Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาการใช้สารสนเทศ 1

แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาการใช้สารสนเทศ 1

Published by gotzila.navy, 2022-07-26 12:41:49

Description: วิชาการใช้สารสนเทศ 1

Search

Read the Text Version

95 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 รายงานและการเขียนบรรณานุกรม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 แผนการจัดการเรยี นท่ี 3 เร่ือง ความหมายและวธิ กี ารเขยี นบรรณานุกรม เวลา 1 ช่วั โมง ผลการเรียนรู้ เขา้ ใจรปู แบบการเขยี นรายงาและการเขียนอ้างองิ บรรณานุกรมในรายงานการคน้ ควา้ ได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 นกั เรียนลงรายการบรรณานุกรมหนงั สือและส่ืออ่ืน ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑก์ ารลง รายการบรรณานุกรม 2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทกั ษะการคดิ การตดั สินใจและการแก้ปญั หา 2.2 ทกั ษะการแสวงหาข้อมูล ขา่ วสาร ความรู้ 2.3 ทักษะการวางแผนและการจัดการ สาระการเรยี นรู้ บรรณานกุ รม (Bibliography) หมายถึง รายชื่อหนงั สอื เอกสาร ส่ิงพิมพต์ า่ งๆ และ วสั ดอุ า้ งอิงทกุ ประเภททผี่ ทู้ ำรายงานใชป้ ระกอบการคน้ ควา้ และการเรียบเรยี ง เพือ่ เป็นการยืนยันวา่ การเขียนนนั้ เป็นการคน้ ความจากตำราท่เี ชือ่ ถอื ได้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะองั พงึ ประสงค์ 3. มีวนิ ัย 5. อยู่อย่างพอเพยี ง 6. มุง่ ม่ันในการทำงาน 8. มีจติ สาธารณะ ทกั ษะชีวิต 1. การตระหนักรูแ้ ละเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อ่ืน 2. การคิดวเิ คราะห์ ตดั สนิ ใจ และแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์

96 คุณลกั ษณะผู้เรยี นตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ เศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล 3. การมภี ูมิคุม้ กนั ทีด่ ใี นตัว 4. เง่อื นไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวงั ) 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม (มคี วามซอ่ื สัตยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต) ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ 1.การเรยี นรจู้ ากการสบื ค้น 2.การเรียนรทู้ ่ีเน้นทักษะกระบวนการคดิ 3.การสอนแบบสาธิต กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูช้ีแจงเกยี่ วกบั ความหมายและความสำคญั ของการลงรายการบรรณานกุ รมหนงั สือ ขนั้ สอน 1.ครอู ธิบายเกีย่ วกบั หลักการลงรายการบรรณานกุ รม 2.ใหน้ กั เรียนศกึ ษาตวั อยา่ งการลงรายการบรรณานกุ รมท่ีถกู ต้อง โดยทำใหด้ เู ปน็ ตวั อยา่ งพร้อมทง้ั อธบิ ายตามอยา่ งละเอียดทลี ะขน้ั ตอน 3.ใหน้ ักเรยี นฝึกลงรายการบรรณานกุ รมหนงั สอื ด้วยตนเอง โดยครคู อยเปน็ ที่ปรกึ ษา ขน้ั สรปุ ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั สรปุ เนือ้ หา การวดั ผลและประเมนิ ผล - สือ่ /แหล่งเรียนรู้ 1.ใบความรู้เรอื่ ง ความหมายของบรรณานกุ รม 2.ห้องสมุดโรงเรียน 3.หนังสอื

97 กจิ กรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

98 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกค่ี น คิดเปน็ ร้อยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปัญหา/อปุ สรรค (ระบุปัญหาและอุปสรรคจากการทีน่ กั เรยี นไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไข/พฒั นา (ระบแุ นวทางเพ่อื ให้บรรลตุ ามเกณฑ์การประเมนิ ทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครูผ้สู อน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ................................................................... (นางศุภรดา ปญั ญาทอง) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี

99 ใบความรู้ ความหมายของบรรณานุกรม ความหมายของบรรณานุกรม 1. บรรณานกุ รม (Bibliography) หมายถึง รายชอื่ หนังสอื เอกสาร ส่ิงพิมพต์ ่างๆ และ วัสดุอ้างองิ ทกุ ประเภทที่ผู้ทำรายงานใชป้ ระกอบการค้นควา้ และการเรียบเรียง เพื่อเปน็ การยืนยนั วา่ การเขียนนน้ั เป็นการคน้ ความจากตำราที่เชอื่ ถอื ได้ 2. บรรณานุกรม คือ รายการวสั ดุสารนเิ ทศทกุ ประเภททผ่ี เู้ ขียนใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ประกอบในการเขยี นรายงาน วิธีการเขยี นบรรณานุกรม 1. เขียนหรอื พมิ พ์คำว่า “บรรณานกุ รม” ใชต้ ัวอกั ษรขนาด 20 พอยต์ ตัวหนา (แบบและขนาด เดียวกับ คำนำ สารบญั ) ไวก้ ลางหน้ากระดาษ หา่ งจากขอบบนลงมา 2 นว้ิ และไมข่ ดี เส้นใต้ 2. เขียนหรอื พมิ พ์บรรณานกุ รมแตล่ ะรายการในบรรทัดแรกชิดกรอบซ้าย ถ้าไม่พอในบรรทัดเดยี วให้ ตอ่ ในบรรทดั ถดั ไปในระยะยอ่ หน้า (เวน้ เข้าไปประมาณ 7 ตัวอกั ษร) 3. เรียงลำดบั บรรณานกุ รมตามลำดับตวั อกั ษรของรายการแรก ก – ฮ หรอื A – Z และเรยี ง บรรณานกุ รมภาษาไทยไว้ก่อนบรรณานกุ รมภาษาองั กฤษ 4. ถา้ รายการแรกในบรรณานุกรมซำ้ กัน (ผแู้ ต่งคนเดิม) ไม่ตอ้ งพมิ พ์ชอื่ ซ้ำอกี ใหข้ ีดเส้นยาวประมาณ 1 นิว้ หรอื เทา่ กับ 7 ตวั อกั ษร หรอื เท่ากับ 1 ย่อหนา้ แทน แลว้ ให้เรียงตามลำดับตวั อกั ษรในรายการถัดไป 5. หลังเครอื่ งหมายมหัพภาค ( . ) ใหเ้ วน้ 2 ชว่ งตวั อกั ษร ส่วนเครอื่ งหมายอื่น ๆ พิมพ์เว้น 1 ตวั อกั ษร 6. ขดี เส้นใต้หรอื พิมพด์ ว้ ยตวั หนาตรงช่อื หนงั สือ 7. สารนิเทศใดไม่ปรากฏชือ่ ผู้แต่ง ผจู้ ดั ทำ หรอื ผรู้ บั ผิดชอบ ใหใ้ ชช้ ือ่ เร่อื งเปน็ รายการแรก 8. หนังสอื ท่ีไม่ปรากฏสถานทพี่ ิมพใ์ ห้ลงวา่ ม.ป.ท. แทน และใช้ n.p. (no place) ในภาษาองั กฤษ 9. สิง่ พิมพท์ ่ไี มร่ ะบุปพี มิ พ์ให้ลงวา่ ม.ม.ป. แทน และใช้ n.d. (no date) ในภาษาอังกฤษ 10. หนงั สอื ทไ่ี มป่ รากฏสำนักพมิ พใ์ ห้ลงวา่ ม.ป.พ. แทน และใช้ n.p. (no publisher) ใน ภาษาองั กฤษ

100 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 รายงานและการเขยี นบรรณานุกรม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหสั ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรยี นที่ 4 เรอื่ ง หลักเกณฑก์ ารลงรายการบรรณานุกรม ผลการเรียนรู้ เขา้ ใจรูปแบบการเขยี นรายงาและการเขียนอา้ งอิงบรรณานุกรมในรายงานการค้นควา้ ได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1 นักเรยี นลงรายการบรรณานุกรมหนังสือและสอื่ อ่ืน ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องตามหลักเกณฑก์ ารลง รายการบรรณานุกรม 2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทักษะการคดิ การตดั สินใจและการแกป้ ญั หา 2.2 ทักษะการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ 2.3 ทักษะการวางแผนและการจัดการ สาระการเรยี นรู้ บรรณานุกรม (Bibliography) หมายถึง รายชือ่ หนังสือ เอกสาร ส่ิงพิมพต์ า่ งๆ และ วัสดุอา้ งอิงทกุ ประเภททผี่ ูท้ ำรายงานใชป้ ระกอบการค้นควา้ และการเรียบเรียง เพอ่ื เป็นการยืนยนั วา่ การเขยี นนนั้ เป็นการค้น ความจากตำราท่ีเชอื่ ถอื ได้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คณุ ลกั ษณะองั พึงประสงค์ 3. มีวินยั 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน 8. มจี ิตสาธารณะ ทกั ษะชีวิต 1. การตระหนักรู้และเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผ้อู นื่ 2. การคดิ วิเคราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์

101 คณุ ลักษณะผ้เู รยี นตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคดิ 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมภี ูมคิ มุ้ กันที่ดใี นตวั 4. เงื่อนไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวัง) 5. เงื่อนไขคุณธรรม (มีความซอื่ สัตยส์ ุจริต และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชีวิต) ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ เร่อื งหลกั เกณฑ์การลงรายการบรรณานกุ รม 2.หนงั สือ รปู แบบการจดั การเรียนรู้ 1.การเรียนรูจ้ ากการสืบคน้ 2.การเรียนรูท้ ่ีเน้นทกั ษะกระบวนการคิด 3.การสอนแบบสาธิต กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นำ ครชู แ้ี จงเก่ียวกบั ความหมายและความสำคญั ของการลงรายการบรรณานกุ รมหนงั สือ ขนั้ สอน 1.ครูอธิบายเกย่ี วกบั หลักการลงรายการบรรณานกุ รม 2.ให้นักเรียนศึกษาตวั อยา่ งการลงรายการบรรณานกุ รมที่ถูกตอ้ ง โดยทำใหด้ ูเปน็ ตวั อย่างพร้อมทง้ั อธบิ ายตามอยา่ งละเอยี ดทลี ะขน้ั ตอน 3.ใหน้ กั เรยี นฝึกลงรายการบรรณานกุ รมหนังสือด้วยตนเอง โดยครคู อยเปน็ ทป่ี รกึ ษา ขัน้ สรุป ครแู ละนกั เรยี นช่วยกนั สรปุ เนอื้ หา การวดั ผลและประเมนิ ผล เขียนบรรณานกุ รมได้ถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้

102 1.ใบความรู้เร่ือง ความหมายของบรรณานกุ รม 2.หอ้ งสมดุ โรงเรียน 3.หนงั สอื 4.ใบงาน กิจกรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

103 บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกี่คน คดิ เปน็ รอ้ ยละเทา่ ใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรค (ระบุปัญหาและอุปสรรคจากการท่นี กั เรียนไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ท่กี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไข/พฒั นา (ระบแุ นวทางเพือ่ ให้บรรลตุ ามเกณฑก์ ารประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครูผู้สอน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ................................................................... (นางศุภรดา ปัญญาทอง) หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

104 ใบความรู้เรื่อง หลักเกณฑก์ ารลงรายการบรรณานุกรม หลกั เกณฑ์การลงสว่ นตา่ ง ๆ ในบรรณานกุ รม 1. การลงช่ือผแู้ ตง่ 1.1 ผแู้ ตง่ ชาวไทย ให้ลงชอ่ื ตามดว้ ยนามสกลุ ตามปกติ และไม่ตอ้ งใสค่ ำนำหน้านา (นาย นาง นางสาว) ไมต่ อ้ งใสย่ ศหรอื ตำแหน่ง (ดร. รศ. นายแพทย)์ 1.2 ผ้แู ตง่ ชาวตา่ งชาติ ให้ลงนามสกลุ ก่อน คน่ั ดว้ ยเครอื่ งหมายจลุ ภาค ( , ) ตามดว้ ยช่ือต้น และชื่อ กลาง เช่น Carter V. Good. ให้ลงเปน็ Good, Carter V. 1.3 ผู้แต่งทมี่ รี าชทินนาม ฐานนั ดรศักดิ์ บรรดาศกั ดิ์ ใหล้ งไว้หลังนามสกุล เช่น - เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเดจ็ พระ. - จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเดจ็ พระ. - ดำรงราชานภุ าพ, สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. - คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. - อนุมานราชธน, พระยา. 1.4 ผู้แต่ง 2 คน 1.4.1 คนไทย ให้ลงช่อื ตามด้วยนามสกุลคนแรก เชือ่ มดว้ ยความว่า “และ” ช่ือ นามสกลุ คน ที่ 2 เชน่ ชวน หลกี ภยั และอภิสิทธ์ิ เวชชาชวี ะ. 1.4.2 คนตา่ งชาติ ใหล้ งนามสกลุ คนั่ ดว้ ยจลุ ภาค ตามดว้ ยชอ่ื ตน้ และช่ือกลางของคนแรก เชอ่ื มดว้ ยคำว่า “and” ตามดว้ ยช่อื ตน้ ชอ่ื กลาง นามสกุลของคนที่ 2 เชน่ Silverman, Robert E. and Morgan Cliffort T. 1.5 ผแู้ ต่ง 3 คน 1.5.1 ผแู้ ตง่ คนไทย ลงชอ่ื นามสกลุ คนแรกคั่นดว้ ยจุลภาค ตามด้วยคนที่ 2 และคนที่ 3 1.5.2 ชาวตา่ งชาติ กลบั นามสกุลเฉพาะคนแรก ใช้จุลภาคคน่ั ลงช่ือนามสกุลคนที่ 2 and คน ที่ 3 1.6 ผู้แตง่ มากกวา่ 3 คน 1.6.1 คนไทย ให้ลงช่อื และนามสกลุ เฉพาะผู้แต่คนแรกแล้วตามด้วยคำวา่ “และคณะ” หรอื “และคนอน่ื ๆ” 1.6.2 คนตา่ งชาติ ใหล้ งนามสกลุ ค่นั ด้วยจลุ ภาค ลงช่อื ตน้ ชอ่ื กลาง ของคนแรกแล้วตามดว้ ย คำวา่ “and others” หรอื et al 1.7 ผแู้ ตง่ ใชน้ ามแฝง 1.7.1 ร้นู ามจรงิ ใหว้ งเลบ็ นามจริงต่อทา้ ย เชน่ ยาขอบ (โชติ แพรพ่ ันธ์)

105 1.7.2 ไมท่ ราบนามจรงิ ลงนามแฝงนนั้ แล้ววงเล็บต่อทา้ ยวา่ “นามแฝง” เช่น ธารทอง (นามแฝง) 1.8 หนงั สอื ที่ออกโดยหนว่ ยงานสถาบนั ใหล้ งจากหนว่ ยงานใหญ่ไปหาหน่วยงานยอ่ ย และลงตามท่ี ปรากฏไมต่ อ้ งเปลี่ยนแปลง (จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2540 : 74) เช่น กระทรวงมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชน. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ คณะศลิ ปศาสตร์. 2. ช่ือหนงั สอื ชื่อวารสาร ชือ่ หนงั สอื พิมพ์ ชื่อรายการ ให้ขีดเสน้ ใต้ หรือพมิ พด์ ้วยตัวหนา 3. ชอ่ื บทความ ชื่อจุลสาร เอกสารอดั สำเนา วทิ ยานิพนธ์ คอลมั น์ ใสไ่ วใ้ นเครือ่ งหมายอัญประกาศ (เครอื่ งหมายคำพดู ) (“........”) 4. ครัง้ ทพี่ ิมพ์ หนังสอื ทพี่ ิมพ์คร้งั แรกไม่ต้องลงรายการ จะลงคร้ังท่พี ิมพต์ ้ังแตพ่ มิ พค์ รัง้ ท่ี 2 เป็นตน้ ไป ดังน้ี พิมพ์คร้งั ท่ี 2 (ภาษาอังกฤษใช้ 2 nd. ed. ย่อมาจาก Second Edition) พมิ พ์ครั้งท่ี 3 (ภาษาอังกฤษใช้ 3 rd. ed. ยอ่ มาจาก Third Edition) พิมพ์ครงั้ ท่ี 4 (ภาษาอังกฤษใช้ 4 th. ed. ยอ่ มาจาก Fourth Edition) 5. สถานที่พมิ พ์ (Place) หมายถงึ ชื่อเมือง ชื่อจงั หวัด ช่ือรฐั ทส่ี ำนักพมิ พต์ ง้ั อยู่ (ไม่ใชช่ อ่ื ประเทศ) เชน่ กรงุ เทพฯ London 6. สำนกั พมิ พ์ (Publisher) ไม่ตอ้ งใสค่ ำวา่ “สำนกั พิมพ์” ให้ลงเฉพาะชื่อ ยกเว้นกรณเี ปน็ โรงพิมพ์ ให้ใสค่ ำวา่ โรงพมิ พ์ไว้ดว้ ย ถ้าเป็นหน่วยให้ลงหนว่ ยงานย่อยไว้ก่อนหน่วยงานหลัก เชน่ ทรปิ เปิล้ เอ็ดดเู คชั่น โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 7. ปที พี่ ิมพ์ ใสเ่ ฉพาะตวั เลข (ไมใ่ สค่ ำวา่ พ.ศ. หรอื ค.ศ.) และใช้ปีพมิ พ์ครง้ั หลังสุด

106 ใบงานเร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารลงรายการบรรณานกุ รม คำสั่ง ใหน้ กั เรยี นฝกึ ลงรายการบรรณานุกรม โดยการสมมตุ ริ ายละเอียดตา่ ง ๆ เอง เขียนให้ถูกตอ้ งตาม หลกั เกณฑก์ ารลงรายการบรรณานุกรม (จำนวน 3 ชื่อ) ชอื่ ผแู้ ต่ง.//(ปพี ิมพ)์ .//ช่ือหนังสือ.//คร้งั ทพี่ มิ พ์(ถ้าม)ี .//เมอื งพมิ พห์ รอื สถานท่ีพิมพ์/:/สำนักพิมพห์ รอื ผู้ จดั พมิ พ์. ตวั อยา่ งเชน่ ลกั ษณวดี จิตพยัค. (2557). การลงรายการบรรณานุกรมหนังสอื อ้างองิ . พมิ พ์คร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์สตรีวทิ ยา ๒. ลกั ษณวดี จติ พยคั . (2557). การลงรายการบรรณานกุ รมหนงั สอื อา้ งองิ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพส์ ตรวี ทิ ยา๒. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

107 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 รายงานและการเขียนบรรณานุกรม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 แผนการจัดการเรียนท่ี 5 เรื่อง รปู แบบการเขียนบรรณานุกรม เวลา 2 ชว่ั โมง ผลการเรียนรู้ เข้าใจรปู แบบการเขยี นรายงาและการเขียนอ้างองิ บรรณานกุ รมในรายงานการคน้ ควา้ ได้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 นักเรียนลงรายการบรรณานกุ รมหนงั สอื และส่อื อน่ื ๆ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์การลง รายการบรรณานกุ รม 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทกั ษะการคดิ การตดั สนิ ใจและการแก้ปญั หา 2.2 ทกั ษะการแสวงหาข้อมูล ขา่ วสาร ความรู้ 2.3 ทักษะการวางแผนและการจดั การ สาระการเรยี นรู้ บรรณานกุ รม (Bibliography) หมายถึง รายช่อื หนังสอื เอกสาร ส่ิงพิมพต์ ่างๆ และ วัสดุอา้ งองิ ทกุ ประเภททีผ่ ูท้ ำรายงานใชป้ ระกอบการค้นควา้ และการเรยี บเรียง เพอื่ เป็นการยนื ยันวา่ การเขยี นนั้นเปน็ การคน้ ความจากตำราที่เช่ือถือได้ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะองั พึงประสงค์ 3. มวี นิ ัย 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 8. มจี ติ สาธารณะ ทกั ษะชวี ติ 1. การตระหนกั รแู้ ละเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ นื่ 2. การคดิ วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์

108 คณุ ลักษณะผูเ้ รยี นตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคดิ 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ เศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมภี มู ิคมุ้ กันท่ดี ใี นตวั 4. เงอ่ื นไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวัง) 5. เงื่อนไขคุณธรรม (มีความซอ่ื สัตย์สุจริต และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชีวิต) ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ หลกั สตู รต่อตา้ นการทุจรติ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม รูปแบบการจดั การเรียนรู้ 1.การเรียนรู้จากการสืบคน้ 2.การเรียนร้ทู ีเ่ นน้ ทักษะกระบวนการคิด กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำ ครูทบทวนหลกั เกณฑก์ ารลงรายการบรรณานกุ รมอย่างครา่ วๆ เพื่อทบทวนความจำของนักเรยี น ขนั้ สอน 1.ครอู ธบิ ายเก่ยี วกบั รูปแบบการเขียนบรรณานกุ รม 2.ครูเขยี นให้นักเรยี นดเู ป็นตวั อย่างพรอ้ มทง้ั อธิบายสว่ นตา่ ง ๆ ของรูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม 3.ให้นักเรยี นฝกึ ลงรายการบรรณานกุ รมหนังสือ วารสารและหนงั สอื พมิ พ์ ตามรปู แบบท่ถี กู ตอ้ ง ขัน้ สรุป ครูและนักเรยี นช่วยกนั สรปุ เนื้อหา การวดั ผลและประเมินผล เขียนบรรณานกุ รมไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ 1.ใบความรูเ้ รอื่ ง ความหมายของบรรณานุกรม 2.ห้องสมดุ โรงเรียน 3.หนงั สือ

109 4.ใบงาน กจิ กรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

110 บนั ทึกหลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกี่คน คดิ เปน็ รอ้ ยละเทา่ ใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรค (ระบุปัญหาและอุปสรรคจากการท่นี กั เรียนไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ท่กี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไข/พฒั นา (ระบแุ นวทางเพือ่ ให้บรรลตุ ามเกณฑก์ ารประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครูผู้สอน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ................................................................... (นางศุภรดา ปัญญาทอง) หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

111 ใบความร้เู รื่อง รูปแบบการเขยี นบรรณานุกรม รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ 1. การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสอื รูปแบบที่ 1 ผ้แู ต่ง.//ช่ือหนังสือ.//ครง้ั ทีพ่ ิมพ์(ถ้ามี).//สถานท่พี มิ พ์/:/สำนกั พมิ พ์,/ปที พี่ ิมพ์. ตัวอย่าง อำไพวรรณ ทพั เปน็ ไทย. การเขยี นรายงานและการใชห้ อ้ งสมุด. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2549. รูปแบบที่ 2 ผู้แตง่ .//(ปที ่พี ิมพ์).//ชือ่ หนังสือ.//คร้ังทีพ่ มิ พ(์ ถา้ มี).//สถานทพ่ี ิมพ/์ :/สำนกั พมิ พ์. ตัวอยา่ ง อำไพวรรณ ทพั เปน็ ไทย. (2549). การเขยี นรายงานและการใช้หอ้ งสมดุ . พมิ พค์ รั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ : โอ เดยี นสโตร์. ** ปจั จุบนั นิยมใช้ปีที่พิมพต์ อ่ จากชื่อผแู้ ต่งเช่น วทิ ยากร เชียงกูล. (2544). ฉนั จงึ มาหาความหมาย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ 2. การเขยี นบรรณานุกรมจากบทความในวารสาร ผู้เขยี นบทความ./“ชือ่ บทความ.”/ชื่อวารสาร.//ปีท,่ี /ฉบับที่/(เดอื น/ปี)/:/เลขหนา้ . ตัวอย่าง กอบแก้ว. “รกั ชวี ิตรักดิน.” ยทุ ธศาสตรป์ รทิ ศั น์. 3, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2551) : 17-21. 3. การเขยี นบรรณานุกรมจากหนงั สือพิมพ์ ผู้เขียนบทความ./“ช่ือคอลมั น.์ ”/ชือ่ หนังสอื พมิ พ์.//(วนั ท/่ี เดอื น/ปี)/:/เลขหน้า. ตัวอย่าง แมงเม่า. “ทวงคนื ความสุขคนไทย.” เดลนิ วิ ส์. (17 กันยายน 2551) : 3. 4.การเขยี นบรรณานุกรมจากจุลสาร เอกสารอดั สำเนา แผ่นพับ

112 ผู้จดั ทำ./“ชือ่ เอกสาร.”/สถานท่ีพมิ พ/์ :/ผู้จัดพิมพ,์ ปีท่ีพมิ พ.์ /(อัดสำเนา) ตัวอย่าง โต้คล่นื . “ปาการังอันดามัน.” [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.sanook.com., 10 สิงหาคม 2549. หมายเหตุ 1. หากไม่ปรากฏชื่อผ้เู ขยี นให้ลงรายการหวั ขอ้ ไวใ้ นเคร่อื งหมายคำพูดไดเ้ ลย 2. ประเภทของส่ือ เช่น ออนไลน์ ซีดรี อม ใสไ่ วใ้ นวงเล็บแล้วใสม่ หัพภาค ( . ) ต่อทา้ ย 3. คำวา่ “เขา้ ถงึ ไดจ้ าก” ภาษาอังกฤษใชค้ ำว่า “Available” * ท้ังนี้ การลงรายการบรรณานุกรม มกั ยดึ หลักเกณฑ์ตามรูปแบบทก่ี ำหนด ของสถาบนั การศกึ ษาน้ันๆ ดังน้ัน รปู แบบการลงรายการบรรณานุกรมจงึ ไม่แน่นอน

113 ใบงานเร่ือง รปู แบบการเขยี นบรรณานุกรม คำส่ัง ใหน้ ักเรียนฝึกเขียนบรรณานุกรมทรพั ยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ตามรปู แบบการเขียน บรรณานกุ รมใหถ้ กู ตอ้ ง 1. บรรณานุกรมจากหนงั สอื หนังสือภาษาไทย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. หนงั สือภาษาองั กฤษ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. บรรณานกุ รมจากวารสาร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. บรรณานุกรมจากหนงั สือพมิ พ์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. บรรณานุกรมจากจุลสาร แผน่ พัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. บรรณานกุ รมจากเวบ็ ไซต์ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook