Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน

Published by Siwakorn phung yam, 2019-05-31 07:16:53

Description: สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน

Search

Read the Text Version

ค�ำ นำ� การเรยี บเรียงเอกสารประกอบการสอนรายวชิ าสอื่ คอมพิวเตอร์ เพื่อการสอน เป็นส่วนหน่งึ ของการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ า เทคโนโลยีสอ่ื สงิ่ พิมพ์ เรยี บเรยี งโดยนิสิตหลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (เทคโนโลยสี ื่อสารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาลยั มหาวิทยาลัย นเรศวร) ผูเ้ รยี บเรยี งหวังวา่ การเรียบเรยี งคร้ังนม้ี ปี ระโยชนต์ ่อผ้สู นใจไม่ มากกน็ ้อย

สารบญั เร่อื ง บทท่ี 1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร ์ -ยคุ ท่ี 1 (The First Generation) -ยุคท่ี 2 (The Second Generation) -ยคุ ที่ 3 (The Third Generation) -ยคุ ที่ 4 (The fourth) -ยคุ ที่ 5 (The Fifth Generation) บทท่ี 2 ฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ และกระบวนการใช้คอมพิวเตอรม์ าใช้ จัดการสอน -ฮารด์ แวร์ -ซอฟท์แวรแ์ ละภาษาคอมพิวเตอร ์ -กระบวนการใช้คอมพวิ เตอร์มาใชจ้ ดั การสอน บทท่ี 3 การใชซ้ อฟต์แวร์สำ�เร็จรูปในการผลติ สือ่ มันตมิ ีเดียเพอื่ การเรยี นรู้ -การสร้างส่อื การสอนโดยใชโ้ ปรแกรม PowerPoint -การสรา้ งส่อื การสอนโดยใช้ CAPTIVATE -การใช้คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน หรอื ซเี อไอ (CAI) -การใช้ E-Leaning หรือบทเรยี นออนไลน ์ -การใช้ E-Book หรอื หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส ์

บทที่ 4 จรรยาบรรณ จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร ์ -จรรยาบรรณที่ผ้ใู ชค้ อมพวิ เตอร์ยึดถอื ไวเ้ ป็นบทการปฏิบตั ิเพ่ือ เตอื นความจำ� -ลินดา เฮอรน์ ดอน -กฎขอ้ บงั คับทางศลี ธรรมทั่วไป -ความรับผิดชอบในวชิ าชพี -จรยิ ธรรมในการใชไ้ ปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ -ผลกระทบด้านจรยิ ธรรมและสังคมของระบบสารสนเทศ -ความเข้าใจประเด็นดา้ นจรยิ ธรรมและด้านสงั คมทเี่ ก่ียวข้องกับ ระบบสารสนเทศ -ขอ้ ควรพจิ ารณาเกยี่ วกบั จรยิ ธรรมขอผู้ใช้คอมพิวเตอร ์ -ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคอมพวิ เตอร์และปัญหาด้านจริยธรรม -การมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ทีด่ พี อของขอ้ มูล -จริยธรรมเมอื่ เผชิญกับปญั หาในดา้ นการใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ -ทัศนะทางจริยธรรม 5 ประการ ของยคุ สารสนเทศ -จรยิ ธรรมในสงั คมสารสนเทศ -กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ -ประเทศไทยกับการพฒั นากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ -อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ บทที่ 5 การเปรียบเทียบคุณลกั ษณะของคอมพวิ เตอร ์ -ไมโครคอมพิวเตอร ์ -สถานีงานวศิ วกรรม -มนิ ิคอมพิวเตอร ์

-เมนเฟรมคอมพวิ เตอร ์ -ซูเปอรค์ อมพิวเตอร ์ บทที่ 6 การประยกุ ตใ์ ชง้ านแอพพลเิ คชัน่ เพื่อการศึกษา -กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร ์ -กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร ์ -กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ -กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย -กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ -กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม -กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงงานอาชพี บทที่ 7 การสร้างสอื่ ความจริงเสมอื นบนคอมพิวเตอร ์ -ความหมายของ Augmented Reality หรือ AR -ความเปน็ มาของ Augmented Reality -หลักการท�ำ งานของระบบ Augmented Reality -องค์ประกอบของ Augmented Reality -ประโยชน์ของเทคโนโลยี Augmented Reality บทท่ี 8 การจดั สภาพแวะล้อมและการบรู ณาการใช้สอ่ื สมัยใหม ่ -การส่งเสริมบรรยากาศทด่ี สี �ำ หรับการเรยี นร ู้ -การสง่ เสรมิ กลุ่มและการตอบสนองความตอ้ งการรายบคุ คล -สงิ่ แวดลอ้ มและตารางเวลา -หลกั การออกแบบกระบวนการเรยี นร้แู บบ Brain-Based Learning -การบูรณาการสอ่ื สมยั ใหม่







สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 1 สือ่ คอมพิวเตอรเ์ พือ่ การสอน บทท่ี 1 ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรท์ ่ีเราใชก้ ันอยู่ทุกวันนี้เป็นผลมาจากการประดิษฐ์คดิ ค้น เครื่องมือในการคานวณซึง่ มวี ิวัฒนาการนานมาแล้ว เริม่ จากเคร่ืองมือในการ คานวณเคร่ืองแรกคือ \"ลูกคดิ \" (Abacus) ท่สี รา้ งขนึ้ ในประเทศจีน เมอ่ื ประมาณ 2,000-3,000 ปี คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยา่ งต่อเนอ่ื ง สามารถ แบง่ ออกไดโ้ ดยแบ่งสว่ นประกอบของฮารด์ แวร์ (Hardward) เปน็ 6 ยคุ ดว้ ยกนั ยุคที่ 1 (The First Generation) ปี ค.ศ. 1951 – 1958 คอมพวิ เตอร์ในยุคแรกน้ี ใชห้ ลอดสญู ญากาศในวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ทาให้ต้องการกาลังไฟฟา้ เลยี้ งวงจรที่มีปริมาณมากและ ทาให้มคี วามรอ้ นเกดิ ขน้ึ มากจึงต้องติดตงั้ เคร่ืองในห้องปรบั อากาศ ความเรว็ ในการทางานเปน็ วินาที เคร่ืองคอมพวิ เตอร์มขี นาดใหญ่ สือ่ ท่ีใชใ้ นการเก็บ ข้อมูล คือ บตั รเจาะรู ภาษาคอมพวิ เตอร์ทใ่ี ชใ้ นการเขียนโปรแกรมเพ่ือ ควบคุมการทางาน คือ ภาษาเครื่องซ่ึงเปน็ ภาษาที่ใช้รหสั เลขฐานสอง ทาให้ เข้าใจยาก อปุ กรณ์ : ใช้หลอดไฟสญู ญากาศและวงจรไฟฟ้า หนว่ ยวัดความเร็ว : วดั เป็นวนิ าที ( Second) ตัวอยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาเคร่ือง (Machine Language)

2 สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน ตวั อย่างเคร่อื งคอมพิวเตอร์ : Univac I, IBM 650, IBM 700, IBM 704, IBM 705, IBM 709 และ MARK I MARK I (ที่มา https://sites.google.com/site/weeraya571031239/1-2- wiwathnakar-khxng-khxmphiwtexr) ยคุ ที่ 2 (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์มขี นาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการ ประดิษฐ์ทรานซิสเตอรข์ น้ึ มาใชแ้ ทนหลอดสญู ญากาศ ทาให้ทางานได้เร็วขน้ึ ความเร็วในการทางานเท่ากับ 1/103 วนิ าที (มลิ ลิเซคคน่ั ) และได้ผลลพั ธ์ที่ ถกู ต้องมากกวา่ ใชห้ ลอดสูญญากาศ ทรานซสิ เตอรม์ ีขนาดเล็กกวา่ หลอด สญู ญากาศ 200 เทา่ และได้มีการสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic core) มาใช้แทนดรัมแม่เหลก็ (Magnetic drum) เปน็ หน่วยความจาภายในซึ่งใช้ ในการเกบ็ ขอ้ มูลและชุดคาสั่ง ภาษาคอมพิวเตอร์ทใ่ี ชเ้ ขยี นโปรแกรมในยคุ ท่ี 2 นี้ คือ ภาษาแอสแซมบล้ี (Assembly) ซึง่ เปน็ ภาษาท่ีใช้สญั ลักษณ์แทน

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 3 คาส่งั ตา่ ง ๆ ทาให้เขียนโปรแกรมได้งา่ ยกว่าภาษาเครือ่ งเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ในยคุ นี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell อุปกรณ์ : ใช้ทรานซิสเตอร(์ Transistor) แทนหลอดไฟสูญญากาศ หนว่ ยวดั ความเร็ว : วัดเปน็ มลิ ลิวินาที ( Millisecond) ตวั อยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาแอสแซมบลี (Assembly) , ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN) ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ : IBM 1620, IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 , Honey Well Honey Well (ทีม่ า https://sites.google.com/site/weeraya571031239/1-2- wiwathnakar-khxng-khxmphiwtexr) ยุคที่ 3 (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970 เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทีถ่ ูกพัฒนามาใช้ในยุคน้ีเป็นวงจรรวม หรอื เรียกวา่ ไอซี (IC : Integrated Circuit) ซง่ึ เป็นวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ทถี่ ูกบรรจลุ งในแผ่น

4 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน ซิลคิ อน (silicon) บาง ๆ ท่ี เรยี กว่า ซปิ (Chip) ในซิปแต่ละตัวจะ ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทาให้คอมพวิ เตอร์มีขนาด เลล็ งกว่าเดมิ แตค่ วามเร็วในการทางานสูงขนึ้ ความเรว็ ในการทางานเปน็ 1/106 วนิ าท่ี (ไมโครเซคคนั่ ) กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลงปละ ประสทิ ธภิ าพในการทางานเพ่ิมขึ้น แต่ก่อนท่ีคอมพวิ เตอร์จะเปน็ วงจรรวม คอมพวิ เตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแตล่ ะอย่าง เชน่ ใชใ้ นงานคานวณ หรอื ใชก้ ับงานธรุ กจิ เม่อื คอมพวิ เตอร์ถูกพฒั นามาใช้วงจรรวมกส็ ามารถใช้ กบั งานทซ่ี บั ซอ้ นได้มากข้ึน IBM 360 เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้วงจรรวมท่ีสามารถทางาน ไดท้ ง้ั การประมวลผลแฟ้มข้อมูล และวิเคราะห์ค่าทางคณิตศาสตร์ ต่อมา บรษิ ทั DEC (Digital Equiptment Corporation) ไดห้ ันมามงุ่ ผลติ คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ เพ่ือหลกี เลี่ยงการแข่งขันกับ IBM มินิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer) จงึ ถกู พัฒนาข้ึนเป็นครง้ั แรก ในช่วงยุคที่ 2 และนยิ มใชก้ ัน แพร่หลาย DEC ได้แนะนามินิคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองแรก และ PDP1 เปน็ หนง่ึ ใน มินคิ อมพวิ เตอรย์ คุ แรกท่นี ิยมใชก้ ันแพร่หลายโดยเฉพาะในกลมุ่ ของนักวิทยาศาสตร์ นักวศิ วกร และนักวิจยั ตามมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ทางดา้ นซอฟต์แวรก์ เ็ กิดข้นึ โปรแกรมมาตรฐานได้ถูกเขียนขน้ึ เพ่ือใชง้ านกบั คอมพวิ เตอร์ทเ่ี ป็นวงจรรวม และใช้เคร่ืองมาหลังจากที่ได้มกี ารปรับปรุง ทางดา้ นฮาร์ดแวร์

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 5 อปุ กรณ์ : ใช้วงจรแบบไอซี (IC) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทถ่ี กู บรรจลุ งใน แผน่ ซิลิกอน ( Silicon)ทเี่ รยี กว่า Chip หนว่ ยวัดความเร็ว : วัดเปน็ ไมโครวนิ าที ( Microsecond) ตวั อยา่ งภาษาคอมพวิ เตอร์ : COBOL , PL/1 , RPG , BASIC ตวั อยา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ : IBM 360 , CDC 3300 , UNIVAC 9400 BURROUGH 7500 , PDP1 UNIVAC (ทมี่ า https://sites.google.com/site/weeraya571031239/1-2- wiwathnakar-khxng-khxmphiwtexr)

6 สือ่ คอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน ยคุ ท่ี 4 (The fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 ในยคุ นี้ได้มีการพฒั นาเอาวงจรรวมหลาย ๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาดใหญ่ เรียกว่า LSI (Large Scalue Integrated) ลงในซปิ แต่ละอัน บริษัทอนิ เทล (Intel) ไดส้ รา้ งไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซ่ึงเปน็ ซปิ 1 อนั ท่ี ประกอบดว้ ยวงจรทง้ั หมดทีต่ ้องใชใ้ นการประมวลผลโปรแกรม ไมโครโปรเซสเซอร์ซิปทใ่ี ช้ในเครอ่ื งพีซี (PC : Personal Computer) มี ขนาดกระทัดรัดประกอบดว้ ยสว่ นประกอบของ ซีพียู (CPU) 2 สว่ น คอื หน่วยควบคมุ (Control Unit) และหนว่ ยคานวณและตรรก (Arithmetic / Logic Unit) ปัจจุบันได้มกี ารสรา้ งวงจรอิเล็กทรอนิกสห์ ลายหมน่ื วงจรรวมอยู่ ในซปิ เดียว เป็นวงจร LSI (Large Scalue Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคน้ไี ด้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้ง ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มนิ คิ อมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรไ์ ดร้ บั ความนิยมมากเพราะมขี นาดเลก็ กระทัดรัดและราคาถูก แต่มปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ิมข้ึน ทางานเร็วขนึ้ ความเรว็ ในการทางานเป็น 1/109 วินาที (นาโนเซคคน่ั ) และ 1/1012 วินาที (พิโคเซคคน่ั ) นอกจากนว้ี งจร LSI ยังไดถ้ กู นาไปใช้กับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่เปน็ การลด คา่ ใชจ้ ่าย พร้อมกับเพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการทางาน

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 7 อปุ กรณ์ : ใช้ระบบ LSI ( Large Scale Integrated ) ซ่ึงเปน็ วงจรที่ ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์หลายพนั ตัวและต่อมาไดร้ บั การพฒั นาปรับปรงุ เปน็ VLSI ซงึ่ ก็คือ Microprocessor หรอื CPU หนว่ ยวัดความเร็ว : วัดเปน็ นาโนวินาที ( Nanosecond) และพโิ ควนิ าที (Picosecond) ตัวอยา่ งภาษาคอมพิวเตอร์ : ภาษาปาสคาล (PASCAL) , ภาษาซี (C) ตวั อยา่ งเครอื่ งคอมพิวเตอร์ : IBM 370 เนอื่ งจากการเพ่ิมความจุของหนว่ ยบันทึกข้อมูลสารองนเ่ี อง ซอฟตแ์ วร์ชนิดใหมไ่ ด้พฒั นาข้ึน เพอ่ื ใหส้ ามารถเกบ็ รวมรวบและบันทึก แกไ้ ขข้อมลู จานวณมหาศาลท่ีถูกจดั เก็บไว้ นน่ั คือ ซอฟรแ์ วร์ ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากน้ี ยงั มกี ารถือกาเนดิ ข้ึนของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ส่วน บคุ คลในปี 1975 คือเคร่ือง Altair ซึ่งใช้ชิฟ intel 8080 และถดั จากนน้ั ก็ เปน็ ยุคของเคร่ือง และ ตามลาดบั ในสว่ นของซอฟต์แวร์ก็ไดม้ ีการพัฒนาให้ เป็นมติ รกับผ้ใู ช้ มขี นาดใหญ่และซับซ้อนมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ รวมท้งั มีการนา เทคนคิ ต่าง ๆ เชน่ OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเปน็ เครื่องมือชว่ ยในการพัฒนา การพฒั นาที่สาคัญอืน่ ๆในยคุ ท่ี 4 คือการพฒั นาเครอ่ื ข่าย คอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาใหค้ อมพวิ เตอรส์ ามารถเช่ือมโยงและแลกเปล่ยี นกันได้ โดยการใชง้ าน ภายในองค์กรน้นั ระบบเครือ่ ข่ายทอ้ งถิ่น (Local Araa Networks) ซึง่ นิยม เรยี กว่า แลน (LANs) จะมบี ทบาทในการเช่ืองโยงเครื่องนบั ร้อย

8 สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน เข้าด้วยกันในพ้ืนที่หา่ งไกลกนั นัก ส่วนระบบเคร่อื งข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทาหน้าทีเ่ ชื่อมโยงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ท่ีอยู่ห่างไกลคนละซีก โลกเข้าดว้ ยกัน ยคุ ท่ี 5 (The Fifth Generation) ต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1980 - 1989 ในยคุ ที่ 4 และยคุ ที่ 5 ก็จดั เป็นยุคของคอมพวิ เตอร์ในปจั จุบนั แตใ่ นยคุ ที่ 5 นีม้ ีการใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือชว่ ยการจดั การและนามาใชส้ นบั สนุนการ ตดั สนิ ใจของผูบ้ รหิ ารจงึ เกิดสาขา MIS (Management Information System) ขึ้น ในปี ค.ศ 1980 ญี่ปุ่นได้พยายามทีจ่ ะสรา้ งเคร่ืองคอมพิวเตอรใ์ ห้ สามารถคดิ และ ตัดสินใจได้เอง โดยสร้างเคร่ืองคอมพวิ เตอรใ์ ห้มี “สติปัญญา” เพ่อื ใชใ้ นการตัดสนิ ใจแทนมนษุ ยจ์ ึงเกิดสาขาใหมข่ น้ึ เรยี กว่า สาขาปญั ญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) สาขาปัญญาประดิษฐ์ เป็นสาขาที่เนน้ ถึงความพยายามในการนาเอากระบวนการทางความคิดของ มนษุ ย์มาใช้ในการแกป้ ัญหาด้วยระบบคอมพวิ เตอร์ นอกจากนี้มีการตื่นตวั ในการจัดเก็บข้อมูลเป็นระบบฐานขอ้ มูล (Database) การนาคอมพิวเตอร์ มาใชก้ บั งานทางดา้ นกราฟิก และมกี ารพฒั นาซอฟต์แวร์ (Software) เพ่ือ ใชก้ ับงานเฉพาะอย่าง เชน่ งานการเงิน งานงบประมาณ งานบญั ชี งานสต๊อ กสินคา้ เป็นตน้

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 9 จากววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอรท์ ้ัง 5 ยุคสามารถสรปุ เป็นแผนผงั ไดด้ ังนี้ (ทม่ี า https://sites.google.com/site/weeraya571031239/1-2- wiwathnakar-khxng-khxmphiwtexr)

10 สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน

สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน 11

12 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน บทท่ี 2 ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ และกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์ มาใช้จัดการสอน ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง อปุ กรณ์ตา่ งๆ ท่ปี ระกอบขึน้ เปน็ เครื่อง คอมพิวเตอร์ มลี ักษณะเปน็ โครงรา่ งสามารถมองเหน็ ดว้ ยตาและสมั ผสั ได้ (รปู ธรรม) เช่น จอภาพ คียบ์ อร์ด เครอื่ งพิมพ์ เมาส์ เปน็ ต้น ซ่ึงสามารถแบ่ง ออกเปน็ ส่วนตา่ งๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หนว่ ย คือ หน่วย ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนว่ ยรบั ขอ้ มูล (Input Unit) หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเกบ็ ข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหนว่ ยมีหนา้ ท่ีการทางานแตกต่าง กนั ดงั น้ี 1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรอื มักจะ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงว่าไมโครโปรเซสเซอร์ มีหนา้ ท่ีในการประมวลผลข้อมลู ใน ลักษณะของการคานวณและเปรยี บเทยี บ โดยจะทางานตามจังหวะเวลาที่ แน่นอน เรียกวา่ สญั ญาณ Clock เมอ่ื มีการเคาะจงั หวะหนึง่ คร้งั กจ็ ะเกดิ กจิ กรรม 1 ครงั้ เราเรยี กหน่วย ท่ีใช้ในการวดั ความเรว็ ของซีพียูว่า “เฮริ ์ท” (Herzt) หมายถงึ การทางานได้กค่ี ร้งั ในจานวน 1 วนิ าที เช่น ซีพียู Pentium4 มคี วามเรว็ 2.5 GHz หมายถึงทางานเร็ว 2,500 ล้านคร้งั ใน หนง่ึ วนิ าที กรณีทส่ี ัญญาณ Clock เรว็ ก็จะทาให้คอมพิวเตอรเ์ ครือ่ งนนั้ มี ความเรว็ สงู ตามไปดว้ ย ซพี ียูทท่ี างานเรว็ มาก ราคากจ็ ะแพงขึ้นมากตามไป

สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน 13 ด้วย การเลือกซื้อจะตอ้ งเลือกซ้อื ให้เหมาะสมกับงานท่ีตอ้ งการนาไปใช้ เชน่ ต้องการนาไปใช้งานกราฟฟิกส์ ทมี่ กี ารประมวลผลมาก จาเปน็ ท่จี ะต้องใช้ เคร่ืองที่มกี ารประมวลผลไดเ้ ร็ว สว่ นการพิมพ์รายงานทัว่ ไปใช้เคร่ืองท่ี ความเร็ว 100 MHz ก็เพยี งพอแล้ว (ท่มี า https://ariya122.wordpress.com) 2. หนว่ ยรบั ข้อมูล (Input Unit) หน่วยป้อนขอ้ มลู (Input Unit) ทาหนา้ ทใี่ นการป้อนขอ้ มูลเข้าสู่เครื่อง คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณท์ ่ที าหน้าท่ใี นการป้อนข้อมูล เข้าสู่เคร่ืองคอมพิวเตอร์

14 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน ไดแ้ ก่ แปน้ พมิ พ์ สาหรับพิมพ์ตวั อกั ษรและอักขระตา่ ง ๆ เมาสส์ าหรบั คลกิ สง่ั งานโปรแกรม สแกนเนอรส์ าหรับสแกนรปู ภาพ จอยสต๊ิก สาหรบั เล่น เกมส์ ไมโครโฟนสาหรบั พูดอัดเสยี ง และกล้องดิจติ อลสาหรบั ถ่ายภาพ และ นาเขา้ ไปเก็บไว้ ในดิสก์ของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพ่อื นาไปใช้งานต่อไป (ท่มี า https://ariya122.wordpress.com) 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหนา้ ที่ในการแสดงผลขอ้ มูล ทผี่ า่ นการ ประมวลผลในรูปของ ขอ้ ความ ภาพนงิ่ ภาพเคล่ือนไหวหรือ เสยี ง เป็นต้น อปุ กรณ์ท่ที าหน้าทใี่ นการแสดงผลไดแ้ ก่ จอภาพ (Monitor) สาหรบั แสดง ตัวอกั ษรและรูปภาพ เครอ่ื งพิมพ์ (Printer) สาหรับพมิ พ์ข้อมูลที่อยูใ่ นเครื่อง

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 15 ออกทางกระดาษพิมพ์ ลาโพง (Speaker) แสดงเสยี งเพลงและคาพูด เปน็ ตน้ (ทม่ี า https://ariya122.wordpress.com) 4. หนว่ ยความจา (Memory Unit) หนว่ ยความจา (Memory Unit) มีหน้าท่ีในการจาข้อมูล ให้กบั เคร่ือง คอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาทส่ี ามารถจาข้อมลู ได้ตลอดเวลา ส่วน หนว่ ยความจาอกี ประเภทหน่ึงคือ หน่วยความจาชัว่ คราว (RAM : Random Access Memory) หนว่ ยความจาประเภทนี้ จะจาข้อมลู ไดเ้ ฉพาะช่วงทีม่ ี การเปดิ ไฟเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ทา่ นน้ั หน่วยความจาชัว่ คราว ถือว่าเป็น หน่วยความจาหลักภายในเครื่อง สามารถซ้อื มาตดิ ต้ังเพม่ิ เติมได้ เรียกกนั ทว่ั ไปคือหนว่ ยความจาแรม ที่ใช้ในปัจจุบนั คอื แรมแบบ SDRAM , RDRAM เปน็ ตน้

16 สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 5. หนว่ ยเกบ็ ข้อมูลสารอง (Secondary Storage) หน่วยความจาสารองคืออปุ กรณท์ ี่ทาหน้าทีเ่ ก็บข้อมูลไวใ้ ช้ในโอกาสตอ่ ไป เน่ืองจากหน่วยความจาแรม จาขอ้ มลู ไดเ้ ฉพาะชว่ งทม่ี กี ารเปิดไฟ เขา้ เครื่อง คอมพวิ เตอรเ์ ท่านัน้ ถา้ ต้องการเกบ็ ข้อมลู ไวใ้ ชใ้ นโอกาสต่อไป จะต้องบนั ทึก ขอ้ มูลลงในหนว่ ยความจาสารอง ซึ่งหน่วยความจาสารองมีอยู่หลายชนดิ ด้วยกัน แต่มีนยิ มใช้กนั ทั่วไปคือ ฮารด์ ดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวดี รี อม ทัมท์ไดร์ฟ เปน็ ตน้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใชส้ งั่ งานคอมพิวเตอร์จึงเปน็ ซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลาดบั ข้ันตอนการทางานของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เคร่ืองหนง่ึ ทางานแตกต่างกันได้มากมายดว้ ยซอฟต์แวร์ที่ แตกต่างกัน ซอฟตแ์ วรจ์ ึงหมายรวมถงึ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทกุ ประเภทที่ ทาให้คอมพวิ เตอร์ทางานได้ ซอฟต์แวร์ (software) หมายถงึ ชุดคาสงั่ หรอื โปรแกรมท่ีใช้สั่งงานให้ คอมพวิ เตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จงึ หมายถงึ ลาดับขัน้ ตอนการทางานท่เี ขียน ข้นึ ด้วยคาสั่งของคอมพิวเตอร์ คาส่งั เหล่าน้ีเรยี งกนั เป็นโปรแกรม คอมพวิ เตอร์ จากท่ที ราบมาแล้ววา่ คอมพวิ เตอร์ทางานตามคาสั่ง การ ทางานพ้ืนฐานเป็นเพยี งการกระทากับข้อมลู ทีเ่ ป็นตัวเลขฐานสอง ซ่ึงใช้แทน ข้อมูลท่ีเปน็ ตัวเลข ตัวอักษร รปู ภาพ หรือแม้แต่เปน็ เสยี งพูดก็ไดโ้ ปรแกรม คอมพวิ เตอร์ที่ใช้สง่ั งานคอมพิวเตอร์จงึ เป็นซอฟต์แวร์ เพราะเปน็ ลาดับ ข้นั ตอนการทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองหนึ่งทางานแตกต่าง กนั ไดม้ ากมายด้วยซอฟต์แวร์ทีแ่ ตกต่างกนั ซอฟต์แวร์จงึ หมายรวมถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภททที่ าใหค้ อมพิวเตอร์ทางานได้การทเ่ี รา เห็นคอมพิวเตอร์ทางานให้กบั เราไดม้ ากมาย เพราะวา่ มีผู้พัฒนาโปรแกรม คอมพวิ เตอร์มาใหเ้ ราสงั่ งานคอมพวิ เตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพวิ เตอร์ทา

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 17 บญั ชีทยี่ งุ่ ยากซับซอ้ น บริษัทขายตั๋วใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยในระบบการจองตัว๋ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยในเรื่องกิจการงานธนาคารทีม่ ีขอ้ มูลต่าง ๆ มากมาย คอมพวิ เตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารใหส้ วยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ ดาเนนิ การใหป้ ระโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยูท่ ี่ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึง เปน็ ส่วนสาคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟตแ์ วร์คอมพวิ เตอรก์ ็ไม่ สามารถทางานได้ ซอฟต์แวรจ์ งึ เป็นสง่ิ ท่จี าเปน็ และมีความสาคญั มาก และ เป็นสว่ นประกอบหนึ่งทีท่ าให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามท่ีต้องการ ซอฟท์แวรแ์ ละภาษาคอมพวิ เตอร์ เมื่อมนุษยต์ ้องการใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยในการทางาน มนษุ ย์จะตอ้ ง บอกข้นั ตอนวธิ กี ารให้คอมพวิ เตอร์ทราบ การที่บอกสงิ่ ที่มนุษยเ์ ข้าใจให้ คอมพิวเตอรร์ บั รู้ และทางานไดอ้ ย่างถูกต้อง จาเป็นต้องมีส่ือกลาง ถา้ เปรยี บเทยี บกับชีวติ ประจาวันแล้ว เรามีภาษาทีใ่ ชใ้ นการติดตอ่ ซง่ึ กันและ กัน เช่นเดยี วกันถ้ามนุษย์ตอ้ งการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์ รับรแู้ ละปฏบิ ตั ติ าม จะต้องมีส่ือกลางสาหรบั การติดต่อเพื่อใหค้ อมพวิ เตอร์ รับรู้ เราเรยี กสอ่ื กลางนวี้ ่าภาษาคอมพวิ เตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทางานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนดว้ ย ตวั เลข 0 และ 1 ได้ ผอู้ อกแบบคอมพวิ เตอร์ใชต้ ัวเลข 0 และ 1 น้ีเป็นรหสั แทนคาสัง่ ในการสงั่ งานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคาส่งั โดยใช้ระบบ เลขฐานสองนี้ คอมพวิ เตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรยี กเลขฐานสองท่ปี ระกอบ กนั เป็นชดุ คาส่ังและใชส้ ่งั งานคอมพวิ เตอร์วา่ ภาษาเคร่ือง การใช้ภาษาเคร่ืองน้ีถึงแม้คอมพวิ เตอรจ์ ะเขา้ ใจได้ทันที แต่มนุษย์ ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเขา้ ใจและจดจาไดย้ าก จงึ มีผู้สรา้ ง

18 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน ภาษาคอมพวิ เตอร์ในรปู แบบทเ่ี ปน็ ตัวอักษร เปน็ ประโยคข้อความ ภาษาใน ลักษณะดงั กล่าวน้เี รียกวา่ ภาษาคอมพวิ เตอรร์ ะดับสงู ภาษาระดบั สูงมีอยู่ มากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกบั การใชส้ ง่ั งานการคานวณทาง คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงาน ทางด้านการจดั การข้อมลู ในการทางานของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรจ์ ะแปลภาษาระดบั สูง ใหเ้ ปน็ ภาษาเครื่อง ดงั นั้นจึงมีผ้พู ัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรับ แปลภาษาคอมพิวเตอรร์ ะดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมที่ใช้แปลภาษา คอมพวิ เตอร์ระดบั สูงให้เป็นภาษาเครื่องเรยี กว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) คอมไพเลอรจ์ ะทาการแปลโปรแกรมทีเ่ ขียนเปน็ ภาษาระดบั สงู ท้ัง โปรแกรมให้เปน็ ภาษาเคร่อื งก่อน แลว้ จงึ ใหค้ อมพิวเตอร์ทางานตาม ภาษาเครอื่ งนนั้ สว่ นอินเทอร์พรีเตอรจ์ ะทาการแปลทีละคาสัง่ แลว้ ให้คอมพิวเตอร์ ทาตามคาสงั่ น้ัน เมอ่ื ทาเสรจ็ แลว้ จึงมาทาการแปลคาสงั่ ลาดบั ต่อไป ข้อ แตกตา่ งระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรเี ตอรจ์ ึงอยทู่ ี่การแปลท้งั โปรแกรมหรือแปลทลี ะคาสัง่ ตัวแปลภาษาท่รี ู้จกั กนั ดี เช่น ตวั แปลภาษา เบสิก ตัวแปลภาษาโคบอล ซอฟตแ์ วร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จงึ เป็นส่วนสาคัญที่ควบคุม การทางานของคอมพวิ เตอร์ใหด้ าเนินการตามแนวความคดิ ที่ไดก้ าหนดไว้ ล่วงหนา้ แลว้ คอมพิวเตอรต์ อ้ งทางานตามโปรแกรมเทา่ นัน้ ไมส่ ามารถ ทางานท่ีนอกเหนือจากทกี่ าหนดไวใ้ นโปรแกรม ชนดิ ของซอฟต์แวร์

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 19 (ท่ีมา https://ariya122.wordpress.com) ซอฟตแ์ วร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ทีบ่ ริษัทผูผ้ ลติ สร้างข้ึนมาเพื่อใช้จดั การกับระบบ หน้าที่การทางานของซอฟตแ์ วร์ระบบคือดาเนินงานพ้นื ฐานต่าง ๆ ของ ระบบคอมพวิ เตอร์ เชน่ รบั ข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแลว้ แปลความหมาย ให้คอมพิวเตอรเ์ ขา้ ใจ นาขอ้ มูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนาออกไปยัง เครื่องพิมพ์ จัดการข้อมลู ในระบบแฟม้ ข้อมูลบนหนว่ ยความจารอง เมอ่ื เราเปิดเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ทนั ทีที่มีการจา่ ยกระแสไฟฟ้าใหก้ ับ คอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอรจ์ ะทางานตามโปรแกรมทนั ที โปรแกรมแรกที่ส่งั คอมพวิ เตอร์ทางานนี้เปน็ ซอฟต์แวรร์ ะบบ ซอฟต์แวรร์ ะบบอาจเกบ็ ไว้ใน รอม หรือในแผน่ จานแม่เหลก็ หากไม่มซี อฟต์แวร์ระบบ คอมพวิ เตอร์จะ ทางานไม่ได้

20 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน ซอฟตแ์ วรร์ ะบบยังใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนาซอฟตแ์ วร์อ่ืน ๆ และยังรวม ไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาตา่ ง ๆ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผใู้ ช้ ท่ี สามารถนามาใช้ประโยชน์ไดโ้ ดยตรง ปัจจบุ ันมีผพู้ ฒั นาซอฟต์แวรใ์ ช้งาน ทางดา้ นตา่ ง ๆ ออกจาหน่ายมาก การประยุกตง์ านคอมพิวเตอรจ์ งึ กว้างขวางและแพรห่ ลาย เราอาจแบ่งซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คอื ซอฟต์แวรส์ าเร็จ และซอฟตแ์ วร์ท่ีพัฒนาขนึ้ ใชง้ านเฉพาะ ซอฟต์แวร์ สาเรจ็ ในปจั จุบันมมี ากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวรต์ าราง ทางาน ฯลฯ ซอฟทแ์ วรร์ ะบบ คอมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ย หนว่ ยรับเขา้ หน่วยส่งออก หน่วยความจา และหนว่ ยประมวลผล ในการทางานของคอมพิวเตอรจ์ าเป็นตอ้ งมีการ ดาเนนิ งานกบั อปุ กรณ์พ้ืนฐานทจี่ าเป็น ดังน้ันจึงต้องมีซอฟต์แวร์ระบบเพื่อ ใช้ในการจดั การระบบ หน้าที่หลกั ของซอฟตแ์ วร์ระบบประกอบดว้ ย 1. ใชใ้ นการจดั การหนว่ ยรับเขา้ และหน่วยสง่ ออก เชน่ รบั การกดแปน้ ตา่ ง ๆ บนแผงแปน้ อักขระ ส่งรหสั ตัวอกั ษรออกทางจอภาพหรอื เครอื่ งพิมพ์ ติดต่อกบั อุปกรณ์รับเข้า และสง่ ออกอื่น ๆ เชน่ เมาส์ อุปกรณ์สงั เคราะห์เสียง 2. ใชใ้ นการจัดการหนว่ ยความจา เพอ่ื นาข้อมลู จากแผน่ บันทึกมา บรรจุยงั หน่วยความจาหลกั หรือในทานองกลบั กัน คือนาข้อมลู จาก หน่วยความจาหลกั มาเก็บไวใ้ นแผน่ บนั ทึก

สือ่ คอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน 21 3. ใชเ้ ปน็ ตัวเชือ่ มต่อระหวา่ งผใู้ ช้งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน ไดง้ ่ายขึ้น เชน่ การขอดูรายการสาระบบในแผ่นบันทึก การทาสาเนา แฟ้มข้อมลู ซอฟต์แวรร์ ะบบพ้ืนฐานทเ่ี ห็นกันทัว่ ไป แบง่ ออกเป็นระบบปฏิบัติการ และ ตวั แปลภาษา ซอฟต์แวร์ท่ังสองประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้ งานได้ง่ายขน้ึ ระบบปฏิบัตกิ าร ระบบปฏิบัติการ หรือทเี่ รยี กย่อ ๆ วา่ โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟตแ์ วรใ์ ชใ้ นการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอรท์ ุก เครอ่ื งจะต้องมีซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏบิ ตั กิ ารนี้ ระบบปฏิบัติการท่ีนยิ มใชก้ นั มากและเป็นท่รี จู้ กั กนั ดเี ชน่ ดอส (Disk Operating System : DOS) วนิ โดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยนู ิกซ์ (UNIX) 1) ดอส เปน็ ซอฟตแ์ วร์จดั ระบบงานท่ีพัฒนามานานแลว้ การใช้ งานจงึ ใชค้ าสัง่ เปน็ ตัวอกั ษร ดอสเป็นซอฟตแ์ วร์ท่รี ู้จักกนั ดีในหม่ผู ูใ้ ช้ ไมโครคอมพิวเตอร์ 2) วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการทพี่ ัฒนาต่อจากดอส เพอ่ื เน้น การใชง้ านท่ีงา่ ยขน้ึ สามารถทางานหลายงานพร้อมกนั ได้ โดยงานแตล่ ะงาน จะอยใู่ นกรอบช่องหนา้ ต่างท่ีแสดงผลบนจอภาพ การใชง้ านเนน้ รปู แบบ กราฟิก ผใู้ ช้งานสามารถใช้เมาสเ์ ล่อื นตัวช้ตี าแหนง่ เพ่ือเลือกตาแหน่งที่ ปรากฏบนจอภาพ ทาให้ใช้งานคอมพวิ เตอร์ได้งา่ ย วนิ โดวส์จึงได้รบั ความ นยิ มในปัจจบุ ัน

22 สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 3) โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดวส์ แต่บริษัท ผูพ้ ัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ห้ผใู้ ชส้ ามารถใชท้ างาน ไดห้ ลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เปน็ แบบกราฟิกเชน่ เดยี วกบั วนิ โดวส์ 4) ยนู กิ ซ์ เปน็ ระบบปฏิบตั กิ ารท่ีพัฒนามาตงั้ แตค่ ร้ังใช้กับเครื่อง มนิ ิคอมพวิ เตอร์ ระบบปฏิบัติการยนู ิกซ์เปน็ ระบบปฏิบตั ิการที่สามารถใช้ งานได้หลายงานพรอ้ มกนั และทางานได้หลาย ๆ งานในเวลาเดยี วกัน ยนู ิกซ์ จงึ ใชไ้ ด้กับเครื่องท่เี ชื่อมโยงและต่อกับเคร่ืองปลายทางไดห้ ลายเคร่อื งพร้อม กนั ระบบปฏบิ ตั ิการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัตกิ ารท่ีใช้ในเครือขา่ ย คอมพิวเตอร์ เพ่ือใหค้ อมพิวเตอรท์ างานร่วมกนั เปน็ ระบบ เช่น ระบบปฏิบตั ิการเนต็ แวร์ วนิ โดว์สเอ็นที ตวั แปลภาษา ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จาเป็นตอ้ งมซี อฟตแ์ วรท์ ใ่ี ช้ในการ แปลภาษาระดับสูง เพ่ือแปลภาษาระดับสูงให้เปน็ ภาษาเครอ่ื ง ภาษา ระดับสูงมหี ลายภาษา ภาษาระดับสงู เหลา่ น้ีสรา้ งขึ้นเพ่ือให้ผ้เู ขียนโปรแกรม เขียนชดุ คาสัง่ ได้ง่าย เขา้ ใจได้ ตลอดจนถึงสามารถปรับปรงุ แกไ้ ขซอฟต์แวร์ ในภายหลงั ได้ ภาษาระดบั สงู ที่พฒั นาข้ึนมาทกุ ภาษาจะตอ้ งมีตัวแปลภาษาสาหรบั แปลภาษา ภาษาระดบั สูงซง่ึ เปน็ ท่ีรูจ้ กั และนิยมกันมากในปัจจุบนั เชน่ ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษาซี และภาษาโลโก

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 23 1) ภาษาปาสคาล เปน็ ภาษาสง่ั งานคอมพวิ เตอร์ทมี่ ีรปู แบบ เป็นโครงสรา้ ง เขยี นส่งั งานคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ กระบวนความ ผ้เู ขยี นสามารถ แบง่ แยกงานออกเปน็ ชน้ิ เลก็ ๆ แล้วมารวมกนั เปน็ โปรแกรมขนาดใหญ่ได้ 2) ภาษาเบสกิ เปน็ ภาษาทม่ี ีรูปแบบคาสัง่ ไมย่ ุ่งยาก สามารถ เรียนรู้และเขา้ ใจไดง้ า่ ย มีรูปแบบคาส่งั พ้นื ฐานทีส่ ามารถนามาเขียนเรยี งต่อ กันเป็นโปรแกรมได้ 3) ภาษาซี เปน็ ภาษาที่เหมาะสาหรบั ใช้ในการพฒั นาซอฟต์แวร์ อืน่ ๆ ภาษาซเี ป็นภาษาท่ีมโี ครงสรา้ งคล่องตวั สาหรับการเขียนโปรแกรม หรอื ใหค้ อมพิวเตอร์ติดต่อกบั อุปกรณ์ต่าง ๆ 4) ภาษาโลโก เปน็ ภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนร้แู ละเขา้ ใจ หลกั การโปรแกรมภาษาโลโกได้รับการพัฒนาสาหรบั เด็ก นอกจากภาษาที่กล่าวถึงแลว้ ยังมภี าษาคอมพวิ เตอร์ทีใ่ ชก้ ันอยู่ใน ปัจจบุ นั อกี มากมายหลายภาษา เชน่ ภาษาฟอรแ์ ทรน ภาษาโคบอล ภาษา อาร์พจี ี ซอฟทแ์ วร์ประยุกต์ การทีเ่ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ได้พัฒนาก้าวหนา้ อย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะการท่ีมีคอมพิวเตอรข์ นาดเลก็ ทาให้มีการใชง้ านคล่องตวั ขึ้น จน ในปจั จุบนั สามารถนาคอมพิวเตอรข์ นาดเล็ก ติดตวั ไปใชง้ านในทตี่ ่างๆ ไดส้ ะดวกการใช้งานคอมพวิ เตอรต์ อ้ งมซี อฟต์แวร์ประยุกต์ ซง่ึ อาจเปน็ ซอฟตแ์ วรส์ าเร็จทม่ี ีผพู้ ฒั นาเพื่อใช้งานท่วั ไปทาให้ทางานไดส้ ะดวกข้นึ หรือ

24 สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน อาจเป็นซอฟต์แวร์ใชง้ านเฉพาะ ซ่ึงผู้ใชเ้ ปน็ ผพู้ ฒั นาขึ้นเองเพือ่ ให้เหมาะสม กับสภาพการทางานของตน ซอฟตแ์ วร์สาเร็จ ในบรรดาซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ทมี่ ใี ชก้ นั ทัว่ ไป ซอฟตแ์ วรส์ าเรจ็ (package) เปน็ ซอฟต์แวรท์ ี่มีความนิยมใชก้ ันสงู มาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ี่บรษิ ัทพัฒนาขึน้ แลว้ นาออกมาจาหน่าย เพือ่ ใหผ้ ้ใู ช้งานซอื้ ไป ใช้ไดโ้ ดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพฒั นาซอฟต์แวร์อีก ซอฟตแ์ วร์สาเรจ็ ที่ มจี าหน่ายในท้องตลาดทวั่ ไป และเป็นที่นยิ มของผใู้ ชม้ ี 5 กลมุ่ ใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวรป์ ระมวลคา (word processing software) ซอฟตแ์ วร์ตาราง ทางาน (spread sheet software) ซอฟตแ์ วรจ์ ัดการฐานขอ้ มูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นาเสนอ (presentation software) และซอฟต์แวร์ส่ือสารขอ้ มลู (data communication software) 1) ซอฟต์แวรป์ ระมวลคา เป็นซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ใช้สาหรับการ พมิ พเ์ อกสาร สามารถแกไ้ ข เพิ่ม แทรก ลบ และจดั รูปแบบเอกสารได้อยา่ ง ดี เอกสารที่พิมพ์ไว้จัดเป็นแฟ้มขอ้ มลู เรียกมาพมิ พ์หรือแก้ไขใหมไ่ ด้ การ พิมพอ์ อกทางเคร่ืองพมิ พก์ ม็ รี ูปแบบตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสาร จึงดเู รียบร้อยสวยงาม ปจั จบุ ันมกี ารเพิม่ ขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ ประมวลคาอกี มากมาย ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลคาท่ีนยิ มอยู่ในปจั จบุ นั เช่น วินส์ เวริ ด์ จฬุ าจารึก โลตสั เอมโิ ปร 2) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ชี่ ่วยในการคดิ คานวณ การทางานของซอฟตแ์ วร์ตารางทางาน ใชห้ ลักการเสมือนมีโตะ๊ ทางานที่มี กระดาษขนาดใหญว่ างไว้ มีเครือ่ งมือคล้ายปากกา ยางลบ และเคร่ือง

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 25 คานวณเตรียมไวใ้ หเ้ สร็จ บนกระดาษมชี ่องให้ใส่ตัวเลข ขอ้ ความหรือสูตร สามารถสง่ั ให้คานวณตามสตู รหรอื เง่ือนไขท่ีกาหนด ผู้ใช้ซอฟต์แวรต์ าราง ทางานสามารถประยุกตใ์ ชง้ านประมวลผลตวั เลขอนื่ ๆ ได้กวา้ งขวาง ซอฟตแ์ วรต์ ารางทางานที่นยิ มใช้ เช่น เอกเซล โลตสั 3) ซอฟต์แวรจ์ ดั การฐานข้อมูล การใช้คอมพิวเตอรอ์ ย่างหนงึ่ คือ การใชเ้ ก็บข้อมูล และจดั การกับข้อมลู ท่จี ัดเก็บในคอมพิวเตอร์ จึง จาเป็นตอ้ งมีซอฟตแ์ วร์จดั การขอ้ มลู การรวบรวมข้อมลู หลาย ๆ เรือ่ งที่ เก่ยี วข้องกนั ไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมลู ซอฟต์แวร์จดั การ ฐานขอ้ มูลจึงหมายถึงซอฟตแ์ วรท์ ชี่ ่วยในการเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การ ทารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวรจ์ ัดการฐานข้อมูลที่นิยมใช้ เชน่ เอกเซส ดเี บส พาราด็อก ฟ๊อกเบส 4) ซอฟตแ์ วรน์ าเสนอ เปน็ ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้สาหรับนาเสนอขอ้ มูล การ แสดงผลตอ้ งสามารถดึงดูดความสนใจ ซอฟตแ์ วรเ์ หล่านี้จึงเป็นซอฟต์แวร์ท่ี นอกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะทจี่ ะสื่อความหมายไดง้ า่ ยแล้ว จะต้องสรา้ งแผนภูมิ กราฟ และรปู ภาพได้ ตัวอย่างของซอฟตแ์ วร์นาเสนอ เช่น เพาเวอรพ์ อยต์ โลตัสฟรีแลนซ์ ฮาร์วาร์ดกราฟิก 5) ซอฟตแ์ วร์ส่อื สารข้อมูล ซอฟต์แวร์ส่ือสารขอ้ มูลนห้ี มายถึง ซอฟต์แวร์ท่ีจะช่วยให้ไมโครคอมพิวเตอร์ติดต่อสอ่ื สารกบั เคร่อื งคอมพิวเตอร์ อื่นในทีห่ า่ งไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟตแ์ วรส์ ื่อสารใช้เชือ่ มโยงต่อ เข้ากบั ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ ทาให้สามารถใช้ บริการอ่นื ๆ เพิ่มเติมได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณียอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ใช้โอนย้าย แฟ้มขอ้ มลู ใชแ้ ลกเปล่ียนข้อมลู อา่ นขา่ วสาร นอกจากน้ียังใช้ในการเช่อื ม เข้าหามนิ คิ อมพวิ เตอร์หรือเมนเฟรม เพ่ือเรียกใช้งานจากเครอ่ื งเหลา่ น้ันได้

26 สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน ซอฟตแ์ วร์ส่ือสารข้อมลู ที่นิยมมีมากมายหลายซอฟตแ์ วร์ เช่น โปรคอม ครอสทอลค์ เทลิก ซอฟตแ์ วร์ใช้งานเฉพาะ การประยุกตใ์ ช้งานดว้ ยซอฟต์แวร์สาเรจ็ มักจะเน้นการใชง้ านทว่ั ไป แตอ่ าจจะนามาประยกุ ต์โดยตรงกบั งานทางธรุ กิจบางอยา่ งไม่ได้ เชน่ ใน กจิ การธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางดา้ นบัญชี หรอื ในหา้ ง สรรพสนิ ค้ากม็ ีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรบั เงนิ การควบคมุ สนิ ค้า คงคลัง ดังนัน้ จงึ ต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสาหรบั งานแต่ละ ประเภทให้ตรงกบั ความต้องการของผู้ใชแ้ ตล่ ะรายซอฟต์แวร์ ใช้งานเฉพาะมักเปน็ ซอฟต์แวร์ท่ีผพู้ ัฒนาตอ้ งเขา้ ไปศึกษารูปแบบการทางาน หรือความต้องการของธรุ กจิ น้ันๆ แล้วจัดทาขนึ้ โดยทวั่ ไปจะเป็นซอฟต์แวร์ ทม่ี หี ลายสว่ นรวมกนั เพื่อรว่ มกนั ทางาน ซอฟตแ์ วรใ์ ช้งานเฉพาะท่ใี ชก้ ัน ในทางธุรกจิ เชน่ ระบบงานทางดา้ นบัญชี ระบบงานจดั จาหน่าย ระบบงาน ในโรงงานอตุ สาหกรรม บรหิ ารการเงนิ และการเชา่ ซอ้ื กระบวนการใชค้ อมพิวเตอร์มาใชจ้ ัดการสอน 1. ทาใหน้ กั ศึกษาไดม้ ีส่วนร่วมในกระบวนการเรยี นการสอนมากข้นึ ทาให้มีความสนใจและกระตือรือร้นมากข้ึนดังจะเหน็ ได้จากการมมี ักจะมี นักศึกษาใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรอ์ ย่จู นมืดคา่ ในสถานศึกษาต่างๆ 2. ทาใหน้ กั ศึกษาสามารถเลอื กบทเรยี นและวธิ ีการเรยี นได้หลาย แบบ ทาให้ไม่เบอ่ื หน่าย เชน่ ถ้าเบ่อื อา่ นหรือฟังคาบรรยายก็เปลยี่ นเป็นเลน่ เกมส์ หรอื เลน่ โปรแกรมอย่างอืน่ ได้

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 27 3. ทาใหไ้ มเ่ หลืองสมองในการสท่องจาส่งิ ท่ีไม่ควรจะต้องท่องจา 4. ทาให้สามารถปรับปรุงเปลยี่ นแปลงการเรียนการสอนได้ เหมาะสมกับความต้องการของนักศึกษาแต่ละคน 5. ทาใหน้ ักศึกษามอี สิ ระในการทีจ่ ะเรียนไมต่ ้องคอยเวียนแวะแนะ นดั กับเพื่อนร่วมช้ันและครูอาจารยจ์ ะเรยี นกับคอมพวิ เตอร์เมือ่ ไรกท็ าได้ อย่างอสิ ระ 6. ทาใหน้ กั ศึกษาสามารถสรุปหลักการ เพ่ือหาสาระของบทเรียน แตล่ ะบทไดส้ ะดวกเรว็ ขึน้ 7. ทาให้นกั ศึกษาได้ฝึกความรับผิดชอบตอ่ ตนเองในการเรยี นรู้ 8. ทาให้นักศึกษามผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้ึน จากการวิจยั ของ บริษทั IBM ท่ีกระทากบั ผู้เข้าฝกึ อบรมดว้ ยบทเรยี นช่วยสอนดว้ ย คอมพิวเตอร์ เม่อื เปรียบเทียบกบั โปรแกรมการฝึกอบรมแบบปกติ เมือ่ ปี พ.ศ. 2503 ในสหรัฐอเมริกา พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรู้ของกลุม่ ท่ีใชบ้ ทเรียนชว่ ยสอนดว้ ยคอมพวิ เตอรส์ ูงกวา่ อีกกลุม่ หนึง่ 10%

28 สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน

สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน 29

30 สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน บทที่ 3 การใช้ซอฟตแ์ วร์สาเร็จรปู ในการผลติ สือ่ มันตมิ ีเดียเพอ่ื การเรยี นรู้ ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป ในบรรดาซอฟตแ์ วรป์ ระยุกตท์ ีม่ ีใช้กันทัว่ ไป ซอฟตแ์ วร์ สาเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวรท์ ่ีมคี วามนยิ มใชก้ นั สูงมาก ซอฟต์แวร์ สาเรจ็ เป็นซอฟต์แวรท์ ่บี ริษัทพฒั นาขนึ้ แลว้ นาออกจาหนา่ ย เพ่ือให้ผู้ใช้งาน ซื้อไปใช้ไดโ้ ดยตรง ไมต่ ้องเสียเวลาในการพัฒนา ซอฟต์แวรส์ าเร็จแลง่ เป็น 5 กลมุ่ ใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวรป์ ระมวลคา (word processing software) ซอฟต์แวรต์ ารางการทางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวรจ์ ดั การ ฐานข้อมลู (database mangement software) ซอฟต์แวรน์ าเสนอ (presentation software) และซอฟต์แวรส์ ือ่ สารขอ้ มลู (data communication software) การสร้างสอ่ื การสอนโดยใช้โปรแกรม PowerPoint (ที่มา https://support.office.com/th-th/article)

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 31 องค์ประกอบศิลป์ คือ สี ตัวอักษร ขนาดของภาพ โดยเรม่ิ จาก 1. เลือกสีของพืน้ หลัง ให้คลกิ ขวา →format background เลอื ก สที ตี่ ้องการ 2. ใสภ่ าพ Format background แลว้ insert ภาพท่ีตอ้ งการ 3. ถา้ Format ภาพแลว้ ภาพแตก ให้ใชว้ ธิ ี copy→ paste 4. สาหรบั โปรแกรม window 2007 สามารถเลอื กดีไซน์แบบ สาเรจ็ รูปได้ เชน่ โทนสี ให้เลอื กคลิกท่ี design → colors เลือกสี ตามท่ตี ้องการ แต่มขี ้อเสียคือ ถ้าเลือกสแี ลว้ เคร่ืองจะเลือกสที ค่ี ิด ว่าเหมาะสมให้ผู้ใช้เอง แล้วจะเปล่ียนใหเ้ องทัง้ หมด 5. การเปลีย่ นสีเฉพาะจดุ ท่ีต้องการ หรือเฉพาะสไลด์ที่ต้องการ ทา ได้โดยการคลิกเลอื กตัวทต่ี ้องการเปลยี่ น แล้วไปที่ design เพอ่ื เลือกสที ตี่ ้องการ 6. เมือ่ เวลาที่นาไปใชแ้ ลว้ พบวา่ ตัวอกั ษรบนหน้าจอมีสจี าง ใหป้ รบั สพี ืน้ หลังให้สเี ขม้ ขนึ้ แลว้ ปรับสตี ัวอกั ษรให้อ่อนลง 7. หากต้องการเปลยี่ น background แบบง่ายๆ ให้ไปเปล่ียน template ตามท่ตี ้องการ 8. ถ้าตอ้ งการนา template จากสไลด์อน่ื มาใช้ ก็ให้ copy→ paste ไวท้ ีห่ น้าสไลดท์ ่ตี ้องการ 9. ถ้าใช้ font ทีแ่ ปลกใหม่ ไม่มใี นเครื่อง ซึ่งตอนท่ีใชง้ านยังมีอยู่ แต่พอปดิ เคร่ือง แล้วเปิดใชใ้ หม่ หรอื นาไฟลไ์ ปเปิดใช้กบั เคร่ืองอื่น แลว้ ปรากฏว่า ตวั อกั ษรน้นั หายไป แนะนาดังนี้

32 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน - เว็บไซต์สาหรับดาวนโ์ หลดแบบตัวอกั ษรใหมๆ่ ท่ีแนะนา คือ f0nt.com (เอฟ ศูนย์ เอ็น ท)ี - ถ้าตอ้ งการแก้ไขตวั อกั ษร หรอื เปลย่ี นขนาดตวั อักษรทง้ั หน้าจอ วธิ ที เี่ ดิมคือไฮไลท์ตัวอักษรที่ต้องการ แต่มอี ีกวิธที ่ีเรว็ กว่า คอื กด ctrl และกดแป้น A พร้อมกัน จะสามารถเลือกอักษรได้ทั้ง หนา้ จอ - ถา้ ตอ้ งการนาไฟลท์ ี่ใช้งานไปเปดิ ใชก้ บั เครื่องอนื่ แลว้ กลวั ว่าอักษรข้อมูลจะเปดิ ใช้งานไม่ได้ แนะนาให้ save → PPT options หรือ save options →กด save อกี ครง้ั →เลือก embed fonts in the file → embed all characters แล้ว ตัวอักษรทใ่ี ชจ้ ะไปเปดิ ใชง้ านกบั เคร่ืองไหนก็ได้ การใส่ลูกเล่นภาพเคลอื่ นไหวและเสยี ง 1. ถ้าตอ้ งการใสเ่ สียงหรือเพลงประกอบในสไลด์ PPT ใหเ้ ลือก insert →sound → เลือก file เพลงหรอื เสยี งทต่ี ้องการ → จากน้ันจะ ปรากฏคาถามข้ึนท่หี น้าจอ ถามว่า How do you want the sound to start in the slide show? มสี องตวั เลอื ก คือ Automatically กบั When clicked เมอ่ื เลือกไดแ้ ลว้ จะมรี ปู ลาโพงข้ึนทห่ี น้าจอ ให้คลิกที่รูปลาโพง จะ มเี สยี งทเ่ี ราใสไ่ วด้ ังออกมา 2. ถา้ ตอ้ งการใสภ่ าพเคล่ือนไหวประกอบในสไลด์ PPT วธิ ีทากจ็ ะ คล้ายกัน คือใหเ้ ลอื ก insert →movie → เลือก file ภาพเคลื่อนไหว หรือภาพยนตร์ทตี่ ้องการ เมื่อเลือกไดแ้ ล้ว ให้ลองกด play ดู จะมี ภาพเคล่ือนไหวหรือภาพยนตรป์ รากฏข้ึนทห่ี น้าจอ

สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน 33 3. ถ้าภาพเคลอ่ื นไหวหรอื ภาพยนตร์ที่เราใช้ อาจมปี ญั หาเปิดไม่ได้ ใหใ้ ชโ้ ปรแกรม format factory แปลงไฟล์ภาพเคลอ่ื นไหวหรอื ภาพยนตร์ ให้เปน็ นามสกุล .avi ก็จะสามารถใชง้ านได้ 4. ถา้ ต้องการเพมิ่ จานวนภาพใน template ท่ีเปน็ แบบสาเร็จรปู ให้ลากรูปครอบคลมุ รูปทั้งหมด แลว้ group ภาพ จากนนั้ เลอื กเฉพาะภาพที่ ต้องการ แล้ว copy → paste วางไว้ในทท่ี ีต่ อ้ งการใสเ่ พ่ิม 5. หรอื เลอื ก group ทต่ี ้องการ แล้วคลกิ ที่ลูกศรด้านซา้ ย กด Enter เพอ่ื เพม่ิ จานวน การผลิตส่ือการสอนดว้ ยโปรแกรม Adobe Presenter โปรแกรม Adobe Presenter เป็นโปรแกรมใชง้ านสาหรบั ผู้สอนหรือผู้เรยี น ทต่ี อ้ งการผลิตสอ่ื แบบ e-learning อย่างง่ายเพราะผ้ใู ชส้ ามารถใชง้ าน ร่วมกบั Microsoft PowerPoint ซง่ึ เปน็ โปรแกรมท่ีผู้ใชส้ ่วนใหญค่ นุ้ เคยกับ การใช้งานอยู่แลว้ กอ่ นอืน่ ผใู้ ชต้ อ้ งดาวน์โหลดโปรแกรม Adobe Presenter หรือตดิ ต่อขอโปรแกรมได้จากศูนย์ส่ือการเรยี นรู้ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ความสามารถของโปรแกรม อาทเิ ชน่ การ บันทึกเสยี งบรรยายลงสอื่ การแทรกวดิ โี อ ภาพนง่ิ ภาพเคล่ือนไหว หรอื สร้างแบบทดสอบได้ เปน็ ตน้ วธิ กี ารตดิ ตั้งโปรแกรม เมื่อดาวนโ์ หลดโปรแกรมมาได้แล้วกด็ ับเบิ้ลคลิกไฟลต์ ดิ ตั้งและเลือก next ตามขน้ั ตอน ไปจนกวา่ โปรแกรมจะแล้วเสร็จแต่ระหว่างทลี่ งโปรแกรม

34 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน จะตอ้ งปิดโปรแกรม Microsoft PowerPoint ไมเ่ ช่นน้ันจะไมส่ ามารถ ติดต้ังโปรแกรมได้ วธิ ีการใช้งานโปรแกรม เมอื่ ผสู้ อนเปิดโปรแกรม Microsoft PowerPoint มาใช้งานจะ สังเกตเห็นปลัก๊ อนิ Adobe Presenter ตรงแถบเมนบู าร์ มาให้เลอื กใชง้ าน หมายเหตุ กรณีทผ่ี ู้สอนมีส่อื เนือ้ หาที่ทาดว้ ยโปรแกรม Microsoft PowerPoint อยูแ่ ล้วกส็ ามารถนามาตกแตง่ เพิ่มเติมได้เลยค่ะ หากผ้ใู ช้ เตรียมเน้ือหาเรยี บร้อยแลว้ เรามาลองใช้ เครื่องมือของโปรแกรม Adobe Presenter สร้างสื่อการสอนใหน้ า่ สนใจมากข้ึน - การแทรกภาพเคล่ือนไหวและวิดโี อ เลือกคาส่ัง Adobe Presenter > Insert Flash หมายเหตุ ชนิดของภาพเคลื่อนไหวหรือวดิ ีโอ จะต้องเป็นไฟล์นามสกุล .swf เทา่ นน้ั กรณที ว่ี ิดโี อเปน็ นามสกุลชนดิ อื่น ผ้ใู ชต้ ้องใชโ้ ปรแกรมแปลงไฟล์ วดิ ีโอชนดิ นน้ั กอ่ นจงึ จะสามารถนามาใชง้ านรว่ มกบั โปรแกรม Adobe Presenter ได้ - การกาหนดคุณสมบตั ิของแตล่ ะสไลด์ เลอื กคาส่งั Adobe Presenter > Slide Properties - การตงั้ คา่ การนาเสนอของส่ือการสอน เลอื กคาสัง่ Adobe Presenter > Presentation settings 1. การสร้างแบบทดสอบ 1. เลือกคาสัง่ Adobe Presenter > Quiz Manager

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 35 Quizzes สรา้ งแบบทดสอบและข้อคาถาม Reporting สรา้ งการรายงานผลแบบทดสอบ Default Labels สร้างคาอธบิ ายปุ่ม และข้อความตอบกลับข้อสอบ 2. การสรา้ งแบบทดสอบใหม่เลอื กไปยังแทบ Quizzes 2.1 เลือกคาสงั่ Add New Quiz เพื่อสรา้ งแบบทดสอบ 2.2 เลอื กคาส่งั Add New Question เพ่อื สร้างข้อคาถามและ ตัวเลือก ผูส้ อนสามารถออกแบบคาถามทม่ี ีลักษณะตา่ งๆ ได้ 6 รูปแบบ คือ - คาถามแบบมีตัวเลือก (Multiple choice) - คาถามแบบถูกหรือผิด (True or False) - คาถามแบบการจับคู่ (Matching) - คาถามแบบการใหค้ ะแนนนยิ ม (Rating Scale (linkert)) - คาถามแบบเติมคาในช่องว่าง (Fill-in-the-blank) - คาถามใหต้ อบแบบสั้นๆ (short Answer) - เลือกชนิดของคาถามที่ต้องการ เชน่ เลอื กคาถามแบบ Multiple choice 2.3 กรอกคาถามและตัวเลอื ก การผลิตสือ่ ดว้ ยโปรแกรม Adobe Presenter จะชว่ ยอานวยความ สะดวกแก่ผู้ใชใ้ นการผลติ ส่ือให้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว โดยผู้ใชไ้ ม่จาเปน็ ต้อง มที กั ษะการใช้งานคอมพวิ เตอร์ขน้ั สูงมากนักเพราะอาศัยการสรา้ งเน้อื หา ดว้ ยโปรแกรม Microsoft PowerPoint และอาศยั เครือ่ งมือช่วยจัดการของ

36 สื่อคอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน โปรแกรม Adobe Presenter ทมี่ เี ครอ่ื งมือต่างๆ มาให้แล้วโดยผู้ใชไ้ ม่ จาเปน็ ต้องมีทกั ษะการเขยี นโปรแกรมแต่อยา่ งใด การสร้างสอื่ การสอนโดยใช้ CAPTIVATE ส่กู ารทาแอพฯ ดว้ ย PHONEGAP ปจั จบุ นั ส่ือการเรียนรู้จะอย่มู ีหลากหลายรปู แบบ หากต้องการทา สอ่ื การเรยี นรู้แบบ Mobile Learning กส็ ามารถสร้างข้ึนได้ด้วยตนเองโดย ใช้โปรแกรม Adobe Captivate ซ่งึ หลงั จากทีเ่ ราสรา้ งสอ่ื เสร็จแลว้ จะ นาไปใช้กับคอมพิวเตอร์ เปิดผา่ นเบราว์เซอร์ หรอื ทาเปน็ แอพพลิเคชั่นก็ได้ โดยไมต่ ้องเขียน Code และไมต่ อ้ งสรา้ งสื่อใหม่ เรียกไดว้ า่ ทาครงั้ เดยี ว สามารถเลือก Publish ไปใช้งานไดต้ ามตอ้ งการ โดยในบทความนจ้ี ะพูดถึง การทาแอพพลเิ คชั่นดว้ ย PhoneGap ซึ่งปจั จบุ นั รองรับขนาดแอพฯ ได้ถึง 50 MB สาหรับ Free Plan และส่ิงสาคัญท่ตี ้องร้กู ็คือ ถ้าจะทาแอพพลิเคชัน่ จะต้อง Publish ไฟลโ์ ปรเจคเปน็ HTML5 เท่านั้น โดยมขี ้ันตอนดงั น้ี 1. ไปที่ Publish > Publish to Computer (ทมี่ า https://programsdd.com/2015/11/13/adobe-captivate-phonegap/)

สื่อคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 37 2. Publish to เลอื กเปน็ HTML5 / SWF 3. Project title ใหต้ ัง้ ช่ือไฟล์โปรเจค 4. Location ใหค้ ลิก Browse เพือ่ เลือกทเี่ ก็บไฟล์ 5. คลกิ เลือกเฉพาะ HTML5 6. เลอื ก Zip Files 7. เลอื ก Scalable HTML Content 8. คลิก Publish 9. คลกิ OK (ทม่ี า https://programsdd.com/2015/11/13/adobe-captivate- phonegap/) 10. ไปทเ่ี ว็บ PhoneGap 11. เลือก Plan เปน็ free สาหรบั ผูเ้ รมิ่ ตน้ (หากเลือก Plan อืน่ จะมี ค่าใช้จ่ายและได้รบั คุณสมบัติทแี่ ตกตา่ งกนั ตามตาราง)

38 สือ่ คอมพิวเตอร์เพือ่ การสอน (ท่ีมา https://programsdd.com/2015/11/13/adobe-captivate- phonegap/) 12. ลงชอ่ื เชา้ ใช้ด้วย Adobe ID 13. คลิก SIGN IN (ท่ีมา https://programsdd.com/2015/11/13/adobe-captivate-phonegap/)

สือ่ คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน 39 14. คลกิ Upload a .zip file 15. เลอื กไฟลโ์ ปรเจคที่ได้ Publish เอาไว้ 16. คลิก Open (ทม่ี า https://programsdd.com/2015/11/13/adobe-captivate- phonegap/) 17. รอสกั ครู่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook