Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR 2563 โรงเรียนบ้านกลาง

SAR 2563 โรงเรียนบ้านกลาง

Published by maruisone, 2021-05-22 15:16:43

Description: SAR 2563 โรงเรียนบ้านกลาง

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินตนเอง ของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านกลาง สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธ์ุ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก คำนำ กฎกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ได้กำหนดให้สถานศึกษา แตล่ ะแห่ง จัดใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกำหนดพร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนนิ เพื่อพฒั นาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานต้นสงั กัดหรือหน่วยงานท่ีกำกับ ดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา และเพ่ือรองรบั การประกันคุณภาพภายนอกและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื งใหใ้ ช้มาตรฐาน การศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ทไ่ี ด้กำหนดมาตรฐานการศกึ ษาเพือ่ เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา ดังนั้น โรงเรียนบา้ นกลาง จึงได้ดำเนินการรวบรวมขอ้ มูลและสารสนเทศ ผลการประเมินตนเองตาม มาตรฐานการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๓ ที่จะนำเสนอผลการประเมิน คุณภาพ การศึกษาทั้ง 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและ การจัดการ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำเสนอข้อมูล/ เอกสาร/หลักฐานเชงิ ประจักษ์ที่สนับสนุนและส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานโดยรวม และนำเสนอแผนพฒั นาและแนวทางเพอ่ื พัฒนามาตรฐานให้สูงข้นึ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self–Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 256๓ ฉบับนี้ โรงเรียนบ้านกลาง หวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนได้เป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณผ้เู ก่ียวข้องทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือ ในการประเมินคณุ ภาพครัง้ น้ี ว่าท่ีร้อยตรี (ประสิทธิ์ ทะเสนฮด) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นกลาง ๕ พฤษภาคม 256๔

ข สารบญั เรื่อง หนา้ คำนำ ก สารบัญ ข บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ค ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา ๑  ข้อมูลท่ัวไป 1  โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา ๔  ข้อมลู ครแู ละบุคลากร ๕  ขอ้ มูลนกั เรียน ๖  โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรียนบ้านกลาง ๗  สรปุ ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั สถานศึกษา ๑๐  ผลการทดสอบระดับชาติของผ้เู รียน ๑๕  ขอ้ มลู การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒๓ ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ๒๖  ระดบั ปฐมวยั ๒๖ ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ๒๖ - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒๘ - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทเี่ นน้ เด็กเป็นสำคญั ๓๐  ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 32 ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน ๓๒ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ๓๔ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ๓๕ สว่ นที่ 3 สรปุ ผล และแนวทางการพัฒนา ๓๗  ระดบั ปฐมวัย ๓๗  ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ๓๙ สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก ๔๓  คำส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมินผลคุณภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 256๓ ๔๔  ประกาศโรงเรยี นบ้านกลาง เรื่อง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ๔๘ เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา  ประกาศโรงเรียนบ้านกลาง เรื่อง การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อประกนั ๔๙ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา  การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย เพือ่ การประกันคุณภาพภายใน ๕๐ โรงเรียนบา้ นกลาง ปกี ารศึกษา 2563  การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในโรงเรียนบา้ นกลาง ปกี ารศกึ ษา 2563 ๕๑

ค บทสรปุ ผูบ้ ริหาร โรงเรยี นบ้านกลาง ที่ตงั้ หมู่ 6 ตำบลเหล่าไฮงาม อำเภอกฉุ ินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ สงั กดั สำนักงาน เขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนนักเรียน 1๔๙ คน จำนวนบุคลากรของโรงเรียน 1๖ คน โรงเรียนได้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาเพื่อจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 256๓ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐานทัง้ 3 มาตรฐาน สรุปผลการประเมนิ ดังน้ี ระดับคุณภาพการศึกษาโดยรวมอยูใ่ นระดบั ดี จำแนกเปน็ รายมาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ระดับคณุ ภาพ ดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ ดี มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตาม แผนปฏิบัติการประจำปี 256๓ โดยมีรายละเอียดโครงการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนในระดับชั้นป.๑ -ป.๓ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ใิ นการทดสอบระดับชาติ (RT, NT และ O-NET) เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาครบถ้วนและมีการนำสู่การปฏิบัติเพ่ือบรรลุ เปา้ หมายคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและบรบิ ทของสถานศึกษา นอกจากน้เี พือ่ รกั ษาคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาให้สูงข้ึน โรงเรยี นไดก้ ำหนดแผนพฒั นาและแนวทางเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยกำหนด วิสัยทัศน์ (Visions) ในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คือ “ภายในปี 256๔ นักเรียนในระดับ ประถมศึกษาตอนต้นต้องอ่านออกเขียนได้” และโรงเรียนมีแผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอย่างไรให้ได้มาตรฐานท่ีดี ขึน้ กว่าเดิม 1 ระดบั โดยมโี ครงการดังนี้ 1) โครงการพัฒนาความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ ตามเกณฑ์ ของแต่ละระดับช้ัน 2) โครงการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณอภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น 3) โครงการส่งเสรมิ การเรียนการสอนผ่านโทรศัพทม์ อื ถือ 4) โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ 5) โครงการสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมขุ 6) โครงการยกระดับผลการทดสอบ RT NT และ O-NET ๗) โครงการโรงเรียนวถิ พี ุทธ ปลูกฝังคุณธรรมนำความรู้ ๘) โครงการสถานศึกษาพอเพยี งตน้ แบบ ๙) โครงการพัฒนาส่ิงแวดล้อมให้เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 1๐) โครงการการจัดระบบประกนั คุณภาพภายใน 1๑) โครงการพฒั นาประสิทธิภาพครูและผบู้ ริหาร 1๒) โครงการพฒั นาสถานศึกษาเพ่ือรบั การประเมินโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพระดับเพชร 1๓) โครงการภาษาไทย ภาษาองั กฤษและภาษาอาเซยี นวนั ละคำ 1๔) โครงการพฒั นาห้องเรียนตน้ แบบ 4 สาระการเรียนรู้

ง 1๕) โครงการสง่ เสริมการผลิตและการใชส้ ื่อการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระ 1๖) โครงการสอนซอ่ มเสรมิ 1๗) โครงการประชมุ ผู้ปกครอง 1๘) โครงการแนะแนวและเยยี่ มบ้านนกั เรียน ๑๙) โครงการศกึ ษาดงู านแหล่งเรยี นรนู้ อกสถานศึกษา 2๐) โครงการอนรุ ักษ์น้ำและป่าไม้โดยใชก้ ิจกรรมลกู เสือเนตรนารี ลงนาม วา่ ที่ร้อยตรี (ประสทิ ธ์ิ ทะเสนฮด) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นกลาง ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ส่วนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา ๑.๑ ขอ้ มลู ท่ัวไป ๑.๑.๑ ลกั ษณะขององค์กร ช่ือสถานศกึ ษา: โรงเรียนบา้ นกลาง ท่ีอยู่: เลขท่ี - หมู่ท่ี ๖ บ้านกลาง ตำบลเหลา่ ไฮงาม อำเภอกฉุ นิ ารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์ รหสั ไปรษณีย์ 46110 สงั กัด: สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โทรศพั ท์: - โทรสาร: - E-Mail: - เปดิ สอน: ระดับช้นั อนุบาลปีท่ี 2 ถึงระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน ๑๑ หอ้ งเรียน จำนวนนักเรียน ๑๔๙ คน ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จำนวน ๑๖ คน ผู้อำนวยการสถานศึกษา: วา่ ทร่ี อ้ ยตรปี ระสทิ ธ์ิ ทะเสนฮด โทรศัพท์ 091-043-2189 รองผู้อำนวยการโรงเรยี น: นางสาวแว่นทพิ ย์ ไกยวรรณ์ โทรศัพท์ ๐๙๓-๔๖๑-๕๐๔๕ 1.1.2 สภาพแวดล้อมขององค์กร 1.1.2.1 ปรัชญา,คำขวัญ,วสิ ัยทัศน์,พันธกิจ และเป้าประสงค์ ปรัชญา: ปญญฺ าว ธเนน เสยฺโย “ปญั ญาประเสริฐกว่าทรพั ย”์ คำขวัญ: กตญั ญู ร้หู น้าท่ี มีวนิ ัย ใฝศ่ ึกษา จรรยางาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน: “โรงเรียนบ้านกลางเป็นโรงเรียนแห่งคุณภาพ เน้นการจัดการศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผู้เรียนเป็นคนดี ใฝ่เรียนรู้ ก้าวล้ำเทคโนโลยี บริหารจัดการสู่ มาตรฐานสากล” พันธกิจ 1. สร้างความตระหนัก ความเข้าใจกับชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงาน อน่ื ใหเ้ หน็ ความสำคญั ของการศกึ ษา เข้ามามีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา 2. จัดระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น เพ่อื ให้มสี ุขภาพแข็งแรง มคี ณุ ธรรม กตญั ญู รู้หน้าท่ี จริยธรรม มีวนิ ัย ปราศจากอบายมขุ และส่งิ เสพติด 3. พัฒนาระบบการเรยี นรู้ โดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 4. พัฒนาสถานศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ ส่งิ แวดล้อมทงั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น ให้เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ สะอาด รม่ รน่ื 5. ส่งเสริมและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีความกา้ วหน้า ทนั สมยั สู่ความเปน็ สากล 6. ส่งเสริมและพัฒนาครูให้สามารถใช้สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัยเขา้ มาจัดการเรียนการสอน โดยจัดหาใหเ้ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของครูและผู้เรียน

๒ เปา้ ประสงค์ 1. พัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้มคี วามพรอ้ มทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา 2. ส่งเสริมและพัฒนาครูใช้สื่อ เทคโนโลยีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เปน็ สำคัญ 3. พัฒนาครใู หม้ ีทกั ษะในการวิจัย สามารถใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละสบื คน้ ข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ต เพ่ือพฒั นาการเรียนการสอน 4. สง่ เสรมิ ชมุ ชนและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียเขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษา 5. พัฒนาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี คนเกง่ สามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสงั คมได้อยา่ งสันตสิ ขุ 6. พัฒนาระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนให้เปน็ ผู้มีทกั ษะชวี ติ 7. พัฒนาภมู ทิ ศั น์และแหลง่ เรียนร้ใู นโรงเรยี นให้เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ 1.1.2.2 อาคารสถานท่ี เทคโนโลยี และสิ่งอำนวยความสะดวกทส่ี ำคญั ของโรงเรยี น 1.1.2.2.1 อาคารเรียน จำนวน ๔ หลงั ไดแ้ ก่ อาคารเรียนชั้นป.๔-๖, อาคารเรียนช้ันป.๑-๓, อาคารไม้ และอาคารเรยี นชัน้ ม.๑-๓ 1.1.2.2.2 อาคารประกอบ จำนวน ๑ หลัง ได้แก่ อาคารแถม 1.1.2.2.3 ส่ิงปลูกสรา้ งอ่ืน ๆ จำนวน ๒ หลงั ได้แก่ บ้านพักครู ๑ หลัง และโรงอาหาร 1.1.2.2.4 ห้องปฏิบัติการอ่ืน ๆ จำนวน ๓ ห้อง ได้แก่ ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องภาษาอังกฤษ และห้องคณติ ศาสตร์ 1.1.2.3 หลักสตู รและการบรกิ ารทางการศกึ ษาของโรงเรียน 1.1.2.3.1 หลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกลาง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ 1.1.2.4 ผลงานทป่ี ระสบผลสำเรจ็ เปน็ ที่ประจักษ์ 1.1.2.4.1 ผลงานของนกั เรยี น  นักเรียนสอบแข่งขันนักเรียนรว่ มแขง่ ขนั ตอบปัญหาทางวิชาการ กลุ่มสถานศึกษาที่ ๖ ในงานนิทรรศการบ้านสวนผึ้ง OPEN HOUSE 2021 ณ รร.บ้านสวนผ้ึง มผี ลการแข่งขัน ดงั นี้ ระดับชน้ั ป.๑-ป.๓ ทีมสมองใส ฝกึ ซอ้ มโดยครสู พุ าลกั ษ์ ศึกขยาด ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อนั ดบั ที่ 2 ระดบั เหรียญทอง ระดับชน้ั ม.๑-ม.๓ - ทีมด.ญ.เตชินี , ด.ญ.เดอื นเพญ็ , ด.ช.วรโชติ ฝกึ ซ้อมโดยครสู รุ บดินทร์ ใจเย็น และ ครปู รียา นามเหลา ไดร้ บั รางวัลรองชนะเลศิ อันดับท่ี 2 ระดับเหรยี ญทอง  นักเรยี นทไี่ ดร้ บั รางวลั ในการแขง่ ขันกีฬากลุม่ สถานศึกษาท่ี 6ทั้งหมด ๖๒ รายการ รวม ๑๘๒ เหรียญ ซง่ึ มเี หรียญรางวลั รวมมากที่สดุ ในกล่มุ สถานศึกษาท่ี ๖ ดงั น้ี

๓ - กีฬาอนุบาล-โกลฟุตซอล ได้รับรางวลั ๑ เหรียญเงนิ - กฬี ากรีฑา ไดร้ ับรางวัล ๗ เหรียญทอง ๘ เหรยี ญเงนิ ๓ เหรยี ญทองแดง - กฬี ากระโดดไกล และทุ่มน้ำหนกั ได้รบั รางวัล ๓ เหรียญทอง ๒ เหรยี ญเงนิ - กีฬาประเภทฟุตบอล ฟุตซอล ได้รับรางวัล ๑ เหรยี ญทองแดง - กีฬาวอลเลย์บอล และวอลเลย์บอลชายหาด ได้รับรางวัล ๔ เหรียญทอง ๑ เหรียญเงิน ๒ เหรียญทองแดง - กีฬาเซปักตะกรอ้ ได้รบั รางวัล ๒ เหรียญทองแดง - กีฬาเทเบลิ เทนนิส ได้รับรางวัล ๑ เหรยี ญทอง ๑๐ เหรยี ญเงนิ ๓ เหรียญทองแดง - กฬี าเปตอง ไดร้ บั รางวัล ๒ เหรยี ญทอง ๓ เหรยี ญเงนิ ๑ เหรยี ญทองแดง - กฬี าแชร์บอลหญงิ ได้รบั รางวลั ๑ เหรียญทองแดง - กีฬาหมากฮอส ไดร้ บั รางวัล ๑ เหรยี ญทอง ๑ เหรียญเงิน - กีฬาแบดมนิ ตนั ไดร้ ับรางวัล ๖ เหรยี ญทอง ๑ เหรียญทองแดง - กีฬาแฮนดบ์ อล ได้รับรางวัล ๑ เหรียญทอง 1.1.2.4.2 ผลงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา  นางปรียา นามเหลา ได้รับคัดเลือกเป็นครูผู้สมควรได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จ- เจ้าฟา้ มหาจกั รี ครั้งท่ี 4 ปี 2564 จงั หวดั กาฬสินธุ์  นายสุรบดินทร์ ใจเย็น ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับเหรียญทอง โดยได้รับคัดเลือกเป็น ตวั แทนเขตพนื้ ที่การศึกษา ในการประกวดรางวลั ทรงคุณค่า สพฐ (OBEC AWARDS) ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 256๓ ดา้ นครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์  รางวัลข้าราชการครูดีเด่น ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เนื่องในโอกาสวันครู ครั้งที่ ๖๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ - นางวรรณภา ขาวขำ ขา้ ราชการครูดเี ด่นกลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - นายสุรบดินทร์ ใจเย็น ขา้ ราชการครูดีเด่นกล่มุ สาระคณติ ศาสตร์ - นางณัฐกฤตา สลี าเหล่ียม ข้าราชการครูดีเด่นกลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ - นางสาวพัชราภรณ์ ระดาพัฒน์ ข้าราชการครดู เี ดน่ กลุ่มสาระการงานอาชพี

1.2 โครงสรา้ งการบริหารสถานศกึ ษา แผนภมู ิการบริหารจดั การ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ว่าที่รต.ประสิทธ์ิ ผู้อำนวยการโ กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ กลมุ่ บริหารงบประมาณ งบประมาณ หัวหนา้ กล่มุ งาน หวั หนา้ กลุม่ งาน นายณฐั พล ไชยขันธุ์ นางสาวแว่นทิพย์ ไกยวรรณ์ ครูประจำ ช้นั อนบุ าลปีที่ 2 ชั้นอนบุ าลปีที่ 3 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ น นางวัชราภรณ์ เจยี มตวั นางสาวแว่นทิพย์ ไกยวรรณ์ นางศริ ินาถ ดวงใจ นางธญั พร ไขสี ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ นายธรี ชยั ถริ ศลิ าเ นายสรุ บดินทร์ ใจเย็น นางปรยี า นามเหลา นางณฐั กฤตา สีลาเหลย่ี ม เจา้ หนา้ ที่ธุรกา น.ส.ปภัสสร ชิณเทศน์

4 รศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกลาง ทะเสนฮด คณะกรรมการทป่ี รึกษา โรงเรยี น กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล กลุม่ บริหารงานทัว่ ไป หวั หนา้ กลุม่ งาน หัวหน้ากลุ่มงาน นายสุรบดินทร์ ใจเยน็ นางศิรนิ าถ ดวงใจ ำช้นั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ นางสาวพชั ราภรณ์ ระดาพัฒน์ นายกฤษณ์ตกรณ์ ประสบศิลป์ นายณัฐพล ไชยขันธ์ุ นางวรรณภา ขาวขำ นางสาวศวิ พร พาลีรักษ์ นายสขุ ศรี เพ็งพุฒ เวทย์ นายแถว พาลีรกั ษ์ ๔ าร นักการภารโรง

๕ 1.๓ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบคุ ลากร บุคลากร ผูบ้ รหิ าร ข้าราชการครู พนกั งาน ครอู ัตราจ้าง เจา้ หนา้ ท่อี นื่ ๆ รวม 1 1๓ ราชการ 1 ๑ ทั้งหมด ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - 1๖ แผนภมู ิแสดงจานวนบุคลากรโรงเรยี นบา้ นกลาง 15 13 10 5 011 1 0 ผู้บรหิ าร ขา้ ราชการครู พนกั งานราชการ ครอู ัตราจา้ ง เจ้าหน้าที่อน่ื ๆ จานวนบุคลากร 2) วฒุ ิการศกึ ษาสูงสุดของบุคลากร บคุ ลากร ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม จำนวน - - 1๓ ๒ 1 ทั้งหมด 1๖ แผนภมู ิแสดงวุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร 15 13 10 50 0 21 0 ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ปวช. วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุดของบุคลากร

๖ 3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู 1 คน ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สัปดาห)์ สาขาวชิ า ๒ ๓ ๒๑.๕ 1. บริหารการศึกษา ๒ 19 2. ภาษาไทย 2 18 3. คณติ ศาสตร์ 2 ๒0 4. วทิ ยาศาสตร์ ๑ 19.5 5. ภาษาองั กฤษ - 19 6. สงั คมศกึ ษา ๑ - 7. พลศกึ ษา ๑ ๒๖ ๘. แนะแนว ๑ ๒๖ ๙. คอมพิวเตอร์ - ๒๕ ๑๐. ปฐมวัย - - ๑๑. ประถมศึกษา 1๕ - 1๒. เกษตรกรรม รวม 1.๔ ข้อมลู นักเรยี น จำนวนนกั เรยี น ปีการศึกษา 256๓ รวม 1๔๙ คน ระดบั ชนั้ เรยี น จำนวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลยี่ ต่อหอ้ ง ชาย หญิง อ.2 อ.3 1 7 6 13 13 รวม ป.1 1 6 8 14 14 ป.2 ป.3 2 13 14 27 ๑๔ ป.4 ป.5 1 5 7 12 12 ป.6 รวม 1 11 9 20 20 ม.1 ม.2 1 8 2 10 10 ม.3 รวม 1 7 9 16 16 รวมทงั้ หมด 1 9 2 11 11 1 10 5 15 15 6 50 34 84 14 1 4 7 11 11 1 11 5 16 16 1 7 4 11 11 3 22 16 38 ๑๓ 11 85 64 149 ๑๔

๗ แผนภูมแิ สดงจานวนนกั เรียนโรงเรียนบา้ นกลาง ๓๐ ๑๗6๓ ๑๔ ๑๒ ๒๐ ๑28๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑5๖ ๑๑ ๒๐ 68 75 9 9 29 5 11 7๔ ๑๐ 11 7 10 7๔ ๐ ชาย หญิง เปรียบเทยี บขอ้ มูลจานวนนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563 จานวน (คน) 100 85 83 84 45 27 38 80 43 24 2563 60 27 ปฐมวยั 40 2562 ประถม ขยายโอกาส 20 0 2561 ปีการศึกษา 1.5 โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนบ้านกลาง 1. โครงสร้างหลกั สูตรปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นกลาง โรงเรียนได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนสำหรับเด็กปฐมวัย (อายุ ๓-๖ ปี) ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ (อายุ ๔-๕ ปี) และชน้ั อนุบาลปีท่ี ๓ (อายุ ๕-๖ ปี) โดยมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกว่า 180 วันต่อปีการศกึ ษา แบ่ง ออกเป็น 2 ภาคเรียนต่อ 1 ปีการศึกษา ในแต่ละวันมีการจัดประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง โดย ตารางการจัดประสบการณ์ มีดังน้ี ตารางกิจกรรมประจำวนั ชั้นอนุบาลปีที่ 2-3 โรงเรียนบา้ นกลาง กิจกรรม เวลา หมายเหตุ กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ 15 นาที กจิ กรรมสร้างสรรค์ ๔0 นาที กจิ กรรมเสรี ๖๐ นาที กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ๑๕ นาที กจิ กรรมกลางแจง้ ๔0 นาที เกมการศกึ ษา ๒๐ นาที

๘ 2. โครงสรา้ งหลักสูตรประถมศึกษาโรงเรยี นบ้านกลาง เวลาเรยี น(ช่วั โมง/ปี) กลุม่ สาระการเรยี นรู้/ กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6  กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 200 200 200 160 160 160 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณติ ศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40 40 40 40 40 40 - ประวตั ศิ าสตร์ 40 ๔0 ๔0 80 80 80 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80 ศิลปะ 40 40 40 80 80 80 การงานอาชีพ 160 160 160 80 80 80 ภาษาตา่ งประเทศ 840 840 840 840 840 840 รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) 40 40 40 40 40 40  รายวิชาเพมิ่ เติม - 40 40 40 - - 40 หน้าทพ่ี ลเมอื ง 80 ภาษาตา่ งประเทศ - - - 40 40 120 วิทยาศาสตร์ (เพมิ่ เตมิ ) 40 รวมเวลาเรียน (เพ่ิมเตมิ ) 80 80 80 80 80  กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 กจิ กรรมแนะแนว 120 120 120 120 120 30 กิจกรรมนักเรยี น 10 - กิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 - ชมุ นุมพระพุทธศาสนา กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 40 40 40 40 40 30 30 30 30 30 รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 10 10 10 10 10 1,040 ชั่วโมง/ปี

๙ 3. โครงสรา้ งหลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนบ้านกลาง เวลาเรียน(ชว่ั โมง/ปี) กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ กจิ กรรม ระดบั มธั ยมศึกษา ม. 1 ม. 2 ม. 3 ภาคเรยี นท่ี ภาคเรยี นท่ี ภาคเรยี นที่ ภาคเรียนท่ี ภาคเรยี นท่ี ภาคเรียนท่ี 121212  กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 60 60 60 60 60 60 คณติ ศาสตร์ 60 60 60 60 60 60 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 60 60 60 60 60 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 60 60 60 60 60 60 - ประวตั ิศาสตร์ 20 20 20 20 20 20 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา - สุขศึกษา 20 20 20 20 20 20 - พลศกึ ษา 20 20 20 20 20 20 ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 40 การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40 ภาษาตา่ งประเทศ 60 60 60 60 60 60 รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 440 440 440 440 440 440  รายวิชาเพม่ิ เตมิ หน้าท่พี ลเมอื ง 20 20 20 20 20 20 ภาษาไทย (เพิ่มเติม) 20 20 20 20 20 20 คณติ ศาสตร์ (เพมิ่ เตมิ ) 20 20 20 20 20 20 วทิ ยาศาสตร์ (เพิม่ เติม) 20 20 20 20 20 20 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สาร 20 20 20 20 20 20 รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เตมิ ) 100 100 100 100 100 100  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20 กิจกรรมนักเรยี น - กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี 20 20 20 20 20 20 - ชุมนมุ พระพทุ ธศาสนา 12 13 12 13 12 13 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 8 7 8 7 8 7 รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 1,200 ช่วั โมง/ปี

๑๐ 1.๖ ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศึกษาปกี ารศึกษา 256๓ ๑.๖.๑ ระดบั ปฐมวยั ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ พฒั นาการแตล่ ะด้านในระดับ 3 ข้ึนไป ผลการประเมนิ พฒั นาการนักเรยี นด้าน ครบท้ัง 4 ดา้ น ระดับช้ัน รา่ งกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ญั ญา จิตใจ 5 อ.2 6 10 87 11 อ.3 14 12 10 12 16 รวม 20 22 18 19 59.26 เฉล่ยี รอ้ ยละ 74.07 81.48 66.67 70.37 ๑.๖.๒ รอ้ ยละของนักเรยี นที่มีเกรดเฉล่ยี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแตล่ ะรายวิชาในระดบั 3 ขน้ึ ไป ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถึง ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 256๓ จำนวน จำนวนร้อยละของนักเรยี นท่ีไดเ้ กรด ๓ ขนึ้ ไป นกั เรยี น ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ร้อยละ รายวชิ า 1๒ ๒๐ 10 16 11 15 11 16 11 122 ภาษาไทย ๑๐๐ 60 50 68.75 81.82 100 63.64 37.50 81.82 ๖๔๔ 71.50 คณิตศาสตร์ ๘๓.๓๓ 45 60 43.75 27.27 46.67 81.82 43.75 36.36 ๔๖๘ 51.99 วิทยาศาสตร์ ๑๐๐ 75 40 100 100 100 27.27 25 63.63 ๖๓๑ 70.10 สังคมศกึ ษา ศาสนาและ ๙๑.๖๗ 55 100 93.75 100 100 90.91 93.75 63.63 ๗๘๙ 87.63 วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ๑๐๐ 65 70 93.75 81.82 100 90.91 81.25 63.64 ๗๔๖ 82.93 สขุ ศกึ ษาและ ๑๐๐ 100 ๑๐๐ 93.75 90.91 100 90.91 93.75 81.82 ๘๕๑ 94.57 พลศกึ ษา ศลิ ปะ ๑๐๐ 90 ๑๐๐ 56.25 45.45 60 90.91 25 63.63 ๖๓๑ 70.14 การงานอาชพี ๑๐๐ 100 ๑๐๐ 100 90.91 100 90.91 81.25 81.82 ๘๔๕ 93.88 ภาษาอังกฤษ ๑๐๐ 70 40 87.50 90.91 66.67 54.55 37.50 45.45 ๕๙๓ 65.84 รวม ๘๗๕ ๖๖๐ ๖๖๐ ๗๓๘ ๗๐๙ ๗๗๓ ๖๘๒ ๕๑๙ ๕๘๒ ๖,๑๙๗ ๖๘๙ เฉล่ยี 97.22 73.33 73.33 81.94 78.79 85.93 75.76 57.64 64.64 76.51

้รอยละ ๑๑ แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีมีเกรดเฉล่ียผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น แต่ละรายวชิ าในระดบั 3 ขึน้ ไป ระดับ ป.1 – ม.๓ ๑๒๐ ๑๐๐ ๘๐ ๖๐ ๔๐ ๒๐ ๐ รายวชิ าตา่ ง ๆ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑.๖.๓ รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น อยู่ในระดบั ดี ขน้ึ ไป ระดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2563 ระดบั ชั้น จำนวน ผลการประเมิน ดเี ยยี่ ม ระดบั ดี ร้อยละ นักเรียน ไมผ่ า่ น ผา่ น ดี ขึ้นไป ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 1๒ - - 3 9 12 100 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 20 - 6 5 9 14 70 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 10 - 4 - 6 6 60 มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 16 - 3 6 7 13 81.25 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 11 - 1 6 4 10 90.91 รวม 15 - - 3 12 15 100 11 - 1 5 5 10 90.91 16 1 7 4 4 8 50 11 2 - 2 7 9 81.82 ๑๒๒ 3 22 34 63 97 79.51

๑๒ แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และ เขยี น อยู่ในระดบั ดี ขึ้นไป ระดับช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1–มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 150 100 100 ๘๑.๒๕ ๙๐.๙๑ ๑๐๐ ๙๐.๙๑ ๘๑.๘๒ 50 ๗๐ ๖๐ ๕๐ 0 ร้อยละ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑.๖.๔ ร้อยละของนกั เรยี นที่มผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ อยู่ในระดับดี ข้นึ ไป ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 256๓ ระดบั ช้ัน จำนวน ผลการประเมนิ ดีเย่ียม ระดับดี ร้อยละ นักเรยี น ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ขึน้ ไป ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 1๒ - 2 2 8 10 83.33 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 20 - 5 5 10 15 75 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 10 - - 3 7 10 100 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 16 - - 2 14 16 100 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 11 - 1 1 9 10 90.91 รวม 15 - - - - 15 100 11 - - 3 8 11 100 16 1 - 9 6 15 93.75 11 2 - 1 8 9 81.82 ๑๒๒ 3 8 26 70 111 90.98

๑๓ แผนภูมแิ สดงรอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลคณุ ลักษณะอันพึงประสงคอ์ ยใู่ นระดับ ดี ขึน้ ไป ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1–มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 256๓ ๑๒๐.๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๙๓.๗๕ ๑๐๐.๐๐ ๘๑.๘๒ ๘๐.๐๐ ๘๓.๓๓ ๗๕ ๙๐.๙๑ ๖๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๐.๐๐ รอ้ ยละ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑.๖.๕ รอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ปกี ารศึกษา 256๓ ของผู้เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ในระดับดีข้นึ ไป สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมิน ระดบั ดี รอ้ ยละ ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดเี ยย่ี ม ขนึ้ ไป 86.67 1. ความสามารถ -26 7 13 80 ในการส่อื สาร 6 12 86.67 2. ความสามารถ -36 100 ในการคดิ 7 13 100 90.67 3. ความสามารถ -26 15 15 ในการแกป้ ัญหา 13 15 4. ความสามารถในการใช้ - - - 9.6 13.6 ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้ - - 2 เทคโนโลยี เฉลย่ี - 2.33 6

๑๔ แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ผี ลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ปีการศกึ ษา 256๓ ของผู้เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ในระดับผ่านขึ้นไป 16 15 14 13 12 10 2 8 67 66 67 6 3 2 4 2 2 0 ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดีเย่ียม ๑.๖.๖ รอ้ ยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขัน้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ปกี ารศกึ ษา 256๓ ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ในระดับดีข้ึนไป สมรรถนะสำคญั ผลการประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยี่ยม ขึ้นไป 81.82 1. ความสามารถ 2 - - 99 81.82 ในการส่ือสาร 2 - 3 81.82 2 - 3 69 81.82 2. ความสามารถ 2 - - 81.82 ในการคดิ 2 - - 69 81.82 3. ความสามารถ 99 ในการแก้ปัญหา 99 4. ความสามารถในการใช้ 7.8 9 ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เฉลี่ย 2- 3

๑๕ แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของนกั เรียนที่มผี ลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ปีการศึกษา 256๓ ของผู้เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ในระดับผา่ นข้นึ ไป 107483065291 99 9 9 99 99 66 33 ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดเี ย่ียม ๑.๗ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (RT, NT และ O-NET) ๑.๗.๑ ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 1) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ปกี ารศกึ ษา 256๓ สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละจำแนกตามระดับ การอา่ นออกเสียง โรงเรียน เขตพ้นื ท่ี ประเทศ การอ่านรู้เรือ่ ง รวม 2 สมรรถนะ 75.83 69.91 74.14 61.83 70.36 71.8๖ 68.83 70.14 ๗๓.๐๒

๑๖ แผนภมู ิแสดงผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ 80 75.83 74.14 70.36๗๑.๘๖ 73.02 70 69.91 68.8370.14 61.83 60 50 40 30 20 10 0 การอ่านร้เู ร่อื ง รวม ๒ สมรรถนะ การอา่ นออกเสียง โรงเรยี น เขตพ้ืนที่ ประเทศ แผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนกั เรยี นทีม่ ผี ลการประเมนิ ความสามารถ ดา้ นการอ่านของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ จาแนกตามระดบั คุณภาพ 100.00 83.33 80.00 66.66 58.33 60.00 40.00 33.33 25.00 20.00 8.33 0.00 0.00 0.00 8.33 8.33 0.00 8.33 ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก การอา่ นออกเสียง การอา่ นรูเ้ ร่ือง รวมทั้ง ๒ สมรรถนะ

๑๗ ๒) การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รียน (RT) (Reading Test: RT) ปกี ารศกึ ษา 256๒- 256๓ สมรรถนะ ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ผลตา่ ง 256๒ 256๓ ระหว่างปกี ารศกึ ษา การอา่ นออกเสียง 73.55 75.83 การอา่ นรเู้ รื่อง 91.11 61.83 +2.28 รวม 2 สมรรถนะ 82.33 68.83 -29.28 -13.50 แผนภมู เิ ปรยี บเทยี บผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑-๒๕๖๓ 100 89.33 91.11 90 80.16 84.75 82.33 80 73.55 75.83 68.83 70 61.83 60 ปี ๒๕๖๓ 50 40 30 20 10 0 ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ การอ่านออกเสยี ง การอ่านรูเ้ รอ่ื ง รวม ๒ สมรรถนะ

๑๘ ๑.๗.๒ ผลการประเมินทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1) ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ปีการศกึ ษา 2563 ความสามารถ ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ระดบั ประเทศ ๓๗.๓๓ ระดับสพฐ. ๔๐.๔๗ ด้านคณิตศาสตร์ ๔๘.๘๓ ๓๙.๐๗ ๔๗.๔๖ ดา้ นภาษาไทย ๔๓.๐๘ ๔๕.๐๖ ๔๓.๙๗ รวมความสามารถทั้ง ๒ ด้าน ๔๒.๐๗ คะแนนเฉลีย่ ร้อยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รียน ระดบั ชาติ (NT) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ๖๐.๐๐ ๔๐.๐๐ 2) ๓กา๗ร.เ๓ป๓รยี ๓บ๙เท.๐ีย๗บ๔ผล๐ก.๔าร๗ประเมนิ ท๔ด๘สอ.๘บ๓ค๔วา๕ม.๐สา๖ม๔าร๗ถ.พ๔้ืน๖ฐานของ๔ผูเ้๒ร.ยี ๐น๗ระ๔ด๓บั .ช๐า๘ติ๔(N๓T.๙) ๗ ปีการศึกษา 256๑- 256๒ ๒๐.๐๐ ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา รอ้ ยละของผลต่าง ความสามารถ 256๑ 256๒ ระหว่างปีการศกึ ษา ๐.๐ด๐า้ นภาษา 31.07 ดา้ นคำนวณ ด้านคณติ ศาสตร์ 24.2ด8้านภาษาไทย เฉล่ยี ทงั้ ๒ ด้าน รดวา้ มนเเฉหลตย่ี ุผคลวามคคสะะามแแนนารนนถเเทฉฉลล้ังยย่ีี่ 3รร้อ้อดยย้าลลนะะขระอดงโับรปง32เรระ91ยี เ..ทน07ศ84 คะแนนเฉลย่ี -รอ้ ยละระดับเขตพ้ืนท่ี รอ้ ยละของจานวนนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐาน ของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ประจาปีการศึกษา 2563 จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ 60.00 50.00 50.00 33.33 40.00 33.33 33.33 20.00 16.6166.6166.66 33.33 16.66 0.00 ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นภาษาไทย รวมความสามารถทัง้ 2 ด้าน

๑๙ ๒) ผลเปรียบเทยี บภาพรวมผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT) และร้อยละของผลต่างระหว่างปกี ารศึกษา 2562-2563 ความสามารถ ปีการศึกษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ร้อยละของผลตา่ ง ระหว่างปีการศึกษา ด้านคณติ ศาสตร์ ๓๕.๙๒ ๓๗.๓๓ ดา้ นภาษาไทย ๔๓.๓๙ ๔๘.๘๓ +1.41 เฉลีย่ ความสามารถทั้ง ๒ ด้าน ๓๙.๖๖ ๔๓.๐๘ +5.44 +3.42 ร้อยละของจานวนนกั เรียนทีม่ ีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของ ผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เปรียบเทียบปกี ารศึกษา 256๑-2563 60 ๔๘.๘๓ ๓๙.๖๔๖๓.๐๘ ๔๓.๓๙ 29.04 40 31.7๓8๕.๙๓๒๗.๓๓ 31.07 24.28 20 0 ด้านภาษา ดา้ นเหตผุ ล เฉล่ียทั้ง 3 ด้าน ดา้ นคานวณ ปกี ารศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ๑.๗.๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 256๓ รายวชิ า ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ ๔๓.๖๔ ระดับ สพฐ. ๕๖.๒๐ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ๓๐.๐๐ ๕๒.๒๗ ๔๓.๕๕ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ๒๕.๔๕ ๓๔.๕๑ ๒๙.๙๙ ๔๒.๙๗ ๒๖.๓๕ ๓๘.๗๘ ๓๖.๔๓

๒๐ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ๖๐.๐๐ ปกี ารศึกษา 256๓ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๕๐.๐๐ ๕๖.๒๐ ๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ๕๒.๒๗ ๔๓.๕๕ ๓๖.๔๓ ๔๓.๖๔ ๓๔.๕๑ ๔๒.๙๗ ๓๘.๗๘ ๓๐.๐๐ ๒๕.๔๒๕๖.๓๕๒๙.๙๙ ๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละของโรงเรียน คะแนนเฉลีย่ ร้อยละระดับเขตพื้นที่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดบั ประเทศ 2) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 256๒ – 256๓ รายวิชา ปกี ารศกึ ษา 256๒ คะแนนเฉลี่ย ผลตา่ ง ระหว่างปีการศึกษา ภาษาไทย 49.90 ปกี ารศกึ ษา 256๓ ภาษาองั กฤษ 26.00 -6.26 คณิตศาสตร์ 30.50 ๔๓.๖๔ +4.00 วทิ ยาศาสตร์ 39.55 ๓๐.๐๐ -5.05 ๒๕.๔๕ +3.42 ๔๒.๙๗

๒๑ ร้อยละของจานวนนักเรยี นทีม่ ผี ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เปรยี บเทียบปกี ารศึกษา 256๑-256๓ 60 52.27 44.27 ๔๒.๙๗ 50 49.9 39.55 ๔๓.๖๔ 40 30 ๓๐.๐๐ 30.77 30.5 ๒๕.๔๕ 26.92 26 20 10 0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563

๒๒ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕63 รายวชิ า ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ 53.39 ระดบั สพฐ. 54.29 ภาษาไทย 28.93 34.38 ภาษาองั กฤษ 32.57 48.35 25.46 คณติ ศาสตร์ 26.54 27.45 29.89 วทิ ยาศาสตร์ 20.90 27.20 คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2563 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 60 53.39 54.29 50 48.35 40 34.38 32.57 25.46 26.5427.229.89 30 28.9237.45 20 20.9 10 0 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย คะแนนเฉลีย่ ร้อยละของโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละระดับเขตพืน้ ที่ คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดบั ประเทศ 2) การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา256๒ – 2563 รายวิชา ปีการศึกษา 256๒ คะแนนเฉลย่ี ผลต่าง ระหวา่ งปีการศึกษา ภาษาไทย 50.38 ปกี ารศึกษา 256๓ ภาษาองั กฤษ 29.88 +3.01 คณิตศาสตร์ 22.00 53.39 -0.95 วทิ ยาศาสตร์ 30.72 28.93 +10.57 32.57 -4.18 26.54

๒๓ รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ เปรยี บเทียบปีการศกึ ษา 2561-2563 60.00 53.0500.3853.39 50.00 40.00 37.85 30.00 20.00 27.5429.8828.93 32.57 30.72 26.54 21.2232.00 10.00 0.00 ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ๑.๘ ขอ้ มูลการใชแ้ หล่งเรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๑.๘.๑ จำนวนนกั เรียนที่ใชแ้ หลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ แหลง่ /ชั้น ป.1 ป.2 ป.3 ป.5 ป.6 ม.๑ ม.๒ ม.๓ หอ้ งสมดุ ป.4 ห้องวทิ ยาศาสตร์ แปลงนาโรงเรยี น ๑๒ ๒๐ ๑๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๖ ๑๑ หอ้ งคณติ ศาสตร์ หอ้ งภาษาอังกฤษ - - - - - - ๑๑ ๑๖ ๑๑ - - - ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๖ ๑๑ - - - ๑๖ ๑๑ ๑๕ - - - - - ๑๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๖ ๑๑

๒๔ แผนภูมแิ สดงจานวนนกั เรยี นท่ีใช้แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒๕ ๒๐ ๑๖ ๑๕ ๑๑๖๖ ๒๐ ๑๖ ๑๕ ๑๒ ๑๖ ๑๐ ๑๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๖ ๑๖ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๑๑ ๕ ๐ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ หอ้ งสมุด หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ แปลงนาโรงเรยี น หอ้ งคณิตศาสตร์ หอ้ งภาษาอังกฤษ ๑.๘.๒ จำนวนนกั เรียนทีใ่ ชแ้ หล่งเรยี นรนู้ อกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ แหล่ง/ชน้ั อ.๒ อ.๓ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑๓ ๑๔ ๑๒ ๒๐ ๑๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๖ ๑๑ วดั ปา่ ท่าแสงจนั ทร์ - - ๑๒ ๒๐ ๑๐ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๖ ๑๑ สำนกั สงฆป์ า่ ช้า - - - - - - - - ๑๑ - 8 บา้ นกลาง หมบู่ า้ นงูจงอาง - - - - - - - - ๑๑ - 8 จ.ขอนแก่น สวนสตั วข์ อนแก่น จ.ขอนแก่น

๒๕ แผนภูมแิ สดงจานวนนกั เรียนท่ีใชแ้ หลง่ เรยี นรู้นอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ๒๕ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๕ ๑๓ ๑๐ ๑๖ ๑๖ ๑๑ ๑๕ ๑๑ ๑๑ ๑๔ ๑๒๑๒ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๘ ๑๐ ๘ ๕ ๐ อ.๒ อ.๓ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ วัดป่าท่าแสงจันทร์ สานักสงฆ์ป่าชา้ บา้ นกลาง หมบู่ า้ นงจู งอาง จ.ขอนแกน่ สวนสตั ว์ขอนแก่น

๒๖ สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ดี ดีเลิศ มาตรฐานการศกึ ษา: ดี ดเี ลศิ มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ระดบั คณุ ภาพ : ดี 1. กระบวนการพฒั นา/ผลทีเ่ กิดจากการพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทสี่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง 1.1 วธิ กี ารพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพฒั นา โรงเรียนบา้ นกลาง มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้าน ร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจดั ใหเ้ ด็กไดร้ บั ประทานอาหารที่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่าง สม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง มีกิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียน ทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุด ที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย และได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเหล่าไฮงาม โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนใหเ้ ข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับโซนตำบลเหลา่ ไฮงาม ระดับกลุ่มสถานศึกษา มีการจัดกิจกรรม เรยี นรสู้ ูโ่ ลกกว้าง เพ่อื ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลือตนเอง เปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คม มีวินัย ในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษา ความสะอาด ท้ังภายในและนอกหอ้ งเรียน โดยการจดั กิจกรรมแบ่งเขตพนื้ ที่รับผดิ ชอบ รูจ้ ักช่วยเหลือ แบ่งปัน เพ่อื นในหอ้ งเรียน ทำงานร่วมกับเพ่ือนๆ ได้ โดยการใชก้ ิจกรรมกลุ่มในการจดั ประสบการณ์ บรู ณาการร่วมกับ กิจกรรมการเรียนการสอนแบบมอนเตสซอรี่ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตน และของ ส่วนรวม ปลูกฝังให้นกั เรียนรู้จักประเพณีวฒั นธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณ พ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญทางชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันแม่ วันไหว้ครู วนั เข้าพรรษา สง่ เสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซ่ือสัตย์สุจริต ไม่เอาส่ิงของของผู้อ่ืน มาเป็นของตน มีความอดทน มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรม

๒๗ ทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นกั เรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพอื่ สร้างจนิ ตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำ กิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดำเนิน การจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ และมีการจดั กจิ กรรมร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศไทย ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มกี ารจัดกจิ กรรมโครงงานเพ่ือการเรียนรู้ โดยสง่ เสริมให้เดก็ มีความสนใจเรียนรู้สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว กล้าซักถาม เพื่อค้นหาคำตอบ มีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมที ักษะทางภาษา มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้เดก็ อ่านนิทานและเล่านิทานที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการสง่ เสริมสนบั สนุนให้เด็กเข้าร่วม กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่าง ๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะ โดยการวาดภาพ- ระบายสี การสร้างภาพด้วยการตัด ฉีก ตัด ปะ การปั้นดินน้ำมัน ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษา ที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรูน้ อกสถานที่ แกป้ ัญหาในสถานการณ์จรงิ 1.2 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง - รายงาน สรปุ โครงการ/กิจกรรม - เด็กมพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ัยทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ รอ้ ยละ 100 - เกยี รติบัตร/เหรียญรางวัลจากการแขง่ ขันกีฬาระดับกลุม่ สถานศกึ ษาท่ี 6 - เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ 100 สังเกตได้จากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคอยตามลำดับก่อนหลัง ในการรับประทานอาหาร รู้จกั หน้าท่ีรับผิดชอบ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายทัง้ ในและนอกห้องเรียน ตามเขตพนื้ ท่ีรับผดิ ชอบ รา่ เรงิ แจ่มใส - เด็กมีพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม ได้ร้อยละ 100 สังเกตได้จากการชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวตั รประจำวนั รู้จักเกบ็ สิง่ ของเครื่องใช้ ทั้งของส่วนตัวและ สว่ นรวม รู้จักย้มิ ทกั ทาย อยู่เปน็ นิจ อยูร่ ว่ มกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุข - เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2. จดุ เดน่ / จุดท่คี วรพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับให้สงู ขึน้ จดุ เด่น จดุ ทค่ี วรพฒั นา เด็กมรี ่างกายเติบโตตามวยั มีน้ำหนกั ส่วนสูงตาม - ดา้ นการมคี วามคิดรวบยอด การแก้ปญั หาทเ่ี กดิ เกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแล จากการอ่าน สุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ - การทำกิจกรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสม ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ ตามวัย พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนา - การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสยั ที่ดี เช่น สิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การลา้ งมือก่อนรบั ประทานอาหาร มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรม

๒๘ จุดเดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ ล้างมือก่อนออกจากหอ้ งน้ำ ห้องส้วม และการเลือก ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย - การยืนตรงเมอ่ื ไดย้ ินเพลงชาติ - การใช้คำพดู ขอบคุณ ขอโทษ - การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย - การใชภ้ าษากลางแทนภาษาถิน่ - การมีจิตอาสา - การมีจติ สำนึกต่อสว่ นรวม เช่น การทง้ิ ขยะลง ในถังขยะ การปิดน้ำ ปดิ ไฟ ปิดพดั ลม 3. แผนพัฒนาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานทสี่ งู ข้ึน (ระบแุ ผนงานโครงการ/กิจกรรม) 1) โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพผ้เู รียนระดบั ปฐมวยั 2) โครงการสนับสนนุ ใหเ้ ด็กมีความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีเกิดจากประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 3) โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม 4) โครงการออมทรพั ย์ประจำวนั 5) โครงการทัศนศึกษาระดับปฐมวยั มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ : ดเี ลศิ 1. กระบวนการพฒั นา/ผลทีเ่ กิดจากการพฒั นา ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง 1.1 วิธีการพฒั นา/ผลท่เี กดิ จากการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวยั ของโรงเรียนบ้านกลาง ไดม้ กี ารกำหนดเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และ พันธกจิ ของสถานศึกษาไว้อยา่ งชัดเจน มีองคป์ ระกอบท่สี ำคญั เพ่อื ท่ีจะขบั เคล่ือนการศกึ ษาระดับปฐมวัยได้แก่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถิ่น พจิ ารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณข์ องเดก็ โดยเป็น หลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมี ความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้าง ความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาท ในการมสี ว่ นรว่ มการจดั การศกึ ษา โดยให้มกี ารประสานความรว่ มมือเพ่ือรว่ มกนั พัฒนาผู้เรยี นตามศักยภาพ โรงเรียนบา้ นกลาง ได้จดั ส่ิงอำนวยความสะดวกทีจ่ ำเป็นซ่ึงเอ้อื ประโยชน์ และอำนวยความสะดวก ต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพและจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการ เพ่อื การจัดการเรยี นรู้ เช่น จัดใหม้ ีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เคร่ืองนอน เครอื่ งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก

๒๙ ให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม เล่นทราย ที่เหมาะสมปลอดภัย จัดให้มีพื้นท่ี สำหรบั แปรงฟัน ล้างมอื ทำความสะอาดรา่ งกาย ห้องน้าห้องสว้ ม พร้อมอุปกรณ์ทีจ่ ำเปน็ และเหมาะสมกับ เด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับ วิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น จัดครูที่เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือ มีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่ อเนื่อง พัฒนาคณุ ภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างตอ่ เน่อื ง ซง่ึ ส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวยั ทกุ คนล้วนมีความรู้ ความสามารถในการวเิ คราะห์และออกแบบหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย มที กั ษะในการจดั ประสบการณ์และ การประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏสิ ัมพันธท์ ด่ี กี บั เด็กและผปู้ กครองมีการจัดสภาพแวดลอ้ มท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึง ความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และ สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น มคี วามสุขในการเรียนรู้ มสี ่อื เทคโนโลยีใชใ้ นการสืบเสาะหาความรู้ มีการจดั สงิ่ อำนวยความสะดวกให้บริการ ด้านสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ อปุ กรณ์เพือ่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ เพอ่ื พฒั นาครูอย่างเพยี งพอและท่วั ถงึ มีการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ี สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวยั มีการประเมนิ ผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานและจัดทำรายงาน ผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่าย มสี ่วนร่วม พร้อมทง้ั รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หน่วยงานตน้ สังกดั อย่างต่อเนอื่ ง 1.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - แผนปฏิบัตกิ าร - หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั - รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาของครแู ละบุคลากร - โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการเรียนรู้ - โครงการจดั หา/จัดทำเครื่องเลน่ สนาม - แผนการจัดประสบการณท์ ่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั - รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี 2. จดุ เดน่ /จดุ ที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน จดุ เด่น จดุ ที่ควรพัฒนา - มหี ลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการ - จัดครใู ห้เพยี งพอต่อชน้ั เรียน ท้ัง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของทอ้ งถิ่น - ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้าน การจดั สิง่ อำนวยความสะดวก ใหบ้ ริการดา้ นสื่อ การจัดประสบการณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพ่อื สนับสนนุ - จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ - ครไู ด้รบั การพัฒนาด้านวิชาชพี อย่างปลอดภัย และพอเพยี ง - กำหนดแผนการพัฒนาครูอย่างชดั เจนง

๓๐ 3. แผนพัฒนาเพ่อื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี ูงขนึ้ (ระบแุ ผนงานโครงการ/กิจกรรม) 1. มกี ารสง่ เสรมิ ให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2. โรงเรียนไดจ้ ัดสภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่อื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 3. โรงเรียนไดใ้ ห้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ 4. มรี ะบบบริหารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผ้เู ก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม จากบันทึกการประชุม รปู ภาพ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสำคัญ ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ 1. กระบวนการพัฒนา/ผลท่เี กิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง 1.1 วธิ กี ารพฒั นา/ผลทเ่ี กดิ จากการพฒั นา จัดการศกึ ษาปฐมวัยมุ่งเนน้ ความสำคญั ของการพฒั นาการในทกุ ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณจ์ ติ ใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา มคี วามรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิต ซึ่งเป็น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข ภายใต้ คำว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพื่อให้เด็กได้ ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมกี ารพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซ่งึ สามารถยดื หย่นุ ไดต้ ามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั หลกั สูตรปฐมวัย ทัง้ ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน มีการใชส้ ่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลมุ พัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ให้เหมาะสมกับวัย ดังนี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตาม จนิ ตนาการเพือ่ ใหร้ ่างกายทกุ ส่วนทงั้ กลา้ มเนือ้ มัดใหญม่ ดั เล็กให้ทำงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพดา้ นอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมี ความรับผิดชอบดา้ นสังคม เด็กชว่ ยเหลอื ตวั เองในการปฏิบตั ิกจิ วัตรประจำวนั ได้ มวี นิ ยั ในตนเอง เล่นร่วมกบั ผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญา มีความคิดรวบยอด รู้จักการแก้ปญั หา สื่อสารและมีทักษะ ความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ ประสบการณโ์ ดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบตั ิจรงิ ดว้ ยตนเองและการเรียนรรู้ ายกลุม่ เพ่ือ ก่อให้เกิดความมนี ำ้ ใจ ความสามคั คี การแบง่ ปนั และการรอคอย เพอ่ื ส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมี ความสุข จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วย ความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มคี วามเออื้ เผือ่ เผื่อแผ่ต่อกันและกัน ซ่งึ เปน็ แรงจูงใจภายนอกท่ีกระตุ้นให้ ผู้เรียนรกั การอยูร่ ว่ มกนั ในช้ันเรยี น และปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม ใหแ้ กเ่ ด็กนกั เรียน ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน

๓๑ ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผล พัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและ พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรยี นรใู้ นชัน้ เรยี นเพ่อื พฒั นาครูอย่างเพียงพอและทัว่ ถึง มีการกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด ม ี ก า ร จ ั ด ท ำ แ ผ น ก า ร จ ั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ท ี ่ ส อ ด ค ล ้ อ ง ก ั บ ม า ต ร ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงาน ผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่าย มีสว่ นร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดอย่างตอ่ เนื่อง 1.2 ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - มมุ ประสบการณ์ - แบบบันทกึ การพฒั นาการของเดก็ - รายงานผลการประเมนิ ตนเอง - บรรยากาศ ห้องเรยี นแจ่มใส มีมุมส่งเสรมิ ประสบการณ์การเรยี นรู้ - การจัดกิจวัตรประจำวัน 2. จุดเด่น/จดุ ที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับให้สงู ขึน้ จดุ เด่น จุดท่ีควรพัฒนา - ครูจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่หลากหลาย - จัดอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนที่ เดก็ เรยี นรู้ จากการเลน่ และปฏิบัตกิ ิจกรรม หลากหลาย - มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อ - พฒั นาเคร่อื งเล่นสนาม และระบบ การเรียนรู้ สาธารณูปโภค - ประเมินผลเดก็ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย - จดั กจิ กรรมส่งเสริมเด็กเรยี นรกู้ ารอยูร่ ว่ มกัน 3. แผนพัฒนาเพอ่ื ใหไ้ ด้มาตรฐานท่ีสูงขึ้น (ระบแุ ผนงานโครงการ/กิจกรรม) 1) โครงการปรบั ปรุงหลกั สูตรปฐมวัย 2) โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรปู้ ฐมวัย 3) โครงการสง่ เสรมิ สุขภาพปฐมวัย 4) โครงการสง่ เสริมพฒั นาการเรียนรู้ปฐมวยั 5) โครงการแขง่ ขนั กีฬาภายในโรงเรียนบ้านกลาง 6) โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม และวนั สำคัญ

๓๒ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดี ดี มาตรฐานการศึกษา : ดี ดเี ลศิ มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รยี น ระดับคณุ ภาพ : ดี 1. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผล การประเมินตนเอง 1.1 วิธกี ารพัฒนา/ผลทีเ่ กดิ จากการพัฒนา โรงเรียนบ้านกลาง ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย การดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตร ประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. ๒๕๖๐) เพอื่ ใหค้ รูใชเ้ ปน็ กรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนบั สนุนให้ผ้เู รยี นบรรลุ ตามเป้าหมายท่ีว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ย่างมี ความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้มุ่ง พัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนบ้านกลาง จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้าน คุณภาพผ้เู รยี นจำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและ 2) ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และ การมคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน เจตคตทิ ดี่ ีตอ่ งานอาชีพ สำหรับดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรียนมุ่งเน้น ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทยการยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 1.2 ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ 1) โครงการจัด กจิ กรรมวันภาษาไทย กจิ กรรมพัฒนาการอ่านออก เขียนได้ กจิ กรรมอ่านคลอ่ งเขยี นคล่อง 2) โครงการส่งเสริม สุขภาพและสุนทรียภาพผู้เรียน โดยการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬาในชั่วโมงลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 3) โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยการจัดกิจกรรมการอบรมจริยธรรม นักเรียนทุกวันศุกร์ ในชั่วโมงลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ และดำเนินการกิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน กิจกรรม โรงเรียนคุณธรรม กิจกรรมส่งเสริมค่านิยมหลัก 12 ประการ 4) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน

๓๓ การค้นคว้าและคิดอย่างเป็นระบบ กิจกรรมใช้ห้องสมุด และกิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ 5) โครงการ ส่งเสริมศักยภาพผเู้ รยี นเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น กิจกรรมแข่งขันทกั ษะทางวิชาการ กจิ กรรมพิชิต NT กิจกรรมพิชิต O-NET กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียนโดยการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา แหล่งเรียนรู้ จังหวัดขอนแก่น สำหรับนักเรียนชั้นม.๑ และม.๓ เนื่องด้วยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค COVID-19 จึงส่งผลให้เกิดความลำบากต่อการเดนิ ทางในหลายพน้ื ท่ี และมขี ้อจำกัดในการเดินทาง 2. จดุ เดน่ จุดทคี่ วรพฒั นา แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดับใหส้ ูงขน้ึ จุดเดน่ จุดทีค่ วรพัฒนา สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิ การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมาย ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับ ทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเปน็ ผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระประสบผลสำเร็จในระดับ เป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงข้ึน หนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนระดับมีแนวโน้ม เ น ้ น ท ั ก ษ ะ ใ น ก า ร อ่ า น ก า ร เ ข ี ย น แ ล ะ เปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ การคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็ม ในบางกลุม่ สาระการเรียนรู้ จงึ ต้องมุ่งเน้นพฒั นาตอ่ ไป ศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่าง จัดกิจกรรมด้านการอ่าน การเขียน คำนวณ เหมาะสม มสี อ่ื ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมยั ผู้เรียนมี ใหก้ บั นกั เรียนเรียนรว่ ม เปรยี บเทียบความกา้ วหน้าและ สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี กล้าแสดงออก และ การพฒั นาของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล สามารถอยรู่ ่วมกบั ผ้อู ื่นอย่างมคี วามสุข 3. แผนพัฒนาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับใหส้ งู ขนึ้ 1) พัฒนาให้นักเรียนมที ักษะในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคำนวณเปน็ ไปตามเกณฑ์ ทโี่ รงเรียนกำหนดในแตร่ ะดับชัน้ 2) พัฒนาให้นกั เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พิจารณาอย่าง รอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมี เหตผุ ล 3) พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ ๆ 4) พฒั นาให้นกั เรยี น มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ พัฒนาตนเอง และสังคมในดา้ นการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ณุ ธรรม 5) พัฒนาให้นักเรียน มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิม ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และกระบวนการต่าง ๆ

๓๔ 6) พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน ในการจัดการเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า 7) พัฒนาให้นกั เรยี นมีค่านยิ มและจิตสำนกึ ตามท่ีสถานศึกษามีความภมู ิใจในทอ้ งถ่ิน เห็นคุณค่าของ ความเปน็ ไทย มีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมประเพณีไทยและภมู ปิ ัญญาไทย 8) พฒั นาให้นกั เรยี น มกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต อารมณ์ และสงั คม แสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละช่วงวยั มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ : ดี 1. วธิ กี ารพฒั นา/ผลท่ีเกิดจากการพฒั นา ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผล การประเมนิ ตนเอง 1.1 วธิ กี ารพฒั นา/ผลทเ่ี กดิ จากการพฒั นา เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียน บ้านกลาง การดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐาน ในการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ อย่างชดั เจน ในดำเนินการพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรยี น รอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการ ของครูและสถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่ างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั สภาพของ โรงเรยี นบ้านกลาง 1.2 ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ได้แก่ โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไป ปฏิบัติ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมลู มาใช้ในการพัฒนา บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อ การจัดการศึกษา มีการบริหารจัดการเกี่ยวกั บงานวิชาการ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของ กลุ่มเรียนร่วมด้วย มีการส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชน การเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ มคี วามปลอดภยั จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สนับสนุนการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ท่เี หมาะสม กับสภาพของโรงเรียน พัฒนาบริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อใช้ใน การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรอู้ ย่างเหมาะสม

๓๕ 2. จดุ เด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดับให้สูงขน้ึ จุดเดน่ จุดท่ีควรพัฒนา โรงเรยี นมีเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ทกี่ ำหนด โรงเรียนควรจัดให้มีอาคารและห้องปฏิบัติการที่ ไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตาม เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ ความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของ มีการนเิ ทศติดตามทีช่ ัดเจน แผนการจัดการศกึ ษาของชาติ นโยบายของรัฐบาล และต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตรงตาม ความต้องการ ให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น 3. แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้นึ ๓.๑) โครงการการบริหารจัดการเกี่ยวกบั งานวิชาการ การพฒั นาหลักสูตร ๓.๒) โครงการสง่ เสรมิ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ๓.๓) กิจกรรมเสริมหลกั สูตรท่เี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น ๓.๔) โครงการจดั การเรยี นการสอนนักเรียนเรยี นรวม ๓.๕) โครงการพฒั นาครพู ฒั นาครูสคู่ รมู อื อาชีพ ๓.๖) โครงการจัดสภาพแวดลอ้ มให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ ๑. วธิ กี ารพฒั นา/ผลที่เกดิ จากการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่สี นบั สนนุ ผล การประเมนิ ตนเอง 1.1 วิธีการพฒั นา/ผลทเ่ี กดิ จากการพฒั นา โรงเรียนบ้านกลางส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนนิ งาน/กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏบิ ัตกิ าร ปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียน การสอนเน้นการปฏบิ ตั ิ (Active learning) ให้ผู้เรยี นผ่านกระบวนการคิด ปฏิบตั ิจรงิ เพ่อื นำไปสกู่ ารเรียนรู้ท่ี ลกึ ซง้ึ และคงทน ตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ของหลกั สูตรสถานศึกษา ใหน้ กั เรยี นมสี ่วนร่วม ครูรู้จักผ้เู รยี นเป็น รายบคุ คล ดำเนนิ การตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน รวมท้งั ร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ จัดกจิ กรรมไดจ้ รงิ ครูใชส้ ื่อ และแหลง่ เรียนรู้ มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก เพอ่ื ให้เดก็ รักการเรียนรู้และ เรียนรูร้ ่วมกนั อย่างมีความสขุ ครมู ีการนำเทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนในยุคศตวรรษท่ี ๒๑ ครรู ว่ มแลกเปล่ียนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพฒั นาปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิต

๓๖ นวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมี การมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและ นอกหอ้ งเรยี น ครใู ชส้ ่ือการเรียนการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ มีการประเมินคุณภาพ และประสทิ ธิภาพของสื่อการสอนที่ใชค้ รูทกุ คนทำงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน ปกี ารศึกษาละ 1 เรอ่ื ง 1.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ท่สี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ไดแ้ ก่หลักสตู รสถานศึกษา หลักสตู รรายวิชาเพ่ิมเตมิ การบันทึกการใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา ผู้เรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกโดยครูมีวิจัยชั้นเรียนและนำผลไปแก้ไขปัญหาจริง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามนโยบายชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) 2. จดุ เด่น จุดทคี่ วรพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพ่อื ยกระดบั ให้สูงขน้ึ จุดเด่น จุดทคี่ วรพัฒนา ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนา ควรมีการบูรณาการโดยนำภูมิปัญญา การสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้เต็ม ท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้ ศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้ นักเรยี นทนั ทีเพอื่ นักเรยี นนำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียน แสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่าง ต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ 3. แผนพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั ใหส้ งู ขนึ้ ๓.๑) โครงการปรับปรงุ หลักสตู รสถานศึกษา ๓.๒) โครงการจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงานเน้นการปฏิบัติจริงตามหลกั Active Learning ๓.๓) โครงการพัฒนาการใชส้ ่ือ เทคโนโลยี สู่ห้องเรียน ๓.๔) โครงการส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓.๕) กิจกรรมสำหรับนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ/นักเรียนเรียนรวมให้ นกั เรียนมีความร้สู ูงขนึ้ ตามระดับชนั้ ๓.๖) โครงการลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้

๓๗ สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล และแนวทางการพฒั นา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไป วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษา (3-๖ ปี) และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศกึ ษา ดงั น้นั จากผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา สามารถสรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน พรอ้ มทั้งแนวทางการพฒั นาเพือ่ ใหไ้ ด้มาตรฐานท่ีสงู ขึ้น ดงั น้ี ระดับปฐมวยั 1. วธิ ีการพฒั นา/ผลที่เกดิ จากการพฒั นา ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผล การประเมินตนเอง 1.1 วธิ กี ารพัฒนา/ผลทเี่ กดิ จากการพฒั นา - ด้านคุณภาพของเด็ก ได้มีการพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และสตปิ ญั ญา - ด้านกระบวนการบรหิ ารและจดั การ จดั ให้ครมู ีเพียงพอกบั ช้นั เรยี น จดั สภาพแวดล้อมและ สือ่ การเรยี นร้แู ละจัดใหม้ ีส่ือเทคโนโลยเี พอื่ การเรียนรู้สนับสนุนการจัดประสบการณ์ - การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ ทุกด้านอย่างสมดุล สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นอย่างมีความสุข มีการจัดบรรยากาศ ท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ 1.2 ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - โครงการตา่ ง ๆ - กิจกรรมการจดั ประสบการณ์ - รูปภาพ - ผลงานเด็ก

๓๘ 2. สรุปผล จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา  คุณภาพของเดก็  คณุ ภาพของเดก็ - เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกายสมวัย มีสขุ นสิ ัย - เดก็ บางคนยงั มพี ัฒนาการไมต่ ามวยั ที่ดี รู้จักดูแลและหลีกเลี่ยงตนเองจากการกระทำท่ี มีสมาธสิ ั้น ขาดการอดทนรอคอย จะนำไปสูก่ ารบาดเจ็บ มีนสิ ัยรักการอ่านและใฝ่รู้ - การชว่ ยเหลือตนเองทัง้ ทบี่ า้ นและโรงเรยี น สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว ร้จู ักออมเงนิ - ไม่มรี ะเบยี บวินยั  กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ  กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ - จัดทำหลักสูตรปฐมวัย มีครปู ฐมวัยอยา่ ง - ขาดส่อื การเรียนการสอนมไี ม่เพียงพอ เหมาะสมและตามเกณฑ์ หอ้ งเรียนแคบ ไม่โล่ง - มสี นามเด็กเลน่ และเครื่องเลน่ ในสนามอย่าง - ประสานความร่วมมอื กบั ผปู้ กครองใหม้ ีสว่ น เพียงพอ รว่ มในการจดั ประสบการณเ์ ดก็  การจัดประสบการณ์ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสำคญั  การจัดประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั - ครูส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้ลงมือ - ครูมีภาระงานอื่น ทำให้ไม่สามารถจัด ปฏิบัติจริง ศึกษานักเรียนรายบุคคล จัดทำ ประสบการณ์การเรียนรูใ้ หก้ ับนักเรียนไดไ้ ม่เตม็ ที่ แผนประสบการณ์ และมีการประเมินการเรียนรู้ ของผ้เู รยี นทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจ อยา่ งตอ่ เนื่อง 3. แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานท่สี ูงข้นึ 1. สง่ เสริมโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย 2. การใช้หลักสูตรมอนเตสซอรี

๓๙ ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 1. วธิ ีการพัฒนา/ผลท่ีเกิดจากการพัฒนา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่สี นับสนนุ ผล การประเมินตนเอง 1.1 วธิ กี ารพฒั นา/ผลที่เกดิ จากการพัฒนา จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนา คณุ ภาพการศกึ ษาไปตามเปา้ หมายที่ตัง้ เปา้ หมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน ซง่ึ จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ระดับ ดี ผลที่สนับสนุนการประเมินตนเอง มีดังนี้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนด สำหรับผลกสรประเมินความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่องของผู้เรียน (Reading Test: RT) พบว่า การอ่านออกเสียง มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นกวา่ ปี ๒๕๖๒ และสูงกว่าระดับประเทศ แต่คะแนนรวมเฉลี่ยของ ๒ สมรรถนะต่ำกว่าระดับเทศ ผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ระดับชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 3 มผี ลการประเมินอยใู่ นระดับพอใช้ เม่ือเปรยี บเทียบกับคะแนนเฉลยี่ ในระดับประเทศ ส่วน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) โดยภาพรวมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศและกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าปี ๒๕๖๒ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ แต่กลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่นมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) โดยภาพรวมกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ีย สูงขึ้นกว่าปี ๒๕๖๒ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสงู กว่าระดับประเทศ แต่กลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่นมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับประเทศ ซึ่งเป็นจุดที่โรงเรียนจะต้องแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน นักเรียนทกุ คนเขา้ ร่วมกิจกรรมวนั สำคัญทางพุทธศาสนาและร่วมกจิ กรรมจติ อาสา จากกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ทำให้มีการสอนงานอาชพี ให้นักเรียน ทำให้นักเรียนมีผลงาน/ผลิตภัณฑ์ของตนเองนักเรียนทกุ คน นกั เรยี นไมม่ อี ตั ราความเส่ียงในการติดสิง่ เสพติด เพราะโรงเรียนมีโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเข้มแข็ง เช่น กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียนไม่มีการทะเลาะววิ าทในโรงเรียน โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ พรอ้ มใช้งาน และมีระบบอนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สงู เพ่ือใช้ในการจดั การเรยี นการสอนทุกห้องเรยี น มีครูครบช้ัน ครูจดั การเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเพือ่ สง่ เสรมิ การคิดวิเคราะหน์ กั เรียนในกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์ ครูได้รับ การพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรพัฒนาครู คูปองครู และนำความรู้มาขยายผลสู่ครูและ นกั เรียนอีกครั้ง จดั หาสอื่ การเรียนการสอน และเคร่อื งมอื วดั และประเมินผลผูเ้ รยี น ผู้บรหิ ารมีสัมพนั ธภาพที่ดี กับชุมชน และมกี ารแสวงหาความรว่ มมอื ในการใชท้ รพั ยากรจากชุมชน 1.๒ ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง - ผลการทดสอบระดบั ชาติ (RT, NT, O-NET) - โครงการตา่ ง ๆ - ภาพถา่ ย - ผลงานนกั เรียน ครู

๔๐ 2. สรปุ ผล จุดเด่น จุดควรพฒั นา  ด้านคณุ ภาพผ้เู รยี น  ด้านคณุ ภาพผ้เู รยี น 1. ผู้เรียนเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความสามารถใน 1. ปรบั ปรุงพัฒนากจิ กรรมอยา่ งหลากหลายและ การอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ สม่ำเสมอ โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน คิดวเิ คราะห์ สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ และ มากขน้ึ มีความพร้อมในการศึกษาต่อใน ระดับสูงขึ้น 2. ฝึกฝนและพฒั นาผูเ้ รยี นด้านการคดิ วเิ คราะห์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผลและต้อง ตามหลักสูตร มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ได้อย่าง ด้วยตนเอง และพฒั นาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ เหมาะสมตลอดจนสง่ เสรมิ การมีทักษะในการทำงาน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดี มคี วามสามารถในการทางานเป็นทีมร่วมกบั ผอู้ นื่ มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา 3. พัฒนาอัตลกั ษณข์ องโรงเรียน สรา้ งเสริม ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน คุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย น้อมนำ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และชั้นมัธยมศึกษา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะการใช้ ปีที่ 3 สูงกว่าระดับชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศในการสือ่ สารไดด้ ยี ่งิ ข้นึ ภาษาไทยและวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนื่องมาโดย 4. สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ทกุ กลมุ่ สาระ ตลอด ผ้เู รียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพ การเรียนรู้บูรณาการหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้จัด ทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีจิตใจที่ดี กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้นวัตกรรม ICT และมสี นุ ทรียภาพ (e–learning, CAI) ทม่ี ศี ูนยก์ ารเรยี นรู้ เพอ่ื ใหเ้ กิดผล 2. สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเรยี นรแู้ บบองคร์ วมแก่ผเู้ รยี น อย่างชัดเจน โดยเน้นความร่วมมือจากหน่วยงาน 5. ส่งเสริมวิทยฐานะครู พัฒนาการเรียน ภายนอกผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวขอ้ งทั้งภายในและ การสอน ดำเนินการวิจัยพัฒนาและนำผลมาใช้ ภายนอกสถานศกึ ษา ปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการใช้ 3. ครูผู้สอนมีความรู้ความสามารถในการจัด- ประโยชนจ์ ากแหลง่ เรยี นรู้อย่างกวา้ งขวาง การเรียนการสอนตรงตามวิชาเอก สามารถจัด การเรียนรู้ที่หลากหลายบูรณาการกับทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 สอดคล้องตรงตาม ความต้องการของผู้เรียน 4. สถานศกึ ษามคี วามพร้อมทง้ั แหล่งเรยี นรู้ ภายในสถานศึกษา สบื คน้ หาความรู้จากอินเทอร์เน็ต และส่งิ แวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้  ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของ  ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการของ ผู้บริหารสถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารมกี ารแบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารอย่าง 1. การปฏิบัติงานต้องประสานงานกับหลายฝ่าย ชัดเจน มีการกาหนดนโยบายและการวางแผนเพ่ือ ทั้งภายในและภายนอก ทำให้การประสาน การบรหิ ารอย่างมีประสิทธภิ าพและมีการตรวจสอบ ขาดความคลอ่ งตัวและล่าช้า

๔๑ จดุ เดน่ (ตอ่ ) จดุ ควรพฒั นา (ตอ่ ) ติดตามและประเมินผลอย่างเป็นระบบ และมี 2. ผู้ปกครองบางส่วนไม่ให้ความร่วมมือและ การบริหารการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของครู ไม่เหน็ ความสำคญั ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา และบุคลากร โดยปฏิบัติหนา้ ที่อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ระบบเบิกจ่ายมีหลายขั้นตอน ทำให้เกิด ทำให้ผลการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ความลา่ ช้า เกิดประสิทธิผลบรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ใน 4. งบประมาณทไ่ี ดร้ บั การจัดสรรไม่เพยี งพอตอ่ แผนปฏิบัติการประจำปี ส่งผลให้คุณภาพผู้เรียน การดำเนินงาน ดีขึ้น จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) จากสถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่ง ผลการประเมินในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยจำแนกตามระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดบั ชาติ ทกุ ปีการศกึ ษาอย่างต่อเน่ือง  ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็  ด้านกระบวนการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั สำคญั 1. โรงเรยี นบ้านกลางเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนแสดง 1. ควรนำภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เขา้ มาบูรณาการใน ทักษะด้านต่าง ๆ ตามความสนใจและความถนัด การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน รายบุคคล 2. บรรจเุ พิ่มเกยี่ วกบั ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ หรือ 2. ครูตงั้ ใจ มุ่งมน่ั ในการพัฒนาการสอน อาชีพในทอ้ งถน่ิ ในชั่วโมงลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ มีความร้คู วามสามารถตรงตามวชิ าเอก ของนกั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 3. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรม การเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษท่ี 21 4. ครูเล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาสื่อและ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 3. แผนพัฒนาเพ่อื ใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สูงขนึ้ 1. พัฒนาผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐานให้มีการพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง และมคี ่าเฉลย่ี ทกุ รายวชิ าสูงกว่าระดบั ชาติ 2. การพฒั นาครใู ห้มศี กั ยภาพในการสร้างผลงานให้กบั ตนเอง ผู้เรียนโดยเฉพาะความสามารถด้าน ศิลปหัตถกรรม ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการและเทคโนโลยี โดยจัดทำแผนการพฒั นาครใู หเ้ ปน็ ครมู ืออาชพี 3. จัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนการสอนในห้องเรียน จัดกิจกรรมท่ี ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นรักการอ่านใหม้ ากข้ึน

๔๒ 4. เสรมิ สร้างจติ วิญญาณของความเป็นครูใหส้ ูงขนึ้ ใหม้ ีความรักและเมตตาเอาใจใส่ต่อผู้เรียน 5. ให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ DLIT และ DLTV เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางเรยี น ระดบั ชาติใหส้ ูงข้ึน ความต้องการและการช่วยเหลือ 1. งบประมาณสนับสนุนการบรหิ ารจัดการการศึกษา 2. หนว่ ยงานตน้ สงั กัดจัดกิจกรรมพฒั นาดา้ นเทคนิคการสอนของครูให้กา้ วทันการเปลี่ยนแปลง ของสังคม

๔๓ สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก  คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ ผลคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 256๓  ประกาศโรงเรียนบ้านกลาง เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา  ประกาศโรงเรียนบ้านกลาง เรื่อง การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษา เพื่อประกัน คุณภาพภายในสถานศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook