Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาการใช้สารสนเทศ 1

แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาการใช้สารสนเทศ 1

Published by gotzila.navy, 2022-07-26 12:41:49

Description: วิชาการใช้สารสนเทศ 1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รหสั ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 นางสาวกมลชนก สำอาง กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ โรงเรยี นชัยบาดาลวทิ ยา อำเภอชยั บาดาล จงั หวดั ลพบรุ ี สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาลพบรุ ี

บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ จิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โรงเรยี นชยั บาดาลวิทยา จังหวดั ลพบรุ ี ท่ี / วนั ท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2565 เรื่อง ขออนุมัติใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรียนชยั บาดาลวิทยา ขา้ พเจ้านางสาวกมลชนก สำอาง ตำแหน่งครผู ูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ได้ จดั ทำแผนการจดั การเรียนร้รู หสั ง33203 วชิ า การใช้สารสนเทศ 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 4 หน่วยการเรยี นรู้ 14 แผนการจัดการเรยี นรู้ รวม 20 ชว่ั โมง เพอื่ ใช้ประกอบการจดั การเรยี น การสอน ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ตอ่ ไป จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพิจารณาอนุมตั ิ ลงชื่อ.........................................ครูผูส้ อน (นางสาวกมลชนก สำอาง) ความคดิ เห็นหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ความคดิ เห็นรองผูอ้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ลงช่ือ................................................ ลงชือ่ ................................................ (......................................................) (นางสาวพิชญา ผลปราชญ)์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ������ ทราบ ������ อนมุ ัติใหใ้ ช้แผนการจดั การเรยี นรู้ รหัสวชิ า ง33203 รายวชิ าการใช้สารสนเทศ1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ไดต้ ้ังแตว่ ันที่ 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เปน็ ต้นไป ������ ปรับปรุง................................................ ลงช่ือ................................................ (นายวรเทพ หอมจันทร์) ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนชัยบาดาลวทิ ยา

แบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ โรงเรยี นชยั บาดาลวทิ ยา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 รหสั ง33203 วิชา การใชส้ ารสนเทศ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ชน้ั ม.6 ผูจ้ ดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ นางสาวกมลชนก สำอาง ที่ องคป์ ระกอบของแผน ผลการปฏบิ ัติ หมายเหตุ เรยี บรอ้ ย ปรับปรุง 1 ปก 2 คำนำ 3 สารบัญ 4 มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้ (พืน้ ฐาน) ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ (เพ่มิ เตมิ ) 5 คำอธบิ ายรายวิชา 6 โครงสร้างรายวิชา 7 การจัดหนว่ ยการเรียนรู้ 8 ปฐมนิเทศนักเรยี น 9 แผนการจัดการเรียนรู้ 9.1 มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชี้วัด (พ้ืนฐาน) / ผลการเรียนรู้ (เพม่ิ เตมิ ) 9.2 สาระสำคัญ 9.3 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 9.4 สาระการเรยี นรู้ 9.5 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน/คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค/์ ทกั ษะชีวติ /คณุ ลกั ษณะตามาตรฐานสากล/เศรษฐกิจพอเพียง 9.6 ช้ินงาน/ภาระงาน 9.7 รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ 9.8 กิจกรรมการเรยี นรู้ 9.9 การวดั ผลและประเมินผล 9.10 สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ 9.11 บนั ทึกหลงั สอน 9.12 เอกสารประกอบการสอน 10 ภาคผนวก

ผลการประเมิน ������ ดี ������ พอใช้ ������ ปรบั ปรงุ .............................. ลงชือ่ ......................................ผูป้ ระเมนิ 1 ลงชอ่ื ......................................ผู้ประเมิน 2 (.........................................) (.........................................) ลงชือ่ ................................................ (นางสาวพชิ ญา ผลปราชญ)์ รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้เลม่ นีจ้ ดั ทำขน้ึ เพอ่ื ใช้ประกอบการเรยี นการสอนรายวชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 ซงึ่ เป็นรายวชิ าเพิม่ เติม ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 ทั้งนเี้ พื่อให้การเรยี นการสอนบรรลจุ ดุ ประสงค์ หลกั สูตรสถานศึกษาวางไว้ จำเปน็ ที่ครูจะตอ้ งมแี ผนการจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ชป้ ระกอบการสอน เนื้อหาภายในแผนการจดั การเรียนรู้น้ีประกอบดว้ ย ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกับหอ้ งสมุด ทรพั ยากร สารสนเทศ ระบบการจัดหมวดหมทู่ รพั ยากรสารสนเทศ รายงานและการเขยี นบรรณานกุ รม กมลชนก สำอาง

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง 1 3 ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 4 คำอธบิ ายรายวิชา 6 โครงสรา้ งรายวิชา 11 การจัดหนว่ ยการเรียนรู้ 12 ปฐมนิเทศนกั เรยี น 17 แผนการจัดการเรียนท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั หอ้ งสมุด 24 33 การปฐมนเิ ทศวชิ าการใชส้ ารสนเทศ 1 ความหมาย วัตถุประสงค์ ความสำคญั และประโยชนข์ องหอ้ งสมดุ 40 ประเภทของห้องสมดุ 46 ระเบียบและมารยาทการใชห้ ้องสมุด แผนการจดั การเรยี นท่ี 2 ทรพั ยากรสารสนเทศ 61 ความหมายและประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศ 68 ประเภทและลักษณะของทรพั ยากรสารสนเทศ 76 แผนการจดั การเรียนท่ี 3 ระบบการจัดหมวดหมทู่ รัพยากรสารสนเทศ การจดั หมวดหม่หู นังสือระบบทศนิยมดวิ อี้ 81 การจดั หมวดหมู่หนงั สอื ระบบทศรฐั สภาอเมริกัน 87 การจดั หมู่หนังสอื ที่ไมใ่ ชต้ ัวเลขเปน็ สัญลกั ษณ์ 95 แผนการจัดการเรียนท่ี 4 รายงานและการเขยี นบรรณานุกรม 100 ความรู้เบ้ืองตน้ เกยี่ วกบั รายงานทางวชิ าการ 107 ส่วนประกอบของรายงาน ความหมายและวิธกี ารเขยี นบรรณานกุ รม หลกั เกณฑ์การลงรายการบรรณานุกรม รปู แบบการเขยี นบรรณานกุ รม

1 ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ รหัส ง33203 วิชา การใชส้ ารสนเทศ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง/สัปดาห์ จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความหมายของ การปฐมนิเทศนักเรยี น ชว่ ยให้นกั เรียนมีความรู้ หอ้ งสมดุ ความสำคัญ ประโยชนแ์ ละวัตถปุ ระสงค์ของ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ แนว หอ้ งสมุด ทางการเรียนรู้และการมอบหมายงานท่ีจะตอ้ ง ปฏบิ ตั ินอกเวลาเรยี น ตลอดจนทราบกฎเกณฑใ์ น 2. รู้และเขา้ ใจเร่อื งหอ้ งสมุดประเภทต่าง ๆ และ การเรียน และวธิ ีประเมินผลการเรียน เลือกใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุดได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ห้องสมดุ เป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศทุกประเภท ทง้ั ทีเ่ ป็นวสั ดตุ ีพิมพ์และไม่ตีพมิ พ์ หอ้ งสมดุ ได้ 3. อธบิ ายเกี่ยวกบั ทรพั ยากรตพี ิมพแ์ ละไม่ตพี ิมพ์ได้ คดั เลอื ก จดั หา และจดั เก็บสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ เพ่อื ส่งเสรมิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ฝึกนสิ ยั รกั การอา่ น และการใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ โดย มบี รรณารักษ์เปน็ ผูด้ ำเนนิ การและอำนวยความ สะดวก ทรัพยากรสารสนเทศเปน็ วสั ดุท่ใี ชใ้ นการศึกษา ค้นคว้าและวจิ ัยในรูปแบบ วัสดุตพี ิมพแ์ ละวัสดไุ ม่ ตีพิมพ์ ผเู้ รยี นตอ้ งรู้จกั และทำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ลกั ษณะของทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะประเภท เพอ่ื ใช้ในการตดั สินใจวา่ จะเลือกใช้ทรพั ยากร สารสนเทศประเภทใดในการศกึ ษาค้นควา้ 4. เขา้ ใจระบบการจดั หมวดหมู่ทรพั ยากรสารสนเทศ หอ้ งสมุดเป็นสถาบันบริการสารสนเทศซง่ึ ตอ้ งมี และสารมารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ทรพั ยากรสารสนเทศจำนวนมากและหลากหลาย รูปแบบ ดงั นน้ั จึงตอ้ งมีวิธีการจัดเกบ็ ทเี่ ป็น มาตรฐานเพ่ือให้ผ้ใู ช้เขา้ ถึงทรพั ยากรสารสนเทศได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว และเข้าใจไดต้ รงกนั ระหว่างผู้ ให้บริการและผู้ใช้บรกิ าร หนงั สือเป็นทรัพยากร สารสนเทศท่สี ำคัญและมีมากทส่ี ดุ ในห้องสมุดจึง ตอ้ งมีระบบการจดั เกบ็ ท่ดี ี นั่นคือระบบการจัด หมวดหมสู่ ากล

2 ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ 5. เขา้ ใจรปู แบบการเขยี นรายงาและการเขียนอ้างอิง ผเู้ รียนเขา้ ห้องเรยี นเพอ่ื ฟงั คำบรรยายและจดจำ บรรณานุกรมในรายงานการค้นคว้าได้ เรอ่ื งราวทีค่ ุณครอู าจารยช์ ี้แนะและทำแบบฝกึ หัด หรอื ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามที่ได้รบั มอบหมายแลว้ กย็ ัง ไม่เพยี งพอ ผเู้ รยี นยงั ตอ้ งศกึ ษาคน้ ควา้ ข้อมลู ความรเู้ พิ่มเตมิ จากแหล่งสารนเิ ทศตา่ ง ๆ เพอื่ ใหม้ ี ความรอบรู้ รจู้ กั คดิ พจิ ารณาตดั สนิ ปัญหาตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้องมเี หตุผล ดังนนั้ ในบางรายวชิ าจึง กำหนดใหผ้ เู้ รยี นตอ้ งทำรายงานทางวิชาการ ประกอบการเรยี นเพอ่ื เสรมิ การเรยี นรูใ้ หม้ ี ประสิทธิภาพมากย่งิ ขึน้

3 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชัว่ โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต ศึกษา วเิ คราะห์ อธิบาย ฝึกทกั ษะการแกป้ ญั หาในสาระต่อไปน้ี ความรทู้ ัว่ ไปเก่ียวกับหอ้ งสมดุ ความหมาย วตั ถุประสงค์ ความสำคัญ ประโยชน์ ประเภทของ หอ้ งสมดุ ประวัตศิ าสตรข์ องห้องสมดุ และการรรู้ ะเบียบและมารยาทการใชห้ อ้ งสมุด ทรัพยากรสารสนเทศ รคู้ วามหมาย ประโยชน์ ประเภทและลกั ษณะของทรัพยากรสารสนเทศ ระบบการจัดหมวดหมทู่ รพั ยากรสารสนเทศ รแู้ ละเขา้ ใจระบบการจัดหมวดหมู่ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ของ ห้องสมดุ และแยกแยะความแตกตา่ งระหวา่ งการจดั หมวดหม่รู ะบบดวิ อี้ (D.C.) การจดั หมวดหมู่ระบบหอสมุด รัฐสภาอเมริกัน (L.C.) และการจดั หมวดหมู่หนงั สือท่ีไมใ่ ช้ตวั เลขเป็นสญั ลักษณ์ เข้าใจระบบการจดั เกบ็ ทรัพยากรสารสนเทศเพอ่ื ให้บรกิ ารในห้องสมดุ รายงานและการเขยี นบรรณานกุ รม ความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกบั การศกึ ษาค้นควา้ รวมทงั้ สว่ นประกอบ และขัน้ ตอนการศึกษา หลักการเขยี นบรรณานกุ รม หลกั เกณฑ์การลงรายการสว่ นต่าง ๆ ในบรรณานกุ รม และ รปู แบบการเขยี นบรรณานกุ รมจากสอื่ ประเภทต่าง ๆ โดยนำความรู้ ทกั ษะกระบวนการตา่ ง ๆ มาใช้แกป้ ญั หากับสถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม มเี หตุผลประกอบในการตดั สินใจ และสรุปผลไดอ้ ย่างเหมาะสม ใช้ภาษาในการส่ือสารสอื่ ความหมายและนำเสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งชดั เจน นำความรู้ หลักการ ทกั ษะกระบวนการไปเช่อื มโยงกับศาสตร์ อื่น ๆ และมีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ เพือ่ ให้เกดิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สามารถทำงานอย่างมรี ะบบระเบียบ รอบคอบ รบั ผดิ ชอบ มี วจิ ารณญาณ มีความเชอื่ มน่ั ในตนเอง มีความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ใฝ่เรียนรู้ มุง่ มน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทย มี จิตสาธารณะ พรอ้ มท้งั ตระหนกั ในคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการเรียน ผลการเรยี นรู้ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความหมายของหอ้ งสมุด ความสำคัญ ประโยชน์และวตั ถปุ ระสงคข์ องห้องสมดุ 2. รู้และเขา้ ใจเรือ่ งหอ้ งสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลอื กใช้บรกิ ารห้องสมุดได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. อธบิ ายเกยี่ วกบั ทรัพยากรตีพมิ พแ์ ละไม่ตีพิมพไ์ ด้ 4. เขา้ ใจระบบการจัดหมวดหมูท่ รพั ยากรสารสนเทศและสารมารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 5. เข้าใจรูปแบบการเขียนรายงาและการเขยี นอ้างองิ บรรณานกุ รมในรายงานการคน้ ควา้ ได้ รวม 5 ผลการเรียนรู้

4 โครงสร้างรายวชิ า รหัส ง33203 วชิ า การใช้สารสนเทศ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ ลำดบั ชือ่ หนว่ ย ตัวชว้ี ัด/ สาระสำคญั เวลา คะแนน ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ 1 ความรทู้ วั่ ไป 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจ (ช่วั โมง) เกย่ี วกบั หอ้ งสมดุ เก่ยี วกับความหมายของ ห้องสมดุ ความสำคัญ 1.การปฐมนเิ ทศนกั เรียน ชว่ ยให้ 4 20 2 ทรพั ยากร ประโยชนแ์ ละวัตถปุ ระสงค์ สารสนเทศ ของห้องสมดุ นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 2. ร้แู ละเขา้ ใจเรือ่ งห้องสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลอื กใช้ เกี่ยวกับจุดประสงค์การเรียนรู้ แนว บริการห้องสมุดได้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ ทางการเรียนรแู้ ละการมอบหมาย 3. อธบิ ายเกย่ี วกบั ทรัพยากร งานที่จะตอ้ งปฏิบัตนิ อกเวลาเรยี น ตีพิมพ์และไมต่ พี มิ พไ์ ด้ ตลอดจนทราบกฎเกณฑใ์ นการ เรยี น และวธิ ปี ระเมินผลการเรยี น 2.หอ้ งสมุดเปน็ แหล่งรวบรวม สารสนเทศทกุ ประเภททง้ั ทีเ่ ปน็ วัสดตุ พี ิมพแ์ ละไมต่ พี ิมพ์ ห้องสมดุ ไดค้ ัดเลือก จดั หา และจดั เก็บ สารสนเทศอย่างเป็นระบบ เพือ่ สง่ เสริมการศกึ ษาค้นควา้ ฝึกนิสยั รักการอา่ น และการใช้เวลาว่างให้ เกดิ ประโยชน์ โดยมีบรรณารกั ษ์ เปน็ ผู้ดำเนนิ การและอำนวยความ สะดวก 1.ทรพั ยากรสารสนเทศเปน็ วัสดุท่ี 4 30 ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ และวจิ ัยใน รปู แบบ วัสดุตพี ิมพ์และวัสดุไม่ ตีพมิ พ์ ผู้เรียนตอ้ งรู้จกั และทำความ เข้าใจเก่ียวกับลกั ษณะของ ทรพั ยากรสารสนเทศแตล่ ะ ประเภท เพ่ือใช้ในการตดั สนิ ใจวา่ จะเลอื กใช้ทรพั ยากรสารสนเทศ ประเภทใดในการศึกษาค้นคว้า

5 ลำดบั ชื่อหน่วย ตัวช้ีวดั / สาระสำคัญ เวลา คะแนน ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ 3 ระบบการจดั 4. เข้าใจระบบการจัด (ช่วั โมง) หมวดหมู่ หมวดหม่ทู รัพยากร ทรพั ยากร สารสนเทศและสารมารถนำ หอ้ งสมุดเป็นสถาบันบรกิ าร 5 20 สารสนเทศ ไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ สารสนเทศซึ่งตอ้ งมีทรพั ยากร รายงานและการ 5. เขา้ ใจรปู แบบการเขียน 4 เขียน รายงาและการเขียนอ้างองิ สารสนเทศจำนวนมากและ บรรณานกุ รมในรายงานการ บรรณานุกรม ค้นควา้ ได้ หลากหลายรปู แบบ ดังนน้ั จงึ ตอ้ งมี รวม วธิ กี ารจดั เกบ็ ทเี่ ป็นมาตรฐาน เพื่อใหผ้ ู้ใช้เขา้ ถงึ ทรพั ยากร สารสนเทศไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเรว็ และเข้าใจได้ตรงกันระหวา่ งผู้ ให้บริการและผใู้ ชบ้ รกิ าร หนงั สือ เป็นทรพั ยากรสารสนเทศทสี่ ำคัญ และมมี ากทสี่ ุดในหอ้ งสมดุ จึงต้องมี ระบบการจัดเก็บท่ดี ี น่นั คอื ระบบ การจดั หมวดหม่สู ากลระบบ หอสมุดรฐั สภาอเมรกิ นั และระบบ ทศนยิ มดิวอ้ี ผเู้ รียนเขา้ หอ้ งเรียนเพื่อฟังคำ 7 30 บรรยายและจดจำเรอื่ งราวทีค่ ณุ ครู อาจารยช์ แี้ นะและทำแบบฝึกหัด หรอื ปฏบิ ัติกิจกรรมตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายแล้วก็ยังไม่เพยี งพอ ผ้เู รยี นยังตอ้ งศึกษาคน้ คว้าข้อมูล ความรู้เพิม่ เติมจากแหลง่ สารนเิ ทศ ต่าง ๆ เพอื่ ให้มคี วามรอบรู้ รูจ้ กั คิด พิจารณาตดั สนิ ปญั หาตา่ ง ๆ ได้ อย่างถูกตอ้ งมเี หตผุ ล ดงั นน้ั ในบาง รายวชิ าจงึ กำหนดใหผ้ ู้เรยี นต้องทำ รายงานทางวิชาการประกอบการ เรียนเพื่อเสริมการเรียนรใู้ ห้มี ประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้นึ 20 100

6 การจดั หนว่ ยการเรียนรู้ รหัส ง33203 วิชา การใชส้ ารสนเทศ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต หนว่ ยการ แผนการจัดการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา เรยี นรู้ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ เรยี น 1.ความรทู้ ั่วไป 1.การปฐมนเิ ทศ เกีย่ วกับ วชิ าการใช้ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจ การปฐมนิเทศนักเรียน ชว่ ยให้ 1 ห้องสมดุ สารสนเทศ 1 เกย่ี วกบั ความหมายของ นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ห้องสมุด ความสำคญั เก่ียวกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ประโยชนแ์ ละวตั ถุประสงค์ แนวทางการเรียนรู้และการ ของหอ้ งสมุด มอบหมายงานทีจ่ ะตอ้ งปฏบิ ัติ นอกเวลาเรียน ตลอดจนทราบ กฎเกณฑ์ในการเรียน และวธิ ี ประเมินผลการเรยี น 2.ความหมาย 1.มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ห้องสมดุ เป็นแหล่งรวบรวม 1 วัตถปุ ระสงค์ ความสำคญั และ ความหมายของหอ้ งสมดุ สารสนเทศทกุ ประเภททง้ั ท่ี ประโยชน์ของ ห้องสมดุ ความสำคัญ ประโยชนแ์ ละ เป็นวัสดตุ ีพมิ พแ์ ละไม่ตพี มิ พ์ วตั ถปุ ระสงคข์ องห้องสมุด ห้องสมดุ ได้คัดเลือก จดั หา และจดั เกบ็ สารสนเทศอยา่ ง เป็นระบบ เพือ่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ฝกึ นสิ ัยรกั การอา่ น และการใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์ โดยมี บรรณารกั ษเ์ ป็นผู้ดำเนนิ การ และอำนวยความสะดวก 3.ประเภทของ 2.รแู้ ละเขา้ ใจเรอื่ งห้องสมุด ห้องสมุดจัดเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ี 1 หอ้ งสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลือกใช้ สำคญั ในประเทศไทยยังมี บริการหอ้ งสมดุ ได้ตรงตาม ห้องสมุดอีก 5 ประเภท คือ 1. วตั ถุประสงค์ หอ้ งสมุดโรงเรยี น, 2. ห้องสมดุ วทิ ยาลัยและมหาวทิ ยาลยั , 3. ห้องสมุดประชาชน, 4. ห้องสมดุ เฉพาะ และ 5. หอสมุดแหง่ ชาติ

7 หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ เรยี น 1.ความรู้ท่ัวไป 4.ระเบยี บและ 2.ร้แู ละเขา้ ใจเรือ่ งหอ้ งสมดุ ระเบยี บและมารยาทการใช้ 1 เกยี่ วกบั ห้องสมดุ มารยาทการใช้ ประเภทต่าง ๆ และเลือกใช้ หอ้ งสมดุ เป็นข้อปฏบิ ตั ิที่ 2 บริการหอ้ งสมุดไดต้ รงตาม ผู้ใชบ้ รกิ ารตอ้ งปฏบิ ตั ิรว่ มกนั 2 หอ้ งสมดุ วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหเ้ กดิ ลักษณะนสิ ัยและ มารยาททีด่ ใี นการเข้าบรกิ าร 2 2.ทรัพยากร 1.ความหมายและ 3.อธิบายเกยี่ วกบั ทรพั ยากร ห้องสมุด สารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ คอื วสั ดุ ประโยชนข์ อง ตีพมิ พ์และไม่ตพี มิ พ์ได้ ทใ่ี ช้ในการศึกษาคน้ ควา้ และ ทรัพยากรสารสนเทศ วิจัยในรปู แบบต่าง ๆ ทกุ สาขาวิชา ซ่งึ มปี ระโยชนแ์ ละ วิธีการใชท้ ่แี ตกตา่ งกันออกไป 2.ประเภทและ 3.อธบิ ายเกย่ี วกับทรพั ยากร ทรัพยากรสารสนเทศเปน็ วสั ดุ ลกั ษณะของ ตพี มิ พแ์ ละไม่ตพี มิ พไ์ ด้ ท่ีใช้ในการศึกษาค้นควา้ และ ทรพั ยากรสารสนเทศ วจิ ัยในรปู แบบ วสั ดตุ พี มิ พแ์ ละ วัสดไุ ม่ตพี มิ พ์ ผูเ้ รยี นตอ้ งรจู้ กั และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ลักษณะของทรพั ยากร สารสนเทศแต่ละประเภท เพ่อื ใชใ้ นการตดั สินใจวา่ จะเลือกใช้ ทรัพยากรสารสนเทศประเภท ใดในการศึกษาค้นควา้ ประกอบการเรยี นร้แู ตล่ ะ รายวชิ าอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3.ระบบการจัด 1.การจัดหมวดหมู่ 4.เข้าใจระบบการจดั หมวดหมู่ หอ้ งสมดุ เป็นสถาบันบริการ หมวดหมู่ ทรัพยากร หนงั สือระบบทศนิยม ทรพั ยากรสารสนเทศและ สารสนเทศซงึ่ ต้องมีทรพั ยากร สารสนเทศ ดวิ อี้ สามารถนำไปใช้ใน สารสนเทศจำนวนมากและ ชวี ติ ประจำวนั ได้ หลากหลายรูปแบบ ดังน้ันจึง ตอ้ งมีวิธกี ารจัดเก็บทเี่ ปน็ มาตรฐานเพื่อให้ผ้ใู ชเ้ ข้าถึง

8 หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ เวลา เรยี นรู้ 3.ระบบการจดั ผลการเรยี นรู้ เรยี น หมวดหมู่ ทรพั ยากร ทรพั ยากรสารสนเทศไดอ้ ย่าง สารสนเทศ สะดวกรวดเรว็ และเขา้ ใจได้ ตรงกนั ระหวา่ งผู้ให้บรกิ ารและ ผใู้ ชบ้ ริการ หนงั สือเป็น ทรพั ยากรสารสนเทศท่สี ำคญั และมมี ากทส่ี ดุ ในหอ้ งสมดุ จึง ต้องมรี ะบบการจดั เก็บที่ดี น่ัน คือระบบการจดั หมวดหมสู่ ากล ระบบทศนยิ มดวิ อ้ี 2.การจดั หมวดหมู่ 4.เขา้ ใจระบบการจดั หมวดหมู่ ห้องสมดุ เป็นสถาบันบริการ 2 หนงั สอื ระบบทศ รฐั สภาอเมรกิ นั ทรพั ยากรสารสนเทศและ สารสนเทศซ่งึ ต้องมที รพั ยากร สามารถนำไปใชใ้ น สารสนเทศจำนวนมากและ ชีวติ ประจำวนั ได้ หลากหลายรูปแบบ ดังนั้นจึง ต้องมีวธิ กี ารจดั เกบ็ ที่เป็น มาตรฐานเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถงึ ทรพั ยากรสารสนเทศไดอ้ ย่าง สะดวกรวดเรว็ และเข้าใจได้ ตรงกนั ระหวา่ งผูใ้ หบ้ รกิ ารและ ผ้ใู ช้บริการ หนงั สือเป็น ทรัพยากรสารสนเทศทสี่ ำคญั และมีมากทสี่ ดุ ในหอ้ งสมดุ จึง ต้องมีระบบการจดั เก็บทด่ี ี นั่น คือระบบการจดั หมวดหมู่สากล ระบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ ัน 3.การจดั หมู่หนงั สอื ท่ี 4.เขา้ ใจระบบการจดั หมวดหมู่ หอ้ งสมุดเปน็ สถาบันบรกิ าร 1 ไมใ่ ชต้ วั เลขเปน็ ทรัพยากรสารสนเทศและ สารสนเทศซึ่งตอ้ งมีทรพั ยากร สัญลกั ษณ์ สามารถนำไปใชใ้ น สารสนเทศจำนวนมากและ ชีวิตประจำวนั ได้ หลากหลายรปู แบบ ดังน้ันจงึ ต้องมีวธิ กี ารจัดเก็บทเ่ี ปน็

9 หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ เวลา เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ เรยี น 5.เขา้ ใจรปู แบบการเขยี นราย มาตรฐานเพื่อให้ผูใ้ ช้เขา้ ถงึ งาและการเขยี นอา้ งอิง บรรณานุกรมในรายงานการ ทรัพยากรสารสนเทศไดอ้ ย่าง ค้นคว้าได้ สะดวกรวดเรว็ และเขา้ ใจได้ 5.เข้าใจรูปแบบการเขียนราย งาและการเขยี นอ้างอิง ตรงกนั ระหวา่ งผใู้ หบ้ รกิ ารและ บรรณานุกรมในรายงานการ ค้นคว้าได้ ผ้ใู ช้บรกิ าร 4.รายงานและ 1.ความร้เู บอื้ งตน้ ผูเ้ รียนต้องเข้าหอ้ งเรยี นเพือ่ ฟัง 1 การเขยี น เกี่ยวกับรายงานทาง บรรณานุกรม วชิ าการ คำบรรยายและจดจำเรื่องราวท่ี คณุ ครูอาจารยช์ ี้แนะและทำ แบบฝกึ หัด หรือปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายแลว้ ก็ยัง ไม่เพยี งพอ ผเู้ รียนยงั ต้องศึกษา คน้ คว้าขอ้ มลู ความรู้เพ่มิ เติม จากแหลง่ สารนิเทศตา่ ง ๆ เพ่ือใหม้ ีความรอบรู้ รู้จักคดิ พิจารณาตดั สนิ ปัญหาตา่ ง ๆ ได้อยา่ งถกู ต้องมเี หตผุ ล 2.ส่วนประกอบของ ผเู้ รียนยงั ต้องศกึ ษาค้นควา้ 1 รายงาน ขอ้ มลู ความรเู้ พิ่มเตมิ จาก แหลง่ สารนิเทศต่าง ๆ เพอื่ ใหม้ ี ความรอบรู้ รจู้ ักคดิ พจิ ารณา ตดั สนิ ปญั หาต่าง ๆ ได้อยา่ ง ถกู ตอ้ งมเี หตผุ ล ดงั นั้นในบาง รายวชิ าจงึ กำหนดให้ผู้เรยี น ต้องทำรายงานทางวชิ าการ ประกอบการเรยี นเพ่ือเสริมการ เรียนรใู้ หม้ ีประสิทธภิ าพมาก ย่ิงขนึ้ อกี ทั้งยังสามารถนำเอา ความร้แู ละประสบการณท์ ีไ่ ด้ ไปใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการศกึ ษา ระดับสงู ต่อไป

10 หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ เวลา เรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ เรียน 4.รายงานและ 3.ความหมายและ 5.เข้าใจรูปแบบการเขยี นราย บรรณานุกรม (Bibliography) 2 งาและการเขยี นอา้ งอิง การเขียน วิธกี ารเขียน บรรณานุกรมในรายงานการ หมายถึง รายช่อื หนงั สือ ค้นคว้าได้ บรรณานกุ รม บรรณานกุ รม เอกสาร สง่ิ พิมพต์ า่ งๆ และ วัสดุอ้างองิ ทกุ ประเภททผี่ ูท้ ำ รายงานใช้ประกอบการคน้ ควา้ และการเรยี บเรียง เพอ่ื เป็นการ ยนื ยันวา่ การเขียนนั้นเป็นการ คน้ ความจากตำราทเ่ี ช่ือถอื ได้ 4.หลกั เกณฑก์ ารลง 5.เข้าใจรูปแบบการเขยี นราย บรรณานุกรม (Bibliography) 2 รายการบรรณานกุ รม งาและการเขียนอา้ งองิ หมายถึง รายชอ่ื หนงั สือ บรรณานกุ รมในรายงานการ ค้นคว้าได้ เอกสาร สิ่งพิมพต์ ่างๆ และ วัสดอุ ้างองิ ทกุ ประเภททผี่ ทู้ ำ รายงานใชป้ ระกอบการคน้ คว้า และการเรียบเรยี ง เพ่ือเปน็ การ ยนื ยันว่าการเขยี นนัน้ เป็นการ ค้นความจากตำราที่เช่อื ถอื ได้ 5.รูปแบบการเขยี น 5.เขา้ ใจรปู แบบการเขยี นราย บรรณานุกรม (Bibliography) 1 บรรณานกุ รม งาและการเขยี นอ้างองิ บรรณานุกรมในรายงานการ หมายถึง รายชื่อหนังสือ คน้ คว้าได้ เอกสาร สิง่ พมิ พต์ ่างๆ และ วสั ดอุ า้ งองิ ทุกประเภททผี่ ู้ทำ รายงานใช้ประกอบการคน้ ควา้ และการเรียบเรียง เพือ่ เปน็ การ ยืนยันวา่ การเขยี นนนั้ เป็นการ คน้ ความจากตำราท่เี ชือ่ ถอื ได้

11 ปฐมนิเทศนกั เรยี น โรงเรยี นชัยบาดาลวทิ ยา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 รหสั วิชา ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวนหนว่ ยที่เรียน 0.5 หน่วยกิต เวลาเรยี นทงั้ หมด 20 ชว่ั โมง/ภาค จำนวนเวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 80% ของเวลาท่เี รยี น 16 ชว่ั โมง จำนวนเวลาเรยี นทขี่ าดได้ (20%) 4 ช่วั โมง ครปู ระจำวชิ า (ผู้สอน) นางสาวกมลชนก สำอาง การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น 1. อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาค / ปลายภาค 80 / 20 2. คะแนนระหวา่ งภาค 80 คะแนน จำแนกได้ ดงั น้ี 2.1 คะแนนสอบระหวา่ งภาค (ผลการเรียนรูท้ ่ี 1,2,3,4) 30 คะแนน 2.2 คะแนนสอบกลางภาค (ผลการเรียนรทู้ ่ี 1,2) 20 คะแนน 2.3 คะแนนภาคปฏบิ ัติ/ช้ินงาน (ผลการเรียนรู้ท่ี 3) 30 คะแนน 3. งานระหวา่ งภาคทีส่ ำคัญ และกำหนดให้นักเรยี นสง่ จำนวน 1 งาน คือ 3.1. หนังสือเลม่ เล็ก (ผลการเรียนร้ทู ่ี 3) 4. คะแนนปลายภาคเรียน 20 คะแนน 5. การใหผ้ ลการเรียน “ร” และ “มส” เป็นดงั น้ี ได้ผลการเรยี น “ร” เพราะ  ไมส่ ่งช้นิ งานสำคัญ คอื หนังสือเล่มเล็ก  ขาดสอบปลายภาคเรียน ไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะ ขาดเรยี นเกนิ (20%) 4 ช่ัวโมง และไม่ได้รบั อนมุ ตั ิ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความรูท้ ว่ั ไปเกี่ยวกบั ห้องสมดุ 12 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 แผนการจดั การเรียนท่ี 1 เร่อื ง การปฐมนเิ ทศวชิ าการใช้สารสนเทศ 1 เวลา 1 ชว่ั โมง ผลการเรยี นรู้ 1. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับความหมายของหอ้ งสมุด ความสำคัญ ประโยชน์และวัตถปุ ระสงค์ของ หอ้ งสมดุ 2. รแู้ ละเขา้ ใจเรื่องหอ้ งสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลอื กใช้บรกิ ารห้องสมดุ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ 1.1นักเรยี นทราบจุดมงุ่ หมายการเรยี นรู้ แนวทางการเรยี น การประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ า 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1ทกั ษะการรจู้ ักตนเอง 2.2ทกั ษะการคิด การตดั สนิ ใจและการแก้ปญั หา 2.3 ทกั ษะการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ 2.4 ทกั ษะการปรบั ตวั 2.5 ทักษะการสอื่ สารและสร้างสมั พันธภาพ สาระการเรยี นรู้ การปฐมนิเทศนกั เรยี น ชว่ ยใหน้ กั เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ แนว ทางการเรยี นรู้และการมอบหมายงานท่ีจะตอ้ งปฏิบตั นิ อกเวลาเรียน ตลอดจนทราบกฎเกณฑ์ในการเรยี น และ วธิ ีประเมนิ ผลการเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร คุณลักษณะองั พึงประสงค์ 3. มีวนิ ัย 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 8. มจี ติ สาธารณะ ทักษะชีวติ 1. การตระหนักรู้และเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผู้อ่นื

13 2. การคดิ วเิ คราะห์ ตดั สินใจ และแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ 4. การสร้างความสมั พันธ์ท่ีดีกบั ผอู้ นื่ คุณลกั ษณะผเู้ รยี นตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคดิ 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ หลักสูตรต่อตา้ นการทจุ ริต การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตผุ ล 3. การมีภมู ิคุ้มกันทีด่ ใี นตัว 4. เงอ่ื นไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวงั ) 5. เง่ือนไขคุณธรรม (มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจริต และมคี วามอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนินชีวิต) ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ การเรียนรจู้ ากการสืบค้น กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นำ ครูชีแ้ จงจดุ ประสงคก์ ารเรียนรูว้ ชิ าการใชส้ ารสนเทศ 1 ขั้นสอน 1. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาใบความรู้เรอ่ื งการปฐมนเิ ทศหอ้ งสมดุ ขนั้ สรุป 1. ครูสรปุ และช้ีแจงเพมิ่ เติมเก่ยี วกับวธิ ีการเรียน เกณฑ์การวดั ผล และงานท่มี อบหมายท้ังในเวลาและ นอกเวลา 2.กำหนดสถานที่ที่นักเรยี นจะสามารถพบหรือสง่ งานได้ การวดั ผลและประเมนิ ผล -

14 สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ 1. เอกสารชีแ้ จงจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การวดั และประเมินผล 2. ใบงาน / ใบกจิ กรรม 3. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นโดยใช้แอพพเิ คชนั่ คาฮทู 4. เอกสารประกอบการเรียน กิจกรรม/ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

15 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกค่ี น คิดเปน็ ร้อยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปัญหา/อปุ สรรค (ระบุปัญหาและอุปสรรคจากการทีน่ กั เรยี นไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไข/พฒั นา (ระบแุ นวทางเพ่อื ให้บรรลตุ ามเกณฑ์การประเมนิ ทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครูผ้สู อน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ่ีได้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ................................................................... (นางศุภรดา ปญั ญาทอง) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี

16 ใบความรเู้ รอื่ ง การปฐมนเิ ทศวชิ าหอ้ งสมุด 1 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้รู ายวิชา การใชส้ ารสนเทศ 1 ได้ 2. บอกขอบขา่ ยเนอ้ื หารายวิชา การใชส้ ารสนเทศ 1 ได้ 3. ร้แู ละเข้าใจเกณฑก์ ารวัดผลและประเมินผล เนื้อหาของวชิ า การใช้สารสนเทศ 1 มี 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ ดังน้ี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกับห้องสมดุ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ทรพั ยากรสารสนเทศ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การจัดหมวดหมู่ทรพั ยากรสารสนเทศและการจัดเกบ็ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 รายงานและการศึกษาค้นควา้ จุดประสงค์การเรียนรู้วชิ าการใชส้ ารสนเทศ 1 1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับความหมายของหอ้ งสมดุ ความสำคัญ ประโยชนแ์ ละวัตถปุ ระสงคข์ อง ห้องสมุด 2. รแู้ ละเขา้ ใจเรื่องห้องสมุดประเภทต่าง ๆ และเลอื กใช้บริการห้องสมุดไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. อธบิ ายเกีย่ วกับทรัพยากรตีพิมพแ์ ละไม่ตีพิมพไ์ ด้ 4. เข้าใจระบบการจัดหมวดหมทู่ รพั ยากรสารสนเทศและสารมารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 5. เขา้ ใจรูปแบบการเขียนรายงาและการเขียนอา้ งอิงบรรณานุกรมในรายงานการค้นควา้ ได้ เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล เวลาเรียน จำนวน 20 ชวั่ โมง / 1 ภาคเรียน ใชเ้ กณฑ์การวดั 80 : 20 แบ่งได้ดังนี้ คะแนนระหว่างภาค 80 คะแนน คะแนนเก็บ 60 คะแนน คะแนนสอบกลางภาคเรยี น 20 คะแนน • ปรนยั คะแนนสอบปลายภาคเรยี น 20 คะแนน • ปรนัย

17 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกับหอ้ งสมดุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วชิ า การใช้สารสนเทศ 1 แผนการจดั การเรยี นที่ 2 เรือ่ ง ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ความสำคญั และประโยชนข์ องห้องสมุด เวลา 1 ชัว่ โมง ผลการเรียนรู้ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั ความหมายของหอ้ งสมดุ ความสำคญั ประโยชน์และวัตถปุ ระสงค์ของ ห้องสมดุ 2. รู้และเข้าใจเรอ่ื งห้องสมดุ ประเภทต่าง ๆ และเลอื กใชบ้ รกิ ารห้องสมุดได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. ด้านความรู้ 1.1นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ความสำคญั และประโยชน์ของ หอ้ งสมดุ 2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ 2.1ทกั ษะการรจู้ ักตนเอง 2.2ทักษะการคดิ การตดั สนิ ใจและการแก้ปัญหา 2.3 ทักษะการแสวงหาข้อมลู ขา่ วสาร ความรู้ 2.4 ทักษะการปรับตวั 2.5 ทกั ษะการส่อื สารและสรา้ งสัมพันธภาพ สาระการเรยี นรู้ ห้องสมุดเปน็ แหล่งรวบรวมสารสนเทศทกุ ประเภททงั้ ท่เี ป็นวัสดุตีพิมพ์และไม่ตพี ิมพ์ ห้องสมุดได้ คดั เลอื ก จดั หา และจดั เก็บสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ ส่งเสรมิ การศกึ ษาคน้ ควา้ ฝกึ นิสัยรักการอ่าน และ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ โดยมีบรรณารกั ษเ์ ปน็ ผู้ดำเนินการและอำนวยความสะดวก สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ คณุ ลักษณะอังพงึ ประสงค์ 3. มีวินัย 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ มั่นในการทำงาน 8. มีจติ สาธารณะ

18 ทักษะชีวิต 1. การตระหนักรู้และเห็นคุณคา่ ในตนเองและผอู้ ่ืน 2. การคดิ วิเคราะห์ ตดั สนิ ใจ และแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ 4. การสรา้ งความสัมพันธ์ทด่ี ีกบั ผอู้ ่นื คุณลักษณะผู้เรียนตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล 3. การมภี มู ิคุม้ กันที่ดใี นตัว 4. เง่ือนไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวงั ) 5. เงือ่ นไขคุณธรรม (มีความซ่ือสตั ย์สุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนินชีวิต) หลักสตู รต่อต้านการทุจรติ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ 2.ใบงาน 3.สือ่ ออนไลน์ wordwall รปู แบบการจัดการเรียนรู้ แบบการเรยี นรู้จากการสบื ค้น กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำ ครูและนักเรียนรว่ มกันสนทนาเรอ่ื งที่เกยี่ วกับห้องสมุด ขั้นสอน 1. ครูอธบิ ายความหมาย และวตั ถปุ ระสงค์ของหอ้ งสมุดใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ 2. หลงั จากท่นี ักเรียนไดท้ ราบถึงวตั ถุประสงคข์ องหอ้ งสมุดแลว้ ครใู ห้นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับความสำคญั และประโยชน์ของหอ้ งสมดุ ขัน้ สรปุ ครูและนกั เรยี นชว่ ยกันสรุปสาระสำคัญของเรือ่ งท่เี รียน และใหน้ กั เรียนเขียนแผนผงั ความคิดเกี่ยวกับ ความสำคญั และประโยชน์ของห้องสมุด เพ่อื เสรมิ ความเขา้ ใจ

19 การวดั ผลและประเมินผล 1. การสรปุ เนือ้ หา 2. ความคิดสร้างสรรค์ในชน้ิ งาน 3. ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยสวยงาม ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรูเ้ รื่อง ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ความสำคญั และประโยชนข์ องหอ้ งสมดุ 2. ห้องสมดุ โรงเรยี นชัยบาดาลวิทยา 3. ใบงาน กจิ กรรม/ขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

20 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกี่คน คดิ เปน็ ร้อยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรค (ระบปุ ัญหาและอุปสรรคจากการที่นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกไ้ ข/พฒั นา (ระบุแนวทางเพอื่ ให้บรรลตุ ามเกณฑ์การประเมินทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครผู ู้สอน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ................................................................... (นางศุภรดา ปญั ญาทอง) หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

21 ใบความรูเ้ รอ่ื ง ความหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ความสำคัญและประโยชน์ของห้องสมดุ ความหมายของหอ้ งสมดุ หอ้ งสมดุ คือ แหลง่ รวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศทกุ ประเภท ทั้งทเ่ี ปน็ วัสดตุ ีพมิ พ์ วสั ดุไมต่ ีพมิ พ์ และ ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มกี ารคดั เลอื กและจดั หาเข้ามาอยา่ งทันสมยั สอดคลอ้ งกับความต้องการและความสนใจของ ผูใ้ ช้ มีบรรณารกั ษเ์ ปน็ ผดู้ ำเนนิ งานและจัดบรกิ ารตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ วตั ถปุ ระสงค์ของห้องสมดุ ห้องสมุดท่วั ไปมีวัตถปุ ระสงค์ 5 ประการ ดงั น้ี 1. เพอ่ื การศกึ ษา (Education) ห้องสมุดทุกแห่งจะรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศท่ีใหค้ วามรู้ เพ่อื บรกิ ารแกผ่ ใู้ ช้ในการแสวงหาความรู้ ค้นควา้ ดว้ ยตนเองไดต้ ามต้องการ 2. เพื่อความรู้ข่าวสาร (Information) ห้องสมดุ จดั หาทรพั ยากรสารสนเทศใหม่ๆ ที่ทันสมยั เพือ่ ให้ ผู้ใชต้ ิดตามขา่ วความเคล่ือนไหวและเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ ทั่วโลก ทำใหผ้ ้ใู ชม้ คี วามรใู้ หม่ๆ และทันสมยั อยู่เสมอ 3. เพ่ือการค้นควา้ วิจัย (Research) เป็นแหล่งสะสมทรัพยากรสารสนเทศประเภทตา่ ง ๆ ที่ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั ซ่งึ เป็นการแสวงหาองคค์ วามร้ใู หม่ เพอื่ ความเจรญิ กา้ วหน้าใน สาขาวิชาต่าง ๆ 4. เพอ่ื ความจรรโลงใจ (Inspiration) ทรัพยากรสารสนเทศบางประเภททำใหผ้ ใู้ ชม้ คี วามซาบซงึ้ ประทับใจที่ได้รับจากการอา่ น ชว่ ยให้เกิดแรงบนั ดาลใจในทางสรา้ งสรรคแ์ ตส่ งิ่ ที่ดแี ละเป็นประโยชน์ ต่อสงั คม 5. เพ่อื การพกั ผ่อนหย่อนใจหรือนนั ทนาการ (Recreation) หอ้ งสมดุ จะมที รพั ยากรสารสนเทศทใี่ ห้ ความเพลิดเพลนิ สนกุ สนานบันเทิงใจไว้บรกิ าร เช่น นิตยสาร นวนยิ าย เร่อื งสน้ั ฯลฯ นอกจากนยี้ ัง เปน็ แหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจด้วยการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทชี่ ว่ ยให้ไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ ความสำคัญของห้องสมุด การศกึ ษาในปจั จุบนั มุ่งให้ผ้เู รียนมโี อกาสคน้ ควา้ หาความรู้จากแหลง่ เรียนรอู้ ื่น ๆ มาประกอบความรู้ ทไี่ ดร้ บั จากการเรยี นในชนั้ ผเู้ รยี นจะตอ้ งหาความรเู้ พม่ิ เตมิ โดยใช้ห้องสมดุ เพอื่ ค้นคว้าหาความรเู้ พมิ่ ข้ึน ความสำคญั ของห้องสมดุ อาจสรุปไดด้ งั น้ี 1. ห้องสมุดเป็นแหลง่ รวมของทรพั ยากรสารสนเทศตา่ ง ๆ ที่ผู้ใชส้ ามารถคน้ คว้าหาความรู้ทกุ สาขาวชิ า ทีม่ ีการเรียนการสอนในสถาบนั การศกึ ษานน้ั 2. หอ้ งสมดุ เปน็ ทที่ ที่ ุกคนจะเลอื กอา่ นหนงั สือและค้นคว้าหาความรตู้ า่ ง ๆ ไดโ้ ดยอิสระ ตามความสนใจ ของแต่ละบคุ คล

22 3. หอ้ งสมดุ ช่วยให้ผ้ใู ช้บรกิ ารพอใจทจี่ ะอ่านหนังสอื ตา่ ง ๆ โดยไมร่ ้จู ักจบส้ิน เป็นการชว่ ยปลูกฝงั นสิ ัยรกั การอา่ น 4. ชว่ ยใหผ้ ใู้ ช้บรกิ ารมีความรทู้ ันสมยั อยูเ่ สมอ 5. ชว่ ยให้ผ้ใู ช้บรกิ ารมนี สิ ัยรกั การค้นควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง 6. ช่วยให้รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ 7. ห้องสมดุ จะช่วยใหผ้ ้ใู ชบ้ ริการรบั รูใ้ นสมบตั ิสาธารณะ ร้จู กั ใช้และระวังรกั ษาอยา่ งถูกตอ้ ง ประโยชนข์ องหอ้ งสมุด ห้องสมุดเป็นแหลง่ รวบรวมทรพั ยากรสารสนเทศทหี่ ลากหลายและมปี ระโยชน์ดังนี้ 1. ก่อใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งไม่มีท่สี ิ้นสุด 2. กระตนุ้ ให้รกั การอ่านและการศกึ ษาคน้ ควา้ 3. ก่อให้เกดิ การศึกษาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เน่อื ง 4. เป็นส่อื กลางในกระบวนการเรยี นการสอน 5. ตอบสนองความตอ้ งการในการแสวงหาความรู้เฉพาะบุคคล

23 ใบงานเร่ือง ความหมาย วตั ถุประสงค์ ความสำคัญและประโยชน์ของห้องสมดุ คำสงั่ ให้นักเรยี นเขยี นสรปุ ผังความคดิ (Mind Mapping) ในความเข้าใจของตนเอง

24 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ียวกับห้องสมุด เวลา 1 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วชิ า การใช้สารสนเทศ 1 แผนการจดั การเรยี นท่ี 3 เรือ่ ง ประเภทของหอ้ งสมดุ ผลการเรียนรู้ รแู้ ละเขา้ ใจเรอื่ งหอ้ งสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลอื กใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3. ด้านความรู้ 1.1 นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับประเภทของห้องสมุด 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทกั ษะการคดิ การตดั สนิ ใจและการแก้ปัญหา 2.2 ทักษะการแสวงหาขอ้ มลู ข่าวสาร ความรู้ 2.3 ทักษะการสอ่ื สารและสรา้ งสมั พันธภาพ สาระการเรยี นรู้ ห้องสมดุ จดั เป็นแหล่งเรียนรูท้ สี่ ำคญั ในประเทศไทยยงั มหี ้องสมดุ อกี 5 ประเภท คอื 1. ห้องสมดุ โรงเรียน, 2. ห้องสมดุ วิทยาลัยและมหาวิทยาลยั , 3. ห้องสมุดประชาชน, 4. ห้องสมุดเฉพาะ และ 5. หอสมุด แหง่ ชาติ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 3. ความสามารถในการสอื่ สาร 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต คุณลักษณะองั พึงประสงค์ 3. มีวนิ ัย 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 8. มจี ิตสาธารณะ ทกั ษะชีวิต 1. การตระหนักรูแ้ ละเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อื่น 2. การคดิ วิเคราะห์ ตัดสินใจ และแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ 4. การสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีกบั ผูอ้ ่ืน

25 คุณลกั ษณะผเู้ รยี นตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคดิ 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การมภี มู คิ ุ้มกันทีด่ ใี นตวั 4. เง่ือนไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวงั ) 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม (มีความซ่อื สตั ย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชีวิต) ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ 2.ใบงาน รูปแบบการจดั การเรียนรู้ การเรยี นรจู้ ากการสบื คน้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำ ครูสอบถามนักเรยี นเกี่ยวกับประเภทของห้องสมุดว่านกั เรยี นรูจ้ ักและเคยไปห้องสมุดอืน่ ๆ ท่ไี หนบ้าง นอกจากห้องสมุดของโรงเรยี น ขนั้ สอน ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ ศกึ ษาประเภทของหอ้ งสมดุ 5 ประเภท แลว้ นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น หลังจากนน้ั ครู อธบิ ายเพ่มิ เตมิ เกี่ยวกับห้องสมุดแต่ละประเภท ให้นักเรียนดูภาพประกอบห้องสมุดแต่ละประเภท ข้ันสรปุ ครใู หน้ กั เรยี นคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ประวัตศิ าสตรข์ องห้องสมุด เพอ่ื เสริมความเข้าใจมากยงิ่ ขน้ึ การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. การสรุปเนอื้ หา 2. ความคดิ สรา้ งสรรค์ในชิน้ งาน 3. ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยสวยงาม สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้เรือ่ ง ความหมาย วัตถปุ ระสงค์ ความสำคญั และประโยชน์ของห้องสมุด 2. หอ้ งสมุดโรงเรยี นชยั บาดาลวทิ ยา 3. ใบงาน

26 4. คลปิ ตัวอยา่ งหอ้ งสมดุ แต่ละประเภท กิจกรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

27 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกี่คน คดิ เปน็ ร้อยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรค (ระบปุ ัญหาและอุปสรรคจากการที่นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกไ้ ข/พฒั นา (ระบุแนวทางเพอื่ ให้บรรลตุ ามเกณฑ์การประเมินทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครผู ู้สอน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ................................................................... (นางศุภรดา ปญั ญาทอง) หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

28 ใบความรูเ้ ร่อื ง ประเภทของหอ้ งสมุด หอ้ งสมดุ แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คือ 1. ห้องสมุดโรงเรียน (School Libraries) คือ หอ้ งสมดุ ท่จี ดั ตัง้ ข้นึ ภายในโรงเรยี น เพื่อบรกิ ารแก่นกั เรยี น ครู – อาจารย์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรและนโยบายของโรงเรียน มที ง้ั ระบบโรงเรียนอนบุ าล โรงเรียนประถมศกึ ษา และ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา โดยหอ้ งสมุดจะทำหนา้ ทรี่ วบรวมวสั ดุสารนเิ ทศไวค้ รบทกุ ประเภท เพ่ือเปน็ การเสรมิ ความรทู้ ่ัวไปใหก้ ับนักเรยี น ครู – อาจารย์ และเปน็ การฝึกการใชห้ ้องสมดุ เพอื่ การศึกษาต่อไป 2. ห้องสมุดวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลัย (College & University Libraries) คือ หอ้ งสมุดทจ่ี ดั ตงั้ ขึ้นในวิทยาลยั และมหาวิทยาลยั ซ่งึ เป็นสถาบันการศึกษาข้ันอดุ มศกึ ษาที่มงุ่ สง่ เสริมด้าน การเรียน คน้ คว้า และวจิ ยั หรือการให้บรกิ ารชมุ ชน เปน็ แหล่งจดั หาทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมยั และ สอดคลอ้ งกับหลักสตู รการสอน เพือ่ ให้บรกิ าร ทางวิชาการแกน่ กั ศกึ ษา อาจารย์ เพือ่ ใชป้ ระกอบการเรียนการ สอนและการคน้ ควา้ วจิ นั ตลอดจนสง่ เสริมกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย ปจั จุบนั สถาบันอดุ มศกึ ษาสว่ นใหญไ่ ดพ้ ัฒนาสถานภาพของหอ้ งสมดุ ใหเ้ ป็นสถาบันวทิ ยบรกิ าร หรอื ศนู ยว์ ิทยบรกิ ารซึง่ จะมกี ารจดั บรกิ ารสารสนเทศอย่างกวา้ งขวางและล่มุ ลกึ โดยการนำเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมาให้บริการจดั สรา้ งฐานข้อมลู ต่าง ๆ จัดให้มีระบบเครือขา่ ย ให้บริการข้อมลแบบออฟไลนแ์ ละ ออนไลน์ ตดิ ต้ังระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรเ์ ช่ือมโยงกบั ระบบคอมพิวเตอรเ์ พื่อการสบื ค้นข้อมูลข่าวสารไดท้ ่ัว ประเทศและทัว่ โลกได้อยา่ งรวดเร็วและประหยัด

29 3. ห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) เป็นศูนยก์ ลางการใหบ้ รกิ ารสารสนเทศแกป่ ระชาชนทวั่ ไปในชุมชน โดยไม่จำกัดเพศ วัย และระดบั การศกึ ษา อาชพี มีทรัพยากรสารสนเทศทกุ ประเภท เพอื่ สนองความตอ้ งการและความสนใจของผู้ใช้ เปดิ ให้ ประชาชนเข้าใชแ้ ละขอยืมหนงั สอื ออกนอกห้องสมุดได้ ปัจจบุ นั มีความพยายามทีจ่ ะพฒั นาใหเ้ ปน็ ศูนย์บรกิ าร การศกึ ษาค้นควา้ ตลอดชวี ติ ของประชาชนในชมุ ชน โดยเนน้ การสง่ เสรมิ การอา่ นใหก้ ับเดก็ และวัยรนุ่ ในชุมชน จัดบริการข้อมลู ขา่ วสารท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ คนในชุมชน และข้อมูลขา่ วสารทค่ี นในชมุ ชนสนใจ จึงกล่าวไดว้ ่า “หอ้ งสมุดประชาชนเป็นศูนยก์ ลางการเรยี นร้ขู องชมุ ชน” เชน่ ศนู ย์การเรยี นรู้ อ.สบเมย จ.แมฮ่ ่องสอน ห้องสมุดประชาชนในประเทศไทยที่อยใู่ นเขตกรุงเทพมหานคร อยใู่ นความดูแลรบั ผิดชอบของ กรุงเทพมหานคร ส่วนตา่ งจงั หวดั อยใู่ นความรบั ผิดชอบของกรมการศกึ ษานอกโรงเรียน วัดพระเชตพุ น วมิ ลมงั คลาราม ถือเปน็ หอ้ งสมุดประชาชนแห่งแรกของไทย เพราะเปน็ แหลง่ ทบ่ี ุคคลสามารถค้นหาความรู้ ด้วยตนเองจากจารึกบนแผน่ ศลิ ารอบระเบียงวดั ซ่ึงรัชกาลท่ี 3 พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกล้าเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รง โปรดเกล้าฯ ใหร้ วบรวมตำราในอาชีพตา่ ง ๆ เอาไวใ้ หป้ ระชาชนไดเ้ รียนร้โู ดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ า่ ยใด ๆ หอ้ งสมุดท่จี ดั ตง้ั ข้ึนเพ่อื บรกิ ารประชาชน โดยไมจ่ ำกัดเพศ วยั ระดับความรู้ ห้องสมดุ ประชาชนของ ประเทศไทย มดี ังน้ี 1. ห้องมดุ ประชาชน สงั กดั กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดแ้ ก่ ห้องสมุดเฉลมิ ราชกุมารี หอ้ งสมดุ ประชาชนระดับจงั หวดั ห้องสมุดประชาชนระดบั อำเภอ ทอี่ ่านหนังสอื พิมพ์ ประจำหมู่บา้ น และห้องสมดุ ประชาชนเคลือ่ นที่ ซ่ึงให้บรกิ ารด้วยรถหรือเรอื 2. หอ้ งสมุดประชาชน สังกดั กรงุ เทพมหานคร ซึง่ กรงุ เทพมหานครจดั ต้ังข้ึนเพ่อื บริการเฉพาะใน กรุงเทพมหานครเทา่ นน้ั เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชนสวนลมุ พินี หอ้ งสมดุ ประชาชนซอยพระนาง ฯลฯ

30 3. หอ้ งสมุดประชาชนท่ธี นาคารจดั ต้ังขึ้นเฉพาะในกรงุ เทพฯ เชน่ ธนาคารศรนี คร และธนาคาร กรุงเทพฯ 4. ห้องสมดุ ประชาชนท่ีรฐั บาลต่างประเทศจดั ตัง้ ขึน้ เช่น ห้องสมุดของสถาบนั สอนภาษา เอ.ย.ู เอ. ถนนราชดำริ และหอ้ งสมุดสำนักงานแถลงข่าวของสหรัฐอเมรกิ า ทีจ่ งั หวดั เชยี งใหม่ 5. หอ้ งสมดุ ประชาชนทเี่ ทศบาลจัดตงั้ ขนึ้ เช่น หอ้ งสมุดเทศบาล อำเภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา 4. ห้องสมุดเฉพาะ (Special Libraries) คือ หอ้ งสมดุ ที่จดั ตัง้ ขึน้ ในหนว่ ยงานราชการหรือเอกชน เชน่ กระทรวง ทบวง กรม องคก์ ร สถาบนั สโมสร ธนาคาร และบรษิ ัท ซึง่ จะมีสงิ่ พิมพเ์ ฉพาะวิชาการทหี่ นว่ ยงานนน้ั ๆ เกย่ี วข้อง หรอื ใหบ้ ริการเฉพาะผู้ที่ สงั กดั ในหน่วยงานเทา่ นน้ั บางแห่งจะอนุญาตใหน้ ักเรียน นสิ ิต นักศึกษา นักวิจัย เขา้ ใช้บรกิ ารได้ เป็นแหล่งสารสนเทศเฉพาะทางอยา่ งลุม่ ลกึ เพ่อื สนองความต้องการของคนเฉพาะกลมุ่ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ สว่ นมากจะอย่ใู นหนว่ ยงานราชการระดับสูง ธนาคาร โรงงานอุตสาหกรรม บรษิ ทั ขนาดใหญ่ สมาคมวิชาชีพตา่ ง ๆ ห้องสมดุ คณะในมหาวทิ ยาลยั เช่น ห้องสมุดวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ห้องสมุดการ ปโิ ตรเลียมแหง่ ประเทศไทย ห้องสมดุ สยามสมาคม หอ้ งสมุดสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ฯลฯ ห้องสมุดประเภทน้ี มงุ่ เน้นการใหบ้ ริการทช่ี ว่ ยใหผ้ ูใ้ ช้เข้าถงึ สารสนเทศไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ ไดแ้ ก่ บริการรวบรวมและจดั ทำบรรณานกุ รม ดรรชนแี ละสาระสงั เขป บรกิ ารสบื ค้นฐานขอ้ มูลเชิงลึก เป็นต้น ดงั น้ัน ผู้ทใ่ี ห้บริการจึงตอ้ งเป็นผูเ้ ช่ียวชาญเฉพาะวชิ าและสามารถใช้เคร่อื งมอื ช่วยคน้ อิเล็กทรอนิกส์ในการจัดการได้ เปน็ อย่างดี

31 6. หอสมดุ แหง่ ชาติ (National Libraries) คอื หอ้ งสมดุ ทร่ี ัฐบาลจัดตั้งขน้ึ เป็นห้องสมุดของประเทศ โดยใหป้ ระชาชนเขา้ ใชบ้ รกิ ารไดท้ ุกระดบั แตไ่ ม่ให้นำออกนอกหอ้ งสมดุ หอสมดุ แหง่ ชาติมีวตั ถุประสงค์เป็นแหลง่ สำคญั ในการอนรุ ักษ์สิง่ พมิ พ์ และวสั ดุ การอา่ นทุกชนิดของชาติ นอกจากน้ียงั เป็นศนู ย์ขา่ วสารและบรรณานกุ รมแห่งชาติ และเป็นศูนย์รวมแห่ง ระบบห้องสมุดของชาติ โดยประสานงานกับห้องสมดุ ประเภทอืน่ ๆ หอสมุดแห่งชาตกิ รุงเทพมหานคร ตัง้ อยู่ที่ ทา่ วาสุกรี สงั กัดกรมศิลปากร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หอสมดุ แห่งชาติมีหลายสาขา เช่น สาขาหอสมดุ แห่งชาติ อนิ ทร์บุรี สาขาหอสมดุ แหง่ ชาตลิ ำพนู เป็นต้น เปน็ แหล่งรวบรวมและเกบ็ รกั ษาหนังสือท่ีพมิ พข์ ึ้นภายในประเทศ (National Bibliography) โดย ได้รับตามพระราชบัญญตั กิ ารพมิ พ์ ทำหน้าทจ่ี ดั ทำบรรณานุกรมแห่งชาติ / กำหนดเลขมาตรฐานสากลประจำ หนังสือ (ISBN = International standard book number) เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN = International standard serial number) หอสมุดแห่งชาติของไทย มปี ระวัติความเปน็ มา โดยสรปุ ดงั นี้ หอสมุดแหง่ ชาตเิ ดมิ มชี ่ือว่า “หอสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร” ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า เจ้าอย่หู ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเมือ่ ปี พ.ศ. 2448 โดยนำเอาหอพระสมดุ 3 แหง่ มารวมกัน ได้แก่ หอพระมณเฑียรธรรม หอพระสมุดวชริ ญาณ และหอพทุ ธศาสนสังคหะ (หอพระมณเฑียรธรรมสรา้ งข้ึน เม่อื ปี พ.ศ. 2326 ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช หอพระสมุดวชิรญาณสรา้ งขนึ้ เมอื่ ปี พ.ศ. 2424 โดยพระดำริของพระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั หอพุทธศาสนสงั คหะสรา้ งขึน้ เม่อื ปี พ.ศ. 2443 โดยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ในช่วง 10 ปีแรก หอสมดุ วชริ ญาณสำหรบั พระนคร ต้ังอยูภ่ ายในพระบรมมหาราชวัง ตอ่ มา ปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ใหย้ า้ ยออกมาอยูท่ ่ีตกึ ริมถนนหน้าพระธาตุฝ่ัง ตะวันตกของท้องสนามหลวง (บริเวณวัดมหาธาตใุ นปัจจุบัน) พ.ศ. 2476 หลงั เปล่ียนแลปงการปกครอง เปลีย่ นช่อื ใหม่วา่ “ หอพระสมุดสำหรบั พระนคร” และ ตอ่ มามีพระราชกฤษฎกี า เปลี่ยนชอ่ื ใหมเ่ ป็น “หอสมุดแห่งชาติ” พ.ศ. 2505 – 2509 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต์ ไดจ้ ดั สรา้ งหอสมุดแห่งชาตหิ ลังใหม่ในปัจจุบันทีท่ า่ วาสกุ รี ส่ีเสาเทเวศน์ ถนนสามเสน ปัจจุบนั หอสมุดแห่งชาติ ไดข้ ยายออกไปยงั ส่วนภมู ภิ าคและตามทต่ี ่าง ๆ เชน่ หอสมดุ แห่งชาตสิ าขา อนิ ทร์บรุ ี จ.สงิ หบ์ รุ ี หอสมุดแห่งชาติสาขาลำพูน หอสมดุ แห่งชาตสิ าขานครศรธี รรมราช หอสมดุ แห่งชาตสิ าขา

32 สงขลา หอสมุดแห่งชาตสิ าขาชลบรุ ี หอสมดุ แหง่ ชาติสาขานครราชสมี า หอสมุดแห่งชาตสิ าขาเชยี งใหม่ หอสมดุ แหงชาติสาขาเพชรบุรี หอสมดุ แหง่ ชาตสิ าขาจนั ทบุรี หอสมุดแหง่ ชาติทา่ วาสุกรี ถนนสามเสน เปดิ ใหบ้ ริการแก่บุคคลท่ัวไปเข้าอ่านและค้นควา้ หนังสือ เอกสารไดฟ้ รี แตไ่ ม่อนญุ าตให้ยมื ทรัพยากรสารสนเทศทกุ ชนดิ ออกนอกหอ้ งสมุด ปจั จุบันได้มีการพฒั นางาน ดา้ นบริการออกไปอยา่ งกว้างขวางโดยมีการนำเอาคอมพวิ เตอร์มาใช้ในการดำเนินงานและให้บรกิ ารใน ห้องสมดุ ภายในบริเวณหอสมุดแห่งชาติ ทา่ วาสุกรี ยงั มีหอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติตง้ั อยู่ ซงึ่ เปน็ แหล่งรวบรวม และอนุรักษ์จดหมายเหตแุ ละเอกสารสำคญั ของชาติ เอกสารทม่ี ีความสำคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ และมีคณุ คา่ ควรเกบ็ รักษาไว้เพอ่ื ให้นกั วจิ ัยและผูท้ ่สี นใจได้เขา้ มาศกึ ษาคน้ ควา้ และใช้อา้ งองิ เชน่ เอกสารตน้ ฉบบั หนงั สือ โต้ตอบ รายงาน บนั ทึกสว่ นตัว หนังสือสญั ญาภาพถา่ ย/แผนที่ เอกสารโบราณ สมดุ ขอ่ ย หนังสือผกู ใบลาน เป็นตน้ สงิ่ ตา่ ง ๆ เหล่านจี้ ะเกบ็ รักษาไวใ้ นรูปลกั ษณเ์ ดมิ เพื่อประโยชน์ในการศกึ ษาเชิงประวตั ศิ าสตรแ์ ละเปน็ มรดกทางวฒั นธรรม หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาตอิ ยู่ในความดแู ลของกองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร กองนีม้ ีหน้าที่ ดำเนนิ งานบันทกึ เหตุการณป์ ระจำวัน แปลและเรยี บเรียงจดั เก็บเอกสารหลักฐานประวตั ิศาสตรท์ งั้ ในอดีตและ ปจั จบุ ัน หอจดหมายเหตุ (Archives) จำแนกได้ 5 ประเภท ได้แก่ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ สว่ นภูมภิ าคและท้องถ่นิ หอจดหมายเหตขุ องมหาวทิ ยาลยั หอจดหมายเหตุของวดั และสถาบนั ศาสนา หอ จดหมายเหตุของสถาบันธรุ กจิ และอตุ สาหกรรม

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ความร้ทู วั่ ไปเกย่ี วกับหอ้ งสมุด 33 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหสั ง33203 วชิ า การใชส้ ารสนเทศ 1 แผนการจัดการเรียนท่ี 4 เร่อื ง ระเบยี บและมารยาทการใชห้ อ้ งสมดุ เวลา 1 ช่ัวโมง ผลการเรียนรู้ รู้และเขา้ ใจเรอื่ งห้องสมดุ ประเภทตา่ ง ๆ และเลือกใช้บริการหอ้ งสมดุ ไดต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั ระเบยี บและมารยาทการใช้หอ้ งสมดุ และสามารถนำไป ปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทกั ษะการคดิ การตดั สินใจและการแกป้ ญั หา 2.2 ทกั ษะการปรบั ตวั 2.3 ทักษะการสอื่ สารและสร้างสมั พนั ธภาพ 2.4 ทกั ษะการวางแผนและการจดั การ สาระการเรยี นรู้ ระเบยี บและมารยาทการใชห้ อ้ งสมุดเป็นข้อปฏิบัติทีผ่ ูใ้ ช้บรกิ ารตอ้ งปฏบิ ตั ริ ่วมกัน เพือ่ ให้เกิดลกั ษณะ นสิ ยั และมารยาททด่ี ใี นการเข้าบริการหอ้ งสมดุ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5. ความสามารถในการส่อื สาร 6. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ คุณลกั ษณะอังพึงประสงค์ 3. มีวนิ ัย 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน 8. มจี ติ สาธารณะ ทักษะชวี ิต 1. การตระหนักรูแ้ ละเห็นคุณค่าในตนเองและผ้อู ื่น 2. การคดิ วิเคราะห์ ตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4. การสร้างความสมั พนั ธ์ที่ดกี บั ผู้อ่นื คณุ ลักษณะผู้เรียนตามมาตรฐานสากล

34 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์ เศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล 3. การมีภมู ิคมุ้ กนั ท่ีดีในตวั 4. เงื่อนไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวงั ) 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม (มคี วามซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต) ช้นิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ 2.ใบงาน หลกั สูตรตอ่ ตา้ นการทจุ ริต การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ การเรยี นรจู้ ากการสืบคน้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนำ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สนทนาเรอ่ื งทเี่ กยี่ วกบั ระเบยี บและมารยาทการใชห้ อ้ งสมดุ ข้ันสอน 1.ครอู ธบิ ายเก่ียวกบั ระเบียบและมารยาทการใชห้ อ้ งสมดุ ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจและใหน้ กั เรยี นศึกษาและ เปรยี บเทียบระเบียบและมารยาทการใช้หอ้ งสมดุ ของโรงเรียนชยั บาดาลวิทยาและโรงเรยี นที่เคยได้ศึกษามา 2.ครูยกตวั อยา่ งขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของการมีระเบียบและมารยาทการใช้ห้องสมุดและการไม่มรี ะเบียบ มารยาทการใช้ห้องสมุด ขั้นสรุป ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันสรปุ และฝกึ ใหน้ ักเรยี นเขยี นแสดงความคิดเห็น เพ่อื เสรมิ ความเขา้ ใจ การวดั ผลและประเมินผล 1. การสรปุ เน้อื หา 2. ความคิดสรา้ งสรรค์ในชนิ้ งาน 3. ความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยสวยงาม

35 สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรอื่ ง ระเบยี บการเข้าใช้ห้องสมุด 2. หอ้ งสมุดโรงเรยี นชัยบาดาลวิทยา 3. ใบงาน กิจกรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

36 บนั ทกึ หลงั การสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกค่ี น คิดเป็นรอ้ ยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปัญหา/อุปสรรค (ระบุปญั หาและอุปสรรคจากการที่นักเรียนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแก้ไข/พฒั นา (ระบุแนวทางเพอื่ ให้บรรลตุ ามเกณฑก์ ารประเมนิ ที่กำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครผู ู้สอน ความเห็นของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ................................................................... (นางศุภรดา ปัญญาทอง) หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี

37 ใบความรเู้ รอื่ ง ระเบียบและมารยาทการใชห้ อ้ งสมุด ระเบียบ หมายถงึ ข้อบังคบั ทีจ่ ะใหป้ ฏิบตั ิ หรอื ละเว้นการปฏิบตั ิอยา่ งหนง่ึ อย่างใดเพอื่ ใหส้ งั คมอยู่ อย่างสงบสขุ และเป็นธรรม ผูฝ้ า่ ฝืนจะไดร้ ับโทษ มารยาท หมายถึง ขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ิ โดยเกดิ จากสำนกึ รจู้ กั การควรไมค่ วรของผู้นนั้ เอง ระเบียบและมารยาทการใช้หอ้ งสมุด หมายถงึ ข้อบังคบั ท่ีจะใหป้ ฏิบัตหิ รือข้อพึงปฏิบัติ โดยเกิดจากจติ สำนึกท่ี ดีในการปฏิบัตติ นของผู้ใชบ้ รกิ าร เพอื่ ความสงบเรยี บร้อยเมือ่ เขา้ ใชบ้ ริการห้องสมดุ ระเบยี บการเขา้ ใชห้ ้องสมุด ✰ เวลาเปดิ ทำการ วนั จนั ทร์ – ศกุ ร์ ตง้ั แตเ่ วลา 07.00 น. – 17.00 น. ปดิ วันหยดุ ราชการ ✰ ผูม้ ีสทิ ธ์ใิ ช้และยืมหนงั สอื 1. ครู – อาจารย์ นกั เรียน นักการภารโรง โรงเรียนชัยบาดาลวทิ ยา 2. บคุ คลภายนอกซง่ึ ได้รับอนุญาตจากทางโรงเรยี น ✰ การยมื หนังสือ 1. ครู – อาจารย์ ยมื หนังสอื ไดไ้ ม่เกนิ 20 เล่ม ต่อ 1 ภาคเรยี น วารสารลว่ งเวลา 3 ฉบบั ๆ ละ 7 วนั 2. นกั เรยี นทกุ ระดับชั้น ยมื หนงั สอื ทัว่ ไป ได้ 3 เล่ม ๆ ละ 7 วัน หนังสือจอง 1 เล่ม ๆ ละ 3 วนั และ หนงั สอื ท่วั ไปถา้ ไมม่ ผี ูจ้ องไวส้ ามารถยืมติดต่อได้อกี 1 คร้งั ✰ การคนื หนงั สือ 1. นกั เรยี นทีย่ มื หนงั สือทัว่ ไปสง่ เกนิ วนั กำหนดสง่ เสียค่าปรับวันละ 1 บาทตอ่ เลม่ 2. นกั เรยี นทย่ี มื หนงั สอื จอง ถา้ สง่ เกินกำหนดส่ง เสียค่าปรับวนั ละ 2 บาทตอ่ เล่ม 3. การนบั วันเกินกำหนด เรม่ิ นบั ตั้งแต่วันกำหนดสง่ ถงึ วันทส่ี ง่ จริง ไมเ่ ว้นวนั หยดุ ราชการ (เสาร์-อาทติ ย์) ถา้ วันกำหนดส่งตรงกับวนั สำคญั นักเรียนจะไมเ่ สยี คา่ ปรบั 4. ถ้านักเรยี นยืม และทำหนงั สอื สูญหาย ต้องรับผิดชอบ ดงั น้ี 1. ซ้ือหนังสือ ช่อื เร่อื ง และผแู้ ตง่ เล่มเดมิ พร้อมชำรพคา่ ปรบั ถา้ ส่งเกินวนั กำหนดส่ง 2. หากไม่สามารถหาหนังสอื มาใช้แทนได้ ตอ้ งชำระเงินชดเชยเป็น 2 เทา่ ของราคาหนังสือปัจจบุ นั

38 มารยาทการเขา้ ใชห้ อ้ งสมดุ 1. แตง่ กายสุภาพเรียบร้อย 2. ถอดรองเทา้ ไวท้ หี่ นา้ หอ้ งสมุด 3. ไม่นำเอกสาร กระเป๋า ถงุ ยา่ ม นอกจากปากกาและกระดาษท่ใี ช้บนั ทึก 4. ไมส่ ง่ เสยี งดงั รบกวนสมาธิผู้อ่ืน 5. ไมน่ ำอาหาร ขนม เครอื่ งดม่ื ทุกชนิดเขา้ ไปรับประทานในหอ้ งสุด 6. ไม่ตดั รปู ภาพ ขอ้ ความ เรื่องราวที่อยู่ในหนงั สือ เอกสารทกุ ชนิด 7. หยบิ หนังสอื เล่มใดออกจากชน้ั เม่อื อา่ นเรียบร้อยแลว้ เก็บไวท้ ี่เดิม และจัดให้เรียบรอ้ ย 8. ถ้าเข้าห้องสมดุ ในเวลาเรียน ตอ้ งมีใบอนุญาตจากอาจารยป์ ระจำวิชา 9. เมือ่ ลกุ จากทน่ี ่งั เล่อื นเกา้ อี้ไปชิดกบั ขอบโตะ๊ ทกุ คร้งั

39 ใบงานเรื่อง ระเบียบและมารยาทการใช้หอ้ งสมดุ คำสั่ง ให้นักเรยี นศกึ ษา เกย่ี วกบั ระเบียบและมารยาทการใช้หอ้ งสมุด ห้องสมดุ โรงเรียนชยั บาดาลวิทยา และห้องสมุดโรงเรียนทน่ี ักเรียนไดศ้ กึ ษามา แลว้ นำมาเปรียบเทียบว่ามคี วามแตกต่างกนั หรือไม่อยา่ งไร ระเบียบและมารยาทการใชห้ อ้ งสมดุ ระเบยี บและมารยาทการใช้หอ้ งสมดุ โรงเรียนชัยบาดาลวิทยา โรงเรยี น.....................................

40 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ทรพั ยากรสารสนเทศ เวลา 1 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี รหัส ง33203 วิชา การใช้สารสนเทศ 1 แผนการจดั การเรยี นที่ 1 เร่ือง ความหมายและประโยชนข์ องทรพั ยากรสารสนเทศ ผลการเรยี นรู้ อธบิ ายเกย่ี วกับทรพั ยากรตพี ิมพ์และไม่ตีพมิ พ์ได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ 1.1 นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั ความหมายและประโยชนข์ องทรพั ยากรสารสนเทศของ หอ้ งสมดุ 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 2.1 ทักษะการแสวงหาข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ สาระการเรยี นรู้ ทรพั ยากรสารสนเทศ คอื วัสดุท่ีใช้ในการศึกษาค้นควา้ และวจิ ัยในรูปแบบตา่ ง ๆ ทกุ สาขาวิชา ซึ่งมี ประโยชน์และวิธีการใช้ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะองั พึงประสงค์ 3. มีวินัย 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 8. มีจิตสาธารณะ ทักษะชีวิต 1. การตระหนกั รู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผอู้ ื่น 2. การคิดวิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4. การสร้างความสัมพนั ธ์ท่ดี กี ับผูอ้ นื่ คณุ ลกั ษณะผูเ้ รียนตามมาตรฐานสากล 3. ลำ้ หน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์

41 เศรษฐกิจพอเพียง 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตผุ ล 3. การมภี ูมคิ ุ้มกันทด่ี ใี นตัว 4. เงือ่ นไขความรู้ (ความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมดั ระวัง) 5. เง่ือนไขคุณธรรม (มคี วามซือ่ สตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต) ชน้ิ งาน/ภาระงาน 1.ใบความรู้ 2.ใบงาน รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ การเรยี นรจู้ ากการสบื ค้น กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ ครูสอบถามนักเรียนเก่ียวกับความสำคัญและประโยชนข์ องส่ิงพิมพ์แตล่ ะประเภทท่นี กั เรียนอ่าน ขั้นสอน 1.ครูอธบิ ายเก่ียวกับความหมายของทรพั ยากรสารสนเทศ 2.ครยู กตวั อย่างทรพั ยากรสารสนเทศมา 1 อยา่ ง แล้วให้นกั เรยี นบอกว่ามคี วามสำคัญและมีประโยชน์ อย่างไร ขัน้ สรุป ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันสรปุ เน้ือหา การวดั ผลและประเมินผล 1. การสรปุ เน้อื หา 2. ความคดิ สร้างสรรค์ในช้ินงาน 3. ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ 1. ใบความรู้เรอ่ื ง ทรพั ยากรสารสนเทศ 2. หอ้ งสมุดโรงเรยี นชัยบาดาลวทิ ยา 3. ใบงาน

42 กจิ กรรม/ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

43 บนั ทกึ หลังการสอน 1. ผลการจัดการเรียนรู้ (ระบุผลที่นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน/ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนกี่คน คดิ เปน็ ร้อยละเท่าใด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อุปสรรค (ระบปุ ัญหาและอุปสรรคจากการที่นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมินทก่ี ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกไ้ ข/พฒั นา (ระบุแนวทางเพอื่ ให้บรรลตุ ามเกณฑ์การประเมินทกี่ ำหนด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................... (นางสาวกมลชนก สำอาง) ครผู ู้สอน ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ................................................................... (นางศุภรดา ปญั ญาทอง) หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

44 หนว่ ยที่ 2 เรื่อง ทรพั ยากรสารสนเทศ ความหมายของทรพั ยากรสารสนเทศ สง่ิ ทใี่ ชบ้ ันทึกข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ ความคดิ ประสบการณท์ ไ่ี ด้กลั่นกรองเรียบเรียงและประมวลผล ไวด้ ้วยภาษาสญั ลักษณ์ รหัส รปู ภาพ และอืน่ ๆ รวมทง้ั บนั ทกึ บนวสั ดุหลายชนดิ ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เพื่อเผยแพร่ ซ่งึ ทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้และเกดิ ปัญญา ประเภททรพั ยากรสารสนเทศ :: ทรพั ยากรสารสนเทศแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื วสั ดตุ พี ิมพแ์ ละวสั ดไุ ม่ ตีพิมพ์ ประโยชน์ของทรพั ยากรสารสนเทศ 1. ให้ความรใู้ นรปู แบบตา่ ง ๆ 2. เป็นหลกั ฐานอ้างอิงประกอบการค้นควา้ 3. เสริมสรา้ งสตปิ ญั ญาทำใหม้ ีความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละวิสัยทศั น์อนั กวา้ งไกล ทันโลก ทนั เหตกุ ารณ์ และความเคลื่อนไหวตา่ ง ๆ 4. สามารถนำความรทู้ ่ไี ดจ้ ากทรพั ยากรสารสนเทศมาพฒั นาตนเองในด้านต่าง ๆ ทำใหป้ ระสบ ผลสำเรจ็ ในการดำเนนิ งานตา่ ง ๆ อย่างมีประสิทธภิ าพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook