมไปกับ สินคา อ่ืน ๆ เปน ตน เร่อื งท่ี 4 การวเิ คราะหกลยทุ ธ การวิเคราะหกลยุทธ เปนขั้นตอนที่ผูประกอบการตองดําเนินการเปนอันดับแรก เพ่ือวิเคราะหขอมูลเร่ืองตาง ๆ ที่เก่ียวกับธุรกิจท่ีจะทํา ไมวาจะเปนเร่ืองของจุดแข็ง (S = Strengths) จุดออน (W = Weakness) โอกาส (O = Opportunities) และอุปสรรค (T = Threats) ซ่ึงการวิเคราะหขอมูลทั้ง 4 เรื่องจะชวยใหผูประกอบการทราบขอมูลเชิงลึก เก่ียวกับรายละเอียดของธุรกิจท่ีแทจริง อันจะนํามากําหนดกรอบและวางแผนทางธุรกิจใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ซึ่งการวางแผนควรเปนการประชุมแลกเปล่ียนขอมูล ระดมสมอง รว มกนั ของผมู ีสวนเก่ียวของ และตัดสินใจ เพื่อใหไ ดก รอบนโยบายและแผนการทด่ี ที ่สี ดุ การวิเคราะห SWOT Analysis SWOT Analysis เปนการวิเคราะหปจจยั ภายในและปจ จยั ภายนอก เพ่อื นาํ มา สังเคราะหวาในธุรกจิ มจี ุดออ น (S) จุดแข็ง (W) อุปสรรค (T) และโอกาส (O) อยางไร ปจจยั ภายใน คอื สิ่งทเ่ี ราควบคุมไว ไดแก จดุ แขง็ จดุ ออ น ปจจยั ภายนอก คือ สิ่งทเี่ ราควบคุมไมไ ด ไดแก โอกาสและอปุ สรรค การวิเคราะห SWOT Analysis แสดงไดดังภาพตอ ไปนี้

18 SWOT Analysis จุดแข็ง จดุ ออ น โอกาส อุปสรรค ตัวอยา งประเดน็ การวเิ คราะห SWOT Analysis จุดแข็ง (Strengths) อาทิ 1. เปนงานท่ีเราถนัด ทําแลวมคี วามสขุ 2. บคุ ลากรมศี ักยภาพทาํ ใหงานสําเรจ็ ไดง า ยขึ้น 3. ทรัพยากรและเครอ่ื งมอื มีความพรอ ม จุดออน (Weakness) อาทิ 1. เปน งานท่ีเราไมสบายใจที่จะทาํ 2. ตอ งการรับความชวยเหลือจากคนอนื่ 3. ทกั ษะบางอยา งที่เรายังไมม น่ั ใจ 4. ขาดทรพั ยากรในการทาํ งานใหบ รรลเุ ปาหมาย อุปสรรค (Threats) อาทิ 1. ใครคอื คแู ขงขนั ท่ีทําไดด กี วา เรา 2. ถา สภาพแวดลอมเปลี่ยนจะทาํ ใหแ ผนโครงการเรามปี ญหา 3. ความขดั ของทจ่ี ะเกิดจากผูอ ื่น โอกาส (Opportunities) อาทิ 1. โอกาสทกี่ ําลงั จะเกดิ ข้ึนทจ่ี ะทําใหเราประสบความสาํ เรจ็ 2. มเี คร่ืองมือใหมท ่ีไดรับการสนบั สนุน 3. มสี ว นแบง ของตลาดท่ีเรามองเห็น 4. เปน งานท่ีโดดเดน ชมุ ชนช่นื ชอบ

19 เรือ่ งที่ 5 กจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด การตลาดมีความสําคัญเพราะเปนจุดเร่ิมตนและมีผลตอการบรรลุเปาหมายสุดทาย ของการดาํ เนินธุรกิจ ธุรกิจตองเร่ิมดวยการศึกษาความตองการที่แทจริงของลูกคา จากน้ันจึง ทําการสรางสนิ คา หรือบรกิ ารท่ีทําใหล ูกคา เกดิ ความพอใจสูงสดุ การบริหารตลาด เปนกระบวนการวางแผน ปฏิบัติงานและการควบคุมกิจกรรม ทางการตลาดท่ีกอใหเกิดการแลกเปลย่ี นระหวางผูซอ้ื และผขู าย พรอมทั้งนําความพอใจมาสูทั้ง 2 ฝาย การกําหนดกิจกรรมเพอื่ พฒั นาการตลาด เมื่อเราทราบวากลยุทธที่กําหนดไวมีดานใดบาง เชน กลยุทธ 4P ก็คือ ดานตัวสินคา ดานราคา ดา นสถานท่ีขาย และการสงเสริมการขาย กลยุทธทั้ง 4 ดาน ใหนํามากําหนดเปน กจิ กรรมท่ตี องดําเนนิ การ เชน 1. กิจกรรมดานพัฒนาตัวสนิ คา พฒั นาใหตรงกบั ความตองการของลูกคา 2. กิจกรรมดานราคา ผูผลิตก็ตองกําหนดราคาที่เหมาะสมกับกําลังซื้อของผูบริโภค และเหมาะสมกบั คณุ ภาพของสินคา 3. กจิ กรรมดานสถานที่ ตอ งคดิ วาจะสงมอบสินคา ใหก ับผูบริโภคไดอ ยา งไร หรือตองมี การปรบั สถานทข่ี าย ทาํ เลทีต่ ง้ั ขายสนิ คา 4. กิจกรรมสง เสรมิ การขาย จะใชวิธกี ารใดที่ทาํ ใหล ูกคารจู กั สนิ คาของเรา การวางแผนพฒั นาการตลาด ผูผลิตจะตองนํากิจกรรมตาง ๆ มาวางแผนเพื่อพัฒนาการตลาด ซึ่งสามารถนําไปสู การปฏิบัตใิ หได ดังตัวอยาง

20 แผนการพัฒนาการตลาด ที่ กิจกรรมที่ตอ งดาํ เนนิ แผนการพฒั นาการตลาดป………… ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 สํารวจและวิเคราะห ความตอ งการของลกู คา 2 ผลิตสนิ คาใหมคี ณุ ภาพ 3 ศึกษาราคาสนิ คา ประเภทเดียวกัน 4 เปรยี บเทียบและกําหนด ราคาสนิ คา 5 ศึกษาและเลอื กทําเลขาย 6 เลือกวธิ ีการสงมอบสนิ คา 7 โฆษณาสนิ คาและจดั รายการสงเสรมิ การขาย

21 แบบฝกหัดท่ี 1 ใหผเู รียนเลือกคําตอบท่ถี กู ตอ งเพยี งคําตอบเดียว 1. การกําหนดทิศทางและเปา หมายการตลาดชวยในการทําธุรกจิ อยา งไร ก. รจู กั กลุมลกู คา มาก ข. สนิ คา จะไดรับความสนใจ ค. ชวยใหส ามารถดําเนินธุรกิจไดค ลอ งตวั ยิ่งขน้ึ ง. สามารถกําหนดเปาหมายตลาด และแบงกลุมลูกคา ได 2. การกาํ หนดเปาหมายการตลาด ผูประกอบการควรคาํ นงึ ถงึ สง่ิ ใด ก. กระบวนการผลิต ข. พฤตกิ รรมผบู ริโภค ค. การสงเสริมการขาย ง. สถานท่จี าํ หนายสนิ คา 3. การเลอื กตลาดเปา หมาย ผปู ระกอบการตอ งวเิ คราะหสง่ิ ใดเปนสําคญั ก. ลูกคา คือใคร ข. ตลาดตอ งการอะไร ค. ชนดิ ของสนิ คา คอื อะไร ง. สวนแบงทางการตลาดเปน อยางไร 4. กลยุทธโ ดยท่ัวไปท่ีใชในการสงเสริมการตลาดสวนใหญใชวิธใี ด ก. ทาํ การวิจัยตลาด ข. ใชพ นักงานเดินตลาด ค. การโฆษณาประชาสัมพนั ธ ง. สาํ รวจความตอ งการของผูบ ริโภค 5. การกาํ หนดกลยทุ ธใ นการพัฒนาผลิตภัณฑใ หม ควรพิจารณาขอ ใด ก. ผลติ ภณั ฑใ หมส ามารถสคู ูแขงทางการคาได ข. การประชาสมั พนั ธถึงความพึงพอใจของลกู คา ค. รปู แบบของผลติ ภณั ฑเ ปนที่แพรห ลายในตลาด ง. ผลติ ภณั ฑใหมส ามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได

22 จงศกึ ษาขอ มลู ตอ ไปนี้ แลว ตอบคําถามขอ 6-8 1. ผปู ระกอบการมีใจรกั มคี วามเช่ยี วชาญในอาชพี 2. ผูป ระกอบการมีทุนสวนตวั และมีแหลงทุนทพี่ รอมสนบั สนนุ 3. ไมม แี หลง วตั ถดุ ิบในทอ งถ่นิ ตองสง่ั ซือ้ จากภาคอน่ื 4. รฐั บาลสนับสนุนใหม ธี รุ กิจประเภทนีใ้ นทุกทอ งถ่ิน 5. เคร่ืองจักร วัสดุอปุ กรณไมมใี นประเทศ ตอ งนาํ เขา จากตา งประเทศ 6. ตา งประเทศเรมิ่ ใหความสนใจในสนิ คาของธุรกิจนี้ 6. จากขอ มลู ขางตน ขอ ใดเปนจุดแข็ง (Strengths) ก. ผปู ระกอบการมีใจรกั มีความเช่ยี วชาญในอาชีพ ข. ไมม แี หลง วัตถดุ ิบในทองถิน่ ตอ งส่งั ซอื้ จากภาคอ่ืน ค. รัฐบาลสนบั สนนุ ใหม ธี รุ กิจประเภทนใี้ นทกุ ทองถิ่น ง. ตา งประเทศเร่มิ ใหความสนใจในสนิ คาของธรุ กจิ นี้ 7. จากขอมูลขา งตน ขอ ใดเปนจดุ ออ น (Weakness) ก. ตางประเทศเรม่ิ ใหค วามสนใจในสนิ คาของธุรกิจนี้ ข. ไมม ีแหลงวตั ถดุ ิบในทอ งถ่ิน ตองสง่ั ซ้อื จากภาคอนื่ ค. ผปู ระกอบการมีทนุ สวนตวั และมีแหลงทุนทพ่ี รอมสนับสนนุ ง. เคร่อื งจกั ร วสั ดอุ ปุ กรณไมมใี นประเทศ ตอ งนําเขา จากตา งประเทศ 8. จากขอมลู ขา งตน ขอใดเปนโอกาส (Opportunities) ก. ผปู ระกอบการมีใจรัก มคี วามเชี่ยวชาญในอาชีพ ข. รัฐบาลสนับสนุนใหมธี ุรกิจประเภทน้ีในทุกทอ งถ่ิน ค. ผูประกอบการมที นุ สวนตวั และมีแหลง ทนุ ทพ่ี รอมสนับสนุน ง. เครือ่ งจักร วสั ดอุ ุปกรณไมม ใี นประเทศ ตองนําเขา จากตางประเทศ 9. การศกึ ษาพฤติกรรมของผูบ รโิ ภค นําไปใชป ระโยชนใ นขอใด ก. สํารวจตลาด ข. แบง สว นการตลาด ค. วางแผนการตลาด ง. กําหนดขนาดตลาด

23 10. ขอมลู ไมใชก ารนาํ กลยทุ ธ 4P มาใชในการพฒั นาการตลาด ก. เพือ่ สรา งความแตกตางของสินคา ข. เพอ่ื สรา งความแตกตา งของราคา ค. เพอ่ื สรา งความแตกตา งของตลาด ง. เพื่อสรางความแตกตา งของบริการ แบบฝก หัดที่ 2 พจิ ารณาสถานการณต อ ไปนี้ แลว ทํากจิ กรรมท่ี 1 – 2 กลมุ อาชพี การทาํ ไมก วาดดอกหญา มีการเริ่มตน จากสมาชกิ ทั้งหมด 7 คน งบประมาณ ในการดําเนินงานมาจากเงินของสมาชิกในกลุม สมาชิกในกลุมมีความชํานาญและมีทักษะใน การผลิตไมกวาดมานาน ทําใหไดผลิตภัณฑที่มีความคงทนเปนท่ีช่ืนชอบของผูบริโภค และมี ผลิตภณั ฑหลายรูปแบบ อาทิ ไมกวาดพื้น ไมกวาดหยากไย ไมกวาดจิ๋ว มีการจัดจําหนายท้ัง แบบขายปลีกและขายสง แตยงั ไมมตี ราของผลติ ภณั ฑ แมวาการทําไมกวาดดอกหญา เปนอาชีพท่ีใชเงินทุนไมมาก แตตองจัดซ้ือวัตถุดิบ คือ ดอกหญา จากทางภาคเหนือ ทําใหมีการเสยี คา ใชจา ยในการขนสงมาก ถามีเงินทุนในการสั่งซื้อ วัตถดุ ิบมาเก็บไวในปรมิ าณมาก กจ็ ะเปนการลดคา ใชจา ยในการขนสง ทางกลุมอาชีพจึงมีความ ตอ งการเงินทุนเพม่ิ มากข้นึ เพ่ือใชใ นการเพ่ิมกําลังการผลิต รวมท้ังมีแผนขยายชองทางการจัด หนา ยเพิม่ ขึ้นตอไป กิจกรรมท่ี 1 ใหผูเรียนรวมกลุมกัน 3 - 5 คน และรวมกันวิเคราะห SWOT ของกลุมอาชีพ การทําไมกวาด ลงในแบบบันทึกทก่ี าํ หนดให

24 แบบบนั ทกึ สมาชกิ ในกลมุ 1....................................................................................................................................... 2........................................................................................................................... 3....................................................................................................................................... 4....................................................................................................................................... 5....................................................................................................................................... จดุ แข็ง จุดออน ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... โอกาส อุปสรรค ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... .......................................................................

25 กจิ กรรมท่ี 2 ใหผูเรยี นรวมกลมุ กนั 3 – 5 คน และรว มกนั กําหนดกจิ กรรมและวางแผนการ พฒั นาตลาดของ กลุม อาชพี การทําไมก วาด ลงในแบบบันทกึ ที่กําหนดให แบบบนั ทกึ สมาชกิ ในกลุม 1....................................................................................................................................... 2....................................................................................................................................... 3....................................................................................................................................... 4....................................................................................................................................... 5....................................................................................................................................... กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด ท่ี กจิ กรรม แผนการพฒั นาการตลาดป… ……… ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 2 3 4 5 6

26 บทท่ี 3 การจดั ทาํ แผนพฒั นาการผลติ หรอื การบริการ เร่อื งที่ 1 การกาํ หนดคณุ ภาพการผลติ หรอื การบรกิ าร การกําหนดคุณภาพผลผลิต เปนการกําหนดคุณสมบตั ิของผลผลติ หรอื การบริการตามที่ ลกู คาตอ งการ อาทิ - ลูกคาตองการผักปลอดสารพิษ ดังน้ันตองพัฒนากระบวนการปลูกผักโดยใชสาร ธรรมชาตแิ ทนปุยเคมี - พฒั นารสชาตขิ องอาหารแปรรปู ใหมีรสเปร้ียวยิ่งข้ึนเพ่ือใหตรงกับความตองการของ ลูกคากลมุ วัยรนุ - ใหบริการแกลูกคา โดยทําใหลูกคาไดรับความพึงพอใจ มีความสุขและไดรับ ผลประโยชนอยางเตม็ ท่ี คุณภาพของผลผลติ ตองมาจากผูผ ลิตท่มี คี ณุ ลกั ษณะทีด่ ี ดงั น้ี 1. ซื่อสตั ยตอ ผบู รโิ ภค 2. รักษาคณุ ภาพของผลผลิตใหคงทีแ่ ละปรบั ปรงุ ใหดีข้นึ 3. ไมป ลอมปนผลผลติ 4. ไมเ อารัดเอาเปรียบผบู ริโภค 5. ไมกกั ตนุ ผลผลติ 6. มีความรู ความชาํ นาญในงานอาชีพท่ดี ําเนนิ การเปน อยา งดี 7. มีความรักและศรัทธาในงานอาชีพทดี่ าํ เนินการ 8. มีความเชือ่ มั่นในตวั เอง 9. มคี วามคดิ รเิ ริ่ม และมมี นษุ ยสัมพันธท ดี่ ี ลักษณะงานอาชพี การใหบ รกิ าร การบริการ เปนกิจกรรมหรือการกระทําท่ีผูใหบริการทําขึ้น เพ่ือสงมอบการบริการ ใหแกผูรับบริการ ซึ่งผูรับบริการสวนใหญจะเนนใหความสําคัญกับ “กิจกรรม” หรือ “กระบวนการบริการ” ของผูใหบริการมากกวาสิ่งอ่ืน และจะเกิดความประทับใจ ในขณะท่ี ผรู บั บรกิ ารสมั ผสั ไดกบั บรกิ ารนั้น ๆ

27 คุณภาพของการบรกิ าร วัดไดจ ากการบริการของผูใหบริการ 7 ประการ ดงั น้ี 1. การยมิ้ แยม เอาใจใส เหน็ อกเหน็ ใจตอความลําบากยุงยากของลกู คา 2. การตอบสนองตอ ความประสงคของลูกคาอยางรวดเร็วทนั ใจ 3. การแสดงออกถึงความนับถอื ใหเ กยี รตลิ กู คา 4. การบริการเปนแบบสมคั รใจและเต็มใจทาํ 5. การแสดงออกถึงการรักษาภาพลักษณข องการใหบ รกิ าร 6. การบริการเปน ไปดวยกริ ิยาทส่ี ุภาพ และมีมารยาทดี ออนนอมถอ มตน 7. การบริการมีความกระฉบั กระเฉง กระตอื รือรน มีบางอาชีพที่เปนไปไดทั้งการผลิตและการบริการ เชน ผูประกอบอาชีพรานอาหาร ตอ งมีการทํา อาหารประเภทตาง ๆ ควบคูกบั การบริการลกู คา เปน ตน เรื่องที่ 2 การวิเคราะหทุนปจจยั การผลติ หรือการบรกิ าร การวิเคราะหทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ เปนสิ่งท่ีผูประกอบการตองให ความสาํ คัญเปนอยา งมาก ถาผูประกอบการรูจักลดตนทุน ใชทุนอยางประหยัด คุมคา รวมทั้ง จดั หาทุนทดแทนไดอยา งเหมาะสม จะสงผลตอความเขมแข็งของอาชีพ ทําใหการดําเนินงาน ในการผลิตหรือการบริการเปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ทนุ ในการดําเนนิ การประกอบอาชีพ แบง ได 2 ประเภท คือ 1. ทนุ คงที่ คือ ปจ จัยที่ผูประกอบการจดั หามา เพื่อใชใ นการจดั หาสินทรัพยถ าวร เชน ดอกเบี้ยเงินกู ที่ดิน อาคาร เคร่ืองจักร เปนตน สําหรับใชในการประกอบอาชีพทุนคงที่ สามารถแบงได 2 ลกั ษณะ คือ 1.1 ทุนคงท่ีท่ีเปนเงินสด เปนจํานวนเงินท่ีตองจายเปนคาดอกเบี้ยเงินกู เพ่ือ นาํ มาใชใ นการดําเนินการประกอบอาชีพ 1.2 ทุนคงที่ท่ีไมเปนเงินสด ไดแก พื้นที่ อาคารสถานที่ โรงเรือน รวมถึงคาเส่ือม ราคาของเครือ่ งจกั ร 2. ทุนหมุนเวยี น คือ ปจจัยที่ผูประกอบการจัดหามา เพื่อใชในการดําเนินการจัดหา สนิ ทรัพยหมนุ เวียนในการดําเนินกิจกรรมอาชีพ เชน วัตถุดิบในการผลิตสินคาหรือการบริการ วัสดุส้ินเปลือง คาแรงงาน คาขนสง คาไฟฟา คาโทรศัพท เปนตน ทุนหมุนเวียนแบงออกเปน ดงั น้ี

28 2.1 คา วสั ดอุ ุปกรณในการประกอบอาชีพ สามารถแบง ได 2 ลักษณะ คอื 2.1.1 วัสดุอปุ กรณอาชีพในกลุมผลิตผลผลิต เชน งานอาชีพเกษตรกรรม ไดแก คา ปุย พันธุพ ชื พันธสุ ตั ว คานํ้ามนั เปนตน 2.1.2 วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมบริการ เชน อาชีพรับจางซักรีดเสื้อผา ไดแก คา ผงซกั ฟอก คานาํ้ ยาซักผา เปนตน 2.2 คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานใน การไถดนิ คาจางลกู จางในรา นอาหาร เปน ตน 2.3 คาเชาท่ดี ิน/สถานที่ เปน คา เชาท่ดี นิ /สถานที่ในการประกอบธุรกจิ 2.4 คา ใชจา ยอืน่ ๆ เปนคาใชจ ายในกรณอี น่ื ทีน่ อกเหนือจากรายการ 2.5 คาใชจ า ยในครัวเรอื น เปน แรงงานในครัวเรอื นสวนใหญ ในการประกอบอาชีพ อาจจะไมไดนํามาคิดเปนตนทุน จึงไมทราบขอมูลการลงทุนที่ชัดเจน ดังนั้นการคิดคาแรงใน ครวั เรือน จึงจําเปน ตอ งคิดดวย โดยคิดในอตั ราคาแรงข้ันต่ําของทอ งถ่นิ นั้น ๆ 2.6 คาเสียโอกาสที่ดิน กรณีเจาของธุรกิจมีที่ดินเปนของตนเอง การคิดตนทุนให คิดตามอตั รา คาเชา ทีด่ ินในทอ งถ่นิ หรอื บรเิ วณใกลเคียง ในการประกอบอาชีพ การบรหิ ารทนุ เปน ส่งิ ทผี่ ปู ระกอบการตองใหความสําคัญเปน อยางมาก เพราะมผี ลตอความม่นั คงของอาชพี วาจะกา วหนาหรอื ลมเหลวได เรอ่ื งท่ี 3 การกําหนดเปา หมายการผลติ หรอื การบรกิ าร เปา หมายการผลติ หรือการบริการ เปนสิ่งท่ีผปู ระกอบอาชพี ตอ งการมุงไปใหถ งึ เกิดผล ตามท่ีตอ งการ ดวยวธิ กี ารตา ง ๆ ซ่งึ การกําหนดเปาหมายจะทําใหผูประกอบอาชีพมีทิศทางใน การดําเนนิ งานไดอยา งชัดเจน ปจจัยท่ีสงผลใหเปาหมายการผลิตหรือการบริการประสบ ความสาํ เร็จ ประกอบดวย 1. การกาํ หนดกลุม ลูกคา เปา หมายอยางชัดเจน 2. การเสริมสรางสว นประสมทางการตลาดไดอยางลงตวั 3. การคํานงึ ถงึ สภาวะแวดลอมท่คี วบคมุ ไมไ ด 4. สามารถตอบคาํ ถามตอไปน้ีไดทกุ ขอ 4.1 ขอมลู ปจ จัยของลูกคา ที่ตอ งการสินคา ท่จี ะพฒั นาข้นึ ใหม ประกอบดว ย 4.1.1 ใครคือกลุมลกู คา เปาหมายสาํ หรบั ผลผลิตท่ีผลติ ขนึ้ หรือการบรกิ าร

29 4.1.2 ลกู คา เปา หมายดังกลาวอยู ณ ทีใ่ ด 4.1.3 ในปจ จุบันลูกคา เหลาน้ซี อื้ ผลผลิตหรอื การบรกิ ารไดจ ากทใี่ ด 4.1.4 ลูกคา ซื้อผลผลิตหรือการบรกิ ารบอ ยแคไหน 4.1.5 อะไรคือสิ่งจงู ใจที่ทําใหลูกคา เหลาน้ันตัดสินใจใชบ ริการ 4.1.6 เหตุผลทําไมลกู คา ถงึ ใชผ ลผลติ หรือบริการของเรา 4.1.7 อะไรท่ีลูกคาเหลานั้นชอบและไมชอบผลผลิตหรือบริการอะไรท่ีเรามี อยบู าง 4.2 ขอมูลปจ จยั ของผลผลติ หรอื การบรกิ าร ประกอบดว ย 4.2.1 ลกู คาตองการผลผลติ หรือบริการอะไร 4.2.2 ลกู คา อยากจะใหมีผลผลิตหรอื บรกิ ารในเวลาใด 4.2.3 งานดานการบริการ ควรตั้งช่ือวาอะไร เพื่อเปนส่ิงดึงดูดใจลูกคาไดมาก ทีส่ ดุ 4.3 ขอ มลู องคประกอบดานผูประกอบการ ในการพัฒนาอาชีพจะตอ งพจิ ารณาตามประเด็นสําคัญ ๆ ดังนี้ 4.3.1 แรงงาน ตองใชแรงงานมากนอยท่ีเพิ่มหรือลดลงเทาไร ปจจุบันมี แรงงานเพียงพอตอการดําเนินงานหรือไม ถาไมเพียงพอจะทําอยางไร จะนําเครื่องจักรมาใช แทนแรงงานบางไดหรือไม 4.3.2 เงินทุน ตอ งใชเงินทุนมากนอยเพียงไร ปจจุบันมีเงินทุนเพียงพอตอการ ดําเนินงานหรือไม ถาไมเพียงพอจะทําอยา งไร 4.3.3 เครื่องมือ/อุปกรณ ตองใชเครื่องมือ/อุปกรณอะไร จํานวนเทาไร เพียงพอหรอื ไม ถา ไมเ พียงพอจะทาํ อยางไร 4.3.4 วัตถุดิบ เปนสิ่งสําคัญมากขาดไมได ผูผลิตจะตองพิจารณาวาจะจัดหา จดั ซอ้ื วตั ถดุ บิ จากท่ใี ด ราคาเทาไร จะหาไดจ ากแหลง ไหน และโดยวิธใี ด 4.3.5 สถานท่ี หากเปนการประกอบอาชีพดานการผลิต ตองกําหนดสถานที่ ที่ใกลแหลงวัตถุดิบ ถาเปนธุรกิจดานการบริการ ตองจัดสถานที่ใหมีความเหมาะสม สะอาด และเดนิ ทางสะดวกเปน หลกั

30 เร่อื งท่ี 4 การกําหนดแผนกิจกรรม แผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ คือ แผนงานทางการประกอบอาชีพที่แสดง กิจกรรมตา ง ๆ ทต่ี อ งปฏบิ ัติในการลงทุน โดยมีจุดเริ่มตนจากผูประกอบการจะผลิตสินคาหรือ บรกิ ารอะไร มีกระบวนการปฏบิ ตั อิ ยา งไร และผลจากการปฏิบัติออกมาไดมากนอยแคไหน ใช งบประมาณและกาํ ลังคนเทาไร เพ่อื ใหเ กดิ เปนสนิ คาหรอื บรกิ ารแกล ูกคา และจะบริหารอยา งไร ธรุ กิจจงึ จะอยูร อด การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการ เปนสิ่งที่สําคัญย่ิงตอการประกอบ อาชีพ เพราะเปนการกําหนดเปาหมายในส่ิงที่ตองการใหเกิด รายละเอียดท่ีตองปฏิบัติ ผาน กระบวนการตัดสินใจอยางมีระบบบนฐานของขอมูล เพื่อใหเกิดผลจากการปฏิบัติท่ีบรรลุผล ตามเปา หมายที่กาํ หนดไว โดยมขี ั้นตอนการกําหนดแผนกจิ กรรมการผลิตหรือการบริการ ดงั นี้ 1. สํารวจตัวเองเพ่ือใหรูถึงสถานภาพปจจุบันของงานอาชีพของตนเอง เปนการ ตรวจสอบขอมูลเก่ียวกับแรงงาน เงินทุน เคร่ืองมือ/อุปกรณ วัตถุดิบ และสถานที่วามีสภาพ ความพรอ มหรอื มีปญ หาอยา งไร รวมถึงผลผลิตหรอื บริการของตนวามอี ะไรบกพรองหรอื ไม 2. สํารวจสภาพแวดลอม เปนการตรวจสอบขอมูลภายนอกเกี่ยวกับสภาพธุรกิจ ประเภทเดยี วกนั ในชมุ ชน ความตองการของลูกคา การดําเนินงานตามขั้นตอนท่ี 1 และ 2 เปนการศึกษาขอมูลเพ่ือระบุถึงปญหาท่ี เกิดข้ึนและควรแกไข ซึ่งขอมูลของทั้งสองขอนี้ อยูในเรื่องสภาพปญหา หรือหลักการและ เหตผุ ล ในสวนแรกของแผนงาน/โครงการ 3. การกําหนดทางเลือกเพื่อใหการวางแผนมีความชัดเจน หลังจากสามารถกําหนด สาเหตุของปญหา (ขอ 1 และ ขอ 2) ไดแลว ผูประกอบการตองตัดสินใจเพ่ือพิจารณาหาทาง เลอื ก เพอ่ื ใหไดท างเลือกหลายทางสูก ารปฏบิ ตั ิ 4. การประเมินทางเลือก เมือ่ สามารถกําหนดทางเลือกไดห ลากหลายแลว (จากขอ 3) เ พื่ อ ใ ห ไ ด ท า ง เ ลื อ ก สู ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ท่ี สุ ด ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ท า ง ก า ร ต ล า ด ผูประกอบการตองพิจารณาประเมินทางเลือกในแตละวิธี เพ่ือใหสามารถบรรลุเปาหมายใหดี ทีส่ ุด 5. การตัดสินใจ ในการตัดสินใจเลือกสามารถใชหลัก 4 ประการในการพิจารณา ประกอบการตัดสินใจคือ 1) ประสบการณ 2) การทดลอง 3) การวิจัยหรือการวิเคราะห และ 4) การตัดสินใจเลอื ก

31 6. กําหนดวัตถุประสงค เปนการกําหนดเปาหมายของการดําเนินงานวา ตองการให เกดิ อะไร 7. พยากรณอนาคตถงึ ความเปนไปได เปนการคดิ ผลบรรลลุ ว งหนาวา หากดําเนินการ ตามแผนกจิ กรรมการผลติ หรือการบริการแลว ธรุ กิจที่ดาํ เนนิ งานจะเกดิ อะไรขนึ้ 8. กําหนดแนวทางการปฏิบตั ิ เปนการกาํ หนดรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติวาจะทํา อยา งไร เมอ่ื ไร เพอ่ื ใหเกดิ ผลตามวตั ถุประสงคท ี่กําหนดไว 9. ประเมินแนวทางการปฏิบัติท่ีวางไว เปนการตรวจสอบความสมบูรณของแผน กิจกรรมการผลิตหรือการบริการวา มีความสอดคลองกันหรือไมอยางไร สามารถท่ีจะปฏิบัติ ตามข้ันตอน วิธีการที่กําหนดไวไดหรือไมอยางไร หากพบวาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการ บรกิ ารท่ีจดั ทาํ ข้นึ ยังไมมีความสอดคลอง หรือมีข้ันตอนวิธีการใดท่ีไมมั่นใจ ใหจัดการปรับปรุง ใหมใ หมคี วามสอดคลอ งและเหมาะสม 10. ทบทวนและปรับแผน เมื่อสถานการณส่ิงแวดลอมท่ีเปลี่ยนแปลงไป และผลลัพธ ไมเปนไปตามที่กําหนด เปนการพัฒนาแผนกิจกรรมการผลิตหรือการบริการในระหวางการ ปฏิบตั ติ ามแผน เมอ่ื มสี ถานการณเ ปล่ยี นแปลงไป หรอื มขี อ มูลใหมท ่ีสําคญั เรือ่ งท่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร การประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จนนั้ แมว า การดําเนนิ งานในการผลติ หรอื การ บรกิ ารสามารถดาํ เนินไปไดดว ยดีแลวก็ตาม แตเพ่ือใหการประกอบอาชีพนมี้ คี วามกา วหนา และ ม่ันคง ผูประกอบการตอ งคํานงึ ถงึ การพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบรกิ ารอยา งตอเนือ่ ง การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบรกิ าร ควรคาํ นึงถงึ ส่งิ ตอไปน้ี 1. ลักษณะการผลิตหรือการบริการ เปนสิ่งที่ผูประกอบการจะตองพิจารณาลักษณะ ของผลิตภัณฑวาดูดี นาซ้ือ นาใช และสภาพของแหลงใหบริการมีบรรยากาศดี สะอาด ผูใ หบ รกิ ารมมี นษุ ยสัมพันธ ย้มิ แยม แจมใสพรอมใหบริการ 2. ความไววางใจ หมายถึง ความสามารถในการนําเสนอผลิตภณั ฑห รอื การบรกิ ารตาม คําม่ันสัญญาท่ีใหไวอยางตรงไปตรงมาและถูกตอง และมีการรับรองคุณภาพจากหนวยงานที่ เก่ียวของ 3. ความกระตือรือรนในการบริการ เชน การแสดงความเต็มใจที่จะชวยเหลือ และ พรอมทีจ่ ะใหบ รกิ ารผูร ับบรกิ ารอยา งทนั ทวงที

32 4. ความเช่ียวชาญ มีผูปฏิบัติงานท่ีมีความรู ความสามารถในการผลิตสินคาและงาน บริการทร่ี ับผิดชอบอยางมปี ระสทิ ธิภาพ สรา งความนาเช่ือถือในตัวสินคา และไดรับการรับรอง คณุ ภาพสินคา 5. อัธยาศัยที่นอบนอมดานการบริการ ผูประกอบการและพนักงานมีมิตรไมตรี ความ สุภาพนอบนอมเปนกันเอง 6. ใหเกยี รตผิ ูอืน่ จริงใจ มีน้ําใจ และความเปนมิตรของผูปฏิบัติงาน 7. ความนา เชอื่ ถอื ผูประกอบการมีความซ่อื สตั ยแ ละสรางความเชื่อมน่ั 8. ความปลอดภัย ผลิตภัณฑและสถานที่ประกอบกิจกรรม มีสภาพท่ีปราศจาก อนั ตราย ความเส่ยี งภัยและปญ หาตาง ๆ 9. การเขาถึงบริการ สามารถติดตอเพ่ือการซ้ือผลิตภัณฑหรือใชบริการ ดวยความ สะดวกไมยงุ ยาก 10. การติดตอสื่อสาร ความสามารถในการสรางความสัมพันธและส่ือความหมายได ชัดเจน ใชภ าษาท่ีงาย และรบั ฟง ความคิดเหน็ ของผรู บั บรกิ าร 11. ความเขาใจลูกคา ความพยายามในการคนหาและทําความเขาใจกับความตองการ ของผใู ชบ รกิ าร และใหความสาํ คัญตอบสนองความตอ งการของผใู ชบริการโดยทนั ที คุณภาพของการผลิตหรือการบริการเปนสิ่งสําคัญที่ผูประกอบการตองรักษาระดับ คุณภาพ และพัฒนาระดับคุณภาพการผลิตหรือการบริการใหเหนือกวาคูแขงขัน โดยเสนอ คุณภาพการผลิตหรอื ใหบ ริการตามที่ลกู คาคาดหวังหรอื เกนิ กวา ส่ิงท่ลี กู คา คาดหวงั ไวเ สมอ

33 แบบฝก หดั ใหผูเรยี นเลือกคาํ ตอบท่ถี กู ตอ งเพียงคําตอบเดียว 1. การทําธรุ กจิ สงิ่ จาํ เปนทีส่ รา งความพึงพอใจใหก บั ลกู คา คือขอ ใด ก. ลกู คา คือพระเจา ข. การบรกิ ารท่ีเขา ใจผบู รโิ ภค ค. มาตรฐานสินคา ท่ผี ปู ระกอบการกําหนด ง. คุณภาพของสินคาและบรกิ ารทีต่ อบสนองลูกคา 2. ขอ ใดคือตนทุนการผลติ แบบคงท่ี ก. คาจางแรงงาน ข. คา เครือ่ งจกั รกล ค. คา วตั ถุดิบการผลิต ง. คาขนสงสนิ คา และบรกิ าร 3. ปจจยั ใดสง ผลใหก ารกําหนดเปาหมายการผลติ ประสบผลสาํ เรจ็ มากทีส่ ดุ ก. การมีเงนิ ทุนหมุนเวยี นในการผลิต ข. การกาํ หนดกลมุ เปา หมายจํานวนมาก ค. ความตองการสนิ คา ของกลมุ เปาหมาย ง. ผลิตสินคา ใหไ ดป รมิ าณมากๆ ในแตละครัง้ 4. ผูประกอบการตองทาํ ส่งิ ใด จงึ จะไดผ ลผลิตหรอื การบรกิ ารตามตองการ ก. การกําหนดทางเลอื กในการผลติ หรอื การบริการ ข. การวิเคราะหท ุนปจ จยั การผลิตหรอื การบริการ ค. การกําหนดแผนกจิ กรรมการผลติ หรอื การบริการ ง. การวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มในการผลิตหรอื การบรกิ าร 5. การกาํ หนดทิศทางและเปาหมายการตลาดชวยในการทาํ ธุรกิจอยา งไร ก. รจู ักพฤติกรรมของลูกคา ข. สนิ คาจะไดร บั ความสนใจ ค. ชวยใหส ามารถดําเนินธรุ กจิ ไดค ลอ งตัวยิ่งขึน้ ง. ผลติ สินคาไดเพียงพอและทนั ตอ ความตอ งการของลกู คา

34 6. การพบขอ ผดิ พลาดนาํ ไปแกไ ขปรับปรงุ ได ตรงกบั ขน้ั ตอนการกาํ หนดแผนกจิ กรรมในขอ ใด ก. การทบทวนและปรับแผน ข. การสาํ รวจสภาพแวดลอ ม ค. การกาํ หนดแนวทางการปฏิบัติ ง. การตดั สินใจจากประสบการณ 7. เหตใุ ดจงึ ตอ งมกี ารวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพฒั นาธรุ กจิ เชิงรุก ก. ดําเนินงานใหบ รรลุตามวัตถปุ ระสงค ข. บคุ ลากรสามารถปฏบิ ัตไิ ดเ ต็มความสามารถ ค. เตรยี มรบั สถานการณท ี่อาจเกดิ ข้นึ ไดใ นอนาคต ง. ตรวจสอบความเปน ไปไดกอ นทีจ่ ะเขียนเปนโครงการ 8. ขอ ใดเปนเหตุผลสาํ คญั ท่ีสดุ ในการพัฒนาระบบการผลติ ก. การเผยแพรข อมลู ผลิตภัณฑ ข. การเพิม่ คุณภาพของผลิตภัณฑ ค. การสรา งแรงกดดนั ใหกบั คูแขง ง. การมวี ิธกี ารผลติ ทเี่ ลียนแบบไดยาก 9. พนักงานขายมีความรูเกย่ี วกับสินคาเปนอยา งดี จะมผี ลตอกจิ การอยางไร ก. ทาํ ใหมีคูแขง ขันลดลง ข. ทําใหข ายสนิ คาไดรวดเร็ว ค. ทาํ ใหก จิ การมีลกู คามากขน้ึ ง. ทําใหล ูกคา รูจักสินคา มากขนึ้ 10. ผลติ ภณั ฑท่ผี านการรบั รอง “อย.” แสดงวาผูประกอบการคํานงึ ถึงสิ่งใด ก. ความสะดวก ข. ความทนั สมยั ค. ความสวยงาม ง. ความปลอดภัย

35 บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกจิ เชิงรุก เรือ่ งท่ี 1 ความจาํ เปน และคณุ คา ของธรุ กจิ เชิงรุก ธุรกิจเชิงรุก หมายถึง การบริหารจัดการธุรกิจแบบมีแบบแผน เปนระบบการพัฒนา งานที่ดี อํานวยประโยชนใหกับผูประกอบธุรกิจ สามารถวางแผนติดตามและควบคุมใหการ ดําเนินงานในทุกดา นไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ สภาพการตลาดในปจจุบัน มีการแขงขันกันอยางรุนแรง ธุรกิจตาง ๆ พยายามสราง ความแตกตา งใหกับสินคาและบริการของตน ผปู ระกอบธุรกจิ พยายามทีจ่ ะเจาะกลมุ ลูกคาและ สรางความประทับใจใหกับลูกคาท่ีมีความคาดหวังและความตองการแตกตางกัน เชน การ แบงกลุมลูกคาตาม เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ โดยอาศัยกลยุทธตางกันไป เชน กลยุทธดานราคา การออกแบบสนิ คาใหมลี กั ษณะเฉพาะ หรอื บรกิ ารเสรมิ หลังการขาย เปนตน การประกอบธรุ กจิ ในสมัยกอน มีการดงึ ดดู ลกู คาโดยเนนการพัฒนาคณุ ภาพสินคาและ บริการของตนใหดี และใหความสําคัญในการปรับปรุงกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพ พยายามลดตน ทนุ การผลติ โดยไมเนน การพฒั นาผลิตภัณฑตามความตองการของลูกคา แตเนน ไปทีก่ ารคิดคนพฒั นาสนิ คาของตนใหแตกตางจากคูแขง ตอมาจึงมีการนํากลยุทธดานราคามา ใช โดยการลด แลก แจก แถม ผูผลิตที่มีตนทุนต่ําจะมีความไดเปรียบในการตั้งราคาขายใหต่ํา ผผู ลิตจะเนน ใหค วามสาํ คัญกบั ปริมาณมากกวาคุณภาพและความพึงพอใจ รวมทั้งยังคงมุงเนน ไปที่การปรับปรุงกระบวนการผลิตมากกวาการสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา และให ความสําคญั กบั การกระจายสินคาและบริการเพอ่ื ลดตนทนุ การขนสง แตใ นยคุ ปจจุบัน ผูบรโิ ภคสามารถรบั รขู อ มลู เก่ียวกบั สินคา และบริการไดอยางรวดเร็ว ไมวาจะอยูท่ีใด รวมถึงการคมนาคมขนสงท่ีทําใหการจัดสงสินคาและบริการไมยุงยากและมี ความรวดเร็ว สงผลใหผูผลิตมีอํานาจตอรองลดลงในขณะที่ผูบริโภคมีอํานาจมากข้ึน ดังน้ัน ผูประกอบธุรกิจจึงจําเปนตองใชธุรกิจเชิงรุกมาสรางความไดเปรียบทางการแขงขัน โดยการ พฒั นาสินคา ใหตรงกบั ความตองการของผบู รโิ ภค สนิ คา ไดร บั การพัฒนาอยางตอเนื่อง ผูบริโภค มีโอกาสเลอื กซ้อื สนิ คา ไดห ลากหลาย และมีการแขง ขนั กนั ในการบรกิ ารเพ่อื สรา งความพึงพอใจ ใหแกลกู คา มากทสี่ ุด

36 เร่อื งที่ 2 การแทรกความนิยมเขา สูความตองการของผบู รโิ ภค ในการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ ผูประกอบธุรกิจควรทําความเขาใจ พฤติกรรมของผบู รโิ ภค เพือ่ จะชว ยใหส ามารถผลติ สินคา และบรกิ ารไดตรงตามความจาํ เปน และ ความตองการ ซึ่งเปน การตอบสนองความรูสกึ พงึ พอใจมากกวาเพียงแคตอบสนองความจําเปน ท่อี ยางนอ ยเพียงแคทาํ ใหเรารูสกึ ดีข้ึน อาทิ เรารูสกึ หวิ เราตองการทานอาหารที่ชอบและมีราคา แพง เรารูสึกรอนเราตองการเคร่ืองปรับอากาศที่มีดีไซนสวยงามพรอมระบบฟอกอากาศ เปนตน ซ่ึงเปนการแสดงถึงพฤติกรรมการบริโภคของผูบริโภคน้ันมีความหลากหลาย จึงเปน ชองทางในการพัฒนาสินคาและงานบริการของผูประกอบธุรกิจไปสูผูบริโภคและผูรับบริการ เพอ่ื แสดงใหลกู คาเห็นวา มีสนิ คาและงานบริการใดบา งทจ่ี ะสามารถชวยตอบสนองความจําเปน และความตอ งการของลูกคา ไดเ หมาะสมทีส่ ุด นอกจากการพัฒนาสินคาและงานบริการไดตรงตามความตองการแลว การแทรก ความนิยมในตัวสินคาและงานบริการก็เปนสิ่งสําคัญท่ีจะสรางการยอมรับ ความเช่ือม่ัน ความชอบในตัวของสินคาและงานบริการนั้น ๆ โดยผูประกอบธุรกิจจะตองชี้แจงไดวาสินคา ของตนคืออะไร ใชประโยชนไดอยางไร สรางการรับรูใหกับผูบริโภค สรางความแตกตางของ สินคาและงานบรกิ าร เพ่อื ใหผบู รโิ ภคเลือกใชส ินคาและงานบริการอยางตอ เนอื่ ง การแทรกความนิยมสูความตองการของผูบริโภค อาจพิจารณาจากการจําแนกความ ตองการของลูกคา ดังน้ี 1. ความตอ งการเปนลบ สาํ หรบั ผูบรโิ ภคทไี่ มชอบสินคา และพยายามที่จะหลีกเล่ียง สนิ คานนั้ ผูประกอบธรุ กิจควรมีการวางแผนเปล่ียนแปลงความตองการที่เปนลบใหเปนบวก หรือ เปล่ียนจากการ “ไมชอบ” เปน “ชอบ” สินคาน้ันใหได โดยอาจเนนในการสรางการรับรูใน ทางบวกเพ่ิมขน้ึ เชน การประกนั ชีวิต หรือการขายสินคา ออนไลน เปน ตน 2. ไมมีความตองการ หรือความตองการเปนศูนย จะเกิดขึ้นจากผูบริโภคเห็นวา สินคานั้นไมมีคุณคา หรืออาจจะยังไมรูจักประโยชนในตัวสินคาพอ ผูประกอบธุรกิจจะตอง กระตุนใหผูบริโภคเกิดความตองการในลักษณะของการสงเสริมการตลาดท่ีเนนการเผยแพร ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑไปยังผูบริโภคมากข้ึน เชน ผลิตภัณฑบํารุงผิวของผูชาย ผูประกอบธรุ กจิ ควรเนน ลกั ษณะสินคาท่แี สดงความเปนผูหญิงและผูชายตางกัน เพื่อกระตุนให ผชู ายซ้อื สนิ คา เฉพาะตัวเองมากข้ึน เปน ตน

37 3. ความตองการแอบแฝง เปนความตองการของผูบริโภคที่ผูประกอบธุรกิจยังไม สามารถหาสนิ คา ใหตรงกบั ความตอ งการของผบู รโิ ภคไดในขณะน้ัน เชน แตเดิมโทรศัพทมือถือ ใชในการติดตอส่ือสารเพียงอยางเดียว แตผูบริโภคยังมีความตองการมากกวาน้ัน ผูประกอบ ธุรกิจจงึ ไดพฒั นาโทรศพั ทมือถือใหสามารถถายรูป เลนอินเทอรเน็ต เพ่ิมแอปพลิเคช่ันตาง ๆ Facebook line เปนตน ซ่งึ เปน การตอบสนองความตองการของผูบรโิ ภคไดม ากข้ึน 4. ความตองการลดลง เปนลักษณะความตองการที่มีระดับนอยลงกวาเดิม ผูประกอบธุรกิจควรพยายามฟนฟูชวงชีวิตของสินคา โดยการหาโอกาสทางการตลาดใหม ๆ หรอื หาทางเพ่ิมความตอ งการใชข องผบู ริโภค 5. ความตองการไมสม่ําเสมอ ผูประกอบธุรกิจควรพยายามปรับความตองการที่ไม สมํา่ เสมอใหเปนไปตามความตองการของลกู คา เชน ผูประกอบธุรกิจมีสินคาเกษตร ซึ่งสินคามี ความไมแนนอนและออกมาตามฤดกู าล ผูประกอบธุรกจิ จึงหาชองทางในการทําผลิตภัณฑแปร รปู หรืออาจเพิ่ม หรอื ขยายตลาดในชวงเทศกาลใหเพิ่มมากขึ้น เชน ในบางจังหวัดจัดเทศกาล ผัก ผลไมอ น่ื ๆ ของตนเอง ผูป ระกอบธุรกจิ กน็ าํ สนิ คา ไปรวมในเทศกาลนั้น ๆ ดว ย 6. ความตองการเต็มท่ีแลว เปนสถานการณท ่ผี ูบ ริโภคใชบรกิ ารสนิ คาและงานบริการ ขอ ผปู ระกอบธุรกจิ อยูแ ลว แตผ ูประกอบธุรกิจจะน่ิงเฉยไมได ตองมีการสงเสริมการขายอยาง ตอ เน่อื งเพราะผูบรโิ ภคสามารถเปลีย่ นแปลงรสนยิ มและความตองการไดตลอดเวลา เร่ืองที่ 3 การสรางรปู ลักษณและคณุ ภาพสินคา ใหม การพฒั นาผลติ ภณั ฑของธรุ กจิ มีสาเหตุมาจากความจาํ เปนทตี่ องสรางความม่ันคงและ การเติบโตของธุรกิจ การสรางรูปลักษณคุณภาพสินคา ใหมเปน การพฒั นาสินคาใหตรงกับความ ตองการของผูบรโิ ภค เชน มคี วามสวยงาม ใชงานสะดวก มคี วามทนทาน แตละธุรกิจจะพัฒนา ไ ด ต อ เ มื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร รั บ รู ค ว า ม ต อ ง ก า ร ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ซ้ื อ สิ น ค า แ ล ะ บ ริ ก า ร จงึ สามารถกาํ หนดทิศทางวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑไดเหมาะสมสอดคลองกับความตองการของ ผูประกอบธุรกจิ การสรางความประทบั ใจในคณุ ภาพของสนิ คา การสรางความประทบั ใจในคณุ ภาพของสนิ คา เปนการท่ีผปู ระกอบธุรกจิ สรา งการรับรู ใหกับผูบริโภคไดรับรูถึงคุณภาพของสินคาหรือบริการ จนทําใหเกิดความประทับใจในสินคา หรือบริการนัน้ ซึง่ การสรางความประทบั ใจจะทาํ ใหสนิ คา หรือบรกิ ารไดรบั ประโยชน ดงั นี้

38 1. ทาํ ใหลูกคาหนั มาซอ้ื สนิ คา 2. ทาํ ใหสนิ คามีตาํ แหนง ทางการตลาดทีม่ ัน่ คง 3. มีชองทางการจัดจําหนายนา สนใจ 4. ทาํ ใหส ามารถขยายชนดิ สินคาหรอื บรกิ ารมากข้ึน แนวทางพจิ ารณาผลิตภัณฑไมไดหมายถึงเฉพาะรูปแบบหรือวัตถุสิ่งของที่เปนรูปราง เทานัน้ แตย ังรวมไปถึงคุณคา ของผลิตภัณฑหรือการบริการดวย ซ่ึงเปนการตอบสนองความพึง พอใจทจี่ บั ตอ งไดและจับตองไมได สวนประกอบทส่ี ําคญั ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ มี 2 ประการ คือ 1. ผลติ ภณั ฑน้นั ตองมคี ุณคา และตอบสนองความตองการผบู รโิ ภคไดม ากทสี่ ุด 2. สวนประกอบของผลิตภัณฑตองมอี ยา งครบถวน หนาท่ีในการพฒั นาผลติ ภัณฑ ในการคิดคน ผลิตภณั ฑใ หมอ อกสตู ลาด ผูผลิตควร ดาํ เนินการ ดังนี้ 1. รวบรวมขอมลู สาํ หรับปรับปรุงและวธิ ีการดําเนินการพฒั นาผลติ ภณั ฑ 2. กาํ หนดแผนการพัฒนาผลติ ภัณฑ 3. ดําเนินการและตดิ ตามผลพัฒนาผลติ ภัณฑใหมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. วางแผนกลยทุ ธก ารขายผลิตภัณฑ คณุ ภาพของสินคาหรือการบริการ คณุ ภาพของสนิ คา ในการรับรูของผบู รโิ ภค มีขอพิจารณา ดงั น้ี 1. การทํางานของสินคา หมายถึง สินคานั้นตองทํางานไดตามคุณสมบัติของสินคา เชน เคร่อื งซักผา สามารถซักผา ไดสะอาด 2. รูปลกั ษณด ี หมายถึง การออกแบบรูปรางลกั ษณะของสินคา ใหส ะดวกในการใช 3. นา เชอ่ื ถือ หมายถงึ สนิ คานัน้ ใชไ ดดที กุ ครั้ง เชน เคร่ืองตัดหญาท่ีใชตัดหญาไดดีทุก ครั้ง ไมใชบ างครงั้ ใชไ ด บางครง้ั ใชไ มได 4. ความคงทน สนิ คา ไมแตกหกั หรอื เสยี งา ย มอี ายุการใชงานยาวนาน 5. ความสามารถของการบริการ สินคาท่ีตองการการบริการกอนหรือหลังการขาย บรกิ ารนนั้ จะมปี ระสทิ ธิภาพ 6. ภาพลกั ษณโดยรวมท่ดี ี สินคาที่ดูมีคุณภาพเมื่อพิจารณาทุกปจจัยโดยรวมของสินคา นน้ั จะตอ งดวู า เปน สินคา ทม่ี ีคุณภาพดี

39 คณุ ภาพของบรกิ าร มีขอ พจิ ารณา ดงั น้ี 1. สามารถจับตองได โดยปกติบริการเปนส่ิงที่จับตองไมได ทําใหการรับรูในคุณภาพ คอนขางไมชัดเจน ดังนั้น บริการที่ดีควรสรางหลักฐานใหเห็นชัดวาบริการนั้นมีคุณภาพ หลักฐานที่จะสรางนั้น ไดแก อาคาร อุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวก และบุคลากร เชน ความหรหู ราดว ยการออกแบบทีท่ นั สมัยของโรงแรม อุปกรณท นั สมยั ท่ีใชใ นโรงแรม 2. นา เชือ่ ถือ เชน ความถูกตอ งดา นราคา ความถูกตอ งในการคิดคา บรกิ าร รานอาหาร ที่คิดราคา ตรงกบั จาํ นวนอาหารทีล่ กู คาสั่ง ลกู คา ยอมใหค วามเช่ือถือ 3. มคี วามรู ผใู หบรกิ ารทม่ี ีคุณภาพตองเปนผมู ีความรใู นเร่ืองนนั้ เชน ชางซอมรองเทา ตอ งมคี วามรูใ นเรื่องการซอมรองเทา ทาทางขณะซอมรองเทาตองดูวามีความสามารถ มีความ กระฉับกระเฉง คลอ งแคลว ซงึ่ ทาํ ใหผ ูเ อารองเทาไปซอมเกิดความม่ันใจ 4. มีความรบั ผดิ ชอบ เชน เมอ่ื อูซ อมรถยนตสัญญากับลกู คา วา จะซอมรถยนตใหเสร็จ ภายใน 3 วัน อูแหง น้นั ตองทาํ ใหเ สร็จภายในเวลา 3 วนั 5. มจี ิตบรกิ าร ผูใหบรกิ ารทมี่ ีคุณภาพตองเปนผูมีจิตบริการ จึงจะเปนผูกระตือรือรน ในการใหบ ริการผอู ่นื เต็มใจชวยเหลือโดยไมรังเกียจ

40 เรือ่ งท่ี 4 การพฒั นาอาชพี ใหม คี วามเขม แข็ง โดยทั่วไปการพัฒนาอาชีพใหมีความเขมแข็งของผูประกอบธุรกิจ ข้ึนอยูกับ องคป ระกอบอยา งนอย 3 ประการ คอื (1) การลดความเสี่ยงในผลผลิต (2) ความมุงม่ันพัฒนา อาชีพ และ (3) การยึดหลักคุณธรรม ท่ผี ูประกอบธรุ กจิ ควรนาํ มาบูรณาการและนําไปใชพัฒนา อาชพี ใหเ ขม แขง็ ลดความเสย่ี งผลผลิต มงุ มัน่ พฒั นาอาชีพ ความเขมแข็ง ยดึ หลกั คุณธรรม การลดความเส่ยี งในการผลติ การประกอบอาชพี แตล ะอาชพี จะมคี วามเสี่ยงตาง ๆ มากมาย ซึ่งผูประกอบธรุ กิจ จําเปนตอ งหาวธิ ีการลดความเสี่ยง เชน ความเสยี่ ง วธิ ีการลดความเส่ยี ง การขาดทุน แสวงหาตลาดใหมไวลว งหนา สรางระบบประกันราคาผลผลติ ลดตนทนุ การผลติ หาแหลง วตั ถุดบิ ราคาตา่ํ ขาดเงินทุนหรอื ขาดสภาพคลอ งทาง แสวงหาแหลง เงนิ ทนุ ใหม การเงนิ แสวงหาแหลง เงนิ ทุนดอกเบ้ียต่าํ ลดตนทุนการผลติ แสวงหาแหลง ทุนในลกั ษณะหนุ สว นธุรกิจ

41 การพฒั นาอาชพี เปนกระบวนทีเ่ นน ความสําคัญการพัฒนาระบบการจัดการท้ังการผลิตและการตลาด ใหต รงกบั ความตอ งการของลูกคา ดงั นี้ คุณภาพผลผลิต ลดตนทนุ การผลิต การพัฒนาอาชพี การสง มอบ ความปลอดภยั ปจจัยรวมท้งั 4 ดา น เปนปจจัยทสี่ ง ผลตอการพฒั นาอาชีพ โดยมลี ักษณะ ดงั น้ี 1. คณุ ภาพผลผลติ ผปู ระกอบธุรกิจตองผลิตสนิ คา หรือบริการใหมีคุณภาพตรงความ ตองการของลูกคาใหมากทส่ี ดุ เพอื่ ใหลกู คา ม่ันใจไดวาจะไดรับสินคาหรือบริการท่ีดีเปนไปตาม ความคาดหวงั 2. ลดตนทุนการผลิต การกําหนดราคาผลผลิต ควรเปนราคาที่ลูกคาสามารถซ้ือ ผลผลิตของเราได แตไ มใ ชก ําหนดราคาต่ําจนกระท่ังรายไดไมพอเพียง ดังน้ัน การลดตนทุนจึง เปนเร่ืองสําคัญที่เราจะตองศึกษาเรียนรูหาวิธีลดตนทุนท่ีทําใหมีรายไดเพียงพอ ไมใชไปลด ตนทนุ กับคาแรงงาน แตเปนการบริหารจัดการใหลดความเสียหายในปจจัยการผลิต และการ จัดการใหไ ดผ ลผลติ สูง 3. การสง มอบ การสงมอบสนิ คาหรือบรกิ ารใหลูกคาตองเปนไปตามขอตกลงทั้งเวลา นัดหมายและจํานวนผลผลิต เชน อาชีพรานตัดเย็บเสื้อผาชาย สวนใหญมักจะผิดนัดทําให เสยี หายกับลูกคาที่มีกาํ หนดการจะใชเส้ือผา จงึ หนั ไปใชบ รกิ ารเส้ือผาสําเร็จรูปท่ีมีความสะดวก มองเห็นสนิ คา และตดั สินใจเลือกซื้อไดทันที ทําใหปจจุบันรานเย็บเส้ือผาชายเกือบหายไปจาก สงั คมไทย

42 4. ความปลอดภัย ผูผลิตประกอบธุรกิจตองคํานึงถึงความปลอดภัยของผูผลิตและ ผูบริโภคเปนสําคัญ เชน อาชีพเกษตรอินทรีย คนงานไมมีโอกาสสัมผัสกับสารพิษ ทําใหการ ทาํ งานปลอดภัย ขณะเดยี วกันผลผลิตจากเกษตรอนิ ทรียเปน อาหารที่ปลอดภยั เปน ตน การยดึ หลกั คณุ ธรรม การยึดหลักคณุ ธรรม เปนพฤตกิ รรมภายในของผปู ระกอบอาชีพท่สี งผลตอความม่ันคง ของอาชีพ ดงั นี้ ความขยนั ความประหยัด คณุ ธรรมประกอบอาชพี ความซ่ือสตั ย ความอดทน คุณธรรมทงั้ 4 ประการดังกลา วหลายคนบอกวา เปนเรื่องท่ีตองปลูกฝงมาแตเยาววัย จึงจะเกิดขึ้นได ความเชื่อน้ีเปนจริง แตเราสามารถเรียนรู สรางความเขาใจ มองเห็นคุณคา ปรบั เปล่ียนและตกแตง พฤติกรรมเพ่ือใชเ ปนเครอ่ื งมือสรางความสําเรจ็ ใหกับตนเองได 1. ความขยนั มีลกั ษณะพฤตกิ รรมของการทาํ อะไรอยา งเอาจรงิ เอาจงั แข็งขนั ไมเ กียจ ครา น ถา ผปู ระกอบอาชีพเปนอยา งน้ี เขาจะมองเหน็ งานอยา งทะลุไปขางหนามุงมั่นเอาจริงเอา จงั ยกระดบั ความสําเรจ็ ไปอยา งตอเนือ่ ง ความมนั่ คงกจ็ ะเกดิ ขน้ึ 2. ความประหยัด เปนพฤติกรรมของการยับย้ัง ระมัดระวังการใชจายใหพอ สราง ความคุมคา ใหมีความเสียหายนอยท่ีสุด พฤติกรรมเชนน้ีเปนเรื่องของความรอบคอบในการ ทาํ งาน

43 3. ความซ่ือสัตย เปนลักษณะการประพฤติตรงและจริงใจตอลูกคา ทีมงานไมคิด ทรยศ คดโกงหลอกลวง คูคา ผรู วมทุนเปน พฤติกรรมท่ีสรางความภักดี ความไววางใจตอลูกคา ทีมงานหนุ สวน 4. ความอดทน มีลักษณะพฤติกรรมท่ีสามารถอดกล้ัน งดเวน ทนอยูไดกับความ ยากลําบาก ไมท ง้ิ งาน ไมย กเลกิ ขอ ตกลงหรอื สญั ญาโดยไมม ีเหตุผล

44 แบบฝก หัด ใหผ เู รยี นเลอื กคําตอบท่ีถกู ตอ งเพยี งคําตอบเดียว 1. ขอใดเปนแนวความคิดของธุรกจิ เชิงรกุ ก. เนนดา นราคา ข. เนนการกระจายสนิ คา ค. เนน การผลติ สินคาใหมคี ุณภาพ ง. เนนความพงึ พอใจของผบู รโิ ภค 2. บคุ คลใดมีความสําคญั ตอ ธรุ กจิ เชิงรกุ ก. ผูซ้อื ข. ผขู าย ค. ผผู ลติ ง. ผูขนสง 3. ผูประกอบธรุ กจิ ควรทําตามขอใด จงึ จะสามารถแทรกความนิยมเขาสูต ลาดผบู ริโภคได ก. ผลติ สนิ คาท่มี คี ณุ ภาพสงู ราคาแพง ข. สรางสอ่ื โฆษณาหลากหลายรปู แบบ ค. วิเคราะหค วามตองการของผูบรโิ ภค ง. จัดกิจกรรมขายสินคา ทใ่ี กลหมดอายุ 4. ขอ ใดไมใชก ารแทรกความนิยมเรอื่ งการรกั ษาสขุ ภาพในผลิตภัณฑ ก. วนิ ยั ทาํ แซนวิชผักและแซนวิชเจจําหนายเพ่ิมในชวงเทศกาลกนิ ผัก ข. วิภา นําธัญพืชชนดิ ตา ง ๆ มาเปน สวนผสมหลกั ของขนมปง ชนดิ ใหม ค. วิชยั ปรบั ปรุงสนิ คาจากไสกรอกหมูธรรมดามาเปนไสกรอกหมูสมุนไพร ง. วิไล เพ่มิ บรรจภุ ัณฑของนํา้ เตาหูท่ใี ชถ งุ พลาสตกิ อยางเดียวมาใชแ กว พลาสติก 5. ขอใดสัมพนั ธกบั การกอใหเ กดิ ประโยชนดา นภาพลักษณข องสนิ คา มากที่สดุ ก. การผลติ ข. การโฆษณา ค. ความพึงพอใจ ง. การจดั เกรดสนิ คา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook