Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore “Research to Innovation: จากงานวิจัยมุ่งสู่นวัตกรรม” รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล ครั้งที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจำปี ๒๕๖๔

“Research to Innovation: จากงานวิจัยมุ่งสู่นวัตกรรม” รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล ครั้งที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจำปี ๒๕๖๔

Published by crh.research, 2021-08-24 17:02:36

Description: “Research to Innovation: จากงานวิจัยมุ่งสู่นวัตกรรม” รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล ครั้งที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจำปี ๒๕๖๔

Keywords: Research,Innovation

Search

Read the Text Version

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล คร้ังที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) (Research to Innovation: จากงานวิจยั มงุ่ สู่นวัตกรรม) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวันท่ี ๒๘ มถิ ุนายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องประชมุ 9A อาคารศนู ยแ์ พทยศาสตรศึกษาชัน้ คลินกิ ช้ัน ๙ (ตกึ เขียว) โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ และผ่านระบบการประชุมทางไกล Zoom Conferences …………………………………………………………………….. จัดทาโดย สานกั งานวิจยั เพ่ือการพัฒนาและการจัดการความรู้ ชนั้ ๒ อาคารสูติ-นรีเวชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ เลขท่ี ๑๐๓๙ ถนนสถานพยาบาล ตาบลเวยี ง อาเภอเมือง จังหวดั เชยี งราย ๕๗๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐-๕๓๙๑-๐๖๐๐ ตอ่ ๒๑๕๖ E-mail: [email protected] Website: http://172.16.1.46/deptw5/?dept=odk สงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ หน่วยงาน ๑. โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ๒. ชมรมเครือขา่ ยวิจัยโรงพยาบาล ๓. สานกั งานบริหารโครงการรว่ มผลติ แพทยเ์ พิ่มเพื่อชาวชนบท (สบพช.) ๔. สานกั วิชาวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ๕. คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา การเผยแพร่ เดือน สงิ หาคม ๒๕๖๔ ISBN 978-616-11-4692-4 ISBN (E-Book) 978-616-11-4686-3

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ รายนามคณะกรรมการผู้จัดทาโรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ ๑.คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา ๑.๑. นายไชยเวช ธนไพศาล ผ้อู านวยการโรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ ๑.๒. นายสมศักดิ์ อุทัยพบิ ูลย์ รองผอู้ านวยการฝ่ายการแพทย์ คนท่ี ๑ ๑.๓. นายสาเริง สีแกว้ รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ คนที่ ๒ ๑.๔. นายเปรมชัย ตริ างกูร รองผู้อานวยการฝ่ายพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ ๑.๕. นางสาวเยาวลกั ษณ์ จรยิ พงศ์ไพบลู ย์ รองผู้อานวยการฝ่ายผลติ บคุ ลากรทางการแพทย์ ๑.๖. นายศุภเลิศ เนตรสวุ รรณ รองผ้อู านวยการฝา่ ยปฐมภมู ิ ๑.๗. นางวิราวรรณ เมอื งอินทร์ รองผู้อานวยการฝา่ ยการพยาบาล ๑.๘. นางเยาวลกั ษณ์ สุธรรมเมง็ รองผอู้ านวยการฝา่ ยบรหิ าร ๑.๙. นางกรรณิการ์ ไซสวสั ดิ์ ผอู้ านวยการศูนยแ์ พทยศาสตรศกึ ษาช้นั คลินกิ ๒. คณะกรรมการอานวยการ จรยิ พงศ์ไพบลู ย์ นายแพทยเ์ ชี่ยวชาญ ๒.๑. นางสาวเยาวลักษณ์ เชอื้ เมืองพาน นายแพทยเ์ ชย่ี วชาญ ๒.๒. นางสาวนลวนั ท์ อจลพงศ์ นายแพทยเ์ ช่ยี วชาญ ๒.๓. นายจลุ พงศ์ ชุมภรู ตั น์ ทันตแพทยช์ านาญการพเิ ศษ ๒.๔. นางสาวดลฤดี ลักษณไ์ กรศร นายแพทยช์ านาญการ ๒.๕. นายสาธติ อินทรลาวัณย์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ ๒.๖. นางสาวปนดั ดา ธุวะคา พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการพเิ ศษ ๒.๗. นางวรางคณา วริ ยิ ะประสพโชค พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ ๒.๘. นางสาวอมรรตั น์ ขนั แกว้ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ ๒.๙. นางสาวโสภิตา วงศ์ธดิ า พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ ๒.๑๐. นางสาวธนุธร สขุ เกษม นักสงั คมสงเคราะหช์ านาญการ ๒.๑๑. นางสาวชชั ชญา ๓. คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ และประเมนิ ผลงานทางวิชาการ ๓.๑. นางสาวนลวันท์ เช้ือเมืองพาน นายแพทยเ์ ชี่ยวชาญ ๓.๒. นางสภุ ารตั น์ วัฒนสมบัติ เภสชั กรชานาญการ ๓.๓. นางพัชรา เรืองวงศ์โรจน์ นายแพทยเ์ ชี่ยวชาญ ๓.๔. นางมารยาท พรหมวชั รานนท์ นายแพทยช์ านาญการพเิ ศษ ๓.๕. นางกรรณกิ าร์ ไซสวสั ดิ์ นายแพทยช์ านาญการพเิ ศษ ๓.๖. นางสาวปยิ าภรณ์ ศริ จิ นั ทร์ช่นื นายแพทยช์ านาญการพิเศษ ๓.๗. นายปติ ิ เพลินชัยวาณชิ นายแพทย์ชานาญการ ๓.๘. นายเรอื งนิพนธ์ พ่อเรือน นายแพทย์ชานาญการ ๓.๙. นางสาวจติ รากานต์ เจริญบญุ นายแพทยช์ านาญการ ๓.๑๐. นายกิตติพงศ์ ออ่ นเสง็ เภสชั กรชานาญการ ๓.๑๑. นายเนาวรตั น์ กันยานนท์ นักเทคนคิ การแพทยช์ านาญการ ๓.๑๒. นางวรางคณา ธวุ ะคา พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการพิเศษ ๓.๑๓. นางพวงทิพย์ วัฒนะ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ ๓.๑๔. นางเพญ็ จนั ทร์ กลุ สทิ ธ์ิ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ ๓.๑๕. นางสุทธดิ า พงษ์สน่ัน พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ๓. คณะกรรมการฝ่ายวชิ าการ และประเมินผลงานทางวิชาการ (ตอ่ ) ๓.๑๖. นางสาวอรุณยี ์ ไชยชมภู พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ ๓.๑๗. นางสาวจริ าพร เพ่ิมเยาว์ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ ๓.๑๘. นางสาวธิดารตั น์ หนชยั พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ๓.๑๙. นางสาวเกศสดุ า วงศส์ ารภี พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ๓.๒๐. นางสาวธนธุ ร วงศธ์ ิดา พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ ๓.๒๑. นายบญุ ทวี จนั ทร์เลน นกั วิชาการศกึ ษา ๓.๒๒. นางสาวลักตณา ยะนา เจ้าพนกั งานธรุ การชานาญงาน ๓.๒๓. นางสาวจตุพร พันธะเกษม นักวิชาการสาธารณสุข ปฏบิ ตั ิการ ๓.๒๔. นางสาวสนุ ทรยี ์ กิตตริ ตั น์ นักวชิ าการศกึ ษา ๔. คณะกรรมการดา้ นสารสนเทศ และโสตทัศนูปกรณ์ ๘.๑. นายวิชช ธรรมปญั ญา นายแพทยเ์ ชย่ี วชาญ ๘.๒. นายวุฒชิ ัย สมยาราช นักวชิ าการสาธารณสขุ ชานาญการ ๘.๓. นายวชิ ยั ดวงใจ ช่างภาพการแพทยช์ านาญการ ๘.๔. นายสุชาติ สารทอง เจ้าพนกั งานโสตทศั นปู กรณ์ ๘.๕. นายอิทธิกร ธรรมวงศ์ เจ้าพนกั งานโสตทัศนปู กรณ์ ๘.๖. นางสาวรัตนาภรณ์ แกว้ บญุ ยืน เจ้าพนกั งานโสตทศั นศึกษาชานาญงาน ๘.๗. นายรังสรรค์ สาลกิ า นกั วิชาการคอมพวิ เตอร์ ๘.๘. นายสงกรานต์ ปัญญา นักวิชาการศึกษา ๘.๙. นายภาณุวฒั น์ สงวนศักดิ์ นกั วชิ าการศึกษา ๘.๑๐. นางสาวเสาวลักษณ์ เกษมสขุ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ ๘.๑๑. นางสาวกติ ตกิ าร หวันแก้ว นักวชิ าการสาธารณสุข ปฏบิ ัตกิ าร ๘.๑๒. นายอฐั วรรัตน์ ผู้ช่วยนักวจิ ัย คณะกรรมการวิชาการจากสานักวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวิทยาลยั แม่ฟา้ หลวง ๑.รองศาสตราจารย์ ดร.รชั นี สรรเสริญ คณบดสี านกั วชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ๒.อาจารย์ ดร. ภมรศรี ศรวี งค์พันธ์ อาจารยส์ าขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ ๓.อาจารย์ ดร.พิษณุรักษ์ กนั ทวี อาจารยส์ าขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ ๔.อาจารย์ ดร.จตุพงศ์ สิงหราไชย อาจารยส์ าขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ๕.อาจารย์ สริ นิ นั ท์ สวุ รรณาภรณ์ อาจารยส์ าขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ ๖.อาจารย์ ชญั ญานชุ วงศ์ฟู อาจารยส์ าขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ๗.อาจารย์ ดร.วฒุ ิชัย นาชัยเวียง อาจารยส์ าขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะกรรมการวชิ าการจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา คณบดีคณะเภสชั ศาสตร์ ๑. รองศาสตราจารย์ ดร. ภก. สรุ ศักดิ์ เสาแกว้ อาจารยค์ ณะเภสัชศาสตร์ ๒. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.พัชรวรรณ ตันอมาตยรตั น์

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ คานา การประชุมวิชาการนับเปน็ อกี ช่องทางหน่ึงทจ่ี ะชว่ ยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขทุกสาขาวิชาชีพได้มีโอกาสนาความรู้ใหม่ ๆ ที่ได้จากการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรม ศึกษาค้นคว้า ทาวจิ ัย มาเผยแพรส่ เู่ วทีสาธารณะ รวมทั้งเปิดโอกาสให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้มีโอกาสพบปะ แลกเปล่ียนความรู้ ความคิดเห็นและประสบการณ์ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ การสรรค์สร้างนวัตกรรมที่ทันสมัยและ เป็นประโยชน์ อันจะนาไปส่กู ารพัฒนาและการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ รวมถึงเป็นการพัฒนาบุคลากรด้านการ วจิ ัยด้วย ในปี ๒๕๖๔ นี้ ทางโรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ ได้ร่วมกับชมรมเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล สานักงานบริหารโครงการ ร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพ่ือชาวชนบท (สบพช.) สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ซ่ึงการประชุมคร้ังนี้ จัดเป็นคร้ังท่ี ๑๓ และขยายจากโรงพยาบาลในเขตภาคเหนือ เป็นโรงพยาบาลท่ัวประเทศ และเครือข่ายองค์กร ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เน่ืองด้วยสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 การประชุมครั้งนี้ จึงจัดข้ึนใน รูปแบบออนไลน์ โดยผ่านระบบประชุมทางไกล Zoom Conference การประชุมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้พัฒนาความรู้ ประสบการณ์ ในการคิดค้น สร้างสรรค์ นวัตกรรม งานวิจัย เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ และพัฒนาแกนนาด้านวิจัย นวัตกรรมให้มีศักยภาพ สร้างเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล (Hospital Research Network Society) ให้เข้มแข็ง เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหวา่ งทีมบคุ ลากรในเครอื ข่าย ภายใต้หวั ขอ้ หลักของการประชุม คือ Research to Innovation จากงานวิจัยมุ่ง สูน่ วัตกรรม การจัดการประชุมวิชาการฯ คร้ังนี้ ประกอบด้วย การบรรยาย การอภิปรายการนาเสนอผลงานวิจัย จานวนท้ังสิ้น ๘๓ เรื่อง เป็นการนาเสนอด้วยวาจา ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร ตลอดจนบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข จานวน ๓๐๐ คน ใช้เวลาประชุมทั้งส้ิน ๖ วัน ต้ังแต่วันท่ี ๒๘ มิถนุ ายน – ๒ กรกฎาคม และ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ คณะกรรมการดำเนินงานการประชุมวิชาการฯ ขอขอบพระคุณ คณะท่ีปรึกษาคณะกรรมการ อำนวยการฯ คณะกรรมการฝา่ ยตา่ ง ๆ วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยท่ีให้เกียรติและ สละเวลาในการพิจารณาบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมวิพากษ์ผลงาน และให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้นำเสนอทุกท่าน รวมไปถงึ ผู้เขา้ ร่วมฟงั การบรรยายพเิ ศษ และเข้าร่วมฟังการนำเสนอผลงานทุกท่าน ที่มีส่วนทำให้งานสำเร็จลุล่วง ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้จากการประชุมวิชาการฯ คร้ังน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการ ชุมชน สงั คม และประเทศชาตติ ่อไป คณะกรรมการพัฒนาระบบงานวจิ ัยและนวตั กรรม โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ โครงการ การประชุมวิชาการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ัยโรงพยาบาล ครั้งท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) (Research to Innovation: จากงานวิจยั มงุ่ สู่นวตั กรรม) ประจาปี ๒๕๖๔ หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ความรู้ ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดน่ิง การสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ๆ จะต้องอาศัยการศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์วิจัย อย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและสามารถสร้างนวัตกรรมหรืองานวิจัยในเชิงประจักษ์ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม ไม่ว่าจะเป็นความรู้ทางด้านคลินิก ทางด้านแพทยศาสตรศึกษา หรือสหสาขาทางการแพทย์และ สาธารณสุข ฉะนั้นจะเห็นได้ว่า การศึกษาวิจัยเข้ามามีบทบาทสาคัญ เพ่ือตอบสนองกระบวนการในการสร้างองค์ ความรู้ใหม่ ๆ รวมถึงการพัฒนางานบริการในการดูแลผู้ป่วยมากข้ึน ดังน้ัน บุคลากรสหสาขาวิชาชีพ ทางการแพทย์และสาธารณสุข จึงจาเป็นท่ีจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจมีความสามารถในการสร้างสรรค์งานวิจัย หรือนวัตกรรมทางการแพทย์ การออกแบบงานวิจัย และเลือกใช้สถิติเบ้ืองต้นอย่างถูกต้องเพ่ือสามารถนามาใช้ วิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพ นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพในการ ให้บริการดแู ลผู้ป่วย โรงพยาบาลหลายแห่งเห็นความสาคัญของการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ จึงได้รวมตัวกันจัดตั้งเป็น “ชมรมเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาวิธีการให้บริการทางการแพทย์ โดยใช้ กระบวนการวิจัยเป็นเคร่ืองมือในการแก้ปัญหาให้ตรงกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ ทางด้านงานวิจัยของบุคลากรระหว่างโรงพยาบาลในเครือข่าย ตลอดจนแลกเปล่ียนข้อมูลวิชาการ ผลงานวิจัย และข่าวสารด้านงานวิจัยระหว่างโรงพยาบาลในเครือข่าย จึงได้ดาเนินการจัดประชุมวิชาการ ประจาปีอย่าง ตอ่ เน่อื ง นบั ต้งั แตป่ ี ๒๕๕๑ เปน็ ต้นมา การประชุมวิชาการนับเป็นอีกช่องทางหน่ึงท่ีจะช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขทุกสาขาวิชาชีพได้มีโอกาสนาความรู้ใหม่ ๆ ที่ได้จากการประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรม ศึกษาค้นคว้า ทาวิจัย มาเผยแพร่สู่เวทีสาธารณะ รวมท้ังเปิดโอกาสให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ได้มีโอกาสพบปะ แลกเปล่ียนความรู้ ความคิดเห็นและประสบการณ์ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ การสรรค์สร้างนวัตกรรมท่ีทันสมัยและ เป็นประโยชน์ อันจะนาไปสู่การพัฒนาและการสร้างเครือข่ายทางวิชาการ รวมถึงเป็นการพัฒนาบุคลากรด้านการ วิจัยด้วย ดังน้ันในปี ๒๕๖๔ นี้ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ร่วมกับ ชมรมเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล สานักงานบริหารโครงการ ร่วมผลิตแพทย์เพ่ิมเพื่อชาวชนบท (สบพช.) สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ดาเนินการจัดประชุม วิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยโรงพยาบาลแห่งชาติ คร้ังท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ภายใต้แนวคิด Research to Innovation: จากงานวิจัยม่งุ สู่นวัตกรรม ประจาปี ๒๕๖๔

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้พัฒนาความรู้ ประสบการณ์ ในการคิดค้น สร้างสรรค์ นวัตกรรมและงานวิจัย ตลอดจนขยายผลสสู่ าธารณะ ๒. เพ่ือให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้มีเวทีสาหรับเผยแพร่นวัตกรรมและผลงานวิจัย ส่สู าธารณะ ๓. เพ่ือพัฒนาบุคลากรแกนนาด้านวิจัยและนวัตกรรมให้มีศักยภาพอย่างต่อเน่ือง และสร้างเครือข่ายวิจัย โรงพยาบาล (Hospital Research Network Society) ใหเ้ ขม้ แขง็ มปี ระสทิ ธิภาพ ขยายสู่เครือข่ายระดบั ชาติ ๔. เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้และองค์ความรู้ ระหว่างทีมบุคลากรทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข รวมทั้งเสริมสรา้ งใหม้ กี ารแลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการประยกุ ต์นโยบายสกู่ ารปฏบิ ัตจิ ริง หน่วยงาน / ผู้รบั ผดิ ชอบ ๑. โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ๒. ชมรมเครอื ขา่ ยวิจยั โรงพยาบาล ๓. สานักงานบรหิ ารโครงการรว่ มผลิตแพทย์เพ่ิมเพื่อชาวชนบท (สบพช.) ๔. สานักวชิ าวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั แมฟ่ ้าหลวง ๕. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา วธิ ดี าเนินการและขน้ั ตอน ๑. เขียนโครงการและเสนอโครงการเพ่ือขออนุมัติดาเนินการ ขอสนับสนุนงบประมาณจากชมรมเครือข่าย วจิ ยั โรงพยาบาล ๒. แต่งต้ังคณะทางานเพอ่ื วางแผนและดาเนนิ การจัดประชุม ๓. ประสานงานกับหน่วยงาน วทิ ยากร และบคุ ลากรที่เก่ยี วขอ้ ง ๔. เตรยี มการจดั ประชมุ และเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ ๔.๑. จดั ทาส่ือประชาสมั พนั ธ์ ๔.๒. เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์โปสเตอร์ แจง้ ขา่ วสาร ไปยงั หน่วยงานต่าง ๆ ๔.๓. รับสมคั รลงทะเบยี นเข้ารว่ มประชมุ และนาเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา ๕. ดาเนินการจัดประชุม ๕.๑. การนาเสนอและประกวดผลงานวชิ าการในรูปแบบการนาเสนอด้วยวาจา ๕.๒. บรรยาย/อภิปรายทางวิชาการ ให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เกิดการพัฒนา งานจากวิจัย/ นวัตกรรม ส่กู ารบรกิ ารสขุ ภาพ ทงั้ ดา้ นส่งเสรมิ ปอ้ งกนั รักษา ฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ๖. สรปุ ผลการจดั การประชมุ สถานท่ี โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ (ระบบการประชุมทางไกล Zoom Conferences) ระยะเวลา วนั ท่ี ๓๐ มิถุนายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และวันท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ/กลุ่มเปา้ หมาย จานวน ๓๐๐ คน ๑. วิทยากร ผเู้ ชี่ยวชาญ และผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ด้านการแพทย์ และการวิจัยทางคลนิ กิ ๒. คณะกรรมการชมรมเครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล คณะทางานผู้จดั การประชุม ๓. บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ๔. ผสู้ นใจทงั้ จากภาครฐั และเอกชน

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การประเมินและการวัดผลความสาเรจ็ ของโครงการ ๑. จานวนและคุณภาพผลงานวชิ าการทีส่ ง่ เข้าประกวด ๒. จากแบบสอบถามความคดิ เหน็ และความพงึ พอใจของผู้เข้าประชุมที่มตี ่อเนอ้ื หา รปู แบบการประชมุ วทิ ยากร สถานที่ท่จี ัดประชุม และการสรุปทบทวนการถอดบทเรยี นหลังการประชุมวชิ าการจรงิ (AAR) ๓. การนาความรู้ทางวชิ าการไปใช้ในการปรบั ปรุงพฒั นาคุณภาพบรกิ ารในทกุ ระดบั

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ กาหนดการ “การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ เครือข่ายวจิ ยั โรงพยาบาล ครัง้ ที่ 13 (HoRNetS 2021)” ระหว่างวนั ท่ี 28 มถิ นุ ายน – 2 กรกฎาคม 2564 และ 8 กรกฎาคม 2564 ณ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ เวลา หัวขอ้ วทิ ยากร วนั จนั ทร์ ท่ี 28 มิถุนายน 2564 พญ.พชั รา เรืองวงศ์โรจน์ และ พว.วรางคณา ธวุ ะคา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 08.00–10.00 น. ลงทะเบียน พญ.จติ รากานต์ เจรญิ บญุ และ พว.วรางคณา ธุวะคา โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ 10.00-12.00 น. นาเสนอผลงานวชิ าการ Oral Presentation พญ.เยาวลกั ษณ์ จริยพงศ์ไพบูลย์ 13.00-16.00 น. นาเสนอผลงานวชิ าการ Oral Presentation โรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ อ.ดร.นพ.พชิ ญตุ ม์ ภิญโญ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ วนั อังคาร ที่ 29 มิถุนายน 2564 กจิ กรรม Pre-Conference Lecture: อ.ดร.ภมรศรี ศรวี งค์พนั ธ์ มหาวิทยาลยั แมฟ่ า้ หลวง 10.00-12.00 น. ลงทะเบียน พว.วรางคณา ธุวะคา โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ ดร.อาภากร สุปญั ญา 12.00-12.30 น. พธิ เี ปดิ สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) รศ.ดร.ภก.สรุ ศักด์ิ เสาแก้ว 12.30-14.00 น. The Importance of Clinical Prediction Rules: Why ผศ.ดร.ภญ.พัชรวรรณ ตันอมาตยรตั น์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา Clinical Prediction Matters in Routine Practice? ดร.พัชรนิ ทร์ คานวล โรงพยาบาลพะเยา พว.วรางคณา ธวุ ะคา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ วนั พุธ ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564 อ.ดร.ภญ.ชดิ ชนก เรือนก้อน คณะเภสชั ศาสตร์ 08.00–08.30 น. ลงทะเบียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดร.พัชรนิ ทร์ คานวล โรงพยาบาลพะเยา 08.30-10.45 น. นาเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation ผศ.(พเิ ศษ) ดร.ภญ.รุ่งทิวา หม่นื ปา โรงพยาบาลลาปาง พญ.พัชรา เรืองวงศ์โรจน์ 11.00-12.00 น. Research and Innovation โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ 12.00-13.15 น. กญั ชาทางการแพทย์ : ผลิตภณั ฑแ์ ละหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ดร.นพ.กิจจา เจยี รวัฒนกนก โรงพยาบาลนครพงิ ค์ 13.30-16.00 น. (Medical Cannabis: Products and Recent Evidenc- อ.ดร.ภญ.ชดิ ชนก เรอื นกอ้ น es.) คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ นาเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation ผศ.ดร.จิราวรรณ ดีเหลอื คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ วนั พฤหัสบดีท่ี 1 กรกฎาคม 2564 พว.วรางคณา ธวุ ะคา โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 08.00–08.30 น. ลงทะเบียน 08.30-12.00 น. นาเสนอผลงานวชิ าการ Oral Presentation 12.45-16.00 น. นาเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation วนั ศกุ ร์ท่ี 2 กรกฎาคม 2564 08.00–08.30 น. ลงทะเบยี น 08.30-12.00 น. นาเสนอผลงานวิชาการ Oral Presentation ประกาศผลรางวัล วนั องั คารท่ี 8 กรกฎาคม 2564 กจิ กรรม Special lecture: 13.00–15.30 น. กลยทุ ธ์การทบทวนขอ้ มลู อยา่ งมคี ุณคา่ สาหรับการทาผลงาน เพอ่ื เล่อื นระดบั



“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ สารจากผูจ้ ดั ในปีท่ีผ่านมา การระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ได้สร้างผลกระทบเป็นวงกว้างไปทั่วโลก ท้ังต่อ เศรษฐกิจโลก ระบบสาธารณสุข และการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชน ทุกช่วงวัย หลายหน่วยงานพยายามคิดค้นวัคซีน เพอ่ื ป้องกนั และยารักษาแต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมการระบาดของเช้ือได้ ผู้คนต่างมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New normal) ในทกุ มิติของการใช้ชวี ิตในสังคม ซ่ึงส่งผลต่อการปรับเปล่ียนรูปแบบการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ รวมถึง การดาเนินงานด้านวจิ ยั และการนาเสนอผลงาน เพอ่ื เผยแพร่องคค์ วามรู้ต่อสังคม การประชุมวิชาการเป็นช่องทางหน่ึงท่ีช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกสาขา วิชาชีพได้มโี อกาสนาความรู้ใหม่ ๆ ทไี่ ดจ้ ากการประดิษฐค์ ดิ คน้ นวัตกรรม ศกึ ษาคน้ คว้า ทาวจิ ัย มาเผยแพร่สู่เวทีสาธารณะ เพ่ือให้ เกิดองค์ความรู้ การสรรค์สร้างนวัตกรรมที่ทันสมัยและเป็นประโยชน์ อันจะนาไปสู่การพัฒนาและการสร้างเครือข่าย ทางวชิ าการ รวมถึงเป็นการพฒั นาบุคลากรดา้ นการวิจยั ด้วย ในปี ๒๕๖๔ น้ี โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ไดร้ ว่ มกับชมรมเครอื ข่ายวิจยั โรงพยาบาล สานักงานบริหาร โครงการ ร่วมผลิตแพทย์เพ่ิมเพ่ือชาวชนบท (สบพช.) สานักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จัดประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยโรงพยาบาล ครั้งท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 การประชุมครั้งนี้ จึงจัดข้ึนในรูปแบบ ออนไลน์ โดยผ่านระบบประชุมทางไกล Zoom Conference ระหว่างวันท่ี ๒๘ มิถุนายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ การจดั การประชุมวิชาการฯ ครัง้ นี้ มีบุคลากรทางด้านสาธารณสุขหลากหลายสาขาวชิ าชพี และนกั ศึกษาจากหลาย สถาบนั ท่วั ประเทศ ส่งผลงานเข้าร่วมนาเสนอ แบ่งเป็นงานด้าน Clinical Research, Nursing Research, Health Sciences and Community Health Research and Innovation Research มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัย เกิดความร่วมมอื ทางวชิ าการระหวา่ งหนว่ ยงานต่าง ๆ เพ่ือนาผลงานวจิ ยั ไปสกู่ ารใช้ประโยชน์ต่อชมุ ชนและสงั คม ในนามคณะกรรมการดำเนินงานการประชุมวิชาการฯ ขอขอบพระคุณ คณะที่ปรึกษาคณะกรรมการ อำนวยการฯ คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิท้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยที่ให้เกียรติและสละเวลา ในการพจิ ารณาบทความ ผู้ทรงคุณวุฒิเข้าร่วมวิพากษ์ผลงาน และให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้นำเสนอทุกท่าน รวมไปถึง ผู้เข้าร่วมรับฟัง การบรรยายพิเศษ และการนำเสนอผลงานทุกทา่ น ทม่ี สี ่วนทำให้งานสำเร็จลลุ ่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยงิ่ ว่า องคค์ วามรจู้ ากการ ประชุมวชิ าการฯ คร้งั น้ี จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ แวดวงวชิ าการ ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติตอ่ ไป แพทยห์ ญงิ นลวันท์ เชอ้ื เมืองพาน ประธานคณะกรรมการพฒั นาระบบงานวิจยั และนวัตกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์



“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ สารบัญ เรื่อง หน้า คานา 1 10 สารบัญ 17 30 สารจากผจู้ ดั 40 ความชุก อบุ ัติการณ์ และการพยากรณ์แนวโน้มการเกดิ โรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รังของบคุ ลากรโรงพยาบาลท่ัวไปแหง่ หนึ่ง 49 จังหวัดยะลา: อามีนะห์ เจะปอ สริ ิมา มงคลสมั ฤทธ์ิ และนนท์ธิยา หอมขา 57 การพฒั นาวธิ ีปฏบิ ัติงานควบคุมและดูแลระบบบาบดั น้าเสยี โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พิษณโุ ลก: บญุ รกั ษ์ นวลศรี 66 แนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลังทนั ตแพทย์ในงานทนั ตกรรม: กรณีศึกษา โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ : นิรมล ลลี าอดศิ ร 76 87 แนวทางการดูแลผู้ปว่ ยปากแห้งระหวา่ งเข้ารับการรกั ษาทางทนั ตกรรมจัดฟนั : กรณีศึกษา: นิรมล ลลี าอดิศร 99 รายงานการสอบสวนโรคสุกใสในโรงเรียนแหง่ หนึ่ง หมู่ 4 บ้านเวียง ตาบลปา่ แดด อาเภอป่าแดด จังหวัดเชยี งราย ระหว่างวันท่ี 13 มกราคม – 9 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 : รูซีฮนั เจะ๊ นุ สุภาพร ธปู หอม อะวาฏีฟ ยะผา ศุภลกั ษณ์ พรหมเสน และ ศริ ญิ าพร ขันทะสอน รายงานสอบสวนโรคผู้ป่วยโรคโควดิ -19 รายท่ี 65 จังหวดั เชียงราย วนั ท่ี 20 มกราคม 2564 โรงพยาบาล เชียงรายประชานุเคราะห์ : สนุ ันทา คาบญุ เรือง ศกั ด์ชิ าย เลขะคณุ สันติ สภุ าวิชยั ชาลสิ า กอบกา อาซูรา จารมะ ภมรศรี ศรีวงคพ์ ันธ์ ความรอบร้ดู ้านอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มและพฤติกรรมการป้องกนั ผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหม่บู ้าน ตาบลศรีถอ้ ย อาเภอแมส่ รวย จงั หวัดเชียงราย : ตรียาพร กานสุ นธ์ิ ธนาพร ปรัชญาภิวฒั น์ พลิ าสินี วงษ์นุช ชลนั ดา ธรรมจกั ร์ ณัฐทรี สมศรี ผลของโปรแกรมสุขศกึ ษาออนไลนเ์ พือ่ ส่งเสรมิ ความรู้ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมสขุ ภาพเกีย่ วกับฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก ไมเ่ กิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้าน บา้ นป่าจัน่ หมู่ท่ี 7 ตาบลเวยี งกาหลง อาเภอเวียงปา่ เป้า จงั หวัดเชยี งราย : พมิ พ์ลภสั พนิตกมล นายภผู า ธติ ิอนนั ต์ปกรณ์ สุนทรี สรุ ัตน์ ประดิษฐ์ ประทองคา ผลของการพัฒนาระบบการป้องกนั การแพย้ าซา้ ต่ออุบัตกิ ารณก์ ารแพย้ าซ้าของผ้ปู ่วย ในแผนกศลั ยกรรม โรงพยาบาลเพชรบรู ณ์ : รัชนีวรรณ มาจาก ผลการรักษาผปู้ ่วยปวดหลังส่วนลา่ งจากภาวะหมอนรองกระดกู ทบั เส้นประสาทระหวา่ งวธิ ดี ึงหลังรว่ มกับประคบ ร้อนและการบริหารหลังดว้ ยเทคนคิ แมคเคนซกี่ บั วิธีดึงหลังร่วมกบั ประคบรอ้ น : นันทวัน ปิน่ มาศ การพัฒนานวัตกรรม Snow Box : อญั ชลี สงิ หน์ อ้ ย ไพรวลั ย์ รตั นบญั ชร ปัทมา สที อง วชิรศักดิ์ ภรู ิสวสั ดิ์



“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ความชกุ อบุ ัตกิ ารณ์ และการพยากรณแ์ นวโนม้ การเกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รงั ของบคุ ลากร โรงพยาบาลท่ัวไปแห่งหนึ่ง จงั หวดั ยะลา อามีนะห์ เจะปอ1 สริ ิมา มงคลสัมฤทธ์ิ2 และนนทธ์ ยิ า หอมขา3 E-mail: [email protected] บทคัดยอ่ ความสาคัญ: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพของตนเองและ การป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรังแก่ประชาชน การเฝ้าระวังและพยากรณ์โอกาสของการเกิดโรคไม่ติดต่อ เรือ้ รังของบุคลากรจึงเป็นเรอ่ื งทส่ี าคญั วัตถุประสงค:์ เพื่อศกึ ษาความชกุ และอบุ ตั กิ ารณ์ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของบุคลากรในโรงพยาบาลทั่วไปแห่ง หน่ึง จงั หวัดยะลา ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2553 – 2562 และพยากรณ์การเกิดโรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรังในบุคคลากร รูปแบบการศึกษา: เป็นรูปแบบการศึกษาย้อนหลัง (Retrospective Cohort Study) ทาการศึกษาในบุคลากร ท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลท่ัวไปแห่งหนึ่ง จังหวัดยะลา โดยใช้ข้อมูลจากผลการตรวจสุขภาพประจาปี และทะเบียนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรังของบุคลากร ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 วิเคราะห์ข้อมูลการพยากรณ์ ดว้ ยสถติ ิ Time series analysis ดว้ ยวธิ ี ARIMA ผลการศึกษา: จานวนกลุ่มตัวอย่างท้ังหมด 624 ราย อายุเฉลี่ย 33.91±9.92 ปี อายุเฉลี่ยท่ีเร่ิมป่วยเป็น โรคเรื้อรัง 44.72±7.58 ปี ระยะเวลาการทางานในโรงพยาบาล 11.62±9.68 ปี พบความชุกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 3.64 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 22.48 ในปี 2562 พบมากที่สุด ในกลุ่มภารกิจ การพยาบาล และพบน้อยท่ีสุดในกลุ่มภารกิจปฐมภูมิ ส่วนอัตราอุบัติการณ์พบว่า ปี 2554 มีอัตราอุบัติการณ์ สูงที่สุด ร้อยละ 5.06 ตามด้วยปี 2556 และ 2553 พบร้อยละ 3.75 และ 3.64 ตามลาดับ พบมากท่ีสุดในกลุ่ม ภารกิจการพยาบาล และพบน้อยที่สุดในกลุ่มภารกิจปฐมภูมิ การพยากรณแ์ นวโนม้ การเกดิ โรคไม่ติดตอ่ เรอื้ รงั ของ บุคลากร ระหว่างปี 2563 – 2567 คาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จานวน 117, 129, 142, 155 และ 168 ราย ตามลาดับ ข้อยุติและการนาไปใช้: ความชุกของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในบุคลากรของโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหน่ึง จังหวัด ยะลามีแนวโน้มสูงข้ึน บุคลากรของโรงพยาบาลควรให้ความสาคัญกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของตนเอง เพ่ือป้องกนั การเกดิ โรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั อย่างยั่งยืน คาสาคัญ: โรคไม่ตดิ ตอ่ เร้ือรัง บคุ ลากรทางการแพทย์ การพยากรณ์ 1นักศกึ ษาระดับปริญญาโท คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2รองศาสตราจารยป์ ระจาคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 3อาจารยป์ ระจาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 1

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ค วา มสา คัญ : โ รค ไม่ ติดต่ อเร้ื อรัง หรื อ Non- โดยปัจจัยเหล่านี้ มีโอกาสทาให้น้าหนักเกินเป็น communicable disease (NCDs) เป็นปัญหาทาง โรคอ้วน ไขมันในเลือดผิดปกติ ความดันโลหิตสูง สุขภาพท่ีสาคัญเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากกว่า และน้าตาลในเลือดสูง นาไปสู่โอกาสในการเกิดโรค สาเหตอุ ่ืน1 ในปี พ.ศ. 2558 ทั่วโลกมปี ระชากรเสียชีวิต ต่าง ๆ ได้ 8-12 โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ด้วยกล่มุ โรค NCDs ประมาณ 41 ล้านคน (ร้อยละ 71) มีปัจจัยเส่ียงจากกรรมพันธุและพฤติกรรมสุขภาพ และเป็นการตายก่อนวัยอันควรประมาณ 15 ล้านคน ท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสรีระวิทยาจนนาไปสู่ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การเกิดโรค NCDs ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวถูกกาหนด โ ด ย มี ก า ร ป ร ะ ม า ณ ค ว า ม สู ญ เ สี ย ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เป็นรูปแบบ 4x4x4 Model ของการเกิดโรค NCDs ในอีก 15 ปี ข้างหน้า ประมาณ 7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ2 โดย 4 ตัวแรก คือ 4 โรคหลัก ได้แก่ โรคเบาหวาน ในประเทศไทยพบว่า การเสียชีวิตจาก NCDs ร้อยละ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง 75 ของการเสยี ชวี ิตทัง้ หมด (ประมาณ 320,000 คนตอ่ และโรคมะเรง็ ท่เี กดิ จากการเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยา ปี)3 ปี พ.ศ. 2557 คนไทยสูญเสียปีสุขภาวะ 14.9 ล้าน ที่สาคัญของ 4 ตัว ถัดมา ได้แก่ น้าหนักเกินและอ้วน ปี ซ่ึงเป็นการสูญเสียปีสุขภาวะด้วยกลุ่มโรค NCDs ความดนั โลหิตสูง น้าตาลในเลือดสูง และไขมันในเลือด ถึงร้อยละ 71 ในขณะท่ีแนวโน้มประชากรท่ีเป็น สูง ท่ีเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมของ 4 ตัว กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรค NCDs ยังคงเพ่ิมข้ึน สุดท้าย ได้แก่การบริโภคยาสูบ การด่ืมเครื่องด่ืม อย่างรวดเร็วทาให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะและ แอลกอฮอล์ การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ และ ต้นทุนทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงและมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน การบริโภคอาหารทไ่ี ม่เหมาะสม4 อย่างต่อเนื่อง4 สอดคล้องกับการสารวจสุขภาพคนไทย อายุ 15 ปีข้ึนไป พบแนวโน้มของโรคเบาหวานและ บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ แ ล ะ ส า ธ า ร ณ สุ ข โรคความดันโลหิตสูงเพ่ิมข้ึน โดยความชุกของ โ ด ย เ ฉ พ า ะ บุ ค ล า ก ร ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล โรคเบาหวาน ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 ร้อยละ 6.9 เป็นบุคคลต้นแบบในการดูแลสุขภาพของตนเอง แ ล ะ 8 . 9 ต า ม ล า ดั บ ส่ ว น ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง แ ล ะ ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร เ กิ ด โ ร ค โ ร ค ไ ม่ ติ ด ต่ อ เ ร้ื อ รั ง ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 พบความชุกร้อยละ 21.4 แก่ประชาชน13 การศึกษาความชุกและอุบัติการณ์ของ และ 24.7 ตามลาดับ5-6 สาหรับความชุกของการเกิด โรค NCDs ในผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเป็นการ โรค NCDs ในบุคลากรโรงพยาบาลท่ัวไปแห่งหนึ่ง เฝ้าระวังการเกิดโรค NCDs มากกว่าน้ัน ยังสามารถ จังหวัดยะลา ซ่ึงเป็นผู้ปฏิบัติงานทางด้านสุขภาพ เป็น พยากรณ์โอกาสของการเกิดโรค NCDs ของบุคลากร ต้นแบบการดูแลสุขภาพสาหรับประชาชน พบว่าในปี ในอนาคตได้14 ซึ่งโรงพยาบาลแห่งน้ีเป็นโรงพยาบาล พ.ศ. 2562 มีอัตราการเกดิ โรค NCDs ร้อยละ 22.487 ระดับทั่ว ไป ท่ีมีการตรว จสุขภ าพบุคลากรใน โรงพยาบาลเป็นประจาทุกปี ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2553 ปีละ ปัจจัยเส่ียงท่ีมีผลต่อการเกิดโรค NCDs ประมาณ 450 ราย ในการตรวจสุขภาพประจาปีมีการ แบ่งเป็น ปัจจัยเส่ียงท่ีไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เช่น คัดกรองความเส่ียง NCDs ได้แก่ เพศ อายุ ดัชนีมวล พันธกุ รรมเพศ และอายุ ส่วนปัจจัยเส่ียงท่ีเปล่ียนแปลง กาย การสูบบุหร่ี การดื่มสุรา การออกกาลังกาย ได้ เช่น ขาดการออกกาลังกาย รับประทานอาหารท่ี ประวัติครอบครัว ความดันโลหิต ตรวจน้าตาลและ ไม่เหมาะสมด่ืมเคร่ืองด่มื ท่ีมแี อลกอฮอล์ และสูบบุหร่ี ไขมันในเลือด7 แต่ข้อมูลส่วนน้ียังไม่นามาศึกษา สถานการณ์ความชุก อุบัติการณ์และพยากรณ์การเกิด โรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รังในบคุ ลากร 2

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ซ่ึงการศกึ ษาดงั กล่าวในบคุ ลากรทางแพทย์ของประเทศ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช:้ ไทยมีจานวนน้อย อีกท้ังยังมีความแตกต่างกันไปตาม  แบบบนั ทกึ ข้อมูลผลการตรวจสุขภาพประจาปี บรบิ ทต่างๆ จึงได้ทาการศึกษานี้รวมไปถึงการนาข้อมูล  ทะเบียนผปู้ ่วย NCDs ในส่วนนี้มาศึกษาและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบจะเป็น  โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรูป ประโยชน์กับหน่วยงานที่สามารถนาไปจัดการความ วิธีดาเนินการศึกษา: เสี่ยงทางสุขภาพของบุคลากรในโรงพยาบาลได้อย่าง การศึกษาครั้งนี้มีรูปแบบการศึกษาแบบย้อนหลัง เหมาะสม และสามารถป้องกันการเกิดปัญหา NCDs (Retrospective cohort study) กลุ่มตัวอย่าง คือ ในบคุ ลากรโรงพยาบาลแห่งนไ้ี ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง วัตถุประสงค:์ จังหวัดยะลา ระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2562 โดย 1. ศึกษาความชุกและอุบัติการณ์ของโรค พิจารณาคุณสมบตั ิของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่ติดต่อเรื้อรังในบุคลากรของโรงพยาบาลท่ัวไป การคัดเลือกเข้าศึกษา พยากรณ์การเกิดโรคไม่ติดต่อ แหง่ หน่ึง จังหวัดยะลา ระหว่าง ปี พ.ศ. 2553 – 2562 เรื้อรังด้วยสถิติอนุกรมเวลา โดยใช้โปรแกรม 2. พยากรณ์การเกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง คอมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รปู โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ผลการ ในบุคลากร โรงพยาบาลท่ัวไปแหง่ หนึง่ จังหวดั ยะลา ตรวจสุขภาพประจาปี และทะเบียนผู้ป่วย NCDs ของ ระเบยี บวิธวี จิ ัย: บุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปแห่งหน่ึง จังหวัดยะลา รูปแบบการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิง ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ป ริ ม า ณ ( Quantitative Study) แ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า นยิ ามศพั ท:์ ย้อนหลัง ( Retrospective Cohort Study) โ ดย มี 1. โรคไม่ติดต่อเร้ือรังในการศึกษานี้ ให้ความหมาย วิธกี ารวจิ ยั ตามรายละเอียดดังต่อไปน้ี เ ฉ พ า ะ โ ร ค เ บ า ห ว า น โ ร ค ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง สถานที่ศึกษา: การศึกษาครั้งนี้ทาการศึกษาใน โรคไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหลอดเลือดหัวใจ และ โรงพยาบาลทว่ั ไปแหง่ หนง่ึ จงั หวัดยะลา โรคหลอดเลือดสมอง ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ ประ ชาก รที่ ศึกษ า : บุค ล า ก ร ท่ีป ฏิบั ติง า น ใ น หากเป็นโรคใดโรคหนึ่งนบั เปน็ ผ้ปู ่วยโรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลทว่ั ไปแห่งหนึ่ง จังหวัดยะลา 2. บุคลากร หมายถึง เจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงาน การกาหนดขนาดตัวอย่าง: บุคลากรท่ีปฏิบัติงานใน ในโรงพยาบาลโรงพยาบาลท่ีทาการศึกษา รวมถึง โรงพยาบาลท่ัวไปแห่งหน่ึง จังหวัดยะลา ระหว่างปี ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างประจา ลูกจ้างช่ัวคราว พ.ศ. 2553 – 2562 ทุกตาแหนง่ งาน การคัดเลอื กกลุ่มตัวอย่าง: เกณฑ์การคดั เขา้ (Inclusion criteria) บุคลากรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปแห่ง หนึง่ จังหวดั ยะลา ระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 – 2562 ทกุ คน เกณฑก์ ารคดั ออก (Exclusion criteria) บุคลากรที่ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจาปี ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 3

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู : ผลการศกึ ษา (Results) : 1) จดั ทาหนงั สอื เพอื่ ขอความอนเุ คราะหใ์ ชข้ อ้ มลู ถงึ ความชุก พบว่ามีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนจากร้อยละ ผอู้ านวยการโรงพยาบาลเปา้ หมาย จากร้อยละ 3.64 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 22.48 2) ประสานงานไปยังผู้เกี่ยวข้องโรงพยาบาล ในปี 2562 (ตารางที่ 1) พบมากที่สุด ในกลุ่มภารกิจ เป้าหมาย เพ่ือขอความอนุเคราะห์ข้อมูลผลการตรวจ การพยาบาล กลุ่มภารกิจอานวยการ และกลุ่มภารกิจ สุขภาพประจาปขี องบุคลากร และทะเบียนผู้ป่วยโรคไม่ ทุ ติ ย ภู มิ -ต ติ ย ภู มิ ต า ม ล า ดั บ พ บ น้ อ ย ที่ สุ ด ใ น ตดิ ตอ่ เรอ้ื รังของบคุ ลากรในรูปของอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ฟล์ กล่มุ ภารกิจปฐมภมู ิและกลุม่ ภารกิจพัฒนาระบบบริการ 3) บริหารจัดการข้อมูล โดยการตรวจสอบความ สุขภาพตามลาดับ (ตารางท่ี 2) ส่วนอัตราอุบัติการณ์ ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล และตรวจสอบความ พบว่า ในปี 2554 มีอัตราอุบัติการณ์สูงที่สุด โดยมี ผิดปกติของข้อมูลโดยการประเมินความเป็นไปได้ของ ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรังรายใหม่ จานวน 20 ราย ขอ้ มูล เชน่ อายุ เพศ การวินิจฉัยโรค เป็นตน้ คิดเป็นอัตราอุบัติการณ์ร้อยละ 5.06 ตามด้วยปี 2556 4) สร้างคู่มือการลงรหัสข้อมูล แล้วมาวิเคราะห์ และ 2553 พบผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ จานวน 15 และ 12 ราย ตามลาดับ คิดเป็นอัตรา ข้อมลู ตามวตั ถปุ ระสงค์การวิจัย อุบตั ิการณ์ ร้อยละ 3.75 และ 3.64 ตามลาดับ (ตาราง ท่ี 2) (ภ าพ ที่ 1 ) พ บม า กท่ี สุด ใ นก ลุ่ม ภ าร กิ จ การวดั ผลและการวเิ คราะหข์ ้อมูล/ สถิตทิ ่ใี ช้: การพยาบาล กลุ่มภารกิจอานวยการ และกลุ่มภารกิจ - ใช้สถิติเชิงพรรณาวิเคราะห์ความชุก คานวณ ทุติยภูมิ-ตติยภูมิ ตามลาดับ พบน้อยที่สุดในกลุ่ม จากจานวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสะสมระหว่างปี ภารกิจปฐมภูมิและกลุ่มภารกิจพัฒนาระบบบริการ พ.ศ. 2553 – 2562 สขุ ภาพตามลาดับ (ตารางท่ี 3) - ใช้สถิติเชิงพรรณาวิเคราะห์อุบัติการณ์ คานวณ ผลการพยากรณ์จานวนการเกิดโรคไม่ติดต่อ จากจานวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรังรายใหม่แต่ละปี เร้ือรังในบุคลากรของโรงพยาบาลแหง่ หนง่ึ จงั หวดั ยะลา ระหวา่ งปี พ.ศ. 2553 – 2562 ด้วย ARIMA (0,1,1) (0,1,1) model คาดว่าจะมีผู้ป่วย - ใช้สถิติ Time series analysis วิเคราะห์ การ ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปี 2563 – 2567 จานวน 117 พยากรณก์ ารเกดิ โรคไม่ตดิ ต่อ ราย, 129 ราย, 142 ราย, 155 ราย และ 168 ราย - ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปในการ ตามลาดับ (ตารางที่ 4) (ภาพที่ 2) วเิ คราะห์ขอ้ มลู ภาพท่ี 1: ความชกุ และอบุ ตั กิ ารณข์ องโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ภาพที่ 2: ผลการพยากรณ์จานวนผปู้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ต่อเรอ้ื รงั โรงพยาบาลทัว่ ไปแห่งหนึ่ง จงั หวดั ยะลา ระหวา่ งปี 2553 – 2562 4

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ตารางท่ี 1: อัตราความชุกของโรคไมต่ ิดตอ่ เร้อื รงั ของบุคลากรโรงพยาบาลทั่วไปแหง่ หนง่ึ จังหวดั ยะลา พ.ศ. จานวนผู้ปว่ ยโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง จานวนบคุ ลากรทต่ี รวจ ความชุก (ร้อยละ) 2553 12 330 3.64 2554 32 407 7.86 2555 36 428 8.41 2556 51 436 11.70 2557 50 352 14.20 2558 52 337 15.43 2559 68 427 15.93 2560 56 316 17.72 2561 94 457 20.57 2562 105 467 22.48 ตารางท่ี 2: อตั ราอบุ ัตกิ ารณ์ของโรคไม่ตดิ ต่อเร้อื รังในบคุ ลากรโรงพยาบาลทั่วไปแหง่ หน่ึง จงั หวัดยะลา พ.ศ. จานวนผปู้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง จานวนบุคลากร อบุ ตั ิการณ์ รายใหม่ กลุม่ เสยี่ ง (รอ้ ยละ) 330 2553 12 395 3.64 396 5.06 2554 20 400 1.01 307 3.75 2555 4 294 1.63 362 3.06 2556 15 267 0.83 374 2.62 2557 5 369 2.94 1.90 2558 9 2559 3 2560 7 2561 11 2562 7 5

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การอภิปรายผล: ดังน้ันบุคลากรจงึ ต้องให้ความสาคัญกับการปรับเปล่ียน ความชกุ และอุบตั กิ ารณ์ของโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง พฤติกรรมเสี่ยงของตนเอง โดยการออกกาลัง อย่างสม่าเสมอและหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร มีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ในการศึกษานี้พบว่า ที่ไม่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อัตราความชุกของโรคไม่ติดต่อเร้ือรังของบุคลากรใน อยา่ งยงั่ ยนื โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จังหวัดยะลา มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น ขอ้ ยุติและการนาไปใช้: อย่างต่อเนื่องทุกปี ท้ังน้ีเนื่องจากอัตราการลาออก โยกย้ายมีจานวนน้อย7 เม่ือพิจารณาแล้วพบว่า อัตราความชกุ ของโรคไม่ติดต่อเร้ือรังในบุคลากร พฤติก รรมก ารออ กกา ลังกา ยของ บุคลา กรใ น ที่ผา่ นมามีแนวโนม้ สงู ขน้ึ และจากการพยากรณ์การเกิด โรงพยาบาลแห่งน้ีมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่พฤติกรรม โรคไม่ติดต่อเร้ือรังในอีก 5 ปีข้างหน้ามีแนวโน้มสูงข้ึน การไมอ่ อกกาลงั กาย มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น ทาให้มีรอบเอว เช่นกัน ดังน้ันบุคลากรจึงต้องให้ความสาคัญกับ เกนิ และดัชนมี วลกายเกนิ ซ่ึงเป็นปจั จัยเส่ียงที่ทาให้เกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของตนเอง โดยการ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทาให้ความชุกของโรคไม่ติดต่อ ออกกาลงั อยา่ งสม่าเสมอและหลีกเลี่ยงการรับประทาน เร้ือรังมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน สอดคล้องกับการสารวจ อาหารท่ีไม่เหมาะสม เพ่ือป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อ สุขภาพประชาชนไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบแนวโน้ม เรือ้ รังอยา่ งย่งั ยนื ความชุกของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มข้ึน โดยพบความชุกของโรคเบาหวานในปี 2552 และ ข้อจากัดในการวจิ ยั 2557 ร้อยละ 6.9 และ 8.9 ตามลาดับ ส่วนความชุก 1. การศึกษาในครั้งน้ีใช้ข้อมูลย้อนหลังในอดีต ของโรคความดันโลหิตสูง ในปี 2552 และ 2557 ร้อยละ 21.4 และ 24.7 ตามลาดับ ผลการพยากรณ์ ในการนามาวิเคราะห์ จึงมีข้อจากัดในการค้นหาปัจจัย การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานใน เส่ียงของการเกดิ โรคไม่ติดต่อเรือ้ รงั โรงพยาบาลแห่งนี้ ระหว่างปี 2563 - 2567 คาดการณ์ ว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับสหพันธ์เบาหวาน 2. การพยากรณ์โรคโดยใช้วิธีการทางสถิติ จะมี นานาชาติพบว่าความชุกของผู้ป่วยเบาหวานจะเพ่ิมขึ้น ความแม่นยาต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ปัจจัยเสี่ยงของการ จาก 415 ล้านคน ในปี 2558 และคาดการณ์ว่าจะ เกิดโรคท่ีไมม่ กี ารเปล่ยี นแปลง เพ่ิมข้ึนเป็น 642 ล้านคนในปี 258315นอกจากน้ี การศึกษาจากต่างประเทศคาดการณ์ว่าการเสียชีวิต จากโรคเร้ือรังจะมีแนวโน้มเพิ่มข้ึน ร้อยละ 17 ในปี 255816 ทั้งนี้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังก่อให้เกิดภาระทาง เศรษฐกิจท้ังในระดับครัวเรือนและระดับประเทศ ความสาคัญของการแก้ปัญหาโรคไม่ติดต่อเร้ือรังคือการ ควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ26-27 นอกจากน้ี ยังพบว่า ผู้ท่ีมีความรู้เก่ียวกับโรคและการรักษา อยู่ในระดับสูง จะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหิตสูงอยู่ในระดับสงู เชน่ กัน 6

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ตารางท่ี 3: ความชุกของโรคไมต่ ิดต่อเร้อื รงั ของบุคลากรโรงพยาบาลท่ัวไปแห่งหน่งึ จงั หวดั ยะลา แยกตามกลมุ่ ภารกิจ กลุ่มภารกจิ จานวน (ร้อยละ) 2562 การพยาบาล 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 45 อานวยการ พัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ 6 17 19 24 23 25 29 21 40 (42.9) ปฐมภมู ิ (50.0) (53.1) (52.8) (47.1) (46.0) (48.1) (42.6) (37.5) (42.6) 24 ทุติยภูม-ิ ตตยิ ภมู ิ 3 8 9 13 13 11 18 16 21 (22.9) รวม (25.0) (25.0) (25.0) (25.5) (26.0) (21.2) (26.5) (28.6) (22.3) 11 0 3 3 7 9 7 9 5 11 (10.5) (0) (9.4) (8.3) (13.7) (18.0) (13.5) (13.2) (8.9) (11.7) 5 1 1 1 1 244 2 5 (4.8) (8.3) (3.1) (2.8) (2.0) (4.0) (7.7) (5.9) (3.6) (5.3) 20 2 3 4 6 3 5 8 12 17 (19.0) (16.7) (9.4) (11.1) (11.8) (6.0) (9.6) (11.8) (21.4) (18.1) 105 12 32 36 51 50 52 68 56 94 ตารางท่ี 4: การพยากรณ์จานวนผู้ป่วยโรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รังปี 2563-2567 พ.ศ. จานวน (ราย) 95% CI 2563 117 88-146 2564 129 87-172 2565 142 88-196 2566 155 91-219 2567 168 95-242 เอกสารอ้างองิ : 5. วิชยั เอกพลากร. รายงานการสารวจสขุ ภาพ 1.World Health Organization. Global status ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 พ.ศ. 2552. report on non-communicable disease. Geneva: 2552. World Health Organization. 2014. 6. วชิ ัย เอกพลากร. รายงานการสารวจสขุ ภาพ 2. อรรถเกียรติ กาญจนพบิ ูลวงศ.์ รายงานสถานการณ์ ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครง้ั ท่ี 5 พ.ศ. โรค NCDs ฉบบั ท่ี 2 \"KICK OFF TO THE GOALS: 25572559. สานักงานพฒั นานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. ; 7. โรงพยาบาลท่ัวไปแหง่ หนึ่ง จงั หวัดยะลา รายงานผล 2559. การตรวจสุขภาพประจาปี 2562 โรงพยาบาลแห่งหน่งึ 3. เนตมิ า คูนยี .์ สถานการณ์ปัจจุบนั และรูปแบบการ จงั หวดั ยะลา. 2562. บรกิ ารดา้ นโรคไม่ติดต่อเร้อื รัง. 1, editor. สถาบันและ 8. เสกสรรค์ จวงจันทร.์ ปจั จยั ทีม่ ีความสมั พันธ์กบั การ ประเมินเทคโนโลยที างการแพทย์ กรมการแพทย์ เกดิ โรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสงู กระทรวงสาธารณสขุ 2557. รพ.บึงบูรพ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ. วารสาริชาการแพทย์เขต 4. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . สถานการณ์ 11. 2558;29(เม.ย.-ม.ิ ย.2558). การดาเนนิ งานด้านการป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อ (NCDs). 2561. 7

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ 9. อนวัช วิเศษบริสุทธ์ิ. ภาวะ Metabolic Syndrome 16.McQueen, D. V., & Puska, P. (2003) Global ในบุคลากร โรงพยาบาลเชียงใหม่. วารสารสาธารณสุข behavioral risk factor surveillance. New York: ลา้ นนา. 2556;9(พ.ค. - ส.ค. 2556). Kluwer Academic/Plenum Publisher. 10. เกษชดา ปัญเศษ. ความเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจ 17.สชุ าติ หาญไชยพบิ ูลย์กลุ และคณะ. ความชุกโรค และหลอดเลอื ดของบุคลากรท่ีปิฏฺบัติราชการส่วนกลาง หลอดเลอื ดสมองและปจั จัยเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง กระทรวงสาธารณสุข (โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยง ในประเทศไทย: โครงการศึกษาระบาดวิทยาโรคหลอด ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด Rama - EGAT Heart เลอื ดสมองในประเทศไทย. จดหมายเหตทุ างแพทย.์ Score). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2557. 2554;94(4):427-36. 11.Piyawan Kuwalairat RS, Sunee Lertsinudom, 18.ศรีเมือง พลงั ฤทธิ,์ สมบตั ิ มงุ่ ทวพี งษา. ปจั จัยเสย่ี ง . The Outcomes of Smoking Cessation among ของโรคหลอดเลือดสมอง จังหวดั ปทมุ ธานี ประเทศ Non-communicable Disease Patients at Com- ไทย. จดหมายเหตทุ างแพทย.์ 2558;98(7):649-55 munity Hospitals under the Supervision of 19.กฤดา ณ สงขลา. Relationship between the Clinical Pharmacist. IJPS. 2015; 11( Oct - Dec ischemic stroke subtypes and risk factors in- 2015). cluded clinical outcome from Prasat Neuro- 12.Delon S MB, Alberta Health CDMAC,. Alber- logical Institute stroke registry. วารสารสมาคม ta's systems approach to chronic desease โรคหลอดเลือดสมองไทย. 2557;13:3-12. management and prevention utilizing the 20.ดิษยา รตั นากร, ชาญพงค์ ตังคณะกุล, สามารถ expamded chronic care model. Healthc Q. นิธินันท์ และคณะ. Current Practice Guide to 2009:98-104. Stroke Management.: กรงุ แทพฯ. 2554. 13.รุสนี วาอายีดา. ประสิทธิผลของโปรแกรม 21.สถาบนั ประสาทวิทยา. แนวทางการรักษาโรคหลอด ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาพต่อการรับรู้ความสามารถ เลือดสมองตีบหรอื อุดตนั สาหรับแพทย์.2558. ของตนเอง การกากับตนเอง พฤติกรรมการดูแลตนเอง 22.Feigin VL, et al. Global Burden of Diseases, และการลดน้าหนักของบุคลากรท่ีมีภาวะน้าหนักเกิน Injuries, and Risk factors Study 2010 (GBD โรงพยาบาลรามัน จังหวัดยะลา. วารสารพยาบาล 2010) and the GBD Stroke Experts Group. กระทรวงสาธารณสุข. 2556. Global and regional burden of stroke during 14. กิตติพงษ์ คงสมบูรณ์. ความเหมาะสมของ 1990-2010: findings from the Global Burden of โปรแกรมตรวจสุขภาพประจาปีตามเกณฑ์อายุ 35 ปี. Disease Study 2010. Lancet 2014;383:245-54. Journal of Medicine and Health Sciences Fac- 23.Aekplakorn W. (2014). Thai National Health ulty of Medicine, Srinakharinwirot University. Examination Survey. NHES V. Bangkok: Health 2010;17(April 2010). Systems Research Institute. (in Thai). 15. International Diabetes Federation. Diabe- 24. Karam I, Yang YJ, Li JY. Hyperlipidemia tes: facts and figure [internet]. Belgium: [cited background and progress. SM Atheroscler J. 2021 May 31] Available from: https:// 2017; 1(1): 1003. www.idf.org/e-library/education/ 8

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ 25. Grundy S, Stone N, Bailey A, et al. Guide- line on the management of blood cholesterol: A report of the American College of Cardiolo- gy/American heart association task force on clinical practice guidelines. J Am Coll Cardiol. 2018; 73(24): e285-350. 26. Engelgau M, Rosenhouse S, EI-Saharty S, Mahal A. The economic effect of noncom- municable diseases on house-holds and na- tions: a review of existing evidence. J Health Commun 2011;16(Suppl 2):75-81. 27. World Health Organization. 2008-2013 ac- tion plan for the global strategy for the pre- vention and control of non-communicable diseases: prevent and control cardiovascular diseases, cancers, chronic respiratory diseases and diabetes. Geneva: World Health Organiza- tion; 2008. 28. สมใจ จางวาง เทพกร ทิพยภินัน และนริ ชร ชูติ พัฒนะ. 2559. ปัจจัยท่มี ีความสัมพนั ธก์ ับพฤติกรรม การดแู ลตนเองเพ่ือป้องกนั โรคเบาหวานและความดนั โลหิตสงู ของประชาชนกลมุ่ เส่ียง. วารสารเครอื ข่าย วทิ ยาลัยพยาบาลการสาธารณสุขภาคใต้ 3(1): 111- 128. 9

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจ้าปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การพฒั นาวธิ ีปฏิบตั งิ านควบคมุ และดูแลระบบบา้ บัดน้าเสยี โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก บุญรกั ษ์ นวลศรี E-mail:[email protected] บทคัดย่อ ความส้าคัญ: จากการวิเคราะห์ผลการด้าเนินการย้อนหลัง 3 ปี พบว่า คุณภาพน้าทิ้งของระบบบ้าบัดน้าเสีย ของโรงพยาบาลพทุ ธชินราช พษิ ณุโลก ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านแบคทีเรีย สาเหตุอาจเนื่องมาจากลักษณะการ ปฏิบัติงานมีวิธีการท่ีแตกต่างกัน เน่ืองจากไม่มีแนวปฏิบัติงานท่ีชัดเจน จึงสนใจท่ีจะพัฒนาวิธีปฏิบัติงานให้เป็น ลายลักษณ์อักษร เพื่อให้บุคลากรของงานบ้าบัดน้าเสียทุกคนมีแนวปฏิบัติ และการปฏิบัติงานที่สอดคล้องไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั วัตถุประสงค์: เพ่ือพัฒนาและศึกษาประสิทธิผลของวิธีปฏิบัติงานควบคุมและดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียของ โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พษิ ณโุ ลก รูปแบบการศึกษา: รูปแบบการวิจัยเป็นการศึกษาแบบปฏิบัติการ ศึกษาเฉพาะระบบบ้าบัดน้าเสียของ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ประชากรท่ีศึกษา คือ เจ้าหน้าที่งานบ้าบัดน้าเสีย จ้านวน 3 คน คัดเลือกกลุ่ม ตัวอยา่ งโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง วธิ ดี า้ เนินการศึกษาประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลระบบบ้าบัดน้าเสีย ศึกษาข้อมูล การจัดท้าวิธีปฏิบัติงาน เขียนวิธีปฏิบัติงาน น้าวิธีปฏิบัติงานให้ผู้ปฏิบัติงานได้ศึกษา ทบทวน และปรับปรุงแก้ไข สรุปจัดท้ารายงานวิธีปฏิบัติงาน และเผยแพร่ เครื่องมือท่ีใช้ประกอบด้วยแบบการเขียนวิธีปฏิบัติงาน และแบบ ประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงาน ระยะเวลาท่ีท้าการศึกษาเดือนมกราคม-ธันวาคม 2563 วิเคราะห์ และน้าเสนอ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา วิธีวัดผล: ตัวชี้วัดท่ี 1 วิธีปฏิบัติงานมีความครอบคลุมกระบวนการท้างานที่ส้าคัญ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตัวช้ีวัดท่ี 2 ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงานข้ันต่้าอยู่ในระดับ=ดี หรือมีค่าเฉลี่ย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 และตัวช้ีวัดสุดท้าย ผลการตรวจคุณภาพน้าท้ิงทางห้องปฏิบัติการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 75 ผลการศกึ ษา: ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า มีกระบวนการด้าเนินงานที่ต้องควบคุม ดูแล และบริหารจัดการ ทั้งสนิ้ 20 กระบวนงาน การจัดทา้ วิธีปฏิบัตงิ านมี 9 ขัน้ ตอน ผลการเขียนและพัฒนาวิธีปฏิบัติงาน พบว่า สามารถ ท้าไดท้ ัง้ หมด 20 กระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐานวิธีปฏิบัติงานมีความ ครอบคลมุ กระบวนการท้างานที่ส้าคัญไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงาน พบว่า ข้อมูล ท่ัวไปเป็นเพศชายทั้งหมด อายุ 28-54 ปี เฉลี่ย 38.66 ปี (SD=13.61) มีวุฒิการศึกษาต้่ากว่าปริญญาตรีทั้งหมด ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1-5 ปี จ้านวน 2 คน และมากกว่า 15 ปี จ้านวน 1 คน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าในภาพรวม ผู้ปฏิบัติงานในระบบบ้าบัดน้าเสียมีประสบการณ์น้อยในการปฏิบัติงาน อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพการควบคุม และดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียได้ ถ้าไม่มีการควบคุมก้ากับอย่างใกล้ชิด ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงาน พบว่า อย่ใู นระดับดมี าก คะแนนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 83.33 ซ่ึงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (เกณฑ์มาตรฐานผลการประเมินข้ัน ต่้าอยู่ในระดับ=ดี หรือมีค่าเฉล่ียไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ผลการตรวจคุณภาพน้าท้ิงทางห้องปฏิบัติการผ่านเกณฑ์ มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 100 (ส่งตรวจ 4 คร้ัง ผ่านท้ัง 4 คร้ัง) (เกณฑ์มาตรฐานผลการตรวจคุณภาพน้าทิ้งทาง หอ้ งปฏบิ ัติการผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75) 10

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจา้ ปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ข้อยุติและการน้าไปใช้: วิธีปฏิบัติงานท่ีพัฒนาข้ึนมาน้ี สามารถน้าไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง ผู้ปฏิบัติหน้างาน ประเมินคุณภาพจัดอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก ส่งผลให้คุณภาพน้าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จึงเห็นควรเผยแพร่ให้กับผู้ ควบคุมและดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียของโรงพยาบาลอื่น ๆ ท่ีมีลักษณะการท้างานคล้ายคลึงกัน เพ่ือแลกเปล่ียน เรียนร้แู ละนา้ มาพฒั นาวิธกี ารปฏิบตั งิ านใหม้ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ ต่อไป คา้ ส้าคญั (keywords): วธิ ปี ฏิบตั งิ าน ระบบบา้ บัดน้าเสยี การควบคมุ และดแู ลระบบบ้าบดั นา้ เสีย โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พิษณุโลก 11

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจา้ ปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ความสา้ คญั : งานบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช โรงพยาบาลพุทธ ชินราช พิษณุโ ลกเป็น พิษณุโลก จึงได้ประชุมวิเคราะห์กระบวนการท้างาน เพื่อค้นหาสาเหตุที่ท้าให้การด้าเนินงานไม่บรรลุ โรงพยาบาลศูนย์ขนาดใหญ่ที่มีหน้าท่ีในการบริการ เป้าหมายดังกล่าว โ ดยพบว่าสาเหตุหน่ึงอาจ ผู้ป่วย ดังน้ัน การเป็นแหล่งรวมของของเสียต่าง ๆ เน่อื งมาจากลกั ษณะการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่งานบ้าบัด จึงสามารถเกดิ ข้นึ ได้ ไม่ว่าจะเป็นของเสียที่เกิดจากการ น้าเสียมีวิธีการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับ ให้บริการรักษาผู้เจ็บป่วยท่ีอาจมีเชื้อโรคปะปนอยู่ ประสบการณ์การท้างานของแต่ละบุคคล ทั้ง ๆ ที่เป็น รวมท้งั น้าเสยี ทีเ่ กดิ จากการล้างท้าความสะอาดร่างกาย ลักษณะงาน หรือกระบวนการเดียวกัน เนื่องจากยังไม่ และอปุ กรณ์ของใช้ต่างๆ ก็อาจมีเช้ือโรคและสิ่งสกปรก มีแนวปฏิบตั งิ านที่เป็นลายลักษณอ์ ักษรทช่ี ดั เจน ปนเป้ือน และอาจแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อม ภายนอกโรงพยาบาลได้1 การจัดการน้าเสียของ ผู้ศึกษาในบทบาทของหัวหน้าผู้ควบคุมและดูแล โรงพยาบาลจึงถอื เปน็ ภารกิจหลักที่ส้าคัญที่สุดประการ ระบบบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก หน่ึงของการจัดการส่ิงแวดล้อม หรือการจัดการของ จึงสนใจท่ีจะพัฒนาวิธีปฏิบัติงานให้เป็นลายลักษณ์ เสียอันตรายที่กระทรวงสาธารณสุขและสถาบันรับรอง อักษร เพ่ือให้บุคลากรของงานบ้าบัดน้าเสียทุกคนมี คุณภ าพโ รง พยาบาล ( สรพ. ) ให้ คว ามส้าคั ญ แนวปฏิบัติและการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้องไปในทิศทาง เป็นอย่างยิ่ง เพราะถ้าโรงพยาบาลมีการบริหารจัดการ เดียวกัน โดยเร่ิมตั้งแต่ข้ันตอนการน้าน้าเสียเข้ามาใน ไม่ดีอาจก่อให้เกิดผลกระทบกับชุมชน หรือระบบ ระบบลงสู่บ่อรวบรวม/บ่อสูบน้าเสีย ผ่านกระบวน นิเวศน์รอบข้างโรงพยาบาลได้ เพราะระบบบ้าบัด บ้าบัด และปล่อยน้าทิ้งออกนอกตัวระบบ ซ่ึงผล น้าเสียเป็นท่ีรวมของของเสียทั้งโรงพยาบาลในทุก การศึกษานี้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบบ้าบัด รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นอุจจาระ ปัสสาวะ เชื้อโรค น้าเสียให้มีประสิทธิภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตาม ของเหลวติดเชื้อ สารคัดหลั่ง น้ายาท้าลายเช้ือ สารเคมี ตวั ชี้วัดทก่ี ้าหนดต่อไป ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ ฯลฯ ซึ่งล้วนแต่เป็นพิษต่อ วัตถปุ ระสงค์ ส่ิงแวดล้อมท้ังสิ้น 1.เพ่ือพัฒนาวิธีปฏิบัติงานการควบคุมและดูแลระบบ บา้ บดั น้าเสยี โรงพยาบาลพทุ ธชินราช พิษณุโลก งานบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช 2.เพื่อศึกษาประสิทธิผลของวิธีปฏิบัติงานการควบคุม พิษณุโลก มีหน้าท่ีให้บริการบ้าบัดน้าเสียภาย และดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช ในโรงพยาบาล โดยครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการ พิษณโุ ลก รวบรวมน้าเสีย การบ้าบัดน้าเสียรวม การท้าลายเชื้อ ระเบียบวธิ ีวจิ ยั การก้าจัดกากตะกอน การปล่อยน้าท้ิงสู่ชุมชน รวมถึง รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาแบบปฏิบัติการ การซ่อมบ้ารุงระบบบ้าบัดน้าเสีย ทั้งนี้ เป้าหมายของ (Action research) การด้าเนินการ คือ คุณภาพน้าท้ิงด้านแบคทีเรียต้องไม่ สถานท่ีศึกษา ศึกษา ณ งานบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาล เกินมาตรฐานเลย อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์ผล พทุ ธชินราช พิษณุโลก การด้าเนินการย้อนหลัง 3 ปี ที่ผ่านมา คือ ตั้งแต่ปี ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรท่ีศึกษา คือ 2560-2562 พบว่า คุณภาพน้าทิ้งของระบบบ้าบัดน้า เจ้าหน้าท่ีงานบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช เสีย โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช พิษณุโลก มีแนวโน้มดีข้ึน พษิ ณโุ ลก ทั้งหมด จา้ นวน 3 คน แตก่ ย็ ังไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านแบคทีเรีย ที่ก้าหนด วิธีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธี ไว้ กล่าวคือ น้าท้ิงยังพบแบคทีเรีย ร้อยละ 66.67, 25 เฉพาะเจาะจง และ 50 ตามลา้ ดบั 2 12

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจา้ ปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ ผลการศึกษา 1 แบบการเขียนวธิ ีปฏบิ ัติงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลระบบบ้าบัดน้าเสีย และทบทวน 2 แบบประเมนิ คุณภาพวธิ ปี ฏิบตั งิ าน วรรณกรรมที่เก่ียวข้อง พบว่า ระบบบ้าบัดน้าเสียของ วิธีดา้ เนนิ การศกึ ษา มขี ัน้ ตอนดังน้ี โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก มีกระบวนการ 1 วิเคราะห์ข้อมูลระบบบ้าบัดน้าเสีย และทบทวน ด้าเนินงานทต่ี ้องควบคุม/ดแู ล และบริหารจัดการทั้งสิ้น วรรณกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ ง 20 กระบวนงาน ดังนี้ 2 ศึกษาข้อมูลการจัดท้าวิธีปฏิบัติงาน และทบทวน 1. การควบคมุ และดูแลบ่อรวบรวม/บ่อสบู น้าเสยี วรรณกรรมท่เี ก่ยี วข้อง 2. การควบคุมและดแู ลถังแบ่งน้าสแตนเลส 3 เขียนและพัฒนาวิธีปฏิบัติงานตามแนวทางท่ีได้ 3. การควบคมุ และดูแลถงั เตมิ อากาศ ทบทวนไว้ 4. การควบคุมและดแู ลรางรบั น้าจากถังเติมอากาศ 4 น้าวิธีปฏิบัติงานให้ผู้ปฏิบัติงาน ผู้เก่ียวข้องได้ศึกษา 5. การควบคุมและดูแลบ่อกระจายน้าเสียรวมไป ทบทวน และปรบั ปรงุ แก้ไข บอ่ กระจายนา้ เสียย่อย 5 สรุปจดั ท้ารายงานวิธีปฏบิ ตั ิงาน และเผยแพร่ 6. การควบคุมและดูแลบอ่ ตกตะกอน การเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การควบคุมและดูแลบ่อตกตะกอนไปบ่อรวม 1 การสร้างเคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ตะกอนยอ่ ย 1.1 แบบการเขียนวิธีปฏิบตั งิ าน 8. การควบคุมและดูแลบ่อรวมตะกอนย่อยจาก 1.2 แบบประเมนิ คณุ ภาพวธิ ปี ฏิบัติงาน ถังตกตะกอนไปบ่อสูบตะกอนย้อนกลบั (บอ่ รเี ทริ ์น) 2 เก็บรวบรวมข้อมูล: แบบวิธีปฏิบัติงาน และแบบ 9 . ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ดู แ ล บ่ อ ร ว บ ร ว ม น้ า ใ ส ไ ป ประเมนิ คณุ ภาพวิธีปฏิบัติงาน บอ่ เตมิ คลอรีน การวดั ผล 10. การควบคุมและดูแลบ่อเติมคลอรีนและการเติม 1 วธิ ปี ฏิบตั ิงานมีความครอบคลุมกระบวนการท้างานท่ี คลอรีน ส้าคญั ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 11. การควบคุมและดูแลบ่อเกบ็ น้าใส 2 ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงานขั้นต้่าอยู่ใน 12. การควบคุมและดูแลบ่อสูบตะกอนย้อนกลับ ระดับ=ดี หรือมีคา่ เฉลีย่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 (บ่อรีเทริ น์ ) 3 ผลการตรวจคุณภาพน้าท้ิงทางห้องปฏิบัติการผ่าน 13. การควบคมุ และดูแลถังยอ่ ยตะกอน เกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 75 14. การควบคุมและดูแลลานตากตะกอน การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง 15. การตรวจวัดคุณภาพน้าประจ้าวัน การบันทึก พรรณนา (Descriptive statistics) และการวิเคราะห์ และการแปลผล เนอื้ หา (Content analysis) 16. การตรวจวัดคุณภาพน้าประจ้าสัปดาห์ การบันทึก สถติ ทิ ีใ่ ช้ และการแปลผล ข้อมูลส่วนบุคคลใช้วิเคราะห์โดยการแจกแจง 17. การจัดเก็บตัวอย่างน้าส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ความถี่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผล ค้าแนะน้า/ข้อเสนอแนะ ใช้การวิเคราะห์เน้ือหา 18. การควบคุมและดูแลระบบไฟฟา้ (Content analysis) โดยการรวบรวมข้อมูล และ 19. การจดั เก็บและบันทึกข้อมลู ตามมาตรา 80 ถ้อยค้าท่ีไดจ้ ากการสัมภาษณม์ าแยกเป็นหมวดหมู่ แล้ว 20. การเดินระบบบา้ บดั น้าเสยี นา้ เสนอในรูปแบบของการบรรยาย 13

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจา้ ปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ผลการศกึ ษาขอ้ มลู การจดั ทา้ วธิ ีปฏิบตั ิงาน และทบทวน 7. รายละเอียดวิธปี ฏบิ ัติ : เปน็ การบรรยายข้ันตอนการ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง พบว่า มีขั้นตอนในการเขียน ท้างานที่ระบุเฉพาะงานน้ัน แบบ STEP-BY-STEP ซ่ึง ท้งั หมด 9 ขน้ั ตอน (ไมร่ วมภาคผนวก) ดงั น้ี ให้รายละเอียดมากกวา่ Procedure 1. วัตถุประสงค์ : เป็นการชี้แจงถึงจุดมุ่งหมายในการ 8. ตัวชว้ี ัด : เปน็ เครื่องมือท่ใี ช้วดั ผลการด้าเนินงานหรือ จัดท้าเอกสารเรื่องนั้นๆ เพ่ือให้ผู้ท่ีใช้งานทราบว่าจัดท้า ประเมนิ ผลการดา้ เนินงานในด้านต่างๆ ขององค์กรและ เอกสารดังกล่าวขึ้นมาเพอื่ อะไร บุคลากร ซึ่งสามารถแสดงผลของการวัดหรือการ 2. นโยบาย : เป็นแบบแผนความคิดท่ีใช้เป็นหลักยึดใน ป ร ะ เ มิ น ใ น รู ป ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ริ ม า ณ เ พื่ อ ส ะ ท้ อ น การปฏบิ ตั ิ หรือการตัดสนิ ใจ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการปฏบิ ตั ิงาน 3. ขอบเขต : เป็นการช้ีแจงให้ทราบถึงขอบเขตของ 9. เอกสารอ้างอิง : เป็นการแสดงให้เห็นถึงรายการ กระบวนการวา่ ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนใดถึงขั้นตอนใด เอกสารที่ต้องใช้ประกอบคู่กันหรือใช้อ้างอิงในการ หนว่ ยงานใด กบั ใคร ท่ใี ด และเมอื่ ใด ปฏิบัติงาน ท้ังน้ี เอกสารอ้างอิงนี้อาจเป็นเอกสารท่ี 4. ผู้รับผิดชอบ : เป็นการชี้แจงให้ทราบว่า หน่วยงาน องค์การพัฒนาข้ึนมาหรือเป็นเอกสารขององค์การอ่ืนก็ ไหน หรือใครเป็นเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายให้ ได้ ปฏิบตั ิงานน้ันๆ ผ ล ก า ร เ ขี ย น แ ล ะ พั ฒ น า วิ ธี ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม 5. ค้านิยามศัพท์ : เป็นการช้ีแจงความหมายของค้า แนวทางที่ได้ทบทวนไว้ พบว่า สามารถเขียนและ เฉพาะทใ่ี ชใ้ นเอกสาร เพ่ือส่ือความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจ พัฒนาได้ทั้งหมด 20 กระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 100 ตรงกัน ทั้งน้ี หากเป็นค้าศัพท์ซ่ึงเป็นค้าท่ีมีความหมาย (เกณฑ์มาตรฐานวิธีปฏิบัติงานมีความครอบคลุม เข้าใจตรงกันโดยทั่วไป และในเอกสารไม่ได้ใช้ใน กระบวนการท้างานที่ส้าคัญไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) ความหมายท่ีต่างออกไป คา้ ศัพท์นัน้ ไม่ตอ้ งน้ามานิยาม (ภาพท่ี 1) 6. ข้ันตอนการท้างาน : Flow Chart เป็นการใช้ สัญลักษณ์ต่างๆ ในการเขียนแผนผังการท้างาน เพื่อให้ เห็นถึงลักษณะ และความสัมพันธ์ก่อนหลังของแต่ละ ข้ันตอนในกระบวนการท้างาน ภาพที่ 1: ผลการพัฒนาวธิ ีปฏิบตั งิ านตามแนวทางทีไ่ ดท้ บทวนไว้ 14

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจ้าปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงานการควบคุมและ 2. ผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงาน ในภาพรวม ดูแลระบบบ้าบัดน้าเสีย โรงพยาบาลพุทธชินราช ผู้ตอบแบบประเมินได้ประเมินให้คะแนนเฉล่ียคิดเป็น พษิ ณุโลก ท่พี ัฒนาขน้ึ พบว่า ร้อยละ 83.33 จัดอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก (เกณฑ์ 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน จ้านวน 3 คน มาตรฐานต้องมีผลการประเมินคุณภาพวิธีปฏิบัติงาน เป็นเพศชายทั้ง 3 คน อายุอยู่ระหว่าง 28-54 ปี เฉลี่ย ขั้นต่้าอยู่ในระดับ=ดี หรือมีคะแนนค่าเฉล่ียไม่น้อยกว่า 38.66 ปี (ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน=13.61) มีวุฒิ ร้อยละ 70) ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ส้าหรับประเด็น การศึกษาต่้ากว่าปริญญาตรีท้ัง 3 คน ระยะเวลาการ ข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่า ไม่มี ปฏิบัติงานในระบบบ้าบัดน้าเสียอยู่ในช่วง 1-5 ปี ขอ้ เสนอแนะ (ตารางท่ี 1) จา้ นวน 2 คน และมากกวา่ 15 ปี จา้ นวน 1 คน ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพวธิ ปี ฏิบัตงิ านของผตู้ อบแบบประเมิน (n=3 คน) ระดับการประเมนิ หัวขอ้ การประเมนิ ดเี ดน่ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ 1. เน้อื หาสาระของวธิ ปี ฏิบตั ิงาน ถกู ตอ้ ง สมบูรณ์ ทันสมัย (5) (4) (3) (2) (1) 2. มแี นวคดิ และการน้าเสนอท่ชี ดั เจน 3. มีการแสดงข้นั ตอน/กระบวนการต่าง ๆ ในการปฏิบัตงิ านตงั้ แต่ 1 2-- - เร่มิ ต้นจนส้นิ สดุ กระบวนการอยา่ งเป็นระบบ 4. มีเอกสารอ้างองิ หรอื บรรณานุกรมครบถว้ น 1 2-- - 5. สามารถนา้ ไปปฏิบตั ิหรอื พัฒนางานในหนา้ ท่ีได้ 6. สามารถน้าไปเปน็ แหล่งอ้างองิ ได้ 2 -1- - รวม - 12- - คะแนนเฉลย่ี ได้ = คะแนนรวม x 100 = 75 x 100 - 2 -1- - 90 90 - 12 - 35 28 12 - 83.33 หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมนิ คณุ ภาพวธิ ีปฏิบัตงิ านควบคุมและดแู ลระบบบา้ บัดนา้ เสียโรงพยาบาลพทุ ธชินราช พิษณโุ ลก เกณฑ์เปรียบเทยี บคุณภาพของผลงาน เงือ่ นไข ต้องมผี ลการประเมนิ ขั้นตา้่ อยใู่ นระดบั = ดี ระดับ ช่วงคะแนน ดเี ด่น 90 - 100 % ดีมาก 80 - 89 % ดี 70 - 79 % ปรบั ปรุง 60 - 69 % ไม่ผา่ นการประเมิน ตา่้ กว่า 60 % 15

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจา้ ปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ผลการตรวจคุณภาพน้าทางห้องปฏิบัติการผ่านเกณฑ์ ขอ้ ยุตแิ ละการนา้ ไปใช้ มาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 100 (ส่งตรวจ 4 คร้ัง ผ่าน วิธปี ฏิบัติงานควบคุมและดูแลระบบบ้าบดั น้าเสีย เกณฑ์มาตรฐาน ทั้ง 4 คร้ัง) (เกณฑ์มาตรฐานผลการ ของโรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พษิ ณุโลก ท่ีพฒั นาข้ึนมาน้ี ตรวจคุณภาพน้าทิ้งทางห้องปฏิบัติการผ่านเกณฑ์ สามารถน้าไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง ผู้ปฏิบัติหน้างาน มาตรฐานไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 75) ประเมินคุณภาพจัดอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก ส่งผลให้ การอภปิ รายผล คุณภาพน้าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จึงเห็นควรเผยแพร่ ผลการวิจัย พบว่า ระยะเวลาการปฏิบัติงานใน ให้กับผู้ควบคุมและดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียของ ระบบบ้าบัดน้าเสียของเจ้าหน้าที่งานบ้าบัดน้าเสีย 3 โรงพยาบาลอื่น ๆ ท่ีมีลักษณะการท้างานคล้ายคลึงกัน คน อยู่ในช่วงเวลา 1-5 ปี จ้านวน 2 คน และช่วงเวลา เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้และน้ามาพัฒนาวิธีการ มากกว่า 15 ปี จ้านวน 1 คน นั้น แสดงให้เห็นว่าใน ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ภาพรวม ผู้ปฏิบัติงานในระบบบ้าบัดน้าเสียมี ตอ่ ไป ประสบการณ์น้อยในการปฏิบัติงาน อาจส่งผลกระทบ เอกสารอ้างอิง ต่อคุณภาพการควบคุมและดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียได้ 1.กรมควบคุมมลพิษ. (2558). ค่มู อื การจดั การน้าเสีย ถ้าไม่มีการควบคุมก้ากับอย่างใกล้ชิด และมีวิธี จากอาคารประเภทโรงพยาบาล. คน้ เมื่อ 29 กุมภาพนั ธ์ ปฏิบัติงานควบคุมและดูแลระบบบ้าบัดน้าเสียท่ีเป็น 2563, จาก https://reo16.mnre.go.th/reo16/ ลายลกั ษณอ์ กั ษร files/com_download/201507/20150723_ ผลการวิจัย พบว่า ผลการประเมินคุณภาพวิธี rmevmwzr.pdf ปฏิบตั งิ านในภาพรวมผู้ตอบแบบประเมินได้ประเมินให้ 2. โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก. (2562). คะแนนเฉล่ียคิดเป็นร้อยละ 83.33 จัดอยู่ในเกณฑ์ แบบประเมินตนเอง งานบ้าบัดน้าเสีย. ค้นเมื่อ ระดับดีมาก ทงั้ นี้เนอ่ื งจากผู้ประเมนิ ได้มีสว่ นรว่ มในการ 1 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 3 , จ า ก http://www.bud- คิด ด้าเนินงานตามกระบวนการมาต้ังแต่แรกเริ่ม และ hosp.go.th/ศูนย์คุณภาพ ปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ ีปฏบิ ตั ิงานจนเปน็ ที่ยตุ ิ จึงท้าให้ผลการ ประเมินคณุ ภาพออกมาคอ่ นขา้ งสงู ผลการวิจัย พบว่า ผลการตรวจคุณภาพน้าทาง ห้องปฏิบัติการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งนี้เพราะได้ด้าเนินการเขียนวิธีปฏิบัติงานการ เติมคลอรีนเป็นกระบวนการแรกๆ เพื่อแก้ปัญหาด้าน คุณภาพนา้ ทิ้งท่ีไม่ผา่ นมาตรฐานทางแบคทีเรียที่เกิดขึ้น โดยหลังเขียนเสร็จได้น้าไปทดลองใช้ทันที และในท่ีสุด ก็สามารถแกป้ ัญหาน้ีได้อย่างถาวร 16

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ แนวทางการบรหิ ารจดั การอัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรม: กรณีศกึ ษา โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ นิรมล ลลี าอดิศร E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ ความสาคัญ: การจัดตารางปฏิบัติการงานทันตกรรมในโรงพยาบาลร้อยเอ็ดก่อนปี พ.ศ.2559 ใช้เกณฑ์ การจัดสรรเวลาอย่างเท่าเทียมกันในทันตแพทย์ทั่วไปและทันตแพทย์เฉพาะทางโดยปฏิบัติการณ์ออกตรวจ ทันตกรรมท่ัวไป (OPD) ร้อยละ 50 ปฏิบัติการงานทันตกรรมเฉพาะทางร้อยละ 50 ทาให้พบปัญหาระยะเวลา รอคอยการรักษาในงานทันตกรรมเฉพาะทางนานกว่า 6 เดือน ถึงแม้จะเพิ่มทันตแพทย์มากข้ึนก็ยังไม่มี ความชัดเจนในการแก้ไขปัญหาน้ีได้อย่างเป็นระบบ รวมทั้งผลกระทบจากการไม่สามารถออกตรวจทันตกรรม ทั่วไปที่เกิดจากการลาหรืองานท่ีได้รับมอบหมายในทันตแพทย์ท่ีมีความสามารถในงานอ่ืนๆของโรงพยาบาล ซ่ึงทาให้เกิดความไมพ่ ึงพอใจตอ่ การทางานร่วมกันได้ การศึกษาครั้งน้ีจัดทาขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารจัดงาน ทันตกรรมเพอื่ ใช้แก้ไขปัญหาร่วมกนั ให้ตรงประเดน็ ปัญหาอยา่ งมเี หตุผลและเปน็ ระบบ วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรมท่ีเหมาะสม ให้ทันตแพทยป์ ฏบิ ัติงานตรงตามศกั ยภาพและตรงกบั ความต้องการของประชาชน รูปแบบการศึกษา: เป็นการวิจัยและพัฒนามีข้ันตอนการดาเนินงาน 4 ระยะ คือ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบัน 2) การพฒั นารูปแบบการแกไ้ ขปัญหา 3) การศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการแก้ไขปัญหา 4) การศึกษาผลจาก การใชแ้ นวทางในการแกไ้ ขปญั หา กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีศึกษาเป็นทันตแพทย์ในหน่วยงานท้ังหมด 20 คน โดยเลือกแบบ เจาะจงและมีการสารวจความพึงพอใจของทันตแพทย์ต่อแนวทางในการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ แนวทางใหม่เพื่อให้ได้ข้อมูลสภาพปัญหาปัจจุบัน แนวทางการดาเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาในการจัดอัตรากาลัง ในงานทันตกรรมที่เหมาะสมในบริบทของโรงพยาบาลศูนย์ร้อยเอ็ด ดาเนินการวิจัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2563 ใชส้ ถติ ิเชิงพรรณนาในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ผลการศึกษา: แนวทางการบริหารจดั การอัตรากาลงั ทันตแพทยใ์ นงานทนั ตกรรมท่เี หมาะสมเพ่ือให้ทันตแพทย์ กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ปฏิบัติงานตรงตามศักยภาพและตรงกับความต้องการของประชาชน ประกอบด้วย 1) ค้นหาข้อมูลสภาพปัญหาปัจจุบัน 2) จัดทาแนวทางการดาเนินงาน 3) กาหนดตารางเวลา การปฏิบัติงานโดยกาหนดตารางการทางานของทันตแพทย์ดังน้ี ทันตแพทย์ทั่วไปปีที่ 1 ออกตรวจทันตกรรม ท่ัวไป (OPD) ร้อยละ 80 ทันตกรรมเฉพาะทาง (เวรนัด) ร้อยละ 20 ทันตแพทย์ทั่วไปปีที่ 2 ออกตรวจทันตกรรม ทั่วไป ร้อยละ 60 ทันตกรรมเฉพาะทางร้อยละ 40 ทันตแพทย์เฉพาะทาง ออกตรวจทันตกรรมทั่วไป ร้อยละ 20 ทันตกรรมเฉพาะทางรอ้ ยละ 80 4)กากับตดิ ตามและประเมินผลการทางาน 17

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ข้อยุติและการนาไปใช้: แนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรมท่ีเหมาะสม ของโรงพยาบาลร้อยเอ็ดโดยค้นหาข้อมูลสภาพปัญหาปัจจุบัน จัดทาแนวทางการดาเนินงาน กาหนดตารางเวลา การปฏิบัติงานสาหรับใช้เป็นแนวทางในการให้บริการ การกากับติดตามและประเมินผลการทางานเพื่อให้ ทันตแพทย์ปฏิบัติงานตรงตามศักยภาพและตรงกับความต้องการของประชาชนโดยการจัดสรรเวลาในการทางาน ใหเ้ หมาะสมทาใหเ้ พ่มิ ปริมาณงานเฉพาะทางมากข้ึนระยะเวลารอคอยลดลงตามมาด้วยการเข้าถึงบริการที่เพิ่มข้ึน โดยไม่ต้องเพ่ิมจานวนทันตแพทย์นาไปสู่ความพึงพอใจในระดับดีมากในการทางานของทันตแพทย์เป็นส่วนใหญ่ ในกลุ่มงานทนั ตกรรม โรงพยาบาลศูนย์ร้อยเอด็ คาสาคญั : ทนั ตแพทย์ อตั รากาลงั การบริหารจดั การอตั รากาลงั ทนั ตแพทย์ในงานทันตกรรม การจดั สรรเวลา กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ 18

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ความสาคัญ: สุขภาพช่องปากมีความสาคัญมาก การเลือกรับบริการของสถานบริการของรัฐและ ต่อการดารงชีวิตท้ังในการบดเค้ียวอาหารเพื่อนาไปสู่ เอกชนมีความใกล้เคียงกัน คือ 49.6 และ 46.2 สุขภาพโดยรวมของร่างกายที่ดี อีกท้ังยังมีส่วน ตามลาดับ โดยการมารบั บริการที่สถานพยาบาลของรัฐ ในการสร้างความม่ันใจ บุคลิกภาพและการเข้าสังคม พบวา่ สถานพยาบาลระดบั ตตยิ ภูมิเชน่ โรงพยาบาลศูนย์ เพราะการสูญเสียฟันหรือมีฟันท่ีเรียงตัวไม่ดีจะมีผลต่อ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลรัฐอื่น ๆ เช่น ความสวยงามของใบหน้า การออกเสียงพูดตลอดจน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย มีผู้มารับบริการ 19.5 บุคลิกภาพ การรักษาช่องปากของบุคคลให้สะอาด ในขณะท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมีผู้มารับ ปราศจากโรคและปัญหาอ่ืนโดยการแปรงฟันและทา บริการร้อยละ 11.6 การเข้ารับบริการภาคเอกชน ความสะอาดช่องปากเป็นประจา การรักษาอนามัย เ กื อ บ ท้ั ง ห ม ด เ ลื อ ก รั บ บ ริ ก า ร ท่ี ค ลิ นิ ก ทั น ต ก ร ร ม ช่องปากสม่าเสมอเป็นส่ิงสาคัญเพ่ือป้องกันโรคของฟัน สูงถึงร้อยละ 40.8 แต่การให้บริการอนามัยโรงเรียน โรคของฟันที่พบบ่อยท่ีสุด ได้แก่ ฟันผุ โรคเหงือก มเี พียงรอ้ ยละ 31-6 รวมทงั้ เหงอื กอกั เสบและโรคปริทันต์อักเสบ กระทรวง สาธารณสุข มีการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ ในรอบ 12 เดือนของการสารวจพบการรับ ช่องปากโดยมุง่ เนน้ การบริการรักษาทางทันตกรรมและ บริการทันตกรรมท้ังส้ิน 6,258,746 ครั้ง โดยเป็น ทันตสาธารณสุขเพอื่ การส่งเสริมป้องกัน ซึ่งมีจุดมุ่งเน้น การรับบริการทันตกรรมเพ่ือการรักษาถึง ร้อยละ 83 ท่ีแตกต่างกันในโรงพยาบาลระดับต่าง ๆ โรงพยาบาล ของการรักษาทั้งหมด (5,194,759 ครั้ง) ประชาชน ศูนย์จะมีบทบาทครอบคลุมท้ังงานปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ท่ีได้รับบริการกลุ่มประเภทรักษาฟ้ืนฟูเฉพาะทาง และตติยภูมิ โดยมุ่งเน้นที่งาน ทันตกรรมระดับตติยภูมิ มีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นทุกปีท่ีสารวจ (ปีพ.ศ. 2550-2558) ตามบทบาทหน้าที่ภาระงานตามระดับโรงพยาบาล จนมีสัดส่วนมากถึง ร้อยละ 30 ในปีสุดท้ายของการ จากการสารวจข้อมูลอนามัยและสวัสดิการ 2558 สารวจ ท้ังๆที่อัตราการได้รับบริการทางทันตกรรมของ ท่ีสารวจระหว่าง มีนาคม ถึง เมษายน พ.ศ.2556 - ประชาชนค่อนข้างคงที่ โดยในปี พ.ศ. 2550 2558 โดยสานักงานสถิติแห่งชาติเก็บข้อมูลจาก ร้อยละ 8.4 พ.ศ.2556 ร้อยละ 9.5 และ ปีพ.ศ.2558 55,920 ครัวเรือน ในทุกจังหวัดท่ัวประเทศพบว่า ร้อยละ 8.1 ในส่วนการรับบริการส่งเสริมป้องกัน ประชากรไทยประมาณ 5.4 ล้านคนหรือร้อยละ 8.1 พบวา่ เพ่มิ ขนึ้ มากกวา่ รอ้ ยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูล ของประชากรทั้งหมดท่ีมีประมาณ 67.1 ล้านคน ได้รับ ปีแรกกับปีสุดท้ายของการสารวจ แต่ตรงข้ามกับ บริการทันตกรรมในช่วงเวลา 12 เดือน ก่อนการ ประชากรท่ีได้รับบริการกลุ่มประเภทรักษาข้ันพ้ืนฐาน สัมภาษณ์มีจานวนการรับบริการเฉลี่ย 0.08 คร้ังต่อปี มีสัดส่วนในปีสุดท้ายลดลงจากปีแรกเกือบร้อยละ 7 กลุ่มอายุท่ีได้รับบริการมากท่ีสุด คือกลุ่มอายุ 6-12 ปี ซึ่งสัดส่วนของกลุ่มบริการประเภทรักษาขั้นพ้ืนฐาน (รอ้ ยละ 13.5 หรือ 0.13 คร้ังต่อปี) รองลงมา คือ กลุ่ม ที่มีแนวโน้มลดลงต่อเน่ืองจาก 3 ใน 4 ในปีสุดท้าย อายุ 13 - 24 ปี (ร้อยละ8.7) กลุ่มอายุ 0 - 5 ปี ได้รับ เหลอื เพยี ง 3 ใน 55-6 บริการน้อยที่สุด (ร้อยละ 5.8) ประชากรในเขต เทศบาลรับบริการมากกว่าประชากรนอกเขตเทศบาล (ร้อยละ 9.4 และ 7.1ตามลาดับ) และไม่มีความ แตกตา่ งของประชากรทม่ี ีสทิ ธิแ์ ตกตา่ งกัน 19

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การใช้บริการสุขภาพช่องปากของวัยทางาน ในด้านบุคลากรมีการกาหนดจานวนในสถาน และผู้สูงอายุไทยโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากการสารวจ บริการไว้ทุกแห่งตามกรอบอัตรากาลัง ( FTE)10 อนามัยและสวัสดิการของสานักงานสถิติแห่งชาติ แต่ยังไม่เคยมีการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ พ.ศ. 2556 และ 2558 จานวน 57,778 และ 111,896 ในงานทันตกรรมให้มีแนวทางท่ีชัดเจนเพ่ือแก้ไขปัญหา ชุดตามลาดับ แบ่งออกเป็น 4 ช่วงวัย ได้แก่วัยทางาน การเข้าถึงบริการและลดระยะเวลารอคอยท่ีนานมาก ตอนต้น (15-29 ปี) วัยทางานตอนกลาง (30-44 ปี) ในงานทันตกรรมเฉพาะทางโดยคงงานปฐมภูมิเป็นไป วัยทางานตอนปลาย (45-59 ปี) และวัยผู้สูงอายุ ตามเกณฑ์ (ตารางที่ 1) ซ่ึงต้นทุนด้านเวลาสาหรับ (60 ปีข้ึนไป) พบว่า อัตราการใช้บริการทันตกรรม การทางานของทันตแพทย์ท่ีต้องทางานตั้งแต่งาน ในภาพรวมลดลงจากร้อยละ 9.4 (พ.ศ. 2556) เป็น ปฐมภูมิจนถึงตติยภูมิจึงมีความสาคัญมากเพราะ ร้อยละ 7.8 (พ.ศ. 2558) โดยผู้สูงอายุ 70 ปีข้ึนไปและ การจัดสรรเวลาที่ไม่เหมาะสมจะทาให้ไม่สามารถ วัยทางานตอนกลางมีอัตราการใช้บริการที่น้อยกว่า แก้ปัญหาได้ตรงประเด็นสาคัญเพราะเวลาในการ ช่วงอายุอื่นแต่ในปีพ.ศ. 2556 และ 2558 มีค่า ทางานทุกคนเท่ากันถ้าทาได้ไม่เหมาะสมกิจกรรมหนึ่ง ใกล้เคียงกันได้แก่ จานวนคร้ังเฉล่ียของการใช้บริการ จะมีผลกระทบต่อการสูญเสียเวลาให้กับกิจกรรม ทันตกรรมของผู้ที่ใช้บริการทันตกรรม คือ ปีละ1.7 ท่ีเหลือโดยมีกรอบอัตรากาลังเป็นตัวกาหนดจานวน และ 1.8 คร้ังต่อคน นอกจากน้ี ยังพบในส่วนของ ทันตแพทย์ที่สาคัญเช่นเดียวกับการจัดสรรเวลาให้การ ประชาชนที่ไม่ได้รับบริการทันตกรรมพบว่า เกือบคร่ึง จัดบริการในระดับต่าง ๆ สัดส่วนที่เหมาะสมระหว่าง (ร้อยละ 49.4) ที่ไม่ไปรับบริการโดยมีเหตุผลจากความ ประเภทบริการจะทาให้ระบบทันตสาธารณสุขและ ล่าช้าและรอนาน (ร้อยละ 28.61) โดยร้อยละ 1 เป็น ทั น ต ก ร ร ม ใ น ภ า พ ร ว ม มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ขึ้ น ไ ด้ คนที่เคยมีปัญหาสุขภาพช่องปากและจาเป็นต้องรับ เช่นเดยี วกนั บริการทางทันตกรรมแต่ไม่ได้เข้ารับการบริการ การ วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ ปรับการเข้าถึงบริการยังไม่มีทิศทางที่ชัดเจนทาให้ไม่ อัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรมที่เหมาะสมให้ สามารถพัฒนาให้การเข้าถึงบริการเพ่ิมสูงข้ึนเกินกว่า ทันตแพทย์ปฏิบัติงานตรงตามศักยภาพและตรงกับ ร้อยละ 10 ได้ 1,7-9 จึงมีความจาเป็นต้องขยายการ ความต้องการของประชาชน บริการทันตกรรมภาครัฐโดยพิจารณาศักยภาพและ ความพร้อมในทุก ๆ ด้านเช่นบุคลากร อุปกรณ์และ สถานที่ ตารางที่ 1 เกณฑ์การคานวณความตอ้ งการกาลังคนด้านสาธารณสขุ (จานวนบุคลากรสาธารณสุข : ประชากร) สายงาน ปฐมภูมิ ทตุ ภิ มู ิ ตตภิ มู ิ วิชาชพี (1) ระดบั ตน้ (2.1) ระดบั กลาง (2.2) ระดบั สูง (2.3) ระดับต้น (3) ระดับสูง แพทย์ (EX.Center) ทนั ตแพทย์ 1:15,000 1 : 7,500 เภสัชกร 1 : 10,000 1 : 75,000 1 : 50,000 1 : 62,500 1 : 250,000 พยาบาล 1 : 50,000 1 : 50,000 1 : 12,500 1 : 50000 1 : 5,000 1 : 500,000 - 1 : 15,000 1 : 500,000 - 2 : 5,000 1 : 1,000 1 : 50,000 1 : 15,000 20

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ระเบยี บวิธีวจิ ัย ระยะที่ 2 กา ห น ด แ น ว ท า ง กา รบ ริ ห า รจัด กา ร เพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลัง อัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรม กลุ่มงาน ทันตแพทย์ในงานทันตกรรมที่เหมาะสมเพื่อให้ ทั น ต ก ร ร ม โ ร ง พ ย า บ า ล ร้ อ ย เ อ็ ด มี ขั้ น ต อ น ทันตแพทย์ปฏบิ ัติงานตรงตามศักยภาพและตรงกับความ การดาเนินงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี ต้องการที่เป็นปัญหาของประชาชนที่เป็นปัญหาโดยมี 1. กาหนดกลุ่มเป้าหมายและผู้ให้ข้อมูลสาคัญ รูปแบบการวิจยั เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and ซึ่งได้แก่ทันตแพทย์ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่มงานทันตกรรม development) โรงพยาบาลร้อยเอ็ดท่ีปฏิบัติงานตั้งแต่ปี พ.ศ.2559- ประชากรเป้าหมาย 2563 ป ร ะ ช า ก ร เ ป้ า ห ม า ย ไ ด้ แ ก่ ทั น ต แ พ ท ย์ 2.นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาเอกสารการสารวจ ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด สภาพปัญหาในปัจจุบันมาสังเคราะห์เพื่อจัดทาร่าง ตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2559-2563 จานวน 20 คน แนวทางการบริหารจัดการงานทันตกรรมเพื่อแก้ปัญหา การวเิ คราะหข์ อ้ มูล จากการวเิ คราะห์ได้ วิเคราะห์ปัญหาที่ต้องการแก้ไขจากสภาพข้อมูลใน 3. นาเสนอร่างแนวทางการบริหารจัดการ ปีพ.ศ.2559 เพ่ือหาแนวการบริหารจัดการอัตรากาลัง งานทันตกรรมในการประชุมทันตแพทย์ในกลุ่มงาน ทันตแพทย์ในงานทันตกรรมให้สามารถแก้ไขปัญหาให้ ทนั ตกรรมเพ่ือประเมนิ และรับฟงั ข้อเสนอแนะ ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ ริ บ ท ข อ ง ก ลุ่ ม ง า น 4. วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยการวิเคราะห์เน้อื หา ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและตรวจความถูกต้อง 5. ปรับปรุงแนวทางการบริหารจัดการงาน ท้งั ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ และเชิงปรมิ าณ ทนั ตกรรมตามมตทิ ป่ี ระชมุ ทนั ตแพทย์ ในกลมุ่ งาน ขั้นตอนการดาเนนิ การวิจัยแบ่งการดาเนินการ 6. จัดทาแนวทางการบริหารจัดงานทันตกรรม วจิ ัย เปน็ 4 ระยะ ดงั นี้ เพ่อื นาไปทดลองใช้ตอ่ ไป ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพการทางานในปี พ.ศ.2559 ระยะที่ 3 การศึกษาการทดลองใช้แนวทางการบริหาร จากการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ในงาน จดั การงานทันตกรรม โดยมีข้ันตอนการดาเนนิ งานดงั น้ี ทันตกรรมของกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด 1. ประชุมชี้แจง เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยมีการดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี ในประเด็นที่สาคัญ ๆ ให้กับทันตแพทย์และผู้เก่ียวข้อง 1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เป็นปัญหาของ ทุกคน เก่ียวกับการนาแนวทางการบริหารจัดการ ผู้รับบริการ ผใู้ หบ้ ริการในกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาล งานทันตกรรมมาใช้ ร้อยเอ็ดและการบริการท่ีไม่ถึงเป้าหมายตามนโยบาย 2. ประเมินผลการดาเนินงานตามปัญหา กระทรวงสาธารณสุขในปีพ.ศ.2559 โดยพิจารณาปัญหา ท่ีต้องการแก้ไขด้วยวิธีการบริหารจัดอัตรากาลัง ในลาดบั แรก ทนั ตแพทยโ์ ดยการจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 2.ศึกษาเอกสารความรู้ แนวคิด ทฤษฎีและ 3. ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน การดาเนินการ งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการแก้ไขปัญหา เพ่ือสังเคราะห์ ทดลองใช้แนวทางการบริหารจัดการงานทันตกรรม เป็นกรอบเน้อื หาในการดาเนนิ การวจิ ัยคร้งั นี้ ทกุ 6 เดอื นเพือ่ ปรบั ปรุงใหต้ รงกบั บรบิ ท 3.วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยการวิเคราะห์เนอื้ หา 4. ประเมินผลการทดลองใช้แนวทางการบริหาร 4.สรุปผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาในงาน จัดการงานทนั ตกรรมแบบใหม่ ทนั ตกรรม 21

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ 5. วิเคราะห์ข้อมูล สาหรับการประเมินผลการ มีผู้ขอรับบริการเป็นจานวนมาก (300-400 รายต่อปี) ดาเนินงานตามปัญหาที่ต้องการแก้ไข นาแนวทางการ ระยะเวลาในการทางานเฉพาะทางไม่เพียงพอ บริหารจัดการงานทันตกรรมนี้มาใช้ และวิเคราะห์โดย เพราะการจัดสรรเวลาในการออกปฏิบัติการณ์ นาผลการประเมนิ มาสรุปผลแกป้ ัญหา ในงานตรวจทันตกรรมท่ัวไปและงานทันตกรรมเฉพาะ 6. สรุปผลการทดลองเมื่อใช้แนวทางการบริหาร ทางใช้เวลาเท่ากัน เราไม่สามารถเพ่ิมทันตแพทย์เฉพาะ จัดงานทันตกรรมแนวใหม่ของกลุ่มงานทันตกรรม ทางเพื่อมาแก้ปัญหาน้ีได้ทันที ดังนั้นจึงเกิดแนวคิด โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ ในการเพ่ิมเวลาในการทางานเฉพาะทางที่เป็นปัญหา ระยะที่ 4 การศึกษาผลจากการใช้แนวทางการบริหาร โดยยังคงต้องมีการให้บริการตรวจทันตกรรมท่ัวไป จัดการงานทันตกรรม กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาล ร่วมด้วย เพอ่ื แกป้ ัญหานี้จึงต้องให้เวลาในการปฏิบัติงาน รอ้ ยเอ็ดมขี ั้นตอนการกาเนินการดงั น้ี เฉพาะทางให้มากท่ีสุดในสัปดาห์เพื่อแก้ปัญหาที่วิกฤตนี้ 1.กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ทันตแพทย์ กลุ่มงาน จึงกาหนดให้ปฏิบัติงานทางด้านทันตกรรมเฉพาะทาง ทันตกรรมโรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ ในปี พ.ศ.2559-2563 เพ่ิมขึ้นเป็น 4 วันต่อสัปดาห์ (เดิม 2½ วัน) เพิ่มขึ้น 2. ประเมินผลการใช้รูปแบบแนวทางการบริหาร 30% นอกจากนี้ ยังมีงานเฉพาะทางอื่น ๆ ที่มีปัญหา จัดการงานทันตกรรมในการแก้ไขปัญหา และความ คล้ายกันเช่น งานรักษาคลองรากฟันซ่ึงมี ระยะเวลา พึงพอใจของทนั ตแพทย์ รอคอยถึง 2 ½ ปี มีทันตแพทย์ที่ออกให้บริการเพียง 3.วิเคราะห์ข้อมูล สาหรับการประเมินผลการ 1 คน นอกจากปัญหาของทันตแพทย์แล้วยังมีปัญหา ดาเนินงานตามความพึงพอใจของการใช้รูปแบบ ความล่าช้าที่มีผลกระทบจนทาให้ต้องถอนฟันออกไป แนวทางการบรหิ ารจัดงานทันตกรรม ก่อนการรักษาเพราะในระยะเวลาท่ีนานฟันท่ีต้องรักษา 4.วเิ คราะหแ์ ละสรุปผลการใชแ้ นวทางการบริหาร คลองรากฟันอาจแตกจนต้องถอน หรือฟันที่รักษา จัดการงานทันตกรรม ในการแก้ไขปญั หา คลองรากฟันเสร็จแล้วรอคิวใส่ครอบฟันซึ่งเป็นงาน ข้อพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวิจัย ของทันตกรรมประดิษฐ์ที่มีระยะเวลารอคอยนานถึง งานวิจัยน้ีได้ผ่านการรับรองการวิจัยจาก 2 ปี อาจแตกจนต้องถอนเช่นเดียวกัน สรุปปัญหา คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์โรงพยาบาล 1) ผู้ป่วย คือ ระยะเวลารอคอยเข้ารับการรักษาทาง ร้อยเอ็ด ทันตกรรมเฉพาะทางนาน 2) ทันตแพทย์เฉพาะทาง ผลการศกึ ษา มีเวลาให้การรักษาน้อย 3)ผู้บริหารไม่สามารถเพ่ิม ระยะท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันจากการบริหาร ทนั ตแพทย์เฉพาะทางเพอื่ เพม่ิ ผลงานไดท้ ันที จัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ในงานทันตกรรมของ กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลรอ้ ยเอ็ด จากข้อมูลระยะเวลารอคอยของผู้มารับบริการ พบว่างานเฉพาะทางหลายงาน ผู้รับบริการมีปัญหาการ รอคอยนานเช่นระยะเวลารอคอยในงานเฉพาะทาง ทันตกรรมประดิษฐ์ ใช้เวลาถึง 2 ปีซ่ึงเกินกว่า ท่ีกระทรวงกาหนดให้ ไม่เกิน 6 เดือน จากการประชุม กล่มุ งานทันตกรรม เพ่ือค้นหาปัญหาพบว่า เกิดจากงาน ทันตกรรมประดิษฐ์ มีทันตแพทย์ท่ีปฏิบัติงานนี้เพียง 2 คน แตป่ ริมาณงานทนั ตกรรมประดิษฐ์ 22

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ระยะท่ี 2 ผลการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ ด้านทันตกรรมเฉพาะทางทีสนใจมากข้ึนเป็น 2 วัน งานทันตกรรม กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาล ตอ่ สัปดาห์ (ตารางที่ 2) ร้อยเอ็ด การดาเนินการปรบั เปลี่ยนตารางการทางานของ จากปัญหาทันตแพทย์เฉพาะทางท่ีไม่สามารถให้ ทันตแพทย์ส่งผลให้ 1) ผลการพัฒนาแนวทางการ การรักษาผู้ป่วยทุกรายได้ในเวลาอันสั้นจนทาให้ บริหารจัดการงานทันตกรรมตามระยะท่ี2ทาให้ได้ ระยะเวลารอคอยนานและโรงพยาบาลไม่สามารถเพิ่ม แนวปฏิบัติสาหรับการบริหารจัดการอัตรากาลัง จานวนทันตแพทย์เฉพาะทางได้ในเวลาท่ีรวดเร็วจาก ทันตแพทย์ในงานทันตกรรมของกลุ่มงานทันตกรรม การวิเคราะห์ปัญหาร่วมกับการมีข้อจากัดดังกล่าวจึง โรงพยาบาลร้อยเอ็ด 2) ทันตแพทย์เฉพาะทางมีเวลา ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า จั ด ส ร ร เ ว ล า ใ ห้ คุ้ ม ค่ า ม า ก ที่ สุ ด ปฏิบัติงานตรงตามศักยภาพและตรงกับความต้องการ เพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนน้ีโดยทันตแพทย์เฉพาะทางเอง ของประชาชนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 80 ของเวลาทางาน ยังคงต้องทางานออกตรวจทันตกรรมท่ัวไปร่วมด้วย ท้ังหมด 3) หัวหนา้ กลุ่มงานมีเวลาในการกากับ ติดตาม เพราะในกลุ่มงานก็ยังมีทันตแพทย์ทั่วไปที่ปฏิบัติงาน ให้ความช่วยเหลือ (Coaching and Mentoring) และ ด้วยในจานวนท่ีไม่เพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐานของ ประเมนิ ผลการดาเนินงาน (Evaluation) ได้มากข้ึน ทันตแพทย์ต่อประชากรในงานปฐมภูมิ (ตารางท่ี 1) ระยะท่ี 3 ผลจากการศึกษาการทดลองใช้แนว การจัดสรรเวลาจึงต้องพิจารณาทั้งเวลาของ ทางการบริหารจัดการงานทันตกรรม กลุ่มงาน ทันตแพทย์เฉพาะทางและทันตแพทย์ท่ัวไปให้ ทันตกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด พอเหมาะและเหมาะสมกับศักยภาพของทันตแพทย์ จากการดาเนนิ การจัดสรรเวลาตามแนวทางใหม่ ทุกคนอีกด้วย เพราะเวลาในการทางานทุกคนเท่ากัน พบว่า สามารถเพ่ิมผลงาน (Productivity) ในงาน ถ้าทาไดไ้ ม่เหมาะสมกจิ กรรมหน่งึ จะมีผลกระทบต่อการ ทันตกรรมประดิษฐ์เพ่ิมขึ้นจนทาให้อัตรารอคอยลดลง สูญเสียเวลาให้กับกิจกรรมที่เหลือ จึงเกิดแนวทางการ จาก 2 ปี เหลือเพียง 1 ปี ในระยะเวลา 2 ปี โดยไม่ได้ แก้ปัญหา โดยการเพิ่มการจัดสรรเวลาให้เหมาะสมกับ เพิ่มจานวนทันตแพทย์ งานรักษาคลองรากฟัน ศักยภาพของทันตแพทย์แต่ละคนเพื่อแก้ไขปัญหาให้ ก็สามารถแก้ไขปัญหาได้เช่นเดียวกัน โดยระยะเวลา ตรงประเด็นจึงเลือกท่ีจะให้ทันตแพทย์เฉพาะทาง ร อ ค อ ย ล ด ล ง เ ห ลื อ 6 เ ดื อ น ต า ม ที่ ต้ อ ง ก า ร ทางานเฉพาะทางเพ่ิมขึ้นเป็น 4 วันต่อสัปดาห์ และ ดังนั้นแนวทางการจัดสรรเวลาการแนวทางใหม่นี้ ทันตแพทย์ท่ัวไปทางานทันตกรรมท่ัวไปเป็น 4วัน สามารถแก้ไขปัญหาระยะเวลารอคอยได้ซึ่งเป็นการ ต่อสัปดาห์เช่นเดียวกัน ทันตแพทย์ทั่วไปท่ีทางานครบ บรหิ ารจดั การอัตรากาลังเมื่อไม่สามารถเพ่ิมอัตรากาลัง หนึ่งปีแ ล้วต้อ งเตรี ยมตัว เ พื่อไป ศึกษา ต่อเป็ น ไดอ้ ีกดว้ ยและจะสามารถเพิม่ ผลงานได้มากขึ้น ทันตแพทย์เฉพาะทาง จึงเพิ่มเวลาในการทางาน ตารางท่ี 2 ตารางการทางานของทันตแพทย์ OPD (ร้อยละ) นัดหมาย (รอ้ ยละ) 80 20 ทนั ตแพทย์ 60 40 ทนั ตแพทย์ทวั่ ไปปฏบิ ตั ิงานปที ่ี 1 20 80 ทนั ตแพทยท์ วั่ ไปปฏบิ ัตงิ านปีที่ 2 ข้นึ ไป ทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง 23

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ถ้าสามารถเพิ่มเวลาทางานนอกเวลาราชการโดยการ ระยะที่ 4 ผลการใช้แนวทางการบริหารจัดการงาน เปดิ ให้บริการคลินิกนอกเวลารว่ มด้วย ผลการทดลองใช้ ทันตกรรม กล่มุ งานทนั ตกรรมโรงพยาบาลร้อยเอ็ด แนวทางการบริหารจัดการงานทันตกรรม กลุ่มงาน ผ ล ก า ร ใ ช้ แ น ว ท า ง ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ง า น ทันตกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด เป้าหมาย คือ ทันตกรรม กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลร้อยเอ็ด ทันตแพทย์ จากการนิเทศติดตาม พบว่า ทันตแพทย์ เมื่อประเมนิ ผลการดาเนนิ งานร่วมกบั การประเมินความ สามารถดาเนินงานได้ตามรูปแบบแนวทางการบริหาร พึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายเป็นทันตแพทย์ที่ปฏิบัติงาน จัดการงานทันตกรรม ได้เป็นอย่างดี โดยได้รับความ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2559-2563 จานวน 20 คน ผลการ ช่วยเหลือและความร่วมมือจากเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานใน ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ พ บ ว่ า ทั น ต แ พ ท ย์ มี กลมุ่ งานทันตกรรมเปน็ อย่างดีเชน่ กนั ความพึงพอใจมากที่สุดร้อยละ 28.6 มีความพึงพอใจ ส่งผลให้การบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ในงาน มากร้อยละ 42. 9 มีคว ามพึงพอใจปานกลา ง ทันตกรรมมคี วามเหมาะสมทาให้ทันตแพทย์ปฏิบัติงาน ร้อยละ 23.8 และมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุดร้อยละ 5 ตรงตามศักยภาพและตรงกับความต้องการของ (แผนภูมิท่ี 1) นอกจากน้ี ระยะเวลารอคอยใน ประชาชน งานเฉพาะทางลดลงมากเนื่องจากทันตแพทย์เฉพาะ ได้รับการจัดสรรเวลาให้ปฏิบัติงานตรงตามศักยภาพ เพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 30 ของเวลาเดิมทาให้สามารถเพิ่ม การเข้าถึงบริการได้มากยิ่งขึ้น (ตารางท่ี 3) โดยมี จานวนผ้ใู ชบ้ รกิ ารเพม่ิ มากขึน้ (ตารางที่ 4) แผนภูมทิ ี่ 1 ผลการสารวจความพงึ พอใจของทันตแพทย์ Prosth Sur Endo Perio Fix Remove ตารางที่ 3 ระยะเวลารอคอยของคนไข้ 1 13 1 0 ปี พ.ศ. 217 269 0 158 105 จานวนทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง 2561 จานวนคนไขใ้ นควิ 12 12 0 12 12 ระยะเวลารอคอย (เดอื น) 1 13 2 1 จานวนทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง 2562 จานวนคนไขใ้ นควิ 242 181 0 67 86 ระยะเวลารอคอย (เดอื น) จานวนทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง 16 13 0 6 6 2563 จานวนคนไขใ้ นควิ ระยะเวลารอคอย (เดอื น) 1 22 2 1 จานวนทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทาง 2564 จานวนคนไขใ้ นควิ 115 181 0 67 86 ระยะเวลารอคอย (เดอื น) 18 14 12 12 4 1 22 2 1 300 200 400 93 40 20 14 24 12 4 24

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ตารางที่ 4 จานวนผรู้ ับบริการ โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล 27,845 35,020 ปงี บประมาณ 23,450 43,676 2559 37,382 35,614 2560 32,780 38,273 2561 29,073 29,298 2562 8,141 14,222 2563 2564 อภิปรายผล จากผลการศึกษาพบว่า ในปี พ.ศ.2559 การจัดการ ง า น วิ จั ย นี้ เ ป็ น ง า น วิ จั ย แ ร ก ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ออกปฏิบัติการณ์ในโรงพยาบาลส่วนใหญ่รวมทั้ง โรงพยาบาลร้อยเอ็ดจัดความรับผิดชอบต่อการทางาน การจัดสรรเวลาในการทางานของทันตแพทย์เน่ืองจาก ทันตแพทย์ท่ัวไปและทันตแพทย์เฉพาะทางเท่ากัน คือ ท่ีผ่านมาพบปัญหาในการทางานท่ีไม่สามารถแก้ไข ออกตรวจทันตกรรมทั่วไป ร้อยละ 50 ปฏิบัติการงาน ในประเด็นสาคัญ คือ อัตราการเข้าถึงบริการให้เพิ่มขึ้น ทันตกรรมเฉพาะทาง ร้อยละ 50 เช่นกัน พบว่า ได้ซึ่งกระทรวงเคยพยายามแก้ไขด้วยการเพิ่มจานวน ระยะเวลารอคอยในงานเฉพาะทางทันตกรรมประดิษฐ์ ทันตแพทย์แลว้ กต็ าม แนวทางนี้ จึงน่าจะเป็นแนวทาง นาน 2 ปี และระยะเวลารอคอยในงานรักษาคลอง ต่อมาที่ต้องทาเพื่อให้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในเรื่องระยะเวลา รากฟนั นาน 2 ½ ปี ซึ่งเป็นปัญหาจากการสารวจข้อมูล รอคอยที่นานเกินไป ในงานทันตกรรมเฉพาะทางได้รับ ค ว า ม ไ ม่ พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ รั บ บ ริ ก า ร ท่ี มี ปั ญ ห า เ รื่ อ ง การแก้ไขได้ตรงจุดซ่ึงจะนามาสู่อัตราการเข้าถึงบริการ ระยะเวลารอนานเป็นลาดับแรก11 ซ่ึงสอดคล้องกับ ท่ีเพ่ิมขึ้นได้ตลอดจนทันตแพทย์ผู้ปฏิบัติงานสามารถ ผลจากการสารวจโดยแบบสอบถามระยะเวลารอคอย ทางานได้ตรงศักยภาพของตัวเองมากย่ิงขึ้นและ ในโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลท่ัวไป 56 แห่ง สามารถบริหารจัดการเวลาในการปฏิบัติงานของแต่ละ ของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปทั้งประเทศ บุคคลได้เองอีกด้วย โดยมีเป้าหมายผ่านเกณฑ์ของงาน พบว่า ระยะเวลารอคอยเฉล่ียในแต่ล่ะสาขาดังน้ี ท่ีรับผิดชอบ ทันตแพทย์สามารถบริหารจัดการตนเอง 1 ) ส า ข า ทั น ต ก ร ร ม หั ต ถ ก า ร 3 . 3 5 เ ดื อ น ได้ในงานทันตกรรมเฉพาะทางหรือเวรนัด โดยต้องไม่ 2) ปริทันตวิทยา 5.51 เดือน 3) รักษาคลองรากฟัน กระทบกับตารางส่วนร่วมในตารางเวรออกตรวจ 9.48 เดือน 4)ทันตกรรมประดิษ์ชนิดถอดได้ ทันตกรรมทั่วไป (OPD) จึงนามาสู่ความพึงพอใจ 8.64 เดือน 5) ทันตกรรมประดิษ์ชนิดติดแน่น ที่สูงมากของทันตแพทย์ในระบบงาน เพราะมีความ 11.51 เดือน 6) ศัลยศาสตร์ช่องปาก 3.6 เดือน ชัดเจนของระบบการทางานร่วมกับมีการจัดสรรเวลา 7) ศัลยศาสตร์ช่องปากและ Maxillofacial 3.25 เดือน ก า ร ท า ง า น ใ ห้ ต ร ง กั บ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ทั น ต แ พ ท ย์ 8) ทันตกรรมสาหรับเด็ก 3.3 เดือน 9) ทันตกรรม ภายใต้กรอบอัตรากาลัง เม่ือระยะเวลารอคอยน้อยลง จัดฟัน 13.06 เดือน 10) ทันตกรรมรากเทียม นาไปสู่ความพึงพอใจของผู้รับบริการและยังได้รับ 1.74 เดอื น12 ประโยชน์ในการรักษาโรคได้ทันท่วงทีมากย่ิงข้ึน ในส่วนผู้บริหารก็สามารถมองภาพรวมในการพิจารณา แผนอัตรากาลังทันตแพทย์ในโรงพยาบาลให้สอดคล้อง ไปกับภาระงานท่ีเป็นบริบทของโรงพยาบาลศูนย์ ได้อกี ด้วย1,9 25

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ นอกจากน้ี การจัดตารางปฏิบัติการงานทันตกรรม นอกจากนัน้ ผบู้ รหิ ารโรงพยาบาลยงั สามารถนาขอ้ มูลมา ในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด ก่อนปี พ.ศ.2559 ใช้เกณฑ์ วิเคราะห์เพ่อื วางแผนอัตรากาลังทันตแพทย์ได้ล่วงหน้า ความเท่าเทียม คือ ตารางการออกตรวจทันตกรรม อยา่ งเปน็ ระบบ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาระงานที่จะเพ่มิ ขน้ึ ได้ ทั่วไปและงานทันตกรรมเฉพาะทางของทันตแพทย์ จากตารางท่ี 1 การกาหนดสัดส่วนทันตแพทย์ต่อ ท่ัวไปและทันตแพทย์เฉพาะทางเท่ากันโดยไม่ได้ ประชากรในงานปฐมภมู ิ 1:125,000 ประชากรในความ คานึงถึงศักยภาพของทันตแพทย์ท่ัวไปและทันตแพทย์ รับผิดชอบโดยตรงของอาเภอเมืองร้อยเอ็ด15 จากการ เฉพาะทางให้เหมาะสมกับเวลาในการทางานราย สารวจสามะโนประชากรของกระทรวงมหาดไทย สัปดาห์ ทาใหพ้ บปญั หาระยะเวลารอคอยการรักษาใน ในปี พ.ศ. 2563 มีจานวน 15,8941 คน จึงควรมี งานตติยภูมินานกว่า 6 เดือน ไม่สามารถแก้ไขได้ ทันตแพทย์รับผิดชอบงานปฐมภูมิ13 (12.7) คน รวมท้งั ปัญหาการไม่ได้มาออกตรวจท่ัวไปท่ีเกิดจากการ โดยอัตรากาลังทนั ตแพทย์ของโรงพยาบาลศูนย์ร้อยเอ็ด ล า ห รื อ ง า น ท่ี ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ใ น ทั น ต แ พ ท ย์ ที่ มี ถูกกาหนดให้มีได้ 18-22 คน ตามกรอบอัตรากาลัง10 ความสามารถในงานอื่นๆของโรงพยาบาลเป็นต้นทาให้ ทาให้เห็นว่าควรจัดสรรทันตแพทย์ที่ทางานปฐมภูมิ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีเหตุผลร่วมกันได้ 13 อัตราและทันตแพทย์เฉพาะทาง 9 อัตรา ดังน้ันกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลร้อยเอ็ดจึงได้ ซึ่งไม่สอดรับกับบริบทของโรงพยาบาลศูนย์ท่ีควรมี จัดทาแนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลังทันตแพทย์ บทบาทในงานเฉพาะทางมากกว่างานปฐมภูมิเพื่อ ในงานทันตกรรมให้มีแนวทางท่ีชัดเจน ต้ังแต่ปี 2559- รองรับการเป็นแม่ข่ายการให้บริการในระบบเครือข่าย 2563 โดยจาแนกงานออกเป็น 2 ประเภท คือ การให้บริการ (Service plan) ของนโยบายกระทรวง 1) งานสง่ เสริมป้องกันและงานบริการข้ันพื้นฐานทั้งเชิง สาธารณสุขตลอดจนควรเป็นศูนย์ความเป็นเลศิ ที่ต้องมี รับและเชิงรุกเป็นงานท่ีจัดสรรเวลาในส่วนตาราง ทันตแพทย์เฉพาะทางมากยิ่งขึ้นซึ่งกรอบอัตรากาลัง ปฏบิ ัติการงานทันตกรรมเป็น การออกตรวจทันตกรรม 22 อัตรา ในปัจจุบันเป็นอัตราสูงสุดจึงต้องบริหาร ทั่วไป (OPD) ซึ่งมุงเน้นให้ทันตแพทย์ทั่วไปปฏิบัติงาน จัดการอตั รากาลงั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุดสอดรบั กบั ภาระ ในส่วนน้ีเป็นหลัก และ 2)ทันตกรรมเฉพาะทาง งานท่ีโรงพยาบาลศูนย์ควรมีให้ได้ภายใต้เงื่อนเวลา ก็เช่นเดียวกันโดยมุ่งเน้นให้มีเวลาเพ่ิมขึ้นในการทางาน ทเ่ี ท่ากันอีกด้วยจึงเกดิ แนวคดิ การกาหนดภาระงานตาม เฉพาะทาง เมื่อดาเนินการตามแนวทางใหม่แล้วพบว่า ศักยภาพของทันตแพทย์ภายใต้เงื่อนไขเวลาท่ีเท่ากัน ทันตแพทย์ผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจในระดับมากถึง ออกมาเป็น 3 กลุ่มตามตารางท่ี 2 ซึ่งจะพบว่า มากที่สุด รวมกันถึงร้อยละ 71.59 เพราะเกิดการ ทันตแพทย์เฉพาะทาง4คนได้ใช้เวลาช่วยในการทางาน จัดสรรเวลาอย่างมีระบบเพ่ือแก้ไขปัญหาการให้บริการ ของทนั ตแพทยท์ ว่ั ไปแทนทันตแพทย์ทวั่ ไป 1 คน ดงั นัน้ ได้ตรงประเด็นปัญหาและตรงศักยภาพของทันตแพทย์ ทนั ตแพทย์เฉพาะทาง 9 คน จงึ ทางานทันตกรรมท่ัวไป เองตลอดจนทันตแพทย์ทุกคนสามารถบริหารจัดการ แทนทันตแพทย์ทั่วไป 2 คน จึงลดทันตแพทย์ท่ัวไป เวลาในการทางานท่ีได้รับมอบหมายและจัดสรรเวลา ลงได้ 2 คน โดยยังคงมาตรฐานความรับผิดชอบงาน ได้ภายใต้ความรับผิดชอบของตัวเองไม่กระทบเพื่อน ทันตกรรมท่ัวไปได้ตามกระทรวงกาหนดได้ด้วยจาก ร่วมงานทาใหท้ กุ คนทางานอยา่ งมีความสุขเป็นผลให้ค่า แนวคิดนี้แผนอัตรากาลังจึงเปลี่ยนไปภายใต้กรอบ Happy Index ของกลุ่มงานทันตกรรมอยู่ในระดับสูง อตั รากาลังสูงสดุ เดิม (22 คน) ทันตแพทยท์ ่วั ไปจึงลดลง (89.8) จากการสารวจของงานวิชาการโรงพยาบาล เหลือ 11 คนทันตแพทย์เฉพาะทางเพ่ิมขึ้นเป็น 11 คน ร้อยเอ็ด เกิดความสามัคคีและการทางานเป็นทีม ในกรอบทันตแพทย์เฉพาะทางใหม่น้ี สามารถบริหาร ไดด้ ยี ิ่งขึน้ 13-14 จดั การทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทางสาขาตา่ งๆได้โดยสามารถมี ทนั ตแพทยเ์ ฉพาะทางไดค้ รบทกุ สาขา 16 26

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ แต่บางสาขาโรงพยาบาลร้อยเอ็ดยังไม่สามารถมี ในค่ามาตรฐานของเวลางานในหัตถการแต่ละประเภท บุคลากรด้านนั้นๆได้เช่นสาขาที่ขาดแคลน ทันตกรรม ตามการคานวณ P4P17 เช่นบางโรงพยาบาลมรี ะยะเวลา บดเคยี้ วและความเจ็บปวดชอ่ งปากใบหน้าและสาขาที่มี รอคอยของงานผา่ ฟนั คดุ นานถงึ 1 ½ ปี โดยมีคิวท้ังหมด จานวนน้อยเช่นทันตกรรมหัตถการจึงสามารถนา 300 คน แบ่งเป็นคิวสะสม 100 คน และคิวในปีน้ัน ๆ อัตรากาลงั ในสว่ นนมี้ าเพม่ิ ในสาขาทมี่ ีภาระงานมากหรอื 200 คน ทันตแพทย์ศัลยศาสตร์ไม่สามารถทาให้คิว ระยะเวลารอคอยนานเช่นสาขาศลั ยศาสตรช์ ่องปากและ ลดลงได้ด้วยอัตรากาลังในปัจจุบัน ดังน้ันถ้าต้องการให้ สาขาทันตกรรมประดิษฐ์เปน็ ต้นนอกจากนี้โรงพยาบาล ควิ ลดลงจงึ จาเป็นต้องคานวณหาผลงานของทนั ตแพทย์ ร้อยเอ็ดเป็นโรงพยาบาลในแผนงานศูนย์ความเป็นเลิศ ที่จะทาได้ร่วมกับวิเคราะห์ภาระงานโดยดูเวลาในการ ทางสขุ ภาพชอ่ งปาก 3 สาขา ไดแ้ กส่ าขาทารกปากแหว่ง ทางานในเวลาราชการซ่ึง มีจานวน 52 สัปดาหใ์ นหนง่ึ ปี เพดานโหว่ มะเร็งช่องปากและผู้สูงอายุจากข้อมูล ประกอบกบั ขอ้ มลู ระยะเวลาในการทาหัตถการผ่าฟันคดุ อัตรากาลังทั้ง 3 ศูนย์ โรงพยาบาลร้อยเอ็ดจึงควรมี โดยเฉล่ียใช้เวลา 45 นาทีและเวลาตรวจให้คาแนะนา อัตรากาลังเป็น 35 คนซ่ึงอยู่ในแผนอัตรากาลัง 20 นาทีเวลาทาความสะอาดและเตรียมห้องปฏบิ ัติการ (Blue Print) ของเขตสขุ ภาพท่ี 7 ซง่ึ เปน็ แผนอัตรากาลงั อีก 15 นาที ดังน้ัน 1 วันสามารถทาหัตถการผ่าฟันคุด ในอนาคตเมื่อคานวณจาก 35 คน โดยคงไว้ในส่วน ไดป้ ระมาณ 5 คนตอ่ วนั ถงึ แม้ทนั ตแพทย์เฉพาะทางจะ ทันตแพทย์ทั่วไปในงานปฐมภูมิตามมาตรฐาน มีเวลาในการทางานเฉพาะทาง 4วันต่อสปั ดาหก์ ต็ าม แต่ ที่กระทรวงกาหนด จึงต้องมีทันตแพทย์ท่ัวไป 13 คน ทันตแพทย์มักจะมีภารกิจอ่ืน ๆ นอกเหนือจากงาน ส่วนจานวนท่ีเหลือเป็นทันตแพทย์เฉพาะทาง 22 คน ให้บริการได้ร้อยละ 1518ของเวลางานตามท่ีกระทรวง ซ่งึ สามารถทางานทันตกรรมท่วั ไปแทนทนั ตแพทยท์ ั่วไป กาหนด17 แต่บทบาทของโรงพยาบาลศนู ย์ยังมีภาระงาน ได้ 5 คน ตามแนวทางจดั สรรเวลาการทางานใหม่ ดังน้นั ด้านการเรียนการสอนนักเรียนและการเพิ่มศักยภาพ จากภาระงานดังกลา่ วทาใหส้ ามารถลดทันตแพทยท์ ่วั ไป ให้แก่โรงพยาบาลลูกข่าย (Node) อีกด้วยรวมทั้งมีงาน ลงได้ 5 คนและนามาเพ่ิมเติมในส่วนทันตแพทย์เฉพาะ รักษาอ่ืนๆอีกด้วย ดังนั้นเวลาในการทางานด้านการผ่า ทางได้ 5คนเช่นเดียวกัน ทาให้เกิดแผนอัตรากาลัง ฟันคุดอาจเหลือเว ลาเพียง1 -2 วันต่อสัปดาห์ ทันตแพทย์ทั่วไปเป็น 9 คน และทันตแพทย์เฉพาะทาง เพราะฉะนนั้ หนงึ่ ปี มี 52 สัปดาหจ์ งึ สามารถมีผลงานผ่า เป็น 26 คน ซ่ึงอัตรากาลังทันตแพทย์ท่ัวไป 9 คนนี้ ฟันคุดได้ประมาณ 260 คนซึ่งถ้าเป็นเช่นนี้จึงควรรับ ผูบ้ รหิ ารสามารถมอบหมายให้รบั ผิดชอบงานใน รพ.สต. ทนั ตแพทย์ศัลยศาสตร์เพมิ่ ข้ึน1คน จากภาระงานเดิมที่ ได้ตามมาตรฐานอัตรากาลังปฐมภูมิทันตแพทย์ คงค้าง 100 คนและภาระงานใหม่ท่ีเพ่ิมข้ึนทุกปีอีก 1:5 รพสต. อาเภอเมืองร้อยเอ็ด มีรพ.สต. 20 แห่ง ประมาณ 200 คน ทันตแพทย์ใหม่ท่ีรับเพ่ิมจึงควรจะ จึงสามารถมีทันตแพทย์ทั่วไปรับผิดชอบงานในรพ.สต. สามารถแก้ไขปัญหาคิวการรอคอยลงไดใ้ น1ปี และในปี ได้ 4 คน ตามเกณฑ์ จากแผนอัตรากาลังดังกล่าว ถัดไปคิวคงค้าง จะเหลือเพยี ง 40 คนร่วมกับผู้ป่วยใหม่ ผู้บริหารยังสามารถพิจารณาจะรับทันตแพทย์เพ่ิม อีก 200 คน ดังน้ันในปีท่ี 2 ในการทางานจะพบว่า หรือไม่และเป็นทันตแพทย์ทั่วไปหรือทันตแพทย์เฉพาะ ผปู้ ว่ ยผา่ ฟนั คดุ สามารถไดร้ บั การรกั ษาไดเ้ ลยโดยไมม่ คี วิ ทางสาขาใดในช่วงเวลาน้ันได้จากภาระงานท่ีต้องการ ใหเ้ พมิ่ ขน้ึ เชน่ ศนู ย์ความเป็นเลศิ หรอื ภาระงานท่มี ีปัญหา ระยะเวลารอคอยได้อีกด้วย ในการพิจารณาว่าควรรับ ทันตแพทย์เพิ่มจากภาระงานสามารถนามาคานวณได้ โดยใช้ระยะเวลาที่ใช้ในการทาหัตถการนั้น ๆ 27

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ จากแนวคิดดังกล่าว สามารถนามาใช้กับงาน ข้อจากัดของงานวิจัยคร้ังนี้ เน่ืองจากผู้วิจัยไม่ได้สารวจ ทกุ ๆงานได้เชน่ กนั งานทันตกรรมประดษิ ฐก์ เ็ ชน่ เดียวกัน ความพึงพอใจของผู้ป่วยท่ีใช้บริการ อีกทั้งการสารวจ จากการสารวจระยะเวลารอคอยของงานทันตกรรม ความสขุ ในการทางาน (Happy Index) ของโรงพยาบาล ประดิษฐ์ในโรงพยาบาลร้อยเอ็ดพบว่ามีระยะเวลารอ ร้อยเอ็ดไม่ได้มีการสารวจทุกปีแต่ผลจากการดาเนนิ การ คอย 2 ปี มีผู้ป่วยในระยะเวลารอคอย 270 คนและมี ทีผ่ ่านมาจะเห็นว่าทนั ตแพทย์มีความสุขจากการทางาน คนไข้ใหม่ทุกปีประมาณ 120 คนต่อปี ปริมาณงานการ มากขึ้นประชาชนสามารถเข้าถึงบริการมากขึ้นโดยไม่ได้ ให้บริการฟันเทียมพระราชทานพบว่าในปี 2563 ทาได้ ศึกษาเปรียบเทียบในประเด็นดังกล่าวเพ่ือให้เห็น ถึง 130 คนในขณะท่ีมีทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาน้ี ประโยชน์ให้ชัดเจนข้ึนจึงควรมีการดาเนินการศึกษา เพียง 1 คน ผู้ป่วยในระยะเวลารอคอยไม่ลดลง จึงเป็น ประเดน็ ตา่ งๆเหลา่ นเี้ พม่ิ เตมิ ในครง้ั ต่อไป เหตุผลตอ้ งมที ันตแพทย์เฉพาะทางสาขาน้ีเพิ่มอีก 1 คน ข้อยตุ ิและการนาไปใช้ เม่ือรับทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมประดิษฐ์ งานวิจัยนี้ เป็นงานวิจัยแรกที่เกี่ยวข้องกับการ มาเพิ่มอีก 1 คน จะให้บริการทาฟันเทียมพระราชทาน จัดสรรเวลาในการทางานของทันตแพทย์ซึ่งจะทาให้ เพิ่มข้ึนประมาณ 70 - 80 คนต่อปี และในส่วนของ เกี่ยวเน่ืองมาถึงการบริหารจัดการอัตรากาลังตลอดจน ทันตแพทย์ท่ัวไปท่ีควรจะรับเพ่ิมอีก 4 คนให้ครบทุก ผลงาน (Productivity) ซึ่งจะนาไปสู่ข้อตกลงตลอดจน PCU ในปี 2564 ซ่ึงน่าจะให้บริการในการทาฟันเทียม การทางานให้ได้ตามที่ผู้บริหารต้องการและผลงานท่ี พระราชทานได้รวมกันประมาณ 60 - 70 คนซึ่งทาให้ ควรได้จะสามารถใช้เป็นหลักการในการพิจารณารับ ในปี 2563 ระยะเวลารอคอยควรลดลงเหลอื 14 เดือน ทันตแพทย์เพิ่มอย่างมีเป้าหมาย เพื่อแก้ไขระยะเวลา และในปี 2566 ควรมีระยะเวลารอคอยไม่ถึง 6 เดือน รอคอยที่นานเกินกว่าท่ีหน่วยงานกาหนดในสาขา ต่อไปได้ นอกจากน้ีในงานปฐมภูมิซ่ึงมีผู้รับผิดชอบ ท่ีเป็นปัญหา เป็นต้น การเพิ่มเวลาการทางาน โดยตรงในทุก ๆ PCU ก็จะทาให้งานด้านน้ีสามารถเพิ่ม ให้ทันตแพทย์ฉพาะทางได้ตามศักยภาพทาให้ลด การเข้าถึงบริการและยกระดับการให้บริการได้ดีขึ้น ระยะเวลารอคอยในงานเฉพาะทางลดลง ทันตแพทย์ การปรับการเข้าถึงบริการถ้ายังไม่มีทิศทางท่ีชัดเจนจะ มีเวลาทางานตามศักยภาพมากข้ึนส่งผลให้ผลงาน ทาให้ไม่สามารถพัฒนาให้เพ่ิมสูงขึ้นเกินกว่าร้อยละ 10 เพ่ิมข้ึน รายได้ของโรงพยาบาลมากข้ึนและทาให้อัตรา ไดต้ ามขอ้ มลู ทส่ี ารวจ รวมทงั้ ยังใช้ในการนามาหาขอ้ มูล เข้าถึงบริการเพ่ิมข้ึนตามมา นอกจากนั้น ยังเป็น ตน้ ทุน (unit cost )และความคุม้ ค่าในการมีทันตแพทย์ แนวทางท่ีผู้ปฏิบัติทั้งทันตแพทย์ทั่วไปและทันตแพทย์ ในระบบราชการได้ต่อไป1,5,7 ผลการดาเนินการจัดสรร เฉพาะทางสามารถบริหารจัดการงานได้ด้วยตัวเอง เวลาเพิ่มในบริการทันตกรรมเฉพาะทางทันตกรรม ภายใต้ข้อกาหนดในงานอย่างชัดเจนและเป็นระบบทา ประดิษฐ์พบว่าประชาชนเข้าถึงบริการมากข้ึนโดยในปี ให้ทันตแพทย์มีความพึงพอใจในการทางานมาก จึงมี พ.ศ. 2560 มีจานวนผ้ปู ว่ ยได้รบั บรกิ าร 88 ราย ปี พ.ศ. Happy index สูงน่าจะเพ่ิมการคงอยู่ในระบบราชการ 2561 มีจานวน 258 ราย ปี พ.ศ. 2562 มีจานวน ได้ยาวนานข้ึนซึ่งควรศึกษาต่อไป จากแนวทางน้ี 154 ราย จานวนผู้ป่วยลดลงเน่ืองจากผลกระทบของ ผู้บริหารสามารถใช้เป็นแนวกาหนดแผนอัตรากาลังให้ โรคโควิด 19 ในปี พ.ศ. 2563 มีจานวน 172 ราย ชัดเจนตามแผนภาระงานได้ดีย่ิงขึ้น ดังนั้นจึงหวังว่า เพมิ่ ข้ึนจากปี พ.ศ. 2562 เน่อื งจากมีจานวนทันตแพทย์ แนวทางการบริหารจัดการอัตรากาลงั ทนั ตแพทย์ในงาน เฉพาะทางเพิ่มขึ้น 1 คน จะเห็นว่าผลจากการจัดสรร ทันตกรรมตามแนวทางของโรงพยาบาลร้อยเอ็ดจะเป็น เวลาทาให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการมากขึ้นซ่ึงคาดการณ์ได้ว่า ประโยชน์สามารถนาไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของ ผู้ป่วยน่าจะมีความพึงพอใจในระยะเวลารอคอยท่ี โรงพยาบาลอื่นๆไดอ้ กี ต่อไป นอ้ ยลง 28

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ เอกสารอา้ งอิง 8. วรมน อคั รสุต. การใชบ้ ริการทันตกรรมในกลุ่มวยั 1. วรารัตน์ ใจช่นื . การเข้าถึงบริการทนั ตกรรมประเภท ทางานและผู้สูงอายุไทยจากการสารวจอนามยั และ ต่างๆ ของประชากรไทย. วารสารวจิ ัยระบบ สวสั ดิการ พ.ศ. 2556 และพ.ศ. 2558. วารสารทนั ต สาธารณสุข. 2561: ปที ่ี 12ฉบับที่ 4 ตลุ าคม- สธ. 2561:ปีที่ 23 ฉบับท1ี่ ม.ค.-ม.ิ ย:26–37. ธนั วาคม:636–44. 9. วรารตั น์ ใจชนื่ . ประเด็นท้าทายของระบบสุขภาพ 2. สานกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั . รายงานผลการ ตามเจตนารมณ์สาธารณสุขมูลฐาน: บทสงั เคราะห์ สารวจสภาวะสุขภาพชอ่ งปากแหง่ ชาติครง้ั ท่ี 8 ประเทศ ขอ้ เสนอการพัฒนาระบบการดแู ลสุขภาพชอ่ งปากของ ไทย พ.ศ. 2560. นนทบรุ ี; พมิ พค์ รงั้ ที่ 1; พมิ พท์ ี่ บริษัท ประชากรไทย. วารสารวจิ ัยระบบสาธารณสุข. 2563: ปี สามเจริญพาณชิ ย์ (กรุงเทพ) จากัด: 2561. ที่ 14ฉบบั ท่ี 3 กรกฎาคม-กันยายน:227–42. 3. บทสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร การสารวจอนามัยและ 10. เอกสารเผยแพร่แนวทางการจดั กรอบอัตรากาลัง สวัสดิการ พ.ศ. [Internet]. ryt9.com. [cited 2021 ตามโครงสร้างของรพศ/รพท กลุม่ บริหารงานบุคคล. Jun 7]. Available from: https://www.ryt9.com/ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 14 มิ.ย.2560 .สธ s/nso/2323558 0201.032/ว1707. 4. บญุ เอ้อื ยงวานิชาการ, บุญเรอื ง แก้วขนั ดี, วราภรณ์ 11. เอกสารประชุมตรวจราชการครั้งท่ี1 งานทันตกรรม จริ ะพงษา, ผุสดี จนั ทร์บาง. สถาณการณ์การดแู ลช่อง โรงพยาบาลรอ้ ยเอ็ด เขตสุขภาพที่ 7 ประจาปี 2559. ปากและการใชบ้ รกิ ารทันตกรรมของประชาชน. วิทยา 12. เกศยา ทรัพยส์ มพล รายงานการประชุมชมรมทันต สารทันตสาธารณสขุ 2544: ปีที่ 6 ฉบับท่ี 2 กรกฏาคม- แพทย์ รพศ. รพท. คร้งั ที่ 1 วันท่ี 12 ต.ค. 2560. ธนั วาคม:105–18. 13. ชไมพร ทมิ เรืองเวช. ผลการศกึ ษาดชั นีชี้วดั ความสุข 5. วริศา พานิชเกรยี งไกร, กัญจนา ติษยาธคิ ม, จฬุ า รพ.ร้อยเอ็ด. นักสร้างสขุ องค์กร จ.รอ้ ยเอ็ด ปี 2561 ภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, องั คณา สมนัสทวีชัย, สุพล ลมิ 14. 135Happy MOPH-Horse roiet.pdf [Internet]. วฒั นานนท์. การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย: [cited 2021 Jun 12]. Available from: ผลจากการสารวจอนามยั และสวัสดกิ าร พ.ศ. 2558. http://203.157.184.6/bookalakorn/ วารสารวิจัยระบบสาธารณสขุ 2560: ปีท่ี 11 ฉบบั ที่ 2 fileupload/135Happy%20MOPH-Horse% เมษายน-มถิ นุ ายน:170–81. 20roiet.pdf. 6. เรงิ สิทธ์ิ นามวชิ ัยศริ ิกุล, นารรี ัตน์ ผุดผอ่ ง, วริศา 15. เอกสารประชมุ ตรวจราชการคร้งั ที่1 จังหวัดร้อยเอด็ พานชิ เกรียงไกร. การวเิ คราะหก์ ารใช้บรกิ าร ทนั เขตสขุ ภาพท7่ี ประจาปี 2563. ตกรรมของประชาชนไทย กบั นโยบายทนั ตสาธารณสขุ 16. รายงานกานประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ ในช่วงทศวรรษท่ผี า่ นมา. วาวรสารทนั ตขอนแกน่ 2561: บริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปากครงั้ ท่ี2/2563 25 ปีท่ี 21 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม-ธนั วาคม:178–88. สงิ หาคม 2563. 7. การใชบ้ รกิ ารทนั ตกรรมของคนไทย: แนวโนม้ เพ่ือ 17. คมู่ ือการจ่ายคา่ ตอบแทนตามผลการปฏิบตั งิ าน รกั ษามากกวา่ ป้องกัน [Internet]. Hfocus.org เจาะลกึ (P4P)โดยคณะทางานจัดทา คูม่ ือการจา่ ยค่าตอบแทน ระบบสขุ ภาพ. [cited 2021 Jun 14]. Available ตามผลการปฏิบัตงิ าน หน้า97-98(129). from: https://www.hfocus.org/ 18. พุดตาน พันธุเณร และคณะ. การวเิ คราะห์ความ content/2017/12/15052 ต้องการกาลงั คนด้านสุขภาพสาหรบั ระบบบริการระดบั ทตุ ิยภมู ขิ องประเทศไทยในปี พ.ศ. 2559. วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสุข 2561. ปที ่ี 12ฉบบั ท่ี 2 เมษายน- มถิ ุนายน:205–20. 29

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ แนวทางการดแู ลผปู้ ่วยปากแห้งระหว่างเข้ารับการรักษาทางทนั ตกรรมจัดฟนั : กรณศี ึกษา นิรมล ลีลาอดิศร E-mail: [email protected] บทคัดย่อ ความสาคัญ: ในปัจจุบันการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันพบได้ในวัยผู้ใหญ่มากข้ึนซึ่งจะใช้เวลาในการรักษา นานกวา่ ในวยั เด็กรวมทัง้ อาจพบโรคทางระบบหรือภาวะที่ไม่พึงประสงค์ร่วมด้วย ภาวะปากแห้งเป็นภาวะที่พบได้ ในวัยผู้ใหญ่ท่มี ีโรคประจาตวั บางโรคหรือตอ้ งรบั ประทานยาบางชนิดซ่ึงทาให้เกิดความไม่สบายในปาก แผลในปาก และฟันผซุ งึ่ จะมีผลกระทบตอ่ การรกั ษาจดั ฟนั ได้ จงึ ควรมีแนวทางในการดแู ลและให้คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยกลุ่มน้ี เพอื่ ไมต่ ้องหยดุ การรกั ษา วัตถุประสงค์: เพ่ือศึกษาแนวทางในการดูแลและให้คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยปากแห้งท่ีอยู่ระหว่างเข้ารับการ รกั ษาจัดฟนั รูปแบบการศึกษา: เป็นกรณีศึกษาจากผู้ป่วยเป็นเพศหญิงอายุ 47 ปีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการประเมิน อาการการสมั ภาษณ์และประเมินผลสัมฤทธิ์ในการดแู ลรักษา ผลการศกึ ษา: ผูป้ ว่ ยเพศหญงิ อายุ 47 ปี เข้ารับการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันเน่ืองจากฟันห่างด้วยเคร่ืองมือ จัดฟันชนดิ ติดแนน่ โดยไม่ตอ้ งถอนฟนั เปน็ เวลา 2 ปี ร่วมกับการใชเ้ ครือ่ งมือคงสภาพฟันชนิดถอดได้ตามมาอีก 2 ปี พบภาวะปากแห้งในชว่ งใส่เคร่ืองมอื คงสภาพฟัน โดยพบว่า มีโรคประจาตัว (โรคโจเกรน) ร่วมด้วยแนวทางในการ ดูแลและให้คาแนะนาผูป้ ว่ ยที่มภี าวะปากแหง้ ประกอบดว้ ย 1)ทาใหป้ ากชมุ ช่นื โดยจิบนา้ ระหว่างวันบ่อย ๆ ร่วมกับ ใช้น้าลายเทยี มหรอื ว้นุ ช่มุ ปาก 2) งดอาหารรสจดั หรือร้อน 3) แปรงฟันโดยใช้แปรงขนนุ่มเป็นพิเศษ และยาสีฟันที่ มีฟลโู อไรดแ์ ต่ไมม่ ีรสเผด็ ซา่ ร่วมกับนา้ ยาบว้ นปากท่ีมฟี ลโู อไรด์แตไ่ มม่ ีแอลกอฮอลเ์ ป็นประจา 4) พบทันตแพทย์ทุก 6-8 สัปดาห์เพื่อตรวจช่องปากร่วมกับเคลือบฟลูโอไรด์ป้องกันฟันผุ 5) ให้คาแนะนาและเสริมกาลังใจอยู่เสมอ ใน ผู้ป่วยรายน้ีให้คาแนะนาโดยเพ่ิมระยะเวลาให้น้าชุ่มอยู่ในปากนานขึ้นโดยใช้น้าแข็งร่วมด้วยพบว่าผู้ป่วยมีความ พอใจแนวทางนี้มากรู้สึกชุ่มในปากมากข้ึนทาให้รู้สึกสดชื่นขึ้น ตลอดจนมีภาวะสุขภาพช่องปากดีมีความสุขสบาย ในการดารงชีวิตได้ปกติโดยสามารถดูแลตนเองได้ท่ีบ้านร่วมกับเข้ารับการตรวจเช็คสุขภาพช่องปากตามนัดอย่าง สมา่ เสมอ ข้อยุติและการนาไปใช้: ผู้ป่วยท่ีมีภาวะปากแห้ง ในระหว่างเข้ารับการรักษาจัดฟันสามารถรักษาต่อจนเสร็จ สมบูรณ์ได้โดยใช้แนวทาง 5 ข้อข้างต้นร่วมกับการเพิ่มระยะเวลาให้น้าชุ่มอยู่ในปากด้วยน้าแข็ง พบว่าผู้ป่วยไม่มี ความผดิ ปกตขิ องฟัน เหงือกและเนื้อเยือ่ ออ่ นทรี่ ุนแรงสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติจึงควรใช้เป็นแนวทางในการดูแล และใหค้ าแนะนาผู้ป่วยท่ีมีอาการดังกล่าวในระหว่างจดั ฟนั ไดต้ ่อไป คาสาคัญ: การรกั ษาจัดฟัน โรคโจเกรน ภาวะปากแหง้ นา้ ลายเทียม ว้นุ ชุ่มปาก น้าแขง็ กลมุ่ งานทันตกรรม โรงพยาบาลรอ้ ยเอด็ 30

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ความสาคัญ: ภาวะปากแห้ง (xerostomia) เป็นการ ยาลดน้ามูก (decongestants) ยาขยายหลอดลม รับรู้ส่วนบุคคลเมื่อการผลิตน้าลายลดลงมากกว่า ร้อยละ 50 ของปริมาณน้าลายปกติ1 จะมีความรู้สึก (β2-agonists bronchodilators) ยาคลายกล้ามเนื้อ ในปากแห้งผาก ริมฝีปากแห้ง กลืนอาหารลาบาก (skeletal muscle relaxants) ยาแก้ปวดไมเกรน หรือต้องด่ืมน้าระหว่างทานอาหาร ภาวะปากแห้ง (antimigraine agents) ย า ล ด ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง มีความชุกถึงร้อยละ 10-46 โดยพบในเพศหญิง (antihypertensive) ย า รั ก ษ า ม ะ เ ร็ ง ( cytotoxic (ร้อยละ 10.3-33.3) เพศชาย (ร้อยละ 9.7-25.8) และ drugs) ยาต้านไวรัส (anti-HIV drugs) มีการศึกษา จะพบไดม้ ากขนึ้ เมอื อายุเพิ่มขึ้น2-3 โดยเฉลี่ยร้อยละ 30 อุบัติการณ์ปากแห้งในผู้สูงอายุที่รับประทานยาที่ ของผู้สูงอายุเกิน 65 ปีข้ึนไป จะมีอาการปากแห้ง4 เปน็ กลุ่มเส่ียง7 พบว่า มีความชุกของการรับประทานยา เพ่ิมขึ้น โดยเกือบทั้งหมด (ร้อยละ 94.8) เกิดใน น้าลายเป็นของเหลวใสในช่องปาก มีหน้าท่ี ระหว่างปีที่ 5 ถึง11 และพบผู้ท่ีรับประทานยา ช่วยในการย่อยและกลืนอาหาร เคลือบป้องกันเนื้อเยื่อ แอสไพริน (Aspirin) ทุกวันมาตลอด 5 ปี มีโอกาส และฟันจากอันตรายที่อาจเกิดภายในปาก โดยควบคุม ปากแห้งเป็น 5 เท่าของผู้ที่ไม่ได้ยารับและพบได้ ภาวะไม่เป็นกลางรวมถึงควบคุมการเจริญเติบโตของ ในผู้ที่รับประทานยาขับปัสสาวะมา 5 ปี จะมีโอกาส เช้ือแบคทีเรยี ไวรัส และรา มีแร่ธาตุทช่ี ่วยในการเสริม ปากแห้งเป็น 6 เท่าของผู้ท่ีไม่รับประทานเช่นเดียวกัน ความแข็งแรงของผิวเคลือบฟัน น้าลายจึงมีบทบาท การผ่าตัด เคมีบาบัด และการฉายแสงเพื่อรักษามะเร็ง สาคัญในการช่วยป้องกันฟันผุ น้าลายประกอบด้วยน้า ร่ ว ม กั บ ก า ร ฉ า ย แ ส ง ท่ี บ ริ เ ว ณ ศี ร ษ ะ แ ล ะ ล า ค อ จานวนมาก ทาให้ปากชุ่มชื้นเสมอ มีการสร้างและหลั่ง เป็นสาเหตุสาคัญของอาการปากแห้ง โรคและ วันละประมาณ 0.75-1.5 ลิตร ดังน้ันน้าลายจึงเป็น ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ต่ อ ม น้ า ล า ย ท่ี ไ ด้ บ่ อ ย คื อ องค์ประกอบหลักในการช่วยรักษาสมดุลในช่องปาก กลุ่มอาการโจเกรน (Sjogren’s syndrome) เป็นโรค และรักษาสุขภาพช่องปากในคนทั่วไปมีการผลิตน้าลาย ที่ พ บ ม า ก ที่ สุ ด ท่ี ท า ใ ห้ เ กิ ด ภ า ว ะ ป า ก แ ห้ ง พ บ ไ ด้ 1.5 ลิตร ทุก 24 ชั่วโมงหรือ 0.4 มิลลิลิตรต่อนาที 5-6 ถึงร้อยละ 100 ซึ่งกลุ่มอาการโจเกรน (Sjogren’s การไหลของน้าลายปกติ สภาวะไม่ได้รับการกระตุ้น syndrome) เป็นโรคท่ีเกิดจากการแพ้ภูมิตัวเอง ควรมากกว่า 0.1 มิลลิลิตรต่อนาที และสภาวะที่ได้รับ โดยมักพบการอักเสบของต่อมน้าตา และต่อมน้าลาย การกระตุ้นควรมากกกว่า 0.7 มิลลิลิตรต่อนาที แม้ว่าจะยังไม่ทราบกลไก การเกิดโรคที่ชัดเจน แต่อาจ ปจั จัยที่มีความสมั พนั ธก์ ับภาวะปากแหง้ ทสี่ าคญั ได้ พบเป็นผลตามมาจากโรคภูมิต้านทานเนื้อเย่ืออ่ืน แก่ปัจจัยทั่วไป ได้แก่ อายุ ผู้สูงอายุพบได้เพิ่มข้ึน เพศ นอกจากน้ี Abdullah ยังพบในโรคประจาตัวอื่นๆอีก พบได้มากข้ึนในช่วงวัยทองของเพศหญิง ภาวะขาด เช่น โรคทางจิตเวช โรคเบาหวาน โรคทางระบบ สารอาหาร เช่น วิตามินเอ และวิตามินบี พฤติกรรม ประสาท ไทรอยด์ และความดนั โลหติ สงู 9-13 เช่น การเค้ียวหมาก การด่ืมแอลกอฮอล์ การสูบบุหร่ี ปัจจัยทางการแพทย์ ได้แก่ ยา ถือว่าเป็นสาเหตุใหญ่ ของภาวะปากแห้ง 5, 7-8 มยี ากวา่ 400 ประเภทสามารถ ทาให้เกิดอาการปากแห้งได้ ซึ่งยาท่ีสัมพันธ์กับภาวะ ปากแห้ง ได้แก่ เช่น ยายับย้ังการหล่ังกรดและน้าย่อย (anticholinergic drugs) ซ่ึ ง มี ผ ล ม า ก ที่ สุ ด นอก จา กนั้น ยัง พบไ ด้จ ากย ารั กษา โ ร คจิต เว ช (antipsychotics) ยารักษาภูมิแพ้ (antihistamines) 31

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ท่ี ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ การตรวจวินิจฉัยภาวะปากแห้ง12-13 มี 3 แบบ พูดลาบาก มีปัญหาการกลืน การรับรสชาติของอาหาร คือ 1) การวินิจฉัยโดยประเมินการรับรู้ส่วนบุคคล และเกดิ ปัญหาในการใส่ฟันเทียม มีผลต่อการยึดติดของ (subjective) โดยการใช้แบบสอบถามท่ีมีคาถาม ฟันเทียม ทาให้รู้สึกเจ็บ เกิดความไม่สบายและเกิดแผล เกี่ยวกับอาการปากแห้ง และทาให้พบอุบัติการณ์ ได้ง่าย 2,16 โรคในช่องปาก ได้แก่ โรคฟันผุ2 และการ ปากแหง้ ซึ่งเป็นคาถามพน้ื ฐาน 4 คาถาม14 ได้แก่ น้าลาย ติดเช้ือในช่องปาก เช่น เช้ือรา17 ผู้ท่ีมีอาการปากแห้ง ในปากของคุณมปี ริมาณน้อยมากหรอื ไม่หรือไม่ได้สังเกต มั ก จ ะ มี ฟั น ผุ บ ริ เ ว ณ บ ริ เ ว ณ ร า ก ฟั น จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า คุ ณ มี ค ว า ม ย า ก ล า บ า ก ใ น ก า ร ก ลื น อ า ห า ร ห รื อ ไ ม่ พบความสัมพันธ์ของการไหลของน้าลายที่ลดลง และ คุณรู้สึกว่าในปากของคุณแห้งในขณะท่ีรับประทาน การพบเชือ้ รามีผลตอ่ การนอนหลบั โดยในเวลากลางคืน อาหารหรือไม่ คุณจิบน้าช่วยในการรับประทาน เป็นชว่ งท่ีน้าลายมีการไหลเวียนน้อยที่สุด ผู้ป่วยต้องตื่น อาหารแห้งหรือไม่ ต่อมามีการพัฒนาต่อเป็น xerosto- กลางดึกมาเพ่ือด่ืมน้า 16-18 การเกิดภาวะพร่อง mia inventory (XI) 15เป็นแบบประเมินทใี่ ช้เพื่อติดตาม โภชนาการ อาการปากแห้งจะมีความสัมพันธ์อย่างมาก ภาวะปากแห้งอย่างต่อเน่ือง เพราะประเมินได้อย่าง กับการปรับเปลยี่ นหรอื หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ครอบคลุมทั้งความรู้สึก การรับรู้อาการ 2) การตรวจ ทาให้ต้องเลือกรับประทานอาหาร และเครื่องดื่ม ซึ่ง ประเมินภาวะปากแห้งทางคลินิก จะเป็นการให้คะแนน ส่งผลต่อภาวะโภชนาการได้ 20 ผลกระทบด้าน ตามแบบของ the clinical oral dryness score13 โดย สุขภาพจิตใจ ได้แก่ การขาดความมั่นใจในสุขภาพช่อง ตรวจประเมินทางคลินิก 10 จุด (ภาพที่ 1) 3) การวัด ปากตนเอง เกิดความไม่พอใจ ทาให้ไม่มีความสุข การหล่ังของน้าลาย (objective measures) โดย ผลกระทบดา้ นสงั คม เนื่องจากเกิดปัญหาในการพูดและ 1. เป็นการวัดปริมาณน้าลายขณะพัก (unstimulated การรับประทานอาหารจึงมีปญั หาในการมีปฏิสัมพันธ์กับ or resting flow of whole saliva) คือ ก่อนทาการ ผอู้ ืน่ ทาใหห้ ลีกเล่ยี งการเข้าสังคมได้ 21 เก็บน้าลายให้ผู้ป่วยกลืนน้าลาย 1 คร้ัง ปิดริมฝีปาก แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร ภ า ว ะ ป า ก แ ห้ ง น า ล า ย น้ อ ย : ปล่อยให้น้าลายไหลออกมาตามธรรมชาติ อมน้าลายไว้ เ นื่ อ ง จ า ก ภ า ว ะ ป า ก แ ห้ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ ห า สุ ข ภ า พ ในปากโดยไม่กลืนน้าลาย บ้วนน้าลายลงในภาชนะเก็บ ช่องปาก รวมทั้งส่งผลกระทบกับระบบต่าง ๆ ของ น้าลายเป็นระยะเวลา 5 นาที การวัดปริมาณน้าลาย ร่างกาย ดังกล่าวมาแล้ว ในผู้ป่วยภาวะปากแห้ง จึงได้มี ในช่วงที่ไม่ถูกกระตุ้นจะวัดอย่างน้อย 5 นาที หลังจาก แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ซ่ึ ง พ อ ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี้ ต่ืนนอน หรือ 2 ช่วั โมง หลงั มื้ออาหาร 2.การวัดปริมาณ 1) การกระตุ้นการหล่ังน้าลายถ้าต่อมน้าลายยังมีการ น้าลายขณะถูกกระตุ้น (stimulated flow of whole ผลิตน้าลายได้ การใช้ยาในการกระตุ้นการหล่ังของ saliva) คือการวัดการหล่ังของน้าลายจากการกระตุ้น น้าลาย มักใช้ยาพโิ ลคาร์ปีน (pilocarpine) เน่ืองจากยา โดย เค้ียวพาราฟิน ใช้กรดซิตริก และนวดต่อมน้าลาย สามารถออกฤทธ์ิกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเท วิธีการเก็บน้าลาย9 (1) การให้ผู้ป่วยบ้วนน้าลายลงใน ติค ส่งผลให้มีการหลั่งสารคัดหล่ังออกมาจากต่อม เช่น ภาชนะ (spitting method) (2) การใช้ท่อสุญญากาศ ต่อมเหงื่อ ต่อมน้าตา และต่อมน้าลาย ห้ามใช้ในกลุ่ม ดู ด น้ า ล า ย จ า ก ป า ก ล ง ข ว ด ( suction method) ผู้ป่วยโรคหอบหืด โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคต้อหิน (3) การใช้สาลีหรือวัสดุอื่นดูดซับน้าลายในปากแล้ว การกระตุ้นการหล่ังของน้าลายแบบไม่ใช้ยา ได้แก่ การ น า ไ ป ช่ั ง น้ า ห นั ก ( cotton-wool rolls method) บริหารกล้ามเนื้อใบหน้าและนวดกระตุ้นต่อมน้าลาย ผลกระทบจากภาวะปากแห้งท่ีสาคัญได้แก่ ผลกระทบ การใหผ้ ู้ปว่ ยรบั ประทานอาหารที่ต้องเค้ียวนานๆ การใช้ ด้านร่างกาย เช่น มีผลต่อการทาหน้าที่ของอวัยวะ หมากฝรั่งชนิดที่ไม่มีน้าตาลก็สามารถช่วยกระตุ้นการ ในปาก ทาให้เกิดความรู้สึกเจ็บในช่องปาก และลาคอ หลั่งของนา้ ลายได้ 32

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ แนวทางการดูแลผู้ป่วยมีอาการปากแห้งนาลายน้อย: เป็นอย่างมาก ซ่ึงผลการศึกษาที่ได้จะใช้เป็นข้อมูล ตรวจวินิจฉัย จากประวัติ อาการ ตรวจทางคลินิก พื้นฐานในการที่จะนามาใช้ในการวางแผนการดูแล 1) ยังมีเน้ือเยื่อและอวัยวะท่ีเกี่ยวกับการหลั่ง สุขภาพช่องปากและป้องกันผลกระทบที่อาจเก่ียวข้อง น้าลายรักษาตามปัจจัย (ปรับยา ปรับปรุงการเค้ียว จากภาวะปากแหง้ ในท่ีจัดฟนั ต่อไปในอนาคต รักษาตอ่ มน้าลายที่ผิดปกติ) กระตุ้นการหล่ังของน้าลาย วตั ถปุ ระสงค์ โดยจบิ นา้ บ่อย ๆ ใช้สารกระตนุ้ เพอ่ื ศกึ ษาแนวทางในการดูแลและให้คาแนะนา 2) ไม่มีเน้ือเย่ือและอวัยวะท่ีเกี่ยวกับการหล่ัง สาหรับผู้ป่วยปากแห้งท่ีอยู่ระหว่างเข้ารับการรักษา น้าลายรักษาตามอาการ จิบน้าบ่อย ๆ ให้สารทดแทน จดั ฟนั การหล่ังของน้าลายเช่นน้าลายเทียม ใช้สารหล่อลื่น วธิ กี ารศกึ ษา เนื้อเย่ือ หลีกเล่ียงการระคายเคือง แนวทางในการให้ ผู้ป่วยเพศหญิงอายุ 47 ปี เข้ารับการรักษาทาง คาแนะนาที่สาคัญได้แก่ ทาให้ปากชุ่มช่ืนโดยจิบน้า ทันตกรรมจดั ฟนั เนื่องจากฟันห่างรักษาด้วยเคร่ืองมือจัด ระหว่างวันบ่อย ๆ ร่วมกับใช้น้าลายเทียม งดอาหาร ฟันชนดิ ติดแน่นโดยไมต่ ้องถอนฟันเป็นเวลา 2 ปีร่วมกับ รสจัด เผ็ด ร้อน ใช้ยาสีฟันท่ีมีฟลูโอไรด์ ร่วมกับน้ายา การใช้เครื่องมือคงสภาพฟันชนิดถอดได้ตามมาอีก 2 ปี บ้วนปากท่ีมีฟลูโอไรด์ 4 พบทันตแพทย์เพ่ือตรวจ พบภาวะปากแห้งในช่วงใส่เครื่องมือคงสภาพฟัน ชอ่ งปากร่วมกับเคลอื บฟลูโอไรดป์ อ้ งกันฟนั ผุ ในปีที่ 2 โดยพบว่ามีโรคประจาตัวร่วมด้วย ในภายหลัง จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ คณุ ภาพชีวิต ศึกษาประวัติผู้ป่วย การประเมินอาการ การสัมภาษณ์ ที่เก่ียวข้องกับสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยที่มีภาวะ และประเมินผลสมั ฤทธ์ิในการดแู ลรกั ษา ปากแห้ง มีความสาคัญต่อความเป็นอยู่ของผู้ป่วย ขอ้ มูลของผู้ปว่ ย โ ด ย ภ า ว ะ ป า ก แ ห้ ง มี ผ ล ต่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ ป่ ว ย ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 47 ปี มาพบทันตแพทย์ ในทุกมิติ ปัจจัยท่ีสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะปากแห้ง เฉพาะทางด้านทันตกรรมจัดฟันด้วยปัญหาฟันห่าง ที่สาคัญ ได้แก่ เพศ อายุ การได้รับการรักษาด้วยยา แผนการรกั ษาใชเ้ ครื่องมือจัดฟันชนิดติดแน่นโดยไม่ต้อง ชนิดต่าง ๆ โดยเฉพาะยากลุ่มยาแอสไพรนิ กลุ่มอาการ ถอนฟัน ไม่พบโรคเหงือกอักเสบและโรคฟันผุในขณะ โจเกรน และโรคประจาตัว ท่ีสาคัญได้แก่ โรคทางจิตเวช รักษาทางทันตกรรมจัดฟันได้ ในช่วงปีที่ 2 ของการ โรคเบาหวาน โรคทางระบบประสาท ไทรอยด์ และ รักษาด้วยเครื่องมือคงสภาพฟัน ผู้ป่วยเริ่มมีอาการตา ความดันโลหิตสูง ความชุกของภาวะปากแห้งในแต่ละ และปากแหง้ กลนื อาหารลาบากและต้องด่ืมน้าระหว่าง ประเทศก็มีความแตกตา่ งกนั มคี วามแตกต่างของการให้ รับประทานอาหาร ประกอบกับอยู่ในช่วงวัยทองผู้ป่วย นิยาม เกณฑ์การประเมิน มีความแตกต่างกันของ จึงไปพบแพทยท์ ่คี ลินกิ วัยทองโรงพยาบาลร้อยเอ็ดซึ่งส่ง ประชากร รวมถึงบริบทของการดารงชีวิตที่แตกต่างกัน ตัวต่อไปที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ขอนแก่น แพทย์ และแนวทางการรักษาผู้ป่วยกลุ่มน้ี ก็ยังมีความแตกต่าง วินิจฉัยว่าเป็นโรคโจเกรน (Sjogren’s syndrome) กันทั้งนี้ การศึกษาแนวทางการดูแลผู้ป่วยปากแห้ง ซึ่งเป็นกลุ่มอาการของโรคท่ีเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน ระหว่างเข้ารับการรกั ษาทางทันตกรรมจดั ฟันในประเทศ ทาให้เกิดภูมิต่อต้านเน้ือเยื่อตนเอง โดยมีลักษณะสาคัญ ไทยยงั มีนอ้ ย ดังนั้น การวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยจึงมีความสนใจ คือ มีการอักเสบเร้ือรังของต่อมน้าตา และต่อมน้าลาย ที่จะศึกษาถึง แนวทางการดูแลผู้ป่วยปากแห้งระหว่าง ไม่พบโรคประจาตัวอ่ืนๆ ด้วยอาการตาแห้งจึงเร่ิมใช้ เข้ารับการรักษาทางทันตกรรมจัด เพื่อให้ทราบถึง น้าตาเทยี ม แพทย์ให้รับประทานยากระตุ้นต่อมน้าลาย แนวทางในการรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้ เนื่องจากภาวะ 6 เดือน พบว่าไม่มีการตอบสนองต่อยาจึงให้การรักษา ป า ก แ ห้ ง มี ผ ล ต่ อ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ผู้ ท่ี จั ด ฟั น แบบประคบั ประคองอาการและติดตามเปน็ ระยะ 33

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ ภาพที่ 1 การตรวจประเมินทางคลินกิ 10 จดุ ภาพที่ 2 ลักษณะของผู้ปว่ ยปากแหง้ ขณะจัดฟนั ก่อนการให้คาแนะนาในการดแู ลและแนวทางการรกั ษา 34

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครงั้ ที่ ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชนั้ ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ แนวทางในการดูแลและให้คาแนะนาสาหรับผู้ป่วย ผลการศึกษาการใชแ้ นวทางในการดแู ลและให้ ปากแหง้ ท่ีอยูร่ ะหว่างเขา้ รบั การรักษาจัดฟนั คาแนะนาผ้ปู ่วย 1) ทาให้ปากชุ่มช่ืนโดยจิบน้าระหว่างวันบ่อยๆ จากการตรวจช่องปากตั้งแต่ปีพ.ศ.2555 จนถึง ร่วมกบั ใชน้ า้ ลายเทยี มหรือวุ้นชมุ่ ปาก ปัจจุบันพบว่าสภาพช่องปากจากการรักษาทันตกรรม 2) งดอาหารรสจดั หรอื ร้อน จัดฟันอยู่ในสภาพปกติ ไม่มีเหงือกอักเสบ ฟันผุ 3) แปรงฟันโดยใช้แปรงขนนุ่มเป็นพิเศษ และ ไม่เพ่ิมขึ้นรวมทั้งไม่พบแผลในปาก และเชื้อรา สามารถ ยาสีฟันท่ีมีฟลูโอไรด์แต่ไม่มีรสเผ็ดซ่าร่วมกับน้ายาบ้วน ใส่เคร่ืองมือคงสภาพฟันในช่องปากแบบนานๆคร้ังได้ ปากท่ีมฟี ลูโอไรด์แตไ่ มม่ แี อลกอฮอลเ์ ปน็ ประจา ไม่พบฟันสึกบริเวณคอฟัน ดังนั้นแนวทางการดูแล 4) พบทันตแพทย์ทุก 6-8 สัปดาห์เพ่ือตรวจ ผู้ป่วยรายน้ีจึงน่าจะนามาใช้ประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วย ชอ่ งปากรว่ มกับเคลือบฟลูโอไรดป์ อ้ งกันฟันผทุ กุ 3 เดือน รายอื่นๆที่มีอาการเช่นเดียวกันได้ โดยผู้ป่วยรายนี้ 5) ให้คาแนะนาและเสริมกาลังใจอยู่เสมอ รับประทานยากระตุ้นต่อมน้าลาย 6 เดือน พบว่าไม่มี ผู้ป่วยต้องทางานโดยออกนอกพ้ืนท่ีจึงมีปัญหา ก า ร ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ย า จึ ง ใ ห้ ก า ร รั ก ษ า แ บ บ ในการต้องมีน้าจิบบ่อยๆจึงให้คาแนะนาโดยเพ่ิม ประคับประคองอาการและติดตามเป็นระยะโดยสภาพ ระยะเวลาให้น้าชุมอยู่ในปากนานข้ึนโดยใช้น้าแข็งร่วม ชอ่ งปากปจั จบุ ัน (ภาพท่ี 3) ด้วยพบว่าผู้ป่วยมีความพอใจแนวทางนี้มาก รู้สึกชุ่มใน ปากมากข้นึ ทาให้รู้สึกสดชนื่ ข้นึ ตลอดจนมีภาวะสุขภาพ ช่องปากดีมีความสุขสบายในการดารงชีวิตได้ปกติ โดย สามารถดูแลตนเองได้ร่วมกับเข้ารับการตรวจเช็ค สขุ ภาพชอ่ งปากตามนัดอยา่ งสมา่ เสมอ ภาพท่ี 3 สภาพชอ่ งปากปัจจุบัน 35

“Research to Innovation: จากงานวจิ ยั มงุ่ สนู่ วตั กรรม” การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ เครอื ขา่ ยวจิ ยั โรงพยาบาล ครง้ั ท่ี ๑๓ (HoRNetS 2021) ประจาปี ๒๕๖๔ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ มถิ นุ ายน - ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ณ หอ้ งประชมุ 9A ชน้ั ๙ โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห์ อภปิ รายผล เช่ือมโยงความเจ็บป่วยดังกล่าวสัมพันธ์กับภาวะวัย เมอื่ ผปู้ ว่ ยเริม่ ร้สู ึกว่าตนเองมีอาการปากแห้งและ การใช้ชีวิต โรคประจาตัว บุคคลรอบข้างทั้งในระดับ ครอบครวั สงั คม และชุมชน ซ่ึงส่ิงเหล่านี้ล้วนมีอิทธิพล ตาแห้งในขณะจัดฟันส่งผลให้ผู้ป่วยมีความกลัวและ ต่อการประเมินภาวะความเจ็บป่วยของบุคคลนั้น ๆ วิตกกังวลเน่ืองจากสง่ ผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและ และเป็นส่วนท่ีบุคลากรทางการแพทย์จะต้องให้ความ เกิดความไม่สุขสบายในช่องปาก แต่ผู้ป่วยมีสุขภาพ ตระหนักมากข้ึนในการประเมินความเจ็บป่วยของ ร่างกายแข็งแรงดี สามารถทางานได้ตามปกติไม่พบโรค ผู้ ป่ ว ย โ ด ย ก า ร จั ด ก า ร กั บ ภ า ว ะ น้ า ล า ย น้ อ ย ประจาตัวอื่น ๆ จากแนวทางในการดูแลและ มีหลากหลายข้ึนอยู่กับลักษณะการป่วยของผู้ป่วย ให้คาแนะนาสาหรับผู้ป่วย 5 ขั้นตอน จะเห็นได้ว่า แต่ละโรค การศึกษาผลลัพธ์ในการวิธีการจัดการภาวะ ผู้ป่วยมอี าการดีขึ้นและมีคุณภาพชีวิตดีข้ึนและสามารถ น้าลายแห้งของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะ และคอภายหลัง เข้ารับการรักษาจัดฟันสามารถรักษาต่อจนเสร็จ ไดร้ ับรงั สรี ักษาโดย วิธกี ารจดั การกบั ภาวะนา้ ลายแห้งท่ี สมบูรณ์ จากการศึกษาพบว่าภาวะปากแห้งเป็น สาคัญได้แก่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทาน ปรากฏการณ์ที่รบกวนต่อชีวิตประจาวันและมีการให้ อาหารและน้าด่ืม การดูแลสุขภาพในช่องปาก การลด ความหมายต่อสภาวะดังกล่าวในห้าประเด็น ได้แก่ ปัจจัยสง่ เสริมใหเ้ กิดภาวะน้าลายแห้งและใช้สารกระตุ้น เป็นสภาวะปกติธรรมดา เป็นอาการปรากฏหนึ่งของ และทดแทนน้าลาย 23 การศึกษาเร่ืองประสบการณ์ ความเจ็บป่วยทางกายที่เป็นอยู่ เป็นความรู้สึกสูญเสีย อาการวิธีการจัดการกับอาการและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย เป็นสัญญาณของโรครุนแรงบางอย่าง และเป็นตัว มะเร็งศรี ษะและคอที่เกิดภาวะน้าลายแห้งหลังครบรังสี บ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพร่างกาย โดยผู้ท่ี รักษา ณ ศูนย์มะเร็งลพบุรี พบว่า วิธีการจัดการกับ มีอาการปากแห้งได้มีการแสวงหาการรักษาและปฏิบัติ ภาวะน้าลายแห้งในด้านบรรเทาอาการส่วนใหญ่เลือก ตนตามการอธิบายโรคของตนเอง แต่ละคนก็จะมีการ การรับประทานอาหารที่มีลักษณะนุ่มชุ่มช้ืนชิ้นเล็ก สังเกตและค้นพบรูปแบบในการดูแลตนเองที่มีความ งดสูบบุหร่ี หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์หรือเคร่ืองดื่มท่ีมี เหมาะสมกับแต่ละตัวบุคคลภายใต้การบูรณาการจาก แอลกอฮอล์ จิบน้าบ่อยๆ หลีกเลี่ยงเคร่ืองด่ืมที่มี หลาย ๆ วิธี 22 เน่ืองจากสภาวะปากแห้งเป็นหน่ึง ส่วนผสมของคาเฟอีนและด่ืมน้ามากกว่า 2,000 ซีซีต่อ ใ น ปั จ จั ย เ ส่ี ย ง ส า คั ญ ใ น ก า ร ท า ใ ห้ เ กิ ด ส ภ า ว ะ โ ร ค วัน ในด้านการป้องกันฟันผุส่วนใหญ่เลือกใช้การแปรง ในช่องปาก และส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของ ฟันอยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครง้ั ผลของการจัดการกับอาการ บุคคลเป็นอย่างมาก เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้ใน ด้ า น คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต พ บ ว่ า ภ า ว ะ น้ า ล า ย แ ห้ ง ร บ ก ว น ทุกเพศทุกวัย สภาวะปากแห้งนั้นมีการผันแปรอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตโดยรวมในระดับค่อนข้างมากและพบว่า ต่อลักษณะจาเพาะของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะเป็น ความรุนแรงของภาวะน้าลายแห้งมีความสัมพันธ์กับ ลักษณะพื้นฐานบุคคล ครอบครัว ภาวะโรคประจาตัว คุณภาพชวี ติ (p=0.01) 24 บางคนเห็นว่าอาการปากแห้งมีความสาคัญกับชีวิต ของเขามากก็อาจจะต้องการได้รับการรักษา เยียวยา ภาพที่ 4 วนุ้ ชุ่มปาก (Oral Moisturizing Jelly) ใหด้ ขี ึ้น ในขณะทบ่ี างคนการมีอาการปากแห้งอาจไม่ได้ หมายถึงการมีโรคเกิดขึ้นหรือไม่ต้องการการรักษาก็ได้ อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่าผู้ประสบอาการปากแห้ง มีการคิดถึงความเจ็บป่วยของตนเองเป็นแบบองค์รวม ซ่ึงมีความหลากหลายและซับซ้อนมากกว่าบุคลากรทาง การแพทยท์ อี่ าจมองเห็นเพียงด้านเดียว โดยเฉพาะการ 36