Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1

Published by Niphol Toraksa, 2021-08-30 03:31:56

Description: ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 1

Search

Read the Text Version

ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร Chinese for Communication วารุณี สวุ รรณจา่ ง คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา 2561



ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร Chinese for Communication วารุณี สุวรรณจา่ ง MTCSOL (การสอนภาษาจนี แก่ชาวต่างชาติ) คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา 2561



ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร (Chinese for Communication) ผู้เขียนและเรียบเรียง นางสาววารณุ ี สุวรรณจา่ ง ภาพหนา้ ปกถ่ายโดย นางสาววารณุ ี สวุ รรณจา่ ง พิมพค์ ร้ังท่ี 1 มนี าคม 2561 จานวนเลม่ ทพี่ ิมพ์ 400 เลม่ พิมพ์ท่ี มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา 160 หมู่ 4 ถนนกาญจนวนชิ ตาบลเขารูปชา้ ง อาเภอเมือง จงั หวัดสงขลา 90000

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) คาํ นาํ ตําราภาษาจีนเพือ่ การสือ่ สาร (Chinese for Communication) เลม่ นผ้ี ้เู ขียนได้เรยี บเรียงขึ้น เพือ่ ใหผ้ ้สู นใจศกึ ษาวิชาภาษาจีนเพ่ือการส่ือสารได้นําไปศึกษาเรียนรู้ ผู้เขียนได้ใช้ประสบการณ์ในการ สอนวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารมาปรับปรุงเนื้อหาเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น โดยยึดแนวทางจาก จุดประสงค์รายวิชาและคําอธิบายรายวิชามากําหนดเป็นขอบข่ายวิชาและเน้ือหา ผู้เขียนได้ศึกษา ค้นคว้าและเรียบเรียงจากแหล่งความรู้หลายแหล่ง เช่น จากตําราที่ผู้เชี่ยวชาญได้แต่งไว้ รวมท้ังแหล่ง ความรู้จากส่ือออนไลน์ต่าง ๆ ทําให้ครอบคลุมเน้ือหามากข้ึน เนื้อหาในตําราเล่มน้ีประกอบด้วย สัทอักษรจีน การทักทาย การแนะนําตัว ครอบครัว สัญชาติ สถานที่ อาหารจีน การซ้ือของ วัน เดือน ปี และเวลา โดยแต่ละบทจะแบ่งหัวข้อสําคัญคือ คําศัพท์ คู่สนทนา บทเรียน คําศัพท์เพิ่มเติม บทเรียนเพิ่มเติม คําอธิบาย หลักภาษา วัฒนธรรมจีน และแบบฝึกหัด ผู้เขียนขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านท่ีได้เขียนตําราและหนังสือต่าง ๆ ที่ผู้เขียนได้ใช้เป็น แหล่งค้นคว้าและอ้างอิงในการเขียนตําราเล่มน้ี โดยผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าตําราเล่มน้ีจะทําให้ ผอู้ า่ นเกิดความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับภาษาจีนเพ่อื การสือ่ สารได้เปน็ อยา่ งดี วารณุ ี สวุ รรณจา่ ง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา 2561

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication)

ภาษาจนี เพอ่ื การสื่อสาร (Chinese for Communication) สารบัญ หนา้ คํานาํ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ฌ บทที่ 1 ภาษาจีนกลาง 1 สัทอักษรจนี 1 พยัญชนะ 1 พยัญชนะพเิ ศษ 2 สระเดย่ี ว 2 สระเดย่ี วพเิ ศษ 2 สระผสม 3 การออกเสียงพนิ อิน 4 วรรณยุกต์ 5 หลกั การใสเ่ ครอ่ื งหมายวรรณยกุ ต์ 5 อักษรจนี 5 เส้นขีดตัวอกั ษรจนี 6 ชื่อเรยี กเส้นขีดตวั อักษรจนี 7 รปู แบบพน้ื ฐานโครงสร้างอกั ษรจีน 8 รปู แบบสดั ส่วนโครงสร้างอักษรจีน 10 ระเบียบกฎเกณฑก์ ารเขียนตัวอักษรจีน 12 ระเบยี บการเขียนลาํ ดับขีดเพ่ิมเติม 13 ชือ่ ย่อจวี ิภาค 14 ตัวเลข 15 วัฒนธรรมจีน 16 แบบฝึกหดั 18 สรุป 20 สารบญั (ต่อ) หน้า บทที่ 2 การทักทาย 23 คาํ ศัพท์ใหม่ 23

ภาษาจีนเพอ่ื การสื่อสาร (Chinese for Communication) คู่สนทนา สารบัญ (ต่อ) 24 บทเรยี น 24 คาํ ศัพทเ์ พม่ิ เตมิ 25 บทเรียนเพมิ่ เตมิ 25 คาํ อธิบาย 26 หลักภาษา 28 วัฒนธรรมจีน 30 แบบฝกึ หดั 31 สรุป 34 บทที่ 3 การแนะนาํ ตวั 37 คาํ ศพั ทใ์ หม่ 37 คูส่ นทนา 38 บทเรียน 38 คําศพั ท์เพม่ิ เติม 38 บทเรยี นเพม่ิ เติม 39 คาํ อธิบาย 39 หลกั ภาษา 41 วฒั นธรรมจีน 43 แบบฝกึ หัด 44 สรุป 46 บทท่ี 4 ครอบครวั 49 คาํ ศพั ท์ใหม่ 49 คู่สนทนา 50 บทเรียน 50 คาํ ศพั ทเ์ พมิ่ เติม 51 บทเรียนเพม่ิ เติม 51 คาํ อธิบาย หนา้ หลกั ภาษา วัฒนธรรมจีน 51 แบบฝกึ หัด 53 สรปุ 54 บทที่ 5 สญั ชาติ 55 คําศพั ท์ใหม่ 57 59 ง 59

ภาษาจนี เพ่ือการสอื่ สาร (Chinese for Communication) คู่สนทนา สารบัญ (ตอ่ ) 60 บทเรยี น 60 คําศัพทเ์ พม่ิ เตมิ 60 บทเรียนเพ่ิมเตมิ 61 คาํ อธบิ าย 61 หลกั ภาษา 63 วัฒนธรรมจนี 66 แบบฝึกหัด 67 สรปุ 69 บทที่ 6 สถานที่ 71 คําศัพทใ์ หม่ 71 คู่สนทนา 72 บทเรยี น 72 คาํ ศพั ท์เพม่ิ เติม 72 บทเรยี นเพิม่ เติม 73 คําอธบิ าย 73 หลกั ภาษา 75 วฒั นธรรมจนี 77 แบบฝกึ หดั 78 สรุป 80 บทที่ 7 อาหารจนี หนา้ คาํ ศพั ท์ใหม่ ค่สู นทนา 83 บทเรียน 83 คําศพั ทเ์ พ่มิ เตมิ 84 บทเรียนเพ่มิ เติม 84 คําอธบิ าย 85 หลักภาษา 85 วฒั นธรรมจีน 86 แบบฝกึ หดั 87 สรุป 90 91 บทท่ี 8 การซอื้ ของ 93 95 จ

ภาษาจนี เพอ่ื การส่ือสาร (Chinese for Communication) คําศพั ท์ใหม่ สารบญั (ต่อ) 95 คสู่ นทนา 96 บทเรยี น 96 คําศัพท์เพม่ิ เตมิ 96 บทเรยี นเพิม่ เติม 97 คาํ อธบิ าย 98 หลักภาษา 99 วัฒนธรรมจนี 100 แบบฝึกหดั 101 สรปุ 104 บทท่ี 9 วนั เดือน ปี 107 คําศพั ทใ์ หม่ 107 คู่สนทนา 108 บทเรยี น 108 คําศัพทเ์ พม่ิ เติม 109 บทเรียนเพม่ิ เติม 109 คําอธิบาย หนา้ หลกั ภาษา วฒั นธรรมจนี 110 แบบฝกึ หัด 112 สรุป 113 บทที่ 10 เวลา 114 คาํ ศัพท์ใหม่ 117 คู่สนทนา 119 บทเรยี น 119 คาํ ศพั ท์เพมิ่ เตมิ 120 บทเรียนเพิ่มเตมิ 120 คําอธิบาย 121 หลักภาษา 121 วัฒนธรรมจีน 122 แบบฝกึ หัด 123 สรุป 125 126 ฉ 129

บรรณานุกรม ภาษาจนี เพอ่ื การส่อื สาร (Chinese for Communication) ประวตั ผิ เู้ ขียน 131 133 ช



ภาษาจีนเพอ่ื การสื่อสาร (Chinese for Communication) สารบัญตาราง หนา้ ตารางที่ 1 2 1.1 พยญั ชนะภาษาจนี 21 เสียง 2 1.2 พยัญชนะพิเศษ 2 เสยี ง 2 1.3 สระเดยี่ ว 6 เสยี ง 3 1.4 สระเดี่ยวพเิ ศษ 3 เสยี ง 4 1.5 สระผสม 29 เสียง 5 1.6 การออกเสียงพนิ อนิ 5 1.7 วรรณยุกต์ 4 รปู 5 เสยี ง 7 1.8 หลักการใสเ่ ครอื่ งหมายวรรณยกุ ตใ์ นภาษาจนี 10 1.9 ช่ือเรยี กเสน้ ขีดตวั อกั ษรจนี 11 1.10 รูปแบบสัดสว่ นโครงสร้างอกั ษรจีน 1 11 1.11 รปู แบบสดั ส่วนโครงสรา้ งอกั ษรจีน 2 12 1.12 รูปแบบสดั ส่วนโครงสร้างอักษรจีน 3 12 1.13 รูปแบบสดั ส่วนโครงสร้างอักษรจีน 4 15 1.14 ระเบยี บกฎเกณฑก์ ารเขยี นตวั อกั ษรจีน 110 1.15 ตัวเลข 111 9.1 การเทียบเคียงวนั 125 9.2 การเทยี บเคียงเดือน 126 10.1 การบอกเวลาในภาษาจนี 10.2 การบอกช่วงเวลาในภาษาจีน

ภาษาจนี เพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) บทที่ 1 Dì yī kè 第一课 ภาษาจนี กลาง Pǔ tōng huà 普通 话 ภาษาจีนกลางเป็นภาษาหนึ่งซึ่งมีความสาคัญต่อโลกในยุคปัจจุบัน ประเทศจีนเป็นประเทศ ที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้ประเทศจีนเป็นประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ ของโลกรองจากประเทศสหรัฐอเมรกิ า ประกอบกับการที่ประเทศจนี มปี ระชากรมากท่ีสุดในโลก ทาให้ ภาษาจีนเป็นภาษาท่คี นทว่ั โลกใช้กันมากรองลงมาจากภาษาองั กฤษ ภาษาจีนกลาง เรียกอีกอย่างว่า “แมนดาริน” ประกอบด้วย สัทอักษรจีนและอักษรจีน สทั อกั ษรจีนเปน็ เครือ่ งมือในการออกเสียง ส่วนอักษรจีนเป็นเครื่องมือในการเขียน การเรียนภาษาจีน กลางใหเ้ ข้าใจควรเร่มิ จากการออกเสียงสทั อักษรจีนก่อน หลงั จากนั้นค่อยฝึกเขยี นเส้นขดี อกั ษรจีน Pīn yīn สัทอักษรจีน (拼音) สัทอักษรจนี เรยี กอกี อย่างวา่ “pinyin” (พนิ อิน) เป็นระบบการถอดเสียงภาษาจีนมาตรฐาน ด้วยตัวอักษรโรมัน บางตัวอ่านออกสียงคล้ายคลึงกับภาษาไทย แต่บางตัวก็อ่านออกเสียงต่างกับ ภาษาไทยโดยสิ้นเชิง สัทอักษรจีนประกอบด้วย พยัญชนะภาษาจีน 21 เสียง พยัญชนะพิเศษ 2 เสียง สระเดี่ยว 6 เสยี ง สระเดยี่ วพิเศษ 3 เสียง สระผสม 29 เสียงและวรรณยกุ ต์ 4 รปู 5 เสยี ง Shēng mǔ พยัญชนะ ( 声 母) ตารางที่ 1.1 พยัญชนะภาษาจนี 21 เสียง ประกอบดว้ ย วิธกี ารออกเสียง พยัญชนะ (เทียบเสียงภาษาไทย) 1.เสียงรมิ ฝปี าก 2.เสยี งปลายลิ้น b (ปอ) p (พอ) m (มอ) f (ฟอ) 3.เสยี งเพดานอ่อน d (เตอ) l (เลอ) 4.เสยี งเพดานแขง็ g (เกอ) t (เทอ) n (เนอ) 5.เสยี งดา้ นหน้าปลายล้นิ j (จ)ี r 6.เสยี งปลายลนิ้ z (จอื ) k (เคอ) h (เฮอ) zh (จรอื ) (ยรอื ) q (ช)ี x (ซ)ี c (ชอื ) s (ซอื ) ch (ชรอื ) sh (ซรอื )

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) Tè shūshēng mǔ เทียบเสยี งภาษาไทย อี พยัญชนะพเิ ศษ (特殊 声 母) อู ตารางท่ี 1.2 พยญั ชนะพเิ ศษ 2 เสียง ประกอบดว้ ย เทียบเสียงภาษาไทย อา พยัญชนะพเิ ศษ ออ เออ y อี w อู อวี Dān yùn mǔ เทียบเสียงภาษาไทย สระเดีย่ ว (单韵母) เออร์ เอ ตารางท่ี 1.3 สระเดี่ยว 6 เสียง ประกอบดว้ ย ออื สระเดยี่ ว a o e i u ü Tè shū dān yùn mǔ สระเดีย่ วพิเศษ (特殊单韵母) ตารางท่ี 1.4 สระเด่ียวพเิ ศษ 3 เสียง ประกอบด้วย สระเดยี่ วพเิ ศษ er ê -i Fù yùn mǔ สระผสม (复韵母) ตารางที่ 1.5 สระผสม 29 เสยี ง ประกอบดว้ ย 2

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) สระเดีย่ ว สระผสม (เทียบเสยี งภาษาไทย) a (อา) o (ออ) ai (อาย) ao (อาว) an (อาน) ang (อาง) e (เออ) i (อ)ี ou (โอว) ong (อง) u (อ)ู ei (เอย) en (เอนิ ) eng (เองิ ) ü (อวี) ia (อียา) iao (เอียว) ian (เอียน) iang (เอยี ง) ie (เอยี ) ยง) iu (อวิ ) in (อิน) ing (อิง) iong (อิ ua (อวา) uai (อวาย) uo (อวั ) uan (อวาน) uang (อวาง) ui (อุย) un (อนุ ) ueng (เวิง) üe (เว) ün (อวิน) üan (เวียน) จากตารางการออกเสียงพยญั ชนะและสระภาษาจีน จะเห็นไดว้ า่ พยัญชนะและสระภาษาจีน จะมีลักษณะการออกเสียงที่แตกต่างจากภาษาอังกฤษ เช่น พยัญชนะ “b” ไม่ได้อออกเสียง “บี” แต่ออกเสียง “ปอ” หรอื สระ “a” ไม่ได้ออกเสยี ง “เอ” แต่อออกเสียง “อา” เป็นต้น 3

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication)การออกเสยี งพนิ อนิ 4 ตารางท่ี 1.6 การออกเสยี งพินอิน ประกอบด้วย 韵母 a o e ê ‐ i ei ai ei ao ou an en ang eng ong i ia iao ie iu ian in iang ing iong u ua uo uai ui uan un uang ü üe üan ün 声母 b ba bo bai bei bao ban ben bang beng bi biao bie bian bin bing bu p pa po pai pei pao pou pan pen pang peng pi piao pie pian pin ping pu m ma mo me mai mei mao mou man men mang meng mi miao mie miu mian min ming mu f fa fo fei fou fan fen fang feng fu d da de dai dei dao dou dan den dang deng dong di diao die diu dian ding du duo dui duan dun t ta te tai tao tou tan tang teng tong ti tiao tie tian ting tu tuo tui tuan tun n na ne nai nei nao nou nan nen nang neng nong ni niao nie niu nian nin niang ning nu nuo nuan nü nüe l ja le lai lei lao lou lan lang leng long li lia liao lie liu lian lin liang ling lu luo luan lun lü lüe z za ze zi zai zei zao zou zan zen zang zeng zong zu zuo zui zuan zun c ca ce ci cai cao cou can cen cang ceng cong cu cuo cui cuan cun s sa se si sai sao sou san sen sang seng song su suo sui suan sun zh zha zhe zhi zhai zhei zhao zhou zhan zhen zhang zheng zhong zhu zhua zhuo zhuai zhui zhuan zhun zhuang c h cha che chi chai chao chou chan chen changchengchong chu chua chuo chuai chui chuan chunchuang sh sha she shi shai shei shao shou shan shen shang sheng shu shua shuo shuai shui shuan shun shuang r re ri rao rou ran ren rang reng rong ru rua ruo rui ruan run j ji jia jiao jie jiu jian jin jiang jing jiong ju jue juan jun q qi qia qiao qie qiu qian qin qiang qing qiong qu que quan qun x xi xia xiao xie xiu xian xin xiang xing xiong xu xue xuan xun g ga ge gai gei gao gou gan gen gang geng gong gu gua guo guai gui guan gun guang k ka ke kai kei kao kou kan ken kang keng kong ku kua kuo kuai kui kuan kun kuang h ha he hai hei hao hou han hen hang heng hong hu hua huo huai hui huan hun huang y ya ye yao you yan yang yong yi yin ying yu yue yuan yun w wa wo wai wei wan wen wang weng wu

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) Shēngdiào วรรณยุกต์ ( 声 调) ตารางท่ี 1.7 วรรณยุกต์ 4 รปู 5 เสียง ประกอบดว้ ย วรรณยกุ ต์ รปู วรรณยกุ ต์ วธิ ีเขียน เทียบเสยี งภาษาไทย เสียงที่ 1 ˉ ซา้ ย-ขวา สามัญ เสียงที่ 2 ˊ ล่าง-บน (ขวา) จตั วา เสยี งที่ 3 ˇ บน-ล่าง-บน เอก เสยี งท่ี 4 ˋ บน-ลาง (ขวา) โท เสยี งที่ 5 ไมม่ ี ไม่มี เสยี งเบา หลกั การใสเ่ ครือ่ งหมายวรรณยกุ ต์ในภาษาจีน 1. ใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์บนสระเด่ียว 6 ตัว โดยเรียงตามลาดับ a o e i u ü และ เครอ่ื งหมายวรรณยุกต์ตอ้ งอยูต่ าแหน่งตรงกลาง 2. การใสเ่ ครื่องหมายวรรณยุกตบ์ นสระ i ใหเ้ อาจดุ ดา้ นบนออก 3. การใส่เคร่ืองหมายวรรณยุกต์บนสระผสม iu ให้วางเครื่องหมายวรรณยุกต์บนสระ u เท่านน้ั ตารางที่ 1.8 หลักการใสเ่ ครอื่ งหมายวรรณยุกตใ์ นภาษาจนี ประกอบดว้ ย สระเดีย่ ว สามัญ จตั วา เอก โท a ā á ǎ à o ō ó ǒò e ē é ěè i ī í Ǐì u ū ú ǔù ü ǖ ǘ ǚǜ Hàn zì อักษรจนี (汉字) อักษรจีนคือ อักษรภาพ เป็นอักษรท่ีเกิดจากภาพวาดและวิวัฒนาการมาเป็นตัวอักษรจีนที่ นิยมใช้ในปัจจุบัน โดยแต่ละเส้นไม่สามารถนามาผสมแล้วอ่านออกเสียงเป็นภาษาจีนได้ แต่ต้องใช้ ความจาเปน็ ตัวอักษร ซึง่ ตวั อกั ษรหน่งึ อาจจะเกิดจากเส้นขดี หลาย ๆ เสน้ ประกอบกัน 5

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) fán tǐ zì อักษรจีนแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคือ อักษรจีนแบบตัวเต็ม “繁体字” และอักษรจีนแบบ jiǎn tǐ zì ตัวย่อ “简体字” ปัจจุบันคนจีนแผ่นดินใหญ่ใช้อักษรจีนแบบตัวย่อ เน่ืองจากจานวนเส้นน้อยลง สามารถจาไดง้ ่ายขึน้ แต่ยังคงมีบางพืน้ ทท่ี ่ีใชอ้ ักษรจีนแบบตวั เตม็ เชน่ ฮ่องกง มาเกา๊ ไตห้ วนั เป็นตน้ ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์แมนดารินเอดูเคชั่น (2556, หน้า 40) ได้ให้ความหมายของตัวอักษรจีนว่า ตัวอักษรจีน ก็คือตัวอักษรที่ได้วิวัฒนาการจากอักษรรูปภาพอันเก่าแก่ท่ีได้พบเจอระหว่างการเรียนภาษาจีน การเรียนตัวอักษรจีนนับเป็นการเร่ิมต้นของผู้เรียนท่ีจะได้สัมผัสกับวัฒนธรรมจีนอย่างแท้จริง ซึ่งตัวอักษรจีน เปน็ หนง่ึ ในตัวอกั ษรทมี่ ีประวัติยาวนานท่ีสุดของโลก มีวิวัฒนาการมา 5,000 กว่าปี โดยมีจานวนผู้ใช้ภาษาจีน ถงึ หนง่ึ ในสข่ี องโลก ตวั อกั ษรจีนนบั ว่ามีคณุ ปู การอนั ใหญ่หลวงตอ่ วฒั นธรรมจนี หลายพันปีที่ผ่านมา ตัวอักษรจีนมีวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงรูปแบบมาหลายครั้งและค่อย ๆ เปล่ียนจนมาเป็นตัวหนังสือจีนมาตรฐานท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่งช่วงวิวัฒนาการของ ตัวอักษรจีนเป็นชว่ งใหญ่ ๆ ได้ดังนี้ 1. ภาษาท่ีแกะสลักบนกระดองเต่า (สมัยยิน สมัยชาง) 甲骨文(殷代,商 代) 2. ภาษาจารึกบนเครื่องทองเหลอื ง (ซโี จว ชุนชิว) 金文 (西周,春秋) 3. ตัวอักษรจ้วน (จั้นกว๋อ ต้าจ้วน – ฉิน เสี่ยวจ้วน) 篆书(战国 大篆 – 秦 小篆) 4. ตวั อกั ษรลี่ (ราชวงศฮ์ ั่น) 隶书 (汉朝) 5. ตัวอกั ษรขา่ ย (ตวั เต็ม) 楷书(繁体) 6. ตวั อกั ษรข่าย (ตวั ยอ่ ) 楷书(简体) Hàn zì bǐ huà เสน้ ขดี ตัวอักษรจีน (汉字笔画) อักษรจีนประกอบด้วยเส้นขีดตั้งแต่ 1-64 ขีด เส้นขีดแต่ละเส้นมีช่ือเรียกแตกต่างกันออกไป ในพจนานุกรมจะเรียงอักษรตามหมวดและจานวนขีด อักษรจีนบางตัวมีจานวนเส้นขีดมากและเขียน ยาก ดังนั้นการเขียนอักษรจีนต้องเขียนตามลาดับเส้นขีดให้ถูกต้องและเว้นระยะห่างเท่า ๆ กัน นอกจากน้ียังต้องรู้ความหมายและการออกเสียงตัวอักษรจีนแต่ละตัว ซ่ึงอาจต้องใช้ความจามากกว่า ภาษาอ่นื ทาใหค้ นสว่ นใหญ่คิดวา่ ภาษาจีนเปน็ ภาษาทย่ี ากภาษาหน่ึง 6

ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) Hàn zì bǐ huà míng chēng biǎo ชือ่ เรียกเสน้ ขดี ตัวอกั ษรจีน (汉字笔画 名 称 表) ตารางท่ี 1.9 ชอื่ เรียกเสน้ ขีดตวั อกั ษรจีน ลาดับ เส้นขีด ชื่อเรยี ก ตวั อยา่ ง 序号 笔画 名称 例子 横 héng 1 竖 shù 三 2 撇 piě 中 3 点 diǎn 力 4 捺 nà 六 5 提 tí 文 6 横折 héng zhé 红 7 横撇 héng piě 马 8 横钩 héng gōu 水 9 横折钩 héng zhé gōu 买 10 横折提 héng zhé tí 刀 11 横折弯 héng zhé wān 说 12 横折折 héng zhé zhé 朵 13 横折斜钩 héng zhé xié gōu 凹 14 横折弯钩 héng zhé wān gōu 飞 15 横撇弯钩 héng piě wān gōu 九 16 横折折撇 héng zhé zhé piě 那 17 横折折折 héng zhé zhé zhé 及 18 凸 7

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) ลาดบั เสน้ ขีด ช่ือเรยี ก ตวั อย่าง 序号 笔画 名称 例子 横折折折钩 héng zhé zhé gōu 19 竖提 shù tí 奶 20 竖折 shù zhé 很 21 竖钩 shù gōu 山 22 竖弯 shù wān 小 23 竖弯钩 shù wān gōu 四 24 竖折撇 shù zhé piě 儿 25 竖折折 shù zhé zhé 专 26 竖折折钩 shù zhé zhé gōu 鼎 27 撇点 piě diǎn 鸟 28 撇折 piě zhé 女 29 斜钩 xié gōu 云 30 弯钩 wān gōu 我 31 卧钩 wò gōu 了 32 心 Hàn zì jié gòu jī běn lèi xíng รปู แบบพ้นื ฐานโครงสร้างอกั ษรจีน (汉字结构基本类型) ตัวอกั ษรจนี ส่วนใหญ่มีส่วนประกอบ 2 ส่วนหรือ 2 ส่วนข้ึนไป มีโครงสร้างหลัก 4 โครงสร้าง ดงั ตอ่ ไปน้ี zuǒ yòu jié gòu 1. โครงสรา้ งซ้ายขวา(左 右结构) เขยี นจากดา้ นซ้ายกอ่ นเขยี นดา้ นขวา เชน่ 8

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) shàng xià jié gòu 2. โครงสรา้ งบนลา่ ง( 上 下结构) เขียนจากดา้ นบนกอ่ นเขียนลงมาดา้ นล่าง เช่น nèi wài jié gòu 3. โครงสร้างนอกใน(内 外结构) เขยี นจากดา้ นนอกก่อนเขยี นเข้าดา้ นใน เชน่ แตก่ ็มขี อ้ ยกเวน้ พิเศษสาหรับตัวอักษรจนี บางตัว ทตี่ ้องเขียนจากดา้ นในก่อนเขียนด้านนอก เชน่ zōng hé jié gòu 4. โครงสรา้ งผสม( 综 合结构) 9

ภาษาจนี เพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) การเขยี นยดึ ตามกฎเกณฑเ์ ดิมด้านบนคือ เขียนจากด้านซ้ายก่อนเขียนด้านขวา เขียนจาก ด้านบนก่อนเขียนลงมาด้านล่าง เขียนจากด้านนอกก่อนเขียนด้านใน เพียงแต่โครงสร้างดังกล่าว ถกู ผสมผสานอยใู่ นอกั ษรจีนตัวเดียวกัน เช่น Hàn zì jiān jià jié gòu zǒng biǎo รูปแบบสดั สว่ นโครงสรา้ งอกั ษรจนี (汉字间架结构 总 表) ตารางที่ 1.10 รูปแบบสดั ส่วนโครงสรา้ งอกั ษรจนี 1 รูปแบบโครงสร้าง ตวั อยา่ ง สดั สว่ นโครงสรา้ ง 结构类型 例字 间架比例 木水 แบบเด่ียว สเ่ี หลี่ยมจตั รุ สั 独体 群朋 方正 โครงสร้างซา้ ย–ขวา 伟提 ซา้ ย–ขวาเทา่ กนั 左右结构 左右相等 刚数 ซา้ ยแคบ–ขวากว้าง 左窄右宽 ซา้ ยกวา้ ง–ขวาแคบ 左宽右窄 ตารางท่ี 1.11 รูปแบบสัดสว่ นโครงสรา้ งอักษรจีน 2 10

ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) รปู แบบโครงสรา้ ง ตัวอย่าง สดั ส่วนโครงสรา้ ง 结构类型 例字 间架比例 โครงสรา้ งซา้ ย–กลาง–ขวา 哪街 ซา้ ย-กลาง–ขวาเทา่ กนั 左中右结构 谢翻 左中右相等 ซา้ ย-กลาง–ขวาไมเ่ ทา่ กัน โครงสรา้ งบน–ล่าง 思架 左中右不等 上下结构 丽笔 您点 บน–ลา่ งเท่ากนั 左右相等 ตารางที่ 1.12 รปู แบบสัดส่วนโครงสรา้ งอักษรจีน 3 บนเลก็ -ลา่ งใหญ่ 左窄右宽 รปู แบบโครงสร้าง ตวั อยา่ ง บนใหญ่-ลา่ งเล็ก 结构类型 例字 左宽右窄 โครงสร้างบน–กลาง–ลา่ ง 累意 สดั ส่วนโครงสรา้ ง 上中下结构 赛曼 间架比例 图因 โครงสร้างล้อมรอบ บน-กลาง–ลา่ งเท่ากัน 全包围结构 上中下相等 ซา้ ย-กลาง–ขวาไม่เทา่ กนั โครงสร้างล้อมครึ่งเดยี ว 床康 上中下不相等 半包围结构 送建 ล้อมรอบ 全包 ซา้ ยบนล้อมขวาล่าง 左上包右下 ซ้ายลา่ งลอ้ มขวาบน 左下包右上 11

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) ตารางท่ี 1.13 รูปแบบสัดสว่ นโครงสรา้ งอักษรจีน 4 รปู แบบโครงสร้าง ตัวอย่าง สัดส่วนโครงสรา้ ง 结构类型 例字 间架比例 匡医 ซา้ ยลอ้ มขวา 左包右 โครงสร้างล้อมครึ่งเดยี ว 包句 ขวาบนล้อมซ้ายลา่ ง 半包围结构 问同 右上包左下 บนล้อมลา่ ง โครงสรา้ งสมส่วนกนั 凶 上包下 对称结构 坐爽 ซ้ายลา่ งขวาล้อมสว่ นบน 晶磊 左下右包上 โครงสร้างแบบตวั 品 สมส่วนกัน 品字形结构 对称 เฉลย่ี 3 ส่วนเทา่ กัน 三匀 Hàn zì bǐ shùn guī zé biǎo ระเบยี บกฎเกณฑ์การเขยี นตัวอักษรจนี (汉字笔 顺 规则表) ตารางที่ 1.14 ระเบียบกฎเกณฑก์ ารเขยี นตัวอกั ษรจีน ระเบยี บการเขียน อกั ษรตัวอย่าง ลาดบั ขดี 规则 例字 笔顺 เขยี นเสน้ ขวางก่อนเส้นต้ัง 十 先横后竖 下 เขยี นเส้นซา้ ยก่อนเส้นขวา 八 12

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) ระเบยี บการเขียน อักษรตัวอย่าง ลาดับขดี 规则 例字 笔顺 先撇后捺 天 เขยี นเส้นบนก่อนเสน้ ล่าง 三 从上到下 京 เขียนดา้ นซา้ ยกอ่ นเขียนดา้ นขวา 地 从左到右 做 เขียนดา้ นนอกก่อนเขียนเข้าด้านใน 月 从外到内 同 เขยี นด้านนอกเขา้ หาดา้ นในเสรจ็ แลว้ จงึ ปดิ 日 先里边后封口 国 ส่วนกลางก่อนสองข้าง 小 先中间后两边 水 Bǔ chōng guī zé ระเบยี บการเขยี นลาดับขีดเพิม่ เติม (补 充 规则) 1. ระเบยี บการเขียน “ ”คอื การเขยี นเป็นขีดแรกเม่ือ “ ”อยู่ตาแหนง่ ตรงกลางหรือ guǎng tóu ด้านซา้ ยของสว่ นบนตวั อกั ษร เชน่ 广 และ 头 13

ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) และจะเขียนเปน็ ขดี สดุ ทา้ ยเมื่อ “ ”อยตู่ าแหน่งขวาบนหรือด้านในของตัวอกั ษร เชน่ wǒ shū wǎ chā 我 书 และ 瓦 叉 2. อักษรโครงสร้าง “ซา้ ยบนล้อมขวาล่าง”ซา้ ยบนลอ้ มรอบกาหนดให้เขียนส่วนบนและด้าน yuán chuáng yī ในกอ่ น ค่อยเขยี นส่วนซา้ ยและส่วนลา่ งทีหลัง เชน่ 原 床 และ 医 3. อักษรโครงสร้าง “ขวาบนล้อมซ้ายล่าง”กาหนดให้เขียนส่วนบนและส่วนขวาก่อน ค่อย sī jù yún เขยี นส่วนในทหี ลงั เช่น 司 句 และ 匀 4. อักษรโครงสร้าง “ซ้ายล่างขวาล้อมส่วนบน”กาหนดให้เขียนส่วนบน (ตรงกลาง) ก่อน huà xiōng yōu คอ่ ยเขยี นสว่ นซ้าย – ลา่ ง แลว้ กข็ วาตอ่ ทีหลัง เชน่ 画 凶 และ 幽 5. อักษรท่ีมีโครงสร้างลักษณะส่วนซ้าย – ล่างทาหน้าท่ีเป็นส่วนโอบล้อมส่วนอื่น ระเบียบ การเขียนจะแบ่งเปน็ 2 กรณี 5.1 กาหนดใหเ้ ขยี นส่วนบนและขวากอ่ น คอ่ ยเขียนส่วนซา้ ยและส่วนล่าง หากส่วนซ้าย - zhè yuǎn jìn jiàn yán ล่าง เป็นหมวดคา “ ”หรือ “ ”เช่น 这 远 近 建 และ 延 5.2 กาหนดให้เขียนส่วนซ้ายและล่างก่อน ค่อยเขียนส่วนบนและขวาทีหลัง ในกรณีส่วน gǎn zhào tí shì ซ้าย - ล่าง เป็นหมวดคาอื่น ๆ เช่น 赶 赵 题 และ 匙 Cí lèi jiǎn chēng biǎo ชอื่ ย่อจวี ภิ าค (词类 简 称 表) 名词 (名) míngcí คานาม ชอ่ื เฉพาะ 专有名词 (专名) zhuányǒumíngcí คาสรรพนาม 代词 (代) dàicí ปฤจฉาสรรพ 疑问代词 (疑代) yíwèndàicí นิ ย ม ส ร ร พ นาม (指代) zhǐshìdàicí 指示代词 นาม 14

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) 动词 (动) dòngcí คากรยิ า 助动词 (助动) 形容词 (形) zhùdòngcí คากริยาช่วย 数词 (数) 量词 (量) xíngróngcí คาคุณศพั ท์ 副词 (副) 介词 (介) shùcí คาบอกจานวน 连词 (连) 助词 (助) liàngcí ลักษณนาม 疑问助词 (疑助) เสรมิ fùcí คากริยาวิเศษณ์ 语气助词 (语助) น้าเสียง jiècí คาบพุ บท 叹词 (叹) 象声词 (象声) liáncí คาสันธาน 词头 (头) 词尾 (尾) zhùcí คาเสรมิ yíwènzhùcí ปฤจฉาคา yǔqìzhùcí ค า เ ส ริ ม tàncí คาอทุ าน xiàngshēngcí คาเลียนเสียง อปุ สรรค cítóu ปัจจยั cíwěi Shù zì ภาษาจนี 汉语 ตัวเลข (数字) líng ตารางที่ 1.15 ตัวเลข 零 ภาษาไทย 泰语 ศนู ย์ 15

ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) ภาษาจนี 汉语 ภาษาไทย 泰语 yī หนึ่ง สอง 一 สาม èr ส่ี หา้ 二 หก เจ็ด sān แปด เกา้ 三 สบิ รอ้ ย sì พนั หม่นื 四 ร้อยลา้ น wǔ 16 五 liù 六 qī 七 bā 八 jiǔ 九 shí 十 bǎi 百 qiān 千 wàn 万 yì 亿

ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) èr shí wàn * “แสน” ในภาษาจนี เทา่ กับ “สิบหมน่ื ” เชน่ สองแสน ภาษาจีนพูดวา่ “二十万” wǔ bǎi wàn “ล้าน” ในภาษาจีนเทา่ กบั “ร้อยหม่ืน” เช่น ห้าล้าน ภาษาจีนพูดว่า “五 百 万” bā qiān wàn “สบิ ลา้ น” ในภาษาจีนเท่ากับ “พนั หมื่น” เชน่ แปดสบิ ล้าน ภาษาจนี พดู วา่ “八 千 万” Zhōngguó wénhuà วฒั นธรรมจนี ( 中 国 文化) ความหมายแฝงในตัวเลข ตัวเลขในภาษาจีนบางตัวมีการออกเสียงคล้ายคลึงกัน ทาให้เกิดความสับสนในการออก yī qī liù jiǔ sì shí เสียง เช่น เลข 1 “一” และ 7 “七” เลข 6 “六” และ 9 “九” เลข 4 “四” และ 10 “十” ดังน้ันการออกเสยี งตวั เลขในภาษาจีนควรออกเสียงใหถ้ ูกต้องและชดั เจน นอกจากการออกเสยี งที่คลา้ ยคลึงกันแล้ว ตัวเลขภาษาจีนบางตัวยังมีความหมายแฝงอีกด้วย liú ตัวเลขบางตัวเป็นเลขที่มีความหมายดี เป็นสิริมงคล เช่น เลข 6 ออกเสียงคล้ายกับคาว่า “流” fā fā cái แปลว่า “ราบรื่น” เลข 8 ออกเสียงใกล้เคียงกับคาว่า “发” (ย่อมาจากคาว่า “发才”) แปลว่า “ความร่ารวย” ดังนน้ั คนจนี นิยมใชเ้ ลข 8 เปน็ หมายเลขโทรศพั ท์ ทะเบยี นรถ ทะเบียนบ้าน เป็นตน้ wǔ ตัวเลขบางตัวเป็นเลขท่ีมีความหมายไม่ดี ไม่เป็นสิริมงคล เช่น ส่วนเลข 5 “五” wú sì sǐ ออกเสียงคล้ายกับคาว่า “无” แปลว่า “ไม่มี” เลข 4 “四” ออกเสียงคล้ายกับคาว่า “死” แปลว่า “ตาย” เลข 14 เพราะเลข 1 ในภาษาจีนสามารถออกเสียง 2 เสียงคือ (yī) และ (yāo) เลข 14 yào sǐ ออกเสียงคล้ายกับคาว่า “要死” แปลว่า “อยากตาย” หรือ “ไปตายซะ” ดังนั้น ในงานแต่งงาน หรอื งานมงคลจึงไม่นยิ มใช้เลข 4 หรือ เลข 14 ในวฒั นธรรมจีน มีความเชื่อว่าตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขแห่งความโชคดีหรือเป็นเลขมงคล (auspicious; 吉利) และมีบางตัวเลขเป็นเลขแห่งความโชคร้ายหรือเป็นเลขอวมงคล (inauspicious; 不利) ตามคาในภาษาจีนที่ตัวเลขนน้ั มกี ารออกเสียงคล้ายคลึง โดยเช่ือว่าเลข 0, 6, 8 และ 9 ล้วนเป็นเลขมงคลเน่ืองจากเป็นคาพอ้ งเสียงกับคาท่มี ีความหมายในเชงิ บวก 17

ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) เลข 0 (零 หรอื 柠, พนิ อนิ : líng or níng) มีความหมายว่าทัง้ หมด (all) และยังทาให้ เลขจานวนเงนิ ท่ีลงทา้ ยดว้ ยเลขนี้มคี ่ามากขึ้น เลข 2 (二 หรือ 两, พินอิน: èr or liăng) เป็นตัวเลขท่ีมักได้รับการยอมรับว่าเป็น เลขทีด่ ใี นวัฒนธรรมจนี โดยมคี ากล่าวท่วี า่ : “สง่ิ ที่ดีมักมาเป็นคู่” และมักพบว่ามีการซ้าตัวอักษรในชื่อ สินค้า เช่น ความสุข ซึ่งมีตัวอักษรว่า 囍 (ความสุขเป็นคู่ หรือสองเท่า) ซึ่งมาจากตัวอักษร 喜 (ความสขุ ) สองตวั รวมกัน เลข 3 (三, พินอิน: sān) มีเสียงคล้ายกับตัวอักษรคาว่า \"เกิด\" ในภาษาจีน (生, พินอิน: shēng) และถอื เป็นเลขนาโชค เลข 5 (五, พินอิน: wŭ) มีความสัมพันธ์กับธาตุท้ังห้า (五行) ซ่ึงประกอบด้วยน้า ไฟ ดิน ไม้ และโลหะ ในหลักปรัชญาจีน นอกจากนี้ยังสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ สมเด็จพระจักรพรรดิจีนอีกด้วย อาทิ ประตูจัตุรัสเทียนอันเหมินท่ีเป็นเส้นทางหลักเข้าสู่พระราชวัง ตอ้ งหา้ มประกอบดว้ ยช่องโค้ง (arches) 5 ช่อง เปน็ ต้น เลข 6 เป็นตัวแทนของความร่ารวยในภาษาจีนกวางตุ้งเนื่องจากมีการออกเสียงคล้ายกับ ตัวอักษร 祿 (Lok) ซ่ึงหมายถึงเงินเดือน เลข 6 (六, พินอิน: liù) ในภาษาจีนกลางก็อ่านออกเสียง เหมือนกับตัวอักษร “溜 (strong current)” (พินอิน: liù) และคล้ายกับตัวอักษร “流 (flow)” (พินอนิ : liú) จงึ ถือเปน็ เลขท่ดี ีสาหรบั ธุรกิจ เลข 7 (七, พินอิน: qī) เป็นเลขมงคลสาหรับความสัมพันธ์ เน่ืองจากเป็นสัญลักษณ์ของ “การร่วมกัน” นอกจากน้ียังเป็นเลขนาโชคที่ดีท่ีสุดในโลกตะวันตกด้วย ซึ่งมักจะหาได้ยากสาหรับ เลขที่มีความหมายท่ีดีท้ังในวัฒนธรรมจีนและในวัฒนธรรมตะวันตกพร้อม ๆ กัน โดยเลขนี้มีเสียง คล้ายกับอักษรจีนคาวา่ 起 (พินอิน: qǐ) ซ่ึงมีความหมายว่า เกิดข้ึน และอักษร 气 (พินอิน: qì) ที่มี ความหมายวา่ สาระสาคัญของชีวติ เลข 49 ซึ่งเป็นเลขท่ีมาจากเลขยกกาลังของเลข 7 มักพบในนิทานพ้ืนบ้านของจีน และ พิธกี รรมทางศาสนาทั้งเตา๋ และพุทธในวัฒนธรรมจีน ตวั อยา่ งเช่น มีความเชื่อที่ว่าวิญญาณของผู้เสียชีวิต จะยงั คงวนเวียนอยู่บนโลก 49 วัน ดังนัน้ พิธีบงั สุกุลครัง้ ทีส่ องจงึ มักจดั ข้ึนในวันครบรอบ 49 วันน้ี นอกจากน้ี ยังมีบางพิธีกรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับเลข 49 ท่ีใช้ชื่อเรียกที่มาจากเลข 7 ว่า “7-7-49” (七四十九) โดยไม่ใช้เลข “49” โดยตรง (วิกพิ ีเดยี สารานกุ รมเสรี, 2558) 18

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) Liàn xí แบบฝกึ หัด (练习) Rèn dú shēng cí 1. ฝกึ อ่านและเรยี นรู้คาศพั ท์ (认读 生 词) èr wǔ liù jiǔ 二五 六 九 shí sì sì shí shí bā qī shí 十四 四十 十八 七十 2. Fān yì hàn yǔ 2. จงแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาจีน (翻译汉语) 2.1 ยีส่ ิบเกา้ ___________________________________________ 2.2 เจด็ สบิ หก ___________________________________________ 2.3 หนึ่งรอ้ ยสามสิบ ___________________________________________ 2.4 ห้าร้อยส่ีสบิ แปด ___________________________________________ 2.5 สามพนั หกร้อยเกา้ สบิ สอง ___________________________________________ Fān yì tài yǔ 3. จงแปลภาษาจนี เปน็ ภาษาไทย (翻译泰语) Shí qī 3.1 十七 19

ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) ___________________________________________ Sān shí wǔ 3.2 三十五 ___________________________________________ Jiǔ shí jiǔ 3.3 九十九 ___________________________________________ Yì bǎi liù shí bā 3.4 一百六十八 ___________________________________________ Liǎng bǎi sì shí ' èr 3.5 两 百四十二 ___________________________________________ Xiě yì xiě 4. จงเขยี นพยัญชนะภาษาจีน (写一写) 4.1 _________________________________________ 4.2 _________________________________________ 4.3 _________________________________________ 4.4 _________________________________________ 4.5 _________________________________________ Xiě yì xiě 5. จงเขียนสระภาษาจนี (写一写) 5.1 _________________________________________ 5.2 _________________________________________ 20

ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) 5.3 _________________________________________ 5.4 _________________________________________ 5.5 _________________________________________ สรุป ภาษาจีนกลางเป็นภาษาหนึ่งซึ่งมีความสาคัญต่อโลกในยุคปัจจุบัน เพราะประเทศ จีนมี ประชากรมากท่ีสุดในโลก ทาให้ภาษาจีนเป็นภาษาที่คนท่วั โลกใชก้ ันมากรองลงมาจากภาษาองั กฤษ ภาษาจีนกลาง เรียกอีกอย่างว่า “แมนดาริน” ประกอบด้วย สัทอักษรจีนและอักษรจีน การเรียนภาษาจีนกลางให้เข้าใจควรเร่ิมจากการออกเสียงสัทอักษรจีนก่อน หลังจากนั้นค่อยฝึกเขียน เสน้ ขดี อกั ษรจีน สัทอักษรจีนเป็นเครอ่ื งมอื ในการออกเสียงเรียกอีกอย่างว่า “pinyin” (พินอิน) บางตัวอ่านออกสียง คล้ายคลึงกับภาษาไทย แต่บางตัวก็อ่านออกเสียงต่างกับภาษาไทย สัทอักษรจีนประกอบด้วย พยัญชนะภาษาจีน 21 เสียง พยัญชนะพิเศษ 2 เสียง สระเดี่ยว 6 เสียง สระเด่ียวพิเศษ 3 เสียง สระผสม 29 เสียง และวรรณยกุ ต์ 4 รูป 5 เสียง อกั ษรจนี เปน็ เครือ่ งมอื ในการเขยี น อกั ษรจนี คอื อักษรภาพ เป็นอักษรที่เกิดจากภาพวาดและ วิวัฒนาการมาเป็นตัวอักษรจีนท่ีนิยมใช้ในปัจจุบัน โดยแต่ละเส้นไม่สามารถนามาผสมแล้วอ่านออก เสียงเป็นภาษาจีนได้ แต่ต้องใช้ความจาเป็นตัวอักษร ซ่ึงตัวอักษรหน่ึงอาจจะเกิดจากเส้นขีดหลาย ๆ เส้นประกอบกัน ต้ังแต่ 1 - 64 ขีด เส้นขีดแต่ละเส้นมีช่ือเรียกแตกต่างกันออกไป ในพจนานุกรมจะ เรียงอักษรตามหมวดและจานวนขีด อักษรจีนบางตัวมีจานวนเส้นขีดมากและเขียนยาก ดังนั้นการเขียน อักษรจนี ตอ้ งเขยี นตามลาดบั เสน้ ขดี ให้ถูกต้องและเวน้ ระยะห่างเทา่ ๆ กนั fán tǐ zì อกั ษรจีนแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทคือ อักษรจีนแบบตัวเต็ม “繁体字” และอักษรจีนแบบ jiǎn tǐ zì ตัวย่อ “简体字” ปัจจุบันคนจีนแผ่นดินใหญ่ใช้อักษรจีนแบบตัวย่อ เน่ืองจากจานวนเส้นน้อยลง สามารถจาไดง้ า่ ยขน้ึ แต่ยงั คงมบี างพืน้ ที่ทีใ่ ชอ้ กั ษรจีนแบบตวั เตม็ เช่น ฮอ่ งกง มาเก๊า ไต้หวนั เป็นต้น ตัวเลขในภาษาจีนบางตัวมีการออกเสียงคล้ายคลึงกัน ทาให้เกิดความสับสนในการออกเสียง yī qī liù jiǔ sì shí เช่น เลข 1 “一” และ 7 “七” เลข 6 “六” และ 9 “九” เลข 4 “四” และ 10 “十” ดังน้ัน การออกเสียงตัวเลขในภาษาจีนควรออกเสียงใหถ้ ูกตอ้ งและชัดเจน 21

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) นอกจากการออกเสียงที่คล้ายคลึงกันแล้ว ตัวเลขภาษาจีนบางตัวยังมีความหมายแฝงอีกด้วย liú ตัวเลขบางตัวเป็นเลขท่ีมีความหมายดี เป็นสิริมงคล เช่น เลข 6 ออกเสียงคล้ายกับคาว่า “流” fā fā cái แปลว่า “ราบร่ืน” เลข 8 ออกเสียงใกล้เคียงกับคาว่า “发” (ย่อมาจากคาว่า “发才”) แปลว่า “ความร่ารวย” ดงั นน้ั คนจีนนยิ มใชเ้ ลข 8 เปน็ หมายเลขโทรศัพท์ ทะเบยี นรถ ทะเบียนบ้าน เป็นตน้ wǔ ตวั เลขบางตวั เป็นเลขทมี่ ีความหมายไมด่ ี ไมเ่ ป็นสิริมงคล เชน่ สว่ นเลข 5 “五” ออกเสยี ง wú sì sǐ คลา้ ยกับคาว่า “无” แปลว่า “ไมม่ ี” เลข 4 “四” ออกเสยี งคลา้ ยกบั คาว่า “死” แปลว่า “ตาย” เลข 14 เพราะเลข 1 ในภาษาจนี สามารถออกเสียง 2 เสยี งคือ (yī) และ (yāo) เลข 14 ออกเสียง yào sǐ คล้ายกับคาว่า “要死” แปลว่า “อยากตาย” หรือ “ไปตายซะ” ดงั น้นั ในงานแต่งงานหรืองานมงคล จึงไมน่ ยิ มใชเ้ ลข 4 หรือ เลข 14 22

ภาษาจนี เพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) บทท่ี 2 Dì èr kè 第二课 การทกั ทาย Dǎ zhāo hu 打招呼 บทน้ีเกีย่ วกับการทักทายท่ัวไป การถามสารทุกข์สุขดิบ โดยเน้ือหาจะแบ่งออกเป็น คาศัพท์ใหม่ บทสนทนา คาศัพท์เพิ่มเติม บทสนทนาเพิ่มเติม คาอธิบาย หลักภาษา วัฒนธรรมจีนและ แบบฝึกหัด เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเนื้อหา ผู้เขียนอธิบายคาศัพท์ก่อนอธิบายเนื้อหาในบทสนทนา เนื้อหาในบทสนทนาเป็นการสนทนาเกี่ยวกับการทักทายตามช่วงเวลา การถามสารทุกข์สุขดิบ การแสดง ความห่วงใย การให้กาลังใจกัน การกล่าวขอบคุณ และการกล่าวอาลา เนื้อหาในบทสนทนา เพิ่มเติมเป็นการสนทนาเกี่ยวกับการทักทายตามชว่ งเวลา การถามสถานการณ์ตอนนี้ กล่าวขอโทษ เมื่อไม่สะดวกสนทนาด้วย และกล่าวอาลา เนื้อหาในคาอธิบายและหลักภาษาเป็นการอธิบาย เกี่ยวกับหลักการใช้ภาษาจีนที่ถูกต้องพร้อมทั้งยกตัวอย่าง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น เนื้อหาใน วัฒนธรรมจีนอธิบายเกี่ยวกับมารยาทการทักทายของคนจีน เนื้อหาในแบบฝึกหัดท้ายบทเป็น แบบฝึกหัดท่ีหลากหลายเพื่อเปน็ การทบทวนความรู้ความเข้าใจของผู้อา่ น Shēng cí (代) nǐ คณุ เธอ (形) คาศพั ท์ใหม่ ( 生 词) (助) hǎo ดี (代) 1. 你 (副) ma ไหม 2. 好 (助) 3. 吗 (副) wǒ ฉนั 4. 我 (动) 5. 很 (代) hěn มาก 6. 呢 (副) 7. 也 ne ละ่ 8. 学习 9. 怎么样 yě ก็ 10.不 xuéxí เรียน zěnme yàng เปน็ อยา่ งไร bù ไม่

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) 11.太 (副) tài มาก สูๆ้ 12.加油 jiāyóu ขอบคณุ ไมเ่ ปน็ ไร 13.谢谢 (动) xièxie ลากอ่ น 14.不客气 búkèqi ช่อื หมิง แซ่เฉิน ชื่อเหมย่ แซ่ซู 15.再见 (动) zàijiàn Shuō huà rén Chén Míng Sū Měi คสู่ นทนา ( 说 话 人) 1. 陈明 2. 苏美 Kè wén บทเรยี น (课文) Chén Míng Sū Měi เนื้อหาในบทเรียนนี้เป็นการสนทนาระหว่าง “ 陈 明 ” กับ “苏 美” โดยทั้งสอง ฝ่ายสนทนาโต้ตอบทักทายท่ัวไป ถามสารทุกข์สุขดิบ แสดงความห่วงใย ให้กาลังใจ กล่าวขอบคุณ และกล่าวอาลา Chén Míng Nǐ hǎo 陈明 : 你好! Sū Měi Nǐ hǎo 苏美 : 你好! Chén Míng Nǐ hǎo ma 陈明 : 你好 吗? Sū Měi Wǒ hěn hǎo Nǐ ne 苏美 : 我 很 好,你呢? Chén Míng Wǒ yě hěn hǎo Nǐ xué xí zěnme yàng 陈明 : 我也很 好。你学习怎么 样 ? Sū Měi Bú tài hǎo 苏美 : 不太 好。 Chén Míng Jiā yóu Jiā yóu 陈明 : 加 油!加 油! 24

ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) Sū Měi Xiè xie 苏美 : 谢谢! Chén Míng Bú kè qi Zài jiàn 陈明 : 不客气!再 见! Sū Měi Zài jiàn 苏美 : 再 见! Bǔ chōng cí yǔ คาศพั ท์เพิ่มเตมิ (补 充 词语) 1. 早上 (名) zǎo shàng ตอนเชา้ zuìjìn ช่วงนี้ 2. 最近 (名) máng ยงุ่ yǒu diǎnr นดิ หนอ่ ย 3. 忙 (形) duì bù qǐ ขอโทษ xiànzài ตอนนี้ 4. 有点儿 yǒu มี xiān ก่อน 5. 对不起 qù ไป shàng kè เขา้ เรียน 6. 现在 (名) méi guān xi ไมเ่ ป็นไร 7. 有 (动) 8. 先 (副) 9. 去 (动) 10.上课 (动) 11.没关系 Bǔ chōng kè wén บทเรียนเพมิ่ เตมิ (补 充 课文) Sū Měi Chén Míng เนื้อหาในบทเรียนเพิ่มเติมนี้เป็นการสนทนาระหว่าง “苏 美” กับ “ 陈 明 ” สนทนาทักทายกันในตอนเช้า ถามสถานการณ์ตอนนี้ กล่าวขอโทษเมื่อไม่สะดวกสนทนาด้วย และ กล่าวอาลา Sū Měi Zǎo shàng hǎo 苏美 : 早 上 好! 25

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) Chén Míng Zǎo shàng hǎo 陈 明 : 早 上 好! Sū Měi Nǐ zuì jìn máng ma 苏美 : 你最近 忙 吗? Chén Míng Yǒu diǎnr máng Duì bu qǐ Xiàn zài wǒ yǒu kè 陈 明 : 有 点 儿 忙 。对 不起! 现 在 我 有 课, Wǒ xiān qù shàng kè le 我 先 去 上 课了。 Sū Měi Méi guān xi 苏美 : 没 关 系! Chén Míng Zài jiàn 陈 明 : 再 见! Sū Měi Zài jiàn 苏美 : 再 见! Zhù shì คาอธิบาย (注释) เนื้อหาในคาอธบิ ายเปน็ การอธบิ ายเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการผันเสียงวรรณยุกต์ท่ี 3 การผันเสียง Bù Ne “不” และการใช้ “呢” เพ่อื ให้ผู้อ่านเข้าใจหลกั การใชภ้ าษาจนี ได้ง่ายขน้ึ 1. การผนั เสยี งวรรณยกุ ต์ที่ 3 การผนั เสยี งวรรณยุกต์ที่ 3 หรือเสียงเอก ในภาษาจีน กรณีพยางค์เสียงวรรณยุกต์ที่ 3 มี 2 พยางค์ติดกัน ให้เปล่ียนพยางค์แรกเป็นเสียง วรรณยกุ ต์ที่ 2 หรอื เสยี งจตั วา เสียง 3 (ˇ) + เสียง 3 (ˇ) เสยี ง 2 (ˊ ) + เสยี ง 3 (ˇ) กรณพี ยางค์เสยี งวรรณยกุ ตท์ ี่ 3 มี 3 พยางคต์ ดิ กัน สามารถเปลยี่ นได้ 2 วิธีคอื 1.1 เปล่ยี นพยางคท์ ่ี 2 เป็นเสยี งวรรณยุกต์ที่ 2 หรือเสียงจตั วา เสยี ง 3 (ˇ) + เสียง 3 (ˇ) + เสียง 3 (ˇ) เสียง 3 (ˇ) + เสียง 2 (ˊ ) + เสียง 3 (ˇ) 1.2 เปลย่ี นพยางค์ที่ 1 และ 2 เป็นเสียงวรรณยกุ ต์ที่ 2 หรอื เสียงจตั วา เสยี ง3(ˇ)+เสยี ง3(ˇ)+เสยี ง3(ˇ) เสยี ง2(ˊ )+เสียง2(ˊ )+เสยี ง3(ˇ) ตัวอย่าง อ่านวา่ Ní hǎo Nǐ hǎo 你好 1) 你 好 26

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) Hěn gāo อ่านวา่ Hén gāo 2) 很 高 很高 Hǎo duǎn อา่ นว่า Háo duǎn 3) 好 短 好短 Wǒ hěn hǎo อ่านวา่ Wǒ hén hǎo 4) 我 很 好 我很好 Wǒ hěn hǎo อา่ นวา่ Wó hén hǎo 5) 我 很 好 我很好 Bù 2. การผนั เสยี ง “不” Bù “不” แปลว่า “ไม่” เมื่ออยู่หน้าพยางค์ที่มีวรรณยุกต์เสียงท่ี 1 (ˉ) เสียงที่ 2 (ˊ ) และ Bù เสียงท่ี 3 (ˇ) “不” อ่านออกเสียงว่า “ปู้” หรืออ่านเสียงเดิม แต่เม่ืออยู่หน้าพยางค์ที่มีวรรณยุกต์ Bù เสียงที่ 4 (ˋ ) “不” ตอ้ งผันเป็นวรรณยุกต์เสียงท่ี 2 (ˊ ) อ่านออกเสียงว่า “ป”ู๋ ตัวอยา่ ง Bù hē 1) 不喝 Bù nán 2) 不难 Bù hǎo 3) 不好 Bú rè 4) 不热 Bú pàng 5) 不 胖 Ne 3. การใช้ “呢” Ne คนจีนนิยมใช้คาว่า “呢” วางท้ายประโยคคาถามหรือประโยคบอกเล่า ซ่ึงมีความหมาย ภาษาไทยวา่ “ละ่ ” , “นะ” , “นะ่ ” , “นน่ี า” เปน็ ต้น 27

ภาษาจีนเพื่อการส่ือสาร (Chinese for Communication) Ne เหยนิ จิง่ เหวิน (2558, หนา้ 218 - 219) ได้ใหค้ วามหมายของ “呢” วา่ 3.1 ใช้ในประโยคคาถาม ใชค้ กู่ บั คาปฤจฉาสรรพนาม แปลวา่ “ละ่ ” 3.2 ใชใ้ นประโยคย้อนถามทีไ่ มม่ ีคาปฤจฉาสรรพนาม แปลว่า “ละ่ ” 3.3 ใช้ในประโยคคาถามที่ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งหรือให้เลือกระหว่างคายืนยันกับ คาปฏเิ สธ แปลวา่ “ละ่ ” 3.4 ใชใ้ นประโยคยอ้ นถาม แปลวา่ “ละ่ ” 3.5 ใช้ในประโยคบอกเล่า ยนื ยนั ความเปน็ จริง แสดงน้าเสียงจงใจพูดให้เกินความจริงนิด หนอ่ ย แปลวา่ “นะ ละ่ น่ีนา” 3.6 ใช้หยดุ พกั เสยี งในประโยคบอกเลา่ เพอื่ ยกตัวอยา่ ง แปลวา่ “นะ่ ” ตวั อยา่ ง Wǒ yǒu yí gè nǐ ne 1) 我 有一个,你呢? Dì di qù guò le tā ne 2) 弟弟去过了,她呢? Zuó wǎn tā hái méi huí jiā ne 3) 昨 晚他 还 没 回 家呢。 Jīn tiān lǎo shī bù lái shàng kè ne 4) 今天 老师不来 上 课呢。 Wǒ mā ma hěn hǎo nǐ mā ma ne 5) 我 妈妈 很 好,你妈妈呢? Yǔ fǎ หลกั ภาษา (语法) Yě Yǒu diǎnr เนื้อหาในหลักภาษาเป็นการอธิบายเกี่ยวกับหลักการใช้ “也” , “有 点 儿” และ “ Xiān 先 ” เพอ่ื ให้ผูอ้ า่ นเขา้ ใจหลักการใช้ภาษาจีนได้งา่ ยขน้ึ Yě 1. 也 เปน็ คากรยิ าวิเศษณ์ท่ใี ชบ้ ่อยมาก มีความหมายวา่ “ก็...เหมือนกัน” , “ก็...เช่นกัน” ใช้ใน Yě สถานการณ์ท่ีมีความสอดคล้องกันระหว่างประโยคแรกและประโยคที่ตามมา โดยจะวาง “也” ไวห้ นา้ สว่ นที่ต้องการขยาย 28

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) Yě เหยนิ จ่งิ เหวนิ (2558, หน้า 151) ได้ให้ความหมายของ “也” ว่า “ก็....เหมือนกัน” 1.1 ถ้าทั้งสองกรณีเหมือนกันหรืออยู่ในฐานะคู่ขนาน 1.2 กรณที ี่ตอ้ งการแสดงความหมายว่า ไม่ว่าจะเปน็ อย่างไร จะเกดิ ผลอยา่ งใดอย่างหนึง่ Yě 1.3 กรณีท่ีต้องการแสดงความหมายว่า “ถึงแม้ว่า.....แต่.....” ให้ใช้ “也” ข้างหน้ามักจะมี Suī rán Jí shǐ “虽然....., 即使.....。” Yě เมชฌ สอดส่องกฤษ (2560, หน้า 36) ได้ให้ความหมายของ “也” ว่า “ก็ , อีกทั้งยัง” Yě สถานการณด์ ารงอยู่พร้อม ๆ กัน (อยู่ดว้ ยกนั ) ข้อความหน้าและหลัง “也” มีน้าหนักเท่าเทียมกัน ไม่มี สว่ นใดสาคญั กวา่ อีกส่วนหนึง่ ประธานของท้งั 2 ขอ้ ความอาจเป็นสง่ิ เดียวกันหรอื คนละอยา่ งก็ได้ ตวั อย่าง Nǐ bù lái wǒ yě bù lái 1) 你不来,我也不来。 Bà ba mǎi le mā ma yě mǎi le 2) 爸爸买了,妈妈也买了。 Zuótiān xià yǔ jīn tiān yě xià yǔ 3) 昨天下雨,今天也下雨。 Nǐ chī wǔ fàn wǒ yě chī wǔ fàn 4) 你吃 午饭,我也吃 午饭。 Péngyou hē pí jiǔ wǒ yě hē pí jiǔ 5) 朋 友喝啤酒,我也喝啤酒。 Yǒu diǎn Yǒu diǎnr 2. 有 点 หรือ 有 点 儿 ภาษาไทยมีความหมายว่า “นิดหน่อย” “…..ไปนิดนึง” , “…..ไปหน่อย” เป็นคากริยา วเิ ศษณ์ วางไวห้ นา้ คาคุณศัพท์ ทาหนา้ ท่ขี ยายคากรยิ าหรือคาคณุ ศัพท์เป็นหลัก ส่วนใหญ่มักใช้กับคาที่ มคี วามหมายในดา้ นลบ แสดงความรูส้ ึกไมพ่ อใจหรอื ไม่เปน็ ทนี่ า่ พึงพอใจ ตวั อยา่ ง Zhè jiàn yī fu yǒu diǎnr guì 1) 这 件衣服有 点 儿贵。 29

ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) Nà běn cí diǎn yǒu diǎnr dà 2) 那 本词典 有 点 儿大。 Tā de qián bāo yǒu diǎnr jiù 3) 他的钱 包 有 点 儿旧。 Hàn yǔ yǔ fǎ yǒu diǎnr fù zá 4) 汉语 语法 有 点 儿复杂。 Zhōngguó lǎo shī de pí fū yǒu diǎnr bái 5) 中 国 老师的皮肤有 点 儿白。 Xiān 3. 先 Xiān ภาษาไทยมคี วามหมายว่า “...ก่อน” มักวางไว้หน้าคากริยา กรณีที่มีสองประโยค “ 先 ” zài ránhòu จะวางไว้ประโยคแรก ส่วนประโยคหลัง มักมีคาเชื่อม “再” หรือ “然后” วางไว้หน้าประโยค เพอ่ื ให้ประโยคสมบูรณย์ ง่ิ ขนึ้ ตวั อย่าง Wǒ xiān zǒu le 1) 我 先 走了。 Nǐ xiān chī fàn zài hē shuǐ 2) 你 先 吃 饭,再喝水。 Mā ma xiān xǐ shǒu zài zuò cài 3) 妈妈 先洗 手 ,再 做菜。 Tóngxué men xiān dú kè wén ránhòu fān yì 4) 同 学 们 先 读 课文,然后 翻译。 Nǐ xiān jìn qù wǒ zài wàimiàn zuò yí huìr 5) 你 先 进去,我 在 外 面 坐一会儿。 Zhōngguó wénhuà วฒั นธรรมจนี ( 中 国 文化) มารยาทการทกั ทายของคนจนี 30

ภาษาจนี เพ่ือการสื่อสาร (Chinese for Communication) Nǐ hǎo การทักทายทั่วไปของคนจีน มักใช้คาว่า “你好!” ในภาษาไทยมีความหมายว่า “สวัสดี” อาจเป็นคนที่รู้จักคุ้นเคยกันหรือเพ่ิงเจอกันเป็นคร้ังแรกก็ได้ คาน้ีใช้ได้กับคนทุกเพศทุกวัย Nǐ hǎo ทกุ โอกาส ทกุ สถานที่ เมอ่ื ฝา่ ยตรงข้ามทกั ทายดว้ ยคาว่า “你好!” อีกฝ่ายกต็ อบกลับด้วยคาว่า “ Nǐ hǎo 你好!” เช่นเดยี วกัน เมื่อต้องการแสดงความเคารพหรือ ให้เกียรติผู้อาวุโสกว่า เช่น ญาติผู้ใหญ่ หัวหน้า Nín hǎo เจ้านาย ลกู คา้ เปน็ ต้น ควรใชค้ าว่า “您 好!” ซง่ึ มคี วามหมายวา่ “สวสั ดี” Nǐ qù นอกจากนี้ยังสามารถทักทายด้วยประโยคทั่วไปเหมือนคนไทย เช่น คุณไปไหน “你去 nǎr Nǐ chī fàn le ma 哪儿?” หรอื คณุ กินข้าวแล้วยงั “你吃 饭了吗?” ตามสถานการณท์ ่ีเกดิ ขน้ึ ประวิทย์ เจริญประวัติ (2556, หน้า 33) ได้ให้ความหมายของการทักทายของคนจีน คนจีนทักทายคนคุ้นเคยเหมือนคนไทย ส่วนใหญ่ถามโดยไม่ได้ต้องการรู้จริง ๆ เช่น คู่สนทนากาลังทา อะไรอยู่หรือจะไปไหน เป็นเพียงการถามเพ่ือสร้างความรู้สึกสนิทสนมกันมากขึ้น ไม่ดูห่างเหินเหมือน การทักทายเพียงคาว่า “สวัสดี” ดังนั้นหากมีคนถามเราด้วยประโยคข้างต้นน้ี เราก็ไม่จาเป็นต้องตอบ อย่างละเอียด สามารถตอบอย่างง่าย ๆ ตามสถานการณท์ ีต่ า่ งกนั ไป Liàn xí แบบฝกึ หดั (练习) Rèn dú shēng cí 1. ฝกึ อา่ นและเรยี นรูค้ าศพั ท์ (认读 生 词) lèi shòu nán pàng 累瘦 难 胖 gōngzuò gǎnmào kuài lè xià kè 工作 感冒 快乐 下课 Tiánkòng 2. จงเติมคาลงในช่องว่างใหถ้ กู ต้อง ( 填 空 ) 2.1 Nǐ hǎo A :你好! B :____________! 31

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) Nǐ hǎo ma A :你好 吗? Wǒ hěn hǎo B :我 很 好,_________? Wǒ hěn hǎo Nǐ zěnme yàng A :我__________很 好。你________怎么 样 ? B :_____________。 Jiā yóu Jiā yóu A :加 油!加 油! B :_____________! Bú kè qi Zài jiàn A :不客气!再 见! B :_____________! 2.2 Zǎoshàng hǎo A :早 上 好! B :_________! Nǐ zuì jìn ma A :你最近_________吗? Yǒudiǎnr Duì bu qǐ Xiàn zài wǒ B :有 点 儿________。对不起! 现 在我______, Wǒ xiān qù le 我 先 去 _______了。 Méi guān xi A :没 关 系! Zài jiàn B :再 见! A :________! Fān yì hàn yǔ 3. จงแปลภาษาไทยเปน็ ภาษาจีนให้ถูกตอ้ ง (翻译汉语) 3.1 สวสั ดตี อนบา่ ย 32

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) __________________________________________ 3.2 ฉนั กส็ บายดี __________________________________________ 3.3 คุณเป็นอยา่ งไร __________________________________________ 3.4 ตอนน้ีฉันมีเรยี น __________________________________________ 3.5 ชว่ งน้ีฉันยุ่งนดิ หน่อย __________________________________________ Zào jù 4. จงแต่งประโยคใหส้ มบูรณ์ (造句) Yě 4.1 也 = ____________________________________ Bù 4.2 不 = ____________________________________ Xiān 4.3 先 = ____________________________________ Xiàn zài 4.4 现 在 = ____________________________________ Yǒu diǎnr 4.5 有 点 儿 = ________________________________ Huí dá wèn tí 5. จงตอบคาถามใหถ้ ูกต้อง (回答问题) Nǐ hǎo ma 5.1 你好 吗? _____________________________________________________________ 。 Nǐ zuì jìn máng ma 5.2 你最近 忙 吗? _____________________________________________________________ 。 33

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสาร (Chinese for Communication) Nǐ zuì jìn zěnme yàng 5.3 你最近怎么 样 ? _____________________________________________________________ 。 Nǐ xué xí zěnme yàng 5.4 你学习怎么 样 ? _____________________________________________________________ 。 Nǐ xiàn zài yǒu kè ma 5.5 你现在有课吗? _____________________________________________________________ 。 สรุป Nǐ hǎo 1. การทักทายเป็นภาษาจีน โดยทั่วไปสามารถพูดส้ัน ๆ ง่าย ๆ เป็นภาษาจีนว่า “你好” ในภาษาไทยมคี วามหมายว่า “สวสั ดี” 2. เมื่อต้องการแสดงความเคารพหรือ ให้เกียรติผู้อาวุโสกว่า เช่น ญาติผู้ใหญ่ หัวหน้า ลูกค้า Nín hǎo เป็นตน้ ควรทักทายโดยใชค้ าวา่ “您 好!” ในภาษาไทยมีความหมายว่า “สวสั ดี” Nǐ hǎo ma 3. หากต้องการถามสารทุกข์สุขดิบ สามารถพูดเป็นประโยคภาษาจีนว่า “你好 吗” ซง่ึ ภาษาไทยมีความหมายว่า “คณุ สบายดไี หม” Xiè xie 4. โดยมารยาทของคนจีน หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงกล่าวคาว่า “谢谢” แปลว่า “ขอบคุณ” Bú kè qi อีกฝา่ ยต้องกลา่ วคาว่า “ไมเ่ ปน็ ไร” ซ่งึ ภาษาจนี พดู วา่ “不客气” Zǎo shàng hǎo 5. การทกั ทายเป็นภาษาจนี สามารถทักทายตามชว่ งเวลาต่าง ๆ ได้ เช่น “早 上 好” ในภาษาไทยแปลว่า“สวสั ดตี อนเช้า” Duì bu qǐ 6. โดยมารยาทของคนจีน หากฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงกล่าวคาว่า “对 不起” ในภาษาไทย Méi guān xi แปลว่า “ขอโทษ” อีกฝ่ายตอ้ งกล่าวคาว่า “ไม่เปน็ ไร” ภาษาจีนพูดวา่ “没 关 系” 7. การผันเสียงวรรณยุกต์ท่ี 3 หรือเสียงเอก กรณีที่มีเสียงวรรณยุกต์สองพยางค์ติดกัน ให้เปลย่ี นพยางค์แรกเป็นเสียงวรรณยกุ ต์ที่ 2 หรอื เสยี งจตั วา 34

ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) Bù Bù 8. การใช้“不” กรณีที่พยางค์หลัง “不” เป็นวรรณยุกต์เสียงท่ี 1 (ˉ) เสียงที่ 2 (ˊ) Bù และเสียงที่ 3 (ˇ) คาว่า “不” จะไม่เปลี่ยนเสียงวรรณยกุ ต์ จะยงั คงอา่ นวา่ “ป”ู้ Bù Bù แต่กรณีที่พยางค์หลัง “不” เป็นวรรณยุกต์เสียงท่ี 4 (ˋ) คาว่า “不” จะเปลี่ยนเป็น เสยี งวรรณยุกต์ที่ 2 หรือเสยี งจตั วาทันที จะออกเสยี งเปน็ เสียง “ป”ู๋ Ne 9. การใช้ “呢” มักวางไว้ทา้ ยประโยคคาถามหรอื ประโยคบอกเล่า มีความหมายภาษาไทยว่า “ละ่ ”, “นะ”, “นะ่ ”, “น่นี า” เปน็ ต้น Yě 10. การใช้ “也” เป็นคากริยาวิเศษณ์ที่ใช้บ่อยมาก มีความหมายว่า “ก็.....เหมือนกัน”, “ก็.....เช่นกัน” ใช้ในสถานการณ์ท่ีมีความสอดคล้องกันระหว่างประโยคแรกและประโยคที่ตามมา Yě โดยจะวาง “也” ไว้หน้าส่วนที่ตอ้ งการขยาย Yǒu diǎnr ér Yǒu diǎn 11. การใช้ “有 点 儿” หรือ“有 点” ภาษาไทยมีความหมายว่า “นิดหน่อย” “…..ไปนิดนึง”, “…..ไปหน่อย” เป็นคากริยาวิเศษณ์ วางไว้หน้าคาคุณศัพท์ ทาหน้าที่ขยายคากริยา หรือคาคุณศัพท์เป็นหลัก ส่วนใหญ่มักใช้กับคาที่มีความหมายในด้านลบ แสดงความรู้สึกไม่พอใจ หรือไม่เป็นท่ีนา่ พึงพอใจ Xiān 12. การใช้ “ 先 ” ภาษาไทยมีความหมายว่า “…..ก่อน ” มักวางไว้หน้าคากริยา กรณีที่มี Xiān zài ránhòu สองประโยค “ 先 ” จะวางไว้ประโยคแรก ส่วนประโยคหลัง มักมีคาเชื่อม “再” หรือ “然后” วางไวห้ นา้ ประโยค เพอ่ื ให้ประโยคสมบูรณย์ ิ่งขึ้น Nǐ hǎo 13. คนจีนท่ัวไปทักทายว่า “你好!” มีความหมายว่า “สวัสดี” และฝ่ายตรงข้าม Nǐ hǎo ทักทายกลบั ดว้ ยคาวา่ “你好!” เชน่ เดยี วกัน หากทักทายญาติผู้ใหญ่หรือหัวหน้า ควรใช้คาว่า “ Nín hǎo Nǐ qù nǎr 您 好!” ซ่ึงมีความหมายว่า “สวัสดี” นอกจากน้ียังสามารถทักทายว่า“你去哪儿?” มี Nǐ chī fàn le ma ความหมายว่า “คุณไปไหน” หรือ “你吃 饭了吗?” มีความหมายว่า “คุณกินข้าวแล้วยัง” ตามสถานการณท์ ีเ่ กิดข้ึน 35

ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร (Chinese for Communication) 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook