Chulalongkorn University
Chulalongkorn University ๒๕๖๔ ชวนรู้เพื่อสันตสิ ุขชายแดนใต้ 1
คมู่ ือชวนรเู้ พื่อสนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๔๐๗-๖๓๑-๐ ศาสตราจารย์ ดร. สเุ นตร ชตุ ินธรานนท์ และคณะ พมิ พ์คร้ังท่ี ๑ วนั ที่พิมพ์ ๑ กนั ยายน ๒๕๖๔ พิมพ์ที่ ห้างห้นุ ส่วนจำ� กดั ศรีบรู ณค์ อมพิวเตอร์-การพมิ พ์ โทร. ๐-๒๘๑๖-๒๒๒๑ จดั ทำ� โดย ศูนยพ์ หุวฒั นธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสงั คม สถาบนั เอเชียศกึ ษา จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อาคารประชาธปิ ก-รำ� ไพพรรณี ชน้ั ๓ ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทุมวัน กรงุ เทพมหานคร ๑๐๓๓๐ โทร ๐๒-๒๑๘-๗๔๓๕ E-mail: [email protected] สนับสนนุ โดย กองอ�ำนวยการรกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.) ศูนย์ประสานการปฏบิ ัตทิ ่ี 5 กองอำ� นวยการรักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (ศปป.๕ กอ.รมน.) ภายในกองบญั ชาการกองทพั บก ถนนราชดำ� เนนิ นอก แขวงบางขนุ พรหม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร./โทรสาร ๐-๒๓๕๖-๐๔๖๕ 2 ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
ค�ำนำ� หนงั สอื “คมู่ อื ชวนรเู้ พอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต”้ เลม่ น้ีเปน็ ความพยายาม ท่ีจะจัดท�ำคู่มือส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ซ่ึงประชาชนส่วนใหญ่มีวิถีวัฒนธรรมเฉพาะ คู่มือนี้ จะสะดวกแก่การพกพาติดตัวไปได้ในทุกท่ีปฏิบัติงาน ซ่ึงข้อมูลและ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ปรากฏพอสังเขปเป็นข้อมูลท่ีจะส่งเสริม ให้การปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ที่เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย สร้างบรรยากาศ แหง่ ความสมานฉันท์ รวมท้ังลดทอนความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าท่ี ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานกบั ประชาชนในพนื้ ที่ อนั อาจมีสาเหตุมาจากทัศนคตหิ รอื ภูมิหลังทางศาสนา เป้าประสงค์ส�ำคัญอยู่ท่ีการสร้างความรับรู้ทาง สังคมและวัฒนธรรมท่ีถูกต้อง ซึ่งน�ำไปสู่ความส�ำเร็จและการยอมรับ ในความตา่ ง การให้ความเคารพในวิถกี ารด�ำรงอย่ขู องชนตา่ งศาสนา ตลอดจนการปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสมในฐานะตวั แทนของรฐั สงิ่ เหลา่ นี้ จะชว่ ยหนนุ เสริมใหก้ ารอยู่รว่ มกนั เปน็ ไปอยา่ งสันติสขุ และย่ังยนื ในอดีตได้มีความพยายามสร้างความเข้าใจต่อพื้นท่ีพิเศษและ ผลิตคู่มือในลักษณะน้ี ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 คือ “สมุดคู่มือส�ำหรับ ข้าราชการกระทรวงมหาดไทยที่รับราชการในมณฑลซ่ึงมีพลเมือง นับถือสาสนาอิสลาม” (พ.ศ.2466) (\"สาสนา\" เป็นค�ำท่ีปรากฏตาม สมุดคู่มือฯ) ต่อมาคู่มือได้รับการปรับปรุงเพ่ิมเติมและตีพิมพ์เรื่อยมา ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 3
อกี หลายสบิ ครั้ง ต้งั แต่ พ.ศ. 2536 – พ.ศ. 2549 อย่างไรก็ดี ดว้ ย สถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ ความไม่สงบระลอกใหม่ ต้ังแต่ พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา เป็นเหตุให้ คมู่ อื เดมิ ทเี่ คยใชม้ าขาดความสมสมยั หนงั สอื “คมู่ อื ชวนรเู้ พอ่ื สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต”้ จงึ ถอื กำ� เนดิ ขนึ้ จากวตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ อ้ งการผลติ คมู่ อื พน้ื ฐาน ในการปฏบิ ตั งิ านในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ ใหม้ คี วามทนั สมยั และ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ คู่มือต้องมีสาระท่ีชัดเจน ส้ัน กระชับ และสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ทีด่ �ำรงอย่ใู นปัจจุบัน หนังสือ “คูม่ อื ชวนรู้เพื่อสันตสิ ขุ ชายแดนใต้” แบ่งเนอ้ื หาเป็น 2 สว่ น ประกอบไปดว้ ย 1) สงิ่ ท่ีท�ำได้ ท�ำไม่ได้ ซึง่ มเี น้ือหาครอบคลุมทั้ง สิ่งที่ควรรู้ สิ่งที่ควรท�ำ สิ่งท่ีไม่ควรท�ำ และสิ่งท่ีควรระมัดระวัง และ 2) นานาทัศนะ : ค�ำถาม-ค�ำตอบบางส่วนจากกลุ่มนักวิชาการ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการทางเศรษฐกจิ และกลมุ่ สอื่ มวลชน สตรี และเยาวชน ตลอดรวมทง้ั ประชาชนภาคสว่ นตา่ งๆ ในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ หวงั ใจเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สอื “คมู่ อื ชวนรเู้ พอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต”้ เลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชนแ์ ละอำ� นวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ชง้ าน โดยเฉพาะ อยา่ งย่งิ เจ้าหน้าท่ผี ู้ปฏบิ ตั ิงานในพนื้ ทแี่ ละผทู้ เี่ กยี่ วข้อง คณะผูจ้ ัดท�ำ 4 ชวนรู้เพ่อื สนั ติสขุ ชายแดนใต้
สารบญั หนา้ • ส่ิงท่คี วรรู้ ๗ • สิ่งท่ีควรทำ� ๔๑ • สิ่งทไี่ มค่ วรท�ำ ๕๙ • ส่งิ ทคี่ วรระมดั ระวัง ๙๓ • นานาทัศนะ : ค�ำถาม - คำ� ตอบ ๑๒๕ ชวนรู้เพ่อื สันติสขุ ชายแดนใต้ 5
6 ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
สิง่ ที่ควรรู้ ชวนรู้เพ่อื สนั ติสขุ ชายแดนใต้ 7
1. คนนายู คนไทยมุสลิมมีจ�ำนวนมากที่สุดในพื้นที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปตั ตานี ยะลา และนราธวิ าส มกั เรียก ตนเองว่าเปน็ “ออแฆนายู” (อ่านวา่ ออ – แก – นา – ย)ู หรือ “คนนายู” ซึ่งกร่อนมาจากค�ำว่า “มลายู” โดยท่ัวไป ชาวบ้านมักจะแทนตัวเองว่าเป็น “คนนายู” มากกว่า “คนมุสลิม” ท่ีหมายถึงคนท่ีนับถือศาสนาอิสลามทั่วไป โดย ไมเ่ ฉพาะเจาะจงถึงกลุ่มคนมุสลิมจากสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้แต่อย่างใด ต่อไปน้ีเอกสารชิ้นนี้จะเรียกคนมุสลิม ในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า คนมุสลิม (นายู) และหากหมายถึงผู้ท่ีนับถือศาสนาอิสลามท่ัวไป จะเรียกว่า คนมสุ ลมิ 8 ชวนรู้เพือ่ สันติสุขชายแดนใต้
2. มุสลมิ มุสลมิ ีน และ มุสลิมะห์ มุสลิม แปลว่า ผู้ใฝ่หาความสันติสุข หมายถึง คนที่ นับถือศาสนาอสิ ลาม โดยไม่จำ� เปน็ ต้องเป็นคนนายเู สมอไป โดยค�ำ ๆ นี้จะแยกเพศยอ่ ยไปอกี ได้แก่ มสุ ลมิ นี หมายถงึ มสุ ลมิ ทเี่ ปน็ ผชู้ าย และ มสุ ลมิ ะห์ หมายถงึ มสุ ลมิ ทเี่ ปน็ ผหู้ ญงิ โดยทงั้ สามคำ� เปน็ คำ� ในภาษาอาหรบั นอกจากน้ี ระวงั สบั สน ระหวา่ งคำ� วา่ อสิ ลาม ทหี่ มายถงึ ศาสนา และมสุ ลมิ ทหี่ มายถงึ ศาสนิกชนท่ีนับถือศาสนาอิสลาม หากใช้สลับกันจะเกิด ความเข้าใจผิดได้ ชวนรู้เพ่ือสนั ติสุขชายแดนใต้ 9
3. คนไทย เป็นกลุ่มประชากรที่มีจ�ำนวนรองลงมา ส่วนใหญ่พูด ภาษาไทยถ่ินภาคใต้ (ทั้งส�ำเนียงปัตตานี ยะลา และกลุ่ม ภาษาตากใบ) รองลงมาจะพดู ภาษาอสี านซงึ่ จะอยกู่ นั หนาแนน่ ในพื้นที่ชุมชนนิคมพัฒนาตนเอง คนมลายูสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จะเรยี กคนไทยวา่ “ซแี ย” หรอื “ออแฆซแี ย” (อา่ นว่า ออ – แก – ซี – แย) มาจากค�ำว่า “สยาม” ท้ังน้ี ค�ำน้ียังหมายรวมถึงคนไทยท่ีพูดภาษาไทย และ คนไทยเชื้อสายอ่ืน ๆ นอกพนื้ ทอี่ กี ดว้ ย 10 ชวนรู้เพอ่ื สันติสขุ ชายแดนใต้
4. คนจนี หรอื คนไทยเชือ้ สายจนี เป็นกลุ่มประชากรท่ีมีจ�ำนวนรองลงมาจากสองกลุ่ม ข้างต้น คนจีนที่นี่ยังคงรักษาอัตลักษณ์ของตนเองได้มาก พอสมควร คนจีนบางกลุ่มก็มีการผสานทางวัฒนธรรมกับ คนไทยและนายูได้ดอี ีกด้วย ส�ำหรบั คำ� ในภาษานายจู ะเรยี ก คนกลุ่มนว้ี ่า “จีนอ” หรอื “ออแฆจีนอ” (อา่ นวา่ ออ – แก – จี – นอ) แปลว่า “คนจีน” ท้ัง 3 ค�ำดังกล่าวใช้เรียกช่ือกลุ่มคนต่าง ๆ ในภาษา นายู คือ นายู ซีแย และ จีนอ ซง่ึ มกั เรยี กกนั ในสถานการณ์ ท่ีพยายามนิยามให้เห็นถึงความแตกต่างหรือเหมือนกันใน ดา้ นความเชอื่ ธรรมเนียม และหลักปฏบิ ตั ทิ างศาสนา ไมไ่ ด้ มีความหมายในแง่ลบหรือเป็นการแบ่งแยกเชื้อชาติศาสนา แตอ่ ย่างใด ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 11
5. คนนายู คนไทย และคนไทยเชอื้ สายจนี ต่างกเ็ ปน็ เพื่อนกนั พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในอดีตจนถึงปัจจุบัน กลุม่ คนทั้ง 3 กล่มุ ตา่ งอาศัยรว่ มกันมาตลอด อกี ทัง้ ยังพบ วา่ มปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ภายใตส้ งั คมพหวุ ฒั นธรรมอกี ดว้ ย ฉะนนั้ จงึ ไมค่ วรมองวา่ การทป่ี ระชาชนกลมุ่ ใดกลมุ่ หนง่ึ มาอยู่ ร่วมกัน หรอื ขา้ มไปอาศยั อยกู่ นิ ในพ้ืนทีช่ มุ ชนอืน่ ว่าเป็นสง่ิ ท่ี ผดิ แปลก เช่น คนมุสลิม (นายู) ทีอ่ าศยั อยู่ในชุมชนคนไทยก็ เปน็ สิ่งพบเจอได้ทัว่ ไป 12 ชวนรู้เพ่ือสันติสขุ ชายแดนใต้
6. ใครคือผู้พูดกลมุ่ ภาษาเจ๊ะเห ตอนลา่ งของจงั หวดั ปตั ตานลี งมาจะปรากฏคนไทยทพ่ี ดู กลมุ่ ภาษาเจะ๊ เห ทม่ี ลี กั ษณะตา่ งจากภาษาไทยปกั ษใ์ ตท้ ว่ั ไป พวกเขาไม่สามารถพูดภาษาไทยถ่ินใต้แบบส�ำเนียงท่ัวไปที่ เขา้ ใจไดง้ ่ายกว่า อกี ท้งั พวกเขาไมไ่ ด้มองว่าตนเอง เปน็ คน กลุ่มเดียวกับคนปักษ์ใต้ท่ัวไป แนะน�ำให้ส่ือสารด้วยภาษา ไทยมาตรฐาน แล้วเรียนรู้ภาษาถิ่นของพวกเขาจะดีทีส่ ุด นอกจากน้ี มสุ ลมิ ในพน้ื ทอ่ี ำ� เภอแมล่ านและอำ� เภอกะพอ้ จังหวดั ปัตตานี จะพูดภาษาที่คลา้ ยกัน คอื “ภาษาพเิ ทน” แต่ ปัจจุบันแนวโนม้ ผู้พูดลดลงเรื่อย ๆ ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 13
7. ไมม่ ภี าษาอสิ ลาม หรอื การพดู อสิ ลาม คนภายนอกสว่ นมาก หรอื กระทงั่ ขา้ ราชการคนไทยพทุ ธ ท่ีปฏิบัติราชการอยู่ในพื้นท่ี มักเข้าใจว่า “ภาษามลายู” คือ “ภาษาอิสลาม” อนั ที่จริงเปน็ ความเข้าใจท่ีผิด เพราะภาษา ของศาสนาอสิ ลามคอื “ภาษาอาหรบั ” ประชาชนคนมสุ ลมิ ในพน้ื ทสี่ ามจงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ กุ คนจะพดู “มลาย”ู ได้ กระนน้ั คนมสุ ลมิ ในพน้ื ทดี่ งั กลา่ วกม็ ที พ่ี บวา่ พดู “มลาย”ู หรอื “นาย”ู ไมไ่ ด้ อาทิ ชาวบา้ นในอำ� เภอโคกโพธ์ิ จงั หวดั ปตั ตานี ซงึ่ จะพดู ภาษาไทยสำ� เนยี งปกั ษใ์ ตเ้ ปน็ สว่ นใหญแ่ ละไมเ่ ขา้ ใจ ภาษามลายูหรอื นายเู ลยก็มี (โดยเฉพาะคนสูงวยั ) รวมไปถงึ คนมสุ ลมิ ในพนื้ ทบ่ี างส่วนของจังหวัดยะลา เช่น เบตง ก็ใช้ ภาษามลายูส�ำเนียงเปรคั เป็นภาษาแม่อกี ดว้ ย 14 ชวนรู้เพือ่ สันติสุขชายแดนใต้
8. คนนายู พูด “ภาษานาย”ู “ภาษานายู” ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายเป็นภาษาแม่ ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงรัฐกลันตันใน มาเลเซยี ในปจั จบุ นั แตส่ ำ� เนยี งพดู ในแตล่ ะพน้ื ทจ่ี ะไมเ่ หมอื น กันทีเดียว เพราะแต่ละพื้นท่ีจะมีส�ำเนียงถ่ินที่แตกต่างกัน ไป เรียกกันว่า “ส�ำเนียงมลายูอย่างปัตตานี – กลันตัน” ซึ่งมีความแตกต่างกับภาษามลายูส�ำเนียงมาตรฐานอยู่พอ สมควร การทเี่ อกสารราชการและวชิ าการมกั ใชค้ ำ� วา่ “มลายู ปตั ตาน”ี เหลา่ นจี้ ะทำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจสบั สนได้เพราะชาวบา้ น ท่ัวไปในพน้ื ที่เรียกภาษาพวกเขาวา่ “ภาษานาย”ู ดังน้ัน คำ� ว่า “นาย”ู ทก่ี ร่อนมาจากคำ� ว่า มลายู จงึ เปน็ คำ� ทถ่ี ูกต้องและเหมาะสมทส่ี ดุ ในสถานการณ์ปัจจบุ ัน ชวนรู้เพอ่ื สนั ติสุขชายแดนใต้ 15
9. รู้ค�ำศัพท์ “นายู” พื้นฐาน เป็นเรื่อง จ�ำเปน็ บุคคลภายนอกควรสร้างความไว้วางใจกับประชาชน ชาวมุสลิมในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มากท่ีสุด และควรท�ำให้บรรยากาศพูดคุยในชีวิตประจ�ำวันกับ ชาวบ้านเกิดความผ่อนคลายและเป็นกันเอง จึงจ�ำเป็นต้อง เรียนรู้ค�ำศัพท์ “นายู” พื้นฐานให้มากที่สุด และรู้จักใช้ ค�ำเหล่าน้ันในบทสนทนาในชีวิตประจ�ำวัน ท้ังนี้ ค�ำศัพท์ “นายู” เหล่าน้ีมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกับมลายูส�ำเนียง มาตรฐานอยบู่ า้ ง และในแตล่ ะจงั หวดั เชน่ ปตั ตานี กบั ยะลา หรือแม้กระทั่งแต่ละชุมชนหรืออ�ำเภอในจังหวัดเดียวกันก็มี การใช้ค�ำเฉพาะในความหมายที่แตกต่างกันไปตามแต่ละ สำ� เนยี งอีกดว้ ย ทงั้ นี้ คำ� ศพั ทพ์ น้ื ฐานทค่ี วรรจู้ ะแบง่ ตวั อยา่ งตามชอ่ื ค�ำศพั ท์ ค�ำอา่ น และความหมาย ดงั ต่อไปน้ี 16 ชวนรู้เพื่อสันติสขุ ชายแดนใต้
ค�ำศัพท์ ค�ำอ่าน ความหมาย โตะ๊ โต๊ะ ผสู้ งู วยั ผูอ้ าทวุโวสดส่ิงศักดิ์สทิ ธ์ิ เมาะ เมาะ ไว้เรียกเดกยีับวคแกนมับ่ทแ่ีมมีอ่ ายรุ ุน่ อาเยาะห์ อา – เยาะ พ่อ ก๊ะ ไวเ้ รยี กกับคนทมี่ อี ายุร่นุ แบ เด๊ะ เดยี วกบั พ่อ กตี อ แกแจะ๊ กะ๊ พ่ีสาว เนาะ เดา๊ ะ หรือ แบ พชี่ าย ตะเดา๊ ะ ยอ เด๊ะ นอ้ ง แลยอ กี – ตอ พวกเรา แก – แจะ๊ พดู เนาะ เอา เดา๊ ะ หรือ ไม่ หรือ ไมม่ ี ตะ – เดา๊ ะ ยอ ใช่ หรอื ครบั /คะ่ แล – ยอ เหน็ ด้วย ชวนรู้เพอื่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 17
คำ� ศพั ท์ ค�ำอ่าน ความหมาย รู้ ตาฮู ตา – ฮู ขอบคุณ ตรีมอกาเซะห์ ตรี – มอ – กา – เซะ ขอโทษ อะไร มาอะห์ มา – อ๊ะ ที่ไหน กาปอ กา – ปอ ไป มา มานอ มา – นอ กลบั อย่างไร หรือ ทำ� ไม ฆี กี ท�ำไม เท่าใด มาฆี มา – กี สกลุ เงินอดตี ปจั จบุ นั หมายถงึ เงนิ บาท กือเละ กือ – เละ้ เงิน มาก แฆนอ แก – นอ น้อย บะปอ บะ – ปอ วะปอ วะ – ปอ โก๊ะ โก๊ะ ดวู ิ ดู – วิ้ บาเญาะ บา – เยาะ ซีกิ ซิ – กิ 18 ชวนรู้เพ่อื สนั ติสุขชายแดนใต้
คำ� ศัพท์ ค�ำอ่าน ความหมาย มาแก มา – แก กนิ นาซิ นา – ซิ ข้าว อาแย อา – แย ไก่ ลือมู ลอื – มู วัว กาเม็ง กา – เมง็ แพะ อีแก อี – แก ปลา บาบี บา – บี หมู (เป็นคำ� หยาบ หา้ มใช้เชิงหยอกลอ้ ) แต แต กปู ี กู – ปี ชา อายฮฺ อา๊ ย กาแฟ อายฮฺบาตู อ๊าย – บา – ตู น้�ำ บาตู บา – ตู น�้ำแขง็ ซูงา ซู – งา หิน บูเก๊ะ บู – เกะ๊ แมน่ �้ำ ภเู ขา ชวนรู้เพื่อสนั ติสขุ ชายแดนใต้ 19
10. ส่ีอ�ำเภอในจังหวัดสงขลาไม่ได้พูด ภาษา “นายู” เสมอไป หากท่านก�ำลังเดินทางหรือย้ายไปปฏิบัติราชการใน พ้ืนท่ี 4 อ�ำเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ สะบ้าย้อย เทพา นาทวี และจะนะ พน้ื ที่เหลา่ นี้มคี วามหลากหลายมาก อาทิ ผ้ทู พ่ี ูดภาษาไทยปกั ษใ์ ต้ ผูท้ พี่ ูดภาษามลายแู บบสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (นาย)ู รวมถงึ ผทู้ พ่ี ดู มลายสู ำ� เนยี งรฐั เคดะห์ สำ� หรบั คนมสุ ลิม (นายู) ในพน้ื ท่ี 4 อ�ำเภอนไ้ี ม่ได้มจี ำ� นวน มากนัก และส่วนมากอพยพโยกย้ายถ่ินมาจากทางจังหวัด ปตั ตานีและยะลา ฉะนั้น ภาษาท้องถิ่นของที่น่ีจึงไม่ใช่ “ภาษานายู” ซ่ึง แตกตา่ งจากพ้ืนทีใ่ นสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ทส่ี ว่ นใหญ่ ใช้ภาษานายสู ื่อสารกนั ในชีวติ ประจ�ำวัน 20 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
11. ชาวบ้านทั่วไปใช้ค�ำว่า “มาแย” ไม่ใช่ “ละหมาด” โดยทวั่ ไปคนมสุ ลมิ (นาย)ู จะทำ� การ“ละหมาด”เพอ่ื เปน็ การ แสดงความเคารพตอ่ พระเจา้ แตใ่ นพน้ื ทสี่ ามจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้แห่งนี้ คนมุสลิม (นายู) ทั่วไปจะไม่นิยมใช้ค�ำว่า “ละหมาด” แต่จะใช้ค�ำว่า “มาแย” ตรงกับค�ำว่า เซิมบายัง (Sembahyang อ่านว่า เซิม – บะ – ยัง) ในภาษามลายู มาตรฐาน แปลว่า สวดมนต์หรือการละหมาด แต่สถานท่ี ราชการ รวมถึงห้างร้าน และปั๊มน้�ำมันต่าง ๆ ในพื้นที่ สามจงั หวดั ชายแดนภาคใตก้ ย็ งั ใชป้ า้ ยระบวุ า่ “หอ้ งละหมาด” เหมือนกบั ท่ีอ่นื ๆ ชวนรู้เพื่อสันติสุขชายแดนใต้ 21
12. ปอเนาะ โต๊ะปาเก ตาดีกา และ ซือกอเลาะห์ คำ� ทงั้ 4 คำ� นี้ ตา่ งเปน็ คำ� ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาในทอ้ งถน่ิ โดย “ปอเนาะ” เป็นโรงเรียนศาสนาอิสลามแบบอยู่ประจ�ำ ในกระทอ่ มหรอื ขนำ� ขนาดเลก็ และเรยี กผเู้ รยี นในปอเนาะวา่ “โตะ๊ ปาเก” หรอื จะใชค้ ำ� วา่ “นกั เรยี นปอเนาะ” เรยี กแทนกไ็ ด้ ในขณะท่ี “ตาดีกา” เปน็ ศูนย์การเรียนร้ทู างศาสนาอิสลาม ประจำ� มัสยิด ส่วน “ซอื กอเลาะห์” (อา่ นว่า ซือ – กอ - เลา้ ะ) หมายถึง โรงเรียน เป็นค�ำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ (School) สำ� หรบั ภาษามลายูส�ำเนียงมาตรฐาน เรียก “เซอโกละห์” (อ่านว่า เซอ – โก – ล้ะ) 22 ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
13. การนุ่งโสร่งเป็นการแต่งกายที่ สภุ าพ การนงุ่ โสรง่ เปน็ สงิ่ ทสี่ ามารถพบเหน็ ทว่ั ไปในชวี ติ ประจำ� วนั ทั้งบนถนนหนทาง ร้านค้า สถานท่ีราชการ โรงพยาบาล มัสยิด ทุ่งนา หรือเคหสถาน เพราะถือว่าเป็นวิถีชีวิตของ ประชาชนทั่วไป ทั้งชายชาวมลายู (นาย)ู ชายชาวไทยพทุ ธ หรอื ชายชาวไทยเชอ้ื สายจนี ยงั นยิ มนงุ่ โสรง่ ในชวี ติ ประจำ� วนั เกอื บทกุ วยั จนถงึ ปจั จบุ นั การทขี่ า้ ราชการบางทา่ นมที ศั นคติ ที่ว่า “การนุ่งโสร่งเป็นการแต่งกายที่ไม่สุภาพ ไม่ให้เกียรติ แก่สถานที่” เปน็ ทศั นคตทิ ีผ่ ดิ ผู้ชายชาวมลายู (นายู) เวลา จะท�ำการ “มาแย” หรอื ละหมาด มกั เปลยี่ นไปนุ่งโสร่งกอ่ น ทุกครั้งเมื่อเขามีโอกาส ชวนรู้เพอ่ื สันติสขุ ชายแดนใต้ 23
14. การทานข้าวด้วยมอื เปน็ เรอ่ื งปกติ ในเวลาปกติ เช่น ร้านอาหาร สถานทีท่ ำ� งาน คนมสุ ลมิ (นายู) จะใช้ช้อนและส้อมในการรับประทานอาหารเหมือน คนไทยในทุกภาคส่วนของประเทศ แต่ในบางคร้ังเม่ือท่าน ถูกเชิญไปงานเลี้ยงอาหารในชุมชนหรือ “กาปง” (อ่านว่า กา-ปง) ชาวบา้ นส่วนหนงึ่ ยังนยิ มรบั ประทานอาหารด้วยมอื เนอื่ งจากเปน็ วฒั นธรรมดงั้ เดมิ ของชาวมสุ ลมิ (นาย)ู สงิ่ เหลา่ น้ี คอื มรดกทางวัฒนธรรม ท้งั น้ี หากทา่ นไดร้ ับเชิญไปงานดงั กล่าว ชาวบา้ นจะจดั ชอ้ นและสอ้ มไว้คอยบริการอย่แู ล้ว 24 ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้
15. การนั่งรับประทานอาหารบนพ้ืน เป็นเร่อื งปกติ นอกจากการทานข้าวด้วยมือแล้ว การน่ังรับประทาน อาหารบนพ้ืนบ้านยังเป็นธรรมเนียมที่ชาวมุสลิม (นายู) จ�ำนวนมากยึดถือปฏิบัติอยู่ การล้อมวงรับประทานอาหาร บนพ้นื เสอื่ หรอื พรมของสมาชกิ ในบา้ น หรอื การจัดส�ำรบั บน พ้ืนบ้านเพื่อรองรับแขกหรือผู้ใหญ่ท่ีมารับประทานอาหาร ท่ีบ้าน จัดเป็นธรรมเนียมที่ถือว่าสุภาพและยังเป็นท่ีนิยม จนถงึ ปจั จุบนั ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้ 25
16. การล้างภาชนะหรือพ้ืนท่ีปนเปื้อน สง่ิ สกปรกตามหลักศาสนาอสิ ลาม ทางทด่ี ที า่ นควรระวงั ไมใ่ หภ้ าชนะหรอื พนื้ ทท่ี ตี่ อ้ งใชร้ ว่ ม กบั ชาวมสุ ลมิ เกดิ การปนเปอ้ื นสง่ิ สกปรก หรอื นะญสิ (อา่ นวา่ นะ – ยิด) เช่น เน้อื หมู หรอื น้�ำลายสนุ ขั เพราะถ้าหากเกดิ การปนเปอ้ื นสงิ่ สกปรกดงั กลา่ วเขา้ แลว้ การทำ� ความสะอาด ส่ิงเหล่านี้ถือได้ว่ามีข้ันตอนท่ีสลับซับซ้อนมาก กล่าวคือ ชาวมุสลิมจะต้องล้างด้วยน�้ำดินก่อน 1 คร้ัง และตามด้วย นำ้� สะอาดอกี 6 ครงั้ จงึ จะถอื วา่ สง่ิ นนั้ ไดถ้ กู ชำ� ระจนสะอาด แลว้ ตามหลกั ศาสนา 26 ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้
17. “งานกนิ เหนยี ว” หรอื “มาแกปโู ละห”์ ในภาษานายู “มาแกปโู ละห”์ (มา - แก – ปู – โละ้ ) หมายถงึ งานกินเล้ียง ซ่ึงส่วนมากมักหมายถึงงานที่เป็นมงคล เช่น งานแตง่ งาน งานหมน้ั มลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั งาน “กนิ เหนยี ว” ของคนไทยพุทธในพื้นท่ีภาคใต้ อาหารที่ใช้เลี้ยงแขกเป็น อาหารทว่ั ไป ประกอบดว้ ยอาหารคาวและปดิ ทา้ ยดว้ ยอาหาร หวานท่ีมักท�ำมาจากข้าวเหนียว (หรือที่ภาษานายูเรียกว่า “ปูโละห”์ ) เป็นหลัก ชวนรู้เพอื่ สันตสิ ุขชายแดนใต้ 27
18. หลักศรัทธาในศาสนาอิสลาม สาเหตุท่ีต้องท�ำความเข้าใจเก่ียวกับหลักศรัทธาของ ศาสนาอิสลาม ก็เพ่ือให้เข้าใจผู้คนในพื้นท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต้ซ่ึงส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม โดยหลักการ พ้ืนฐานแล้ว คนมุสลิมจะศรัทธาในพระเจ้าเพียงองค์เดียว เท่านั้น คือ พระองค์อัลลอฮ์ ความศรัทธาอื่น ๆ รวมถึง การปฏิบัติตามศาสนพิธีของศาสนาอ่ืน ถือเป็นเร่ืองไม่ สามารถกระท�ำได้อย่างเด็ดขาด บางคร้ังจึงเห็นได้ว่า คนมสุ ลมิ (นาย)ู จะปฏเิ สธการเขา้ รว่ มงานหรอื กจิ กรรมหรอื พธิ กี รรมทางศาสนา เช่น งานไหว้ครู วันสงกรานต์ ซึ่งเป็น ขอ้ จ�ำกดั ทางศาสนาอิสลาม 28 ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
19. ความสำ� คญั ของมสั ยดิ ตอ่ คนมสุ ลมิ มัสยิด คือ ศาสนสถานที่ชาวมุสลิมใช้ในการสักการะ พระเจา้ หรอื พระองคอ์ ลั ลอฮ์ ผา่ นการละหมาดวนั ละ 5 เวลา ตามหลกั ความเชอ่ื ของคนมสุ ลมิ มสั ยดิ คอื บา้ นของพระเจา้ ดังน้ัน มัสยิดจึงเป็นสถานท่ีประกอบพิธีส�ำคัญทางศาสนา เช่น การจัดพิธีศพ พิธีแต่งงาน รวมถึงเป็นสถานที่ ท่ีทางราชการในพ้ืนที่มักใช้เป็นสถานที่ส�ำหรับกระจาย ขา่ วสารทางราชการผา่ นผนู้ ำ� ศาสนาของมสั ยดิ นน้ั ๆ อกี ดว้ ย ชวนรู้เพือ่ สนั ติสุขชายแดนใต้ 29
20. น้ำ� ละหมาด คืออะไร? การช�ำระหรือท�ำความสะอาดร่างกายบางส่วน ได้แก่ ใบหน้า มือ แขน ศรี ษะ ใบหู และเทา้ ให้สะอาดและบรสิ ุทธิ์ ตามบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม โดยต้องตั้งเจตนาว่า เปน็ การอาบนำ�้ ละหมาดเพอ่ื พระเจา้ หรอื เพอ่ื พระองคอ์ ลั ลอฮ์ หากไมม่ กี ารตงั้ เจตนาดงั กลา่ วแลว้ ยอ่ มถอื วา่ เปน็ การอาบนำ้� หรือช�ำระรา่ งกายธรรมดา ไม่ใชก่ ารอาบน้ำ� ละหมาด ดังนน้ั ผทู้ ่จี ะอาบน้�ำละหมาดหรอื มนี �ำ้ ละหมาดไดย้ อ่ ม ต้องเป็นมสุ ลมิ เทา่ นั้น 30 ชวนรู้เพอื่ สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
21.การจบั มอื ทกั ทายเปน็ หลกั วฒั นธรรม ศาสนาอสิ ลาม การกลา่ วทกั ทายในวฒั นธรรมของศาสนาอสิ ลามหรอื ที่ เรยี กกนั วา่ “สลาม” (อา่ นวา่ สะ – ลาม) มหี ลกั การปฏบิ ตั ิ คอื กรณที ท่ี า่ นเปน็ ผนู้ อ้ ยใหย้ น่ื มอื ทงั้ สองขา้ งไปจบั กบั มอื ของอกี ฝ่าย แลว้ กลา่ ววา่ “อสั ลามอุ าลยั กมุ ” (อา่ นวา่ อัส – สะ – ลา – มุ – อา – ลยั – กมุ ) ซง่ึ มีความหมายวา่ เปน็ การทักทาย หากอีกฝ่ายเป็นผู้น้อยกว่าหรือรุ่นราวคราวเดียวกัน ก็ให้ ท่านย่ืนมือขวาไปจับอย่างเดียวก็ถือว่าเพียงพอแล้ววิธีการ ทักทายด้วยการจับมือในลักษณะน้ีใช้ส�ำหรับบุคคลท่ีเป็น เพศเดียวกันเท่าน้ัน หากต่างเพศให้ทักทายด้วยการกล่าว “อัสลามอุ าลยั กุม” เท่าน้นั ไม่สามารถจบั มือได้ ชวนรู้เพื่อสนั ติสุขชายแดนใต้ 31
22. พิธีมาโซ๊ะยาวี และ มาโซ๊ะนายู เป็นพธิ กี รรมทส่ี �ำคัญของคนมสุ ลมิ (นายู) ในพื้นท่ี โดย การเข้าสุนัต หรือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในภาษานายูจะเรยี กวา่ พิธีมาโซ๊ะยาวี (มา – โซ๊ะ – ยา – วี) ในขณะที่ การเข้ามาเป็นมุสลิม คือ พิธีกรรมการเข้าสู่ การเปน็ คนนายูหรอื เปลย่ี นศาสนามาเปน็ อสิ ลามของศาสนกิ ชน อนื่ ๆ ในพ้ืนท่ี รวมไปถึงเขย หรือสะใภท้ นี่ ับถอื ต่างศาสนา แลว้ ตอ้ งเปลยี่ นมานบั ถอื อสิ ลามตามธรรมเนยี ม ในพธิ กี รรม น้ี ภาษานายเู รยี กวา่ พธิ มี าโซะ๊ นายู (อา่ นวา่ มา – โซะ๊ – นา – ย)ู ทั้งนี้ก่อนจะเข้า พิธีมาโซ๊ะนายู ได้ จ�ำต้องผ่าน พิธีมาโซ๊ะยาวี หรอื การตัดหนงั ห้มุ ปลายอวยั วะเพศ (การเข้า สุนตั ) เสยี ก่อน โดยเฉพาะผชู้ าย 32 ชวนรู้เพ่อื สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
23. วนั รายอ รายา รายอแน คืออะไร ส�ำหรับมุสลิม (นายู) ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะมี วนั ส�ำคญั ทางศาสนาอสิ ลาม โดยมี 2 วันส�ำคญั ไดแ้ ก่ อีดลิ ฟิตรี และอดี ลิ อัฏฮา โดยอดี ิลฟติ รี (อา่ นวา่ อี – ดิน - ฟ้ดิ – ตรี) หรอื ในภาษานายเู รยี ก “รายอปอซอ” คอื เทศกาลเฉลมิ ฉลองหลงั จาก การถอื ศลี อด หรือในภาษานายูเรยี ก ปอซอ ไดส้ ิน้ สดุ ลง ในขณะ ทอี่ ีดลิ อฏั ฮา (อ่านวา่ อี – ดิน - อั๊ด – ฮา) หรือในภาษานายเู รียก “รายอฮัจญี” (รา – ยอ – ฮ้ดั – ยี) คือ เทศกาลเฉลิมฉลองในชว่ ง พิธีฮัจญ์ เป็นหนึ่งในศาสนพิธีท่ีส�ำคัญของอิสลามท่ีผู้คนต้องมุ่ง หน้าไปแสวงบุญยังนครมักกะฮ์หรือเมกกะ สว่ นคนอ่นื ทไี่ มไ่ ดไ้ ป ร่วมแสวงบุญที่นครมักกะฮ์หรือเมกกะก็ให้มีการเฉลิมฉลองใน วันดังกล่าวในพ้ืนท่ีของตนแทน ทั้งนี้ ค�ำว่า รายอและรายา ต่างมคี วามหมายเดยี วกนั แตร่ ายอเปน็ คำ� ในภาษานายู ในขณะที่ รายาเป็นส�ำเนียงของคนมุสลิมพูดภาษาไทยถ่ินใต้ ท้ังน้ี ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีกลุ่มท่ีใช้ค�ำว่ารายาอยู่ไม่กี่กลุ่ม เช่น ผู้พูดภาษาพิเทน และส�ำเนียงโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ส่วน รายอแน (อา่ นวา่ รา – ยอ – แน) เปน็ วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ทไ่ี มป่ รากฏ ในหลักศาสนาอิสลาม เป็นการถือศีลอดเพ่ิมเติมจากการถือศีล อดตามปฏิทินอิสลามต่ออีก 6 วัน หลังจาก “รายอปอซอ” หรือ “วนั อดี ลิ ฟติ ร”ี ในบางพนื้ ทกี่ ม็ กี ารเฉลมิ ฉลองและมกี ารรวม ตวั กนั ของญาติพี่น้องหลังจากเสร็จส้ินการถือศีลอดในวันท่ี 6 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 33
จึงเป็นที่มาของค�ำว่า รายอแน โดยค�ำว่า “แน” มาจากค�ำว่า “เออะแน” ในภาษานายู ทีก่ ร่อนมาจากค�ำว่า “เอินนัม” ในภาษา มลายสู ำ� เนยี งมาตรฐาน ทแ่ี ปลวา่ “เลขหก” ทง้ั นี้ รายอแน จงึ เปน็ เพยี งแคว่ ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ เทา่ นน้ั ไมใ่ ชว่ นั สำ� คญั ทางศาสนาตาม หลักศาสนาอสิ ลามแตอ่ ย่างใด 34 ชวนรู้เพือ่ สนั ตสิ ุขชายแดนใต้
24. หมบู่ ้าน หรอื กาปง โดยทวั่ ไปคนมสุ ลมิ (นาย)ู มกั จะเรยี กชมุ ชนหรอื หมบู่ า้ น ในพน้ื ทห่ี า่ งไกลทงั้ ระยะทางหรอื ความเจรญิ วา่ “กาปง” (อา่ นวา่ กา – ปง) ซง่ึ กร่อนมาจากคำ� ว่า “ก�ำปง” (อ่านวา่ กำ� – ปง) ในภาษามลายูส�ำเนียงมาตรฐาน และค�ำนี้เป็นค�ำทมี่ กั ถกู ใช้ นยิ ามอะไรกต็ ามทม่ี ลี กั ษณะไมท่ างการหรอื “บา้ น ๆ” อีกดว้ ย เชน่ คนกาปง (คนบ้าน ๆ) บะหมีก่ าปง (บะหม่ีท่ีปรงุ แบบ ชาวบ้าน) แต่ทั้งนี้ก็ย่อมขึ้นกับสถานการณ์ด้วย หากใช้ใน สถานการณ์ไมถ่ ูกตอ้ งอาจมคี วามหมายในแงล่ บได้ ชวนรู้เพ่ือสนั ติสุขชายแดนใต้ 35
25. ประชาชนนิยมเรียกอ�ำเภอเมือง ยะลาว่า “นิบง” คนมสุ ลมิ (นายู) นิยมใช้คำ� วา่ “นบิ ง” (อา่ นว่า นิ – บง) ซง่ึ หมายถงึ “พน้ื ทอ่ี ำ� เภอเมอื งยะลา” และยงั ใชจ้ นถงึ ปจั จบุ นั เนอ่ื งจากนบิ งเปน็ ชอ่ื เกา่ ของเมอื งยะลา ทำ� ใหห้ ากจะเดนิ ทาง จากปัตตานีเข้าสู่อ�ำเภอเมืองยะลา ก็จะบอกว่า “ไปนิบง” ซ่ึงประชาชนคนไทยพุทธและคนใต้เช้ือสายจีนก็ใช้ค�ำนี้ด้วย เชน่ กนั ทงั้ นี้ นบิ ง เปน็ ภาษามลายู แปลวา่ “ตน้ หลาวชะโอน” 36 ชวนรู้เพ่อื สันติสุขชายแดนใต้
26. ประชาชนนยิ มเรยี กตัวเมอื งอำ� เภอ ระแงะว่า “ตันหยงมัส” ยังมีอีกค�ำหน่ึงท่ีคนในท้องถิ่นท้ังคนมุสลิม (นายู) คนไทยพทุ ธ และคนไทยเชอ้ื สายจนี มกั จะเรยี กพนื้ ทตี่ วั เมอื ง อำ� เภอแระแงะ จงั หวดั นราธวิ าสวา่ “ตนั หยงมสั ” (อา่ นวา่ ตนั – หยง–มดั )อยเู่ สมอโดยคำ� นเ้ี ปน็ ภาษามลายูแปลวา่ “แหลมทอง” หากจะน่ังรถโดยสารสองแถวจากตัวเมืองนราธิวาส หรือ นง่ั รถไฟไปในพน้ื ทตี่ วั เมอื งของอำ� เภอระแงะ จะตอ้ งมองหาปา้ ย หรือค�ำระบุไวบ้ นขา้ งรถประจำ� ทาง หรอื บอกกลา่ วแกค่ นขบั รถว่า “ไปตนั หยงมัส” ชวนรู้เพ่ือสนั ติสขุ ชายแดนใต้ 37
27. เมอ่ื มเี หตกุ ารณค์ วามไมส่ งบเกดิ ขนึ้ ประชาชนในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งคน มสุ ลมิ (นาย)ู คนไทยพทุ ธ และคนไทยเชอื้ สายจนี จะเรยี ก เหตุการณ์ความไม่สงบท่ีไม่เจาะจงว่าเป็นการยิงหรือ การระเบิดอย่างส้ัน ๆ ว่า “เหตุการณ์ฯ” หากท่านต้องการ ถามว่า “วันน้ีมีเหตุการณ์ไม่สงบเกดิ ขน้ึ หรอื ไม?่ ” คนทน่ี มี่ กั พดู กนั สน้ั ๆ วา่ “วนั นมี้ เี หตกุ ารณฯ์ หรือไม่?” หรอื สามารถ ใช้คำ� วา่ “เหตุการณ์ฯ” ในประโยคทวั่ ไปได้เลย เชน่ “ชว่ งน้ี เหตกุ ารณฯ์ ดสู งบลง” 38 ชวนรู้เพ่อื สันติสขุ ชายแดนใต้
28. ประชาชนสว่ นหน่ึงรสู้ กึ ไมส่ บายใจ เม่ือมีเจ้าหน้าท่ีทหารหรือต�ำรวจคอย ดแู ลความปลอดภัย เนื่องจากพวกเขาเชื่อว่าเม่ือมีทหาร ต�ำรวจ หรือ เจา้ หนา้ ทค่ี วามมน่ั คงในเครอื่ งแบบคอยดแู ลความปลอดภยั ก็อาจท�ำให้พวกเขาตกเป็นเป้าของผู้ก่อเหตุความไม่สงบ (ญแู ว) ไปด้วย ในกรณนี ี้ไมใ่ ชว่ า่ จะมีแต่ประชาชนที่เป็นคน มสุ ลิม (นายู) เท่านั้นทร่ี สู้ ึกอึดอดั ใจ แต่คนไทยพทุ ธ รวมถึง คนไทยเชื้อสายจนี สว่ นหน่งึ กร็ สู้ ึกไม่สบายใจไปดว้ ย ดงั น้นั เมอื่ ตอ้ งอยู่ในระยะใกลช้ ิดกบั ประชาชน ทา่ นจึง ควรถามความสมคั รใจจากประชาชนเสยี กอ่ นวา่ ประสงคใ์ ห้ มีการดูแลความปลอดภยั หรือไม่ ชวนรู้เพอ่ื สันติสุขชายแดนใต้ 39
29. ประชาชนบางส่วนต้องอาศัยอยู่ ภายใต้แรงกดดันจากท้ังฝ่ายรัฐและ ผู้ก่อเหตุความไมส่ งบ (ญแู ว) เนื่องจากชาวบ้านท่ัวไปโดยเฉพาะคนมุสลิม (นายู) มักไม่ทราบเลยว่าผู้ใดในชุมชนหรือใครบ้างท่ีเขารู้จักเป็น แนวร่วมหรือผู้ก่อเหตุความไม่สงบ (ญูแว) ท�ำให้ชาวบ้าน ส่วนหนึ่งเลือกท่ีจะไม่แสดงออกถึงการให้ความร่วมมือหรือ สนบั สนุนภาครัฐมากนกั เพราะกลัววา่ จะตกเปน็ เปา้ หมาย ของผูก้ ่อเหตฯุ ดงั นน้ั หากทา่ นเขา้ ใจสภาพความเปน็ จรงิ ทว่ี า่ ประชาชน ในบางพื้นที่ของจังหวัดชายแดนภาคใต้อาจไม่ได้มีตัวเลือก มากนกั และถูกกดดนั จากค่ขู ัดแย้งท้ัง 2 ฝา่ ย โดยไม่มสี ิทธิ ทจ่ี ะโตแ้ ยง้ อะไรได้ การบงั คบั หรอื การพยายามทำ� ใหพ้ วกเขา เลอื กวา่ อยขู่ า้ งรฐั ไทยมากจนเกินไป อาจเปน็ การทำ� ใหช้ ีวิต ของประชาชนเหลา่ นต้ี กอยใู่ นอนั ตราย จนไมเ่ กดิ ความรว่ มมอื จรงิ ๆ หรอื มคี วามรสู้ กึ ตอ่ รฐั ไทยในแงล่ บมากกวา่ เดมิ ได้ 40 ชวนรู้เพ่ือสนั ตสิ ุขชายแดนใต้
ส่งิ ท่คี วรทำ� ชวนรู้เพ่ือสันติสุขชายแดนใต้ 41
1. ยงิ่ สุภาพ ชาวบ้านก็จะย่ิงไวใ้ จ ความรู้สึกของคนมุสลิม (นายู) ทั่วไปต่อข้าราชการ คนไทยนนั้ คอ่ นขา้ งมอี คติ เนอ่ื งจากเงอื่ นไขทาง ประวตั ศิ าสตร์ ทผ่ี า่ นมา คนมุสลิม (นาย)ู บางคนเชอ่ื วา่ รฐั ไทยได้ยึดครอง และปกครองดินแดนรัฐปัตตานีท่ีเคยเป็นเอกราช ดังนั้น การปฏบิ ตั ติ นใหต้ รงขา้ มกบั การใชอ้ ำ� นาจในการปกครอง จึงเป็นส่ิงท่ีพึงกระท�ำ โดยต้องให้เกียรติชาวบ้านในฐานะ พลเมืองของประเทศ และไม่ควรมองว่าพวกเขาคือผู้อยู่ ใต้การปกครอง 42 ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้
2. พูดกับชาวบ้านให้ช้าลงและชัดถ้อย ชดั คำ� ควรพดู กบั ชาวมุสลิม (นาย)ู โดยเฉพาะท่ีเปน็ ชาวบา้ น อยา่ งชา้ ๆ และชดั ถอ้ ยชดั คำ� ทส่ี ดุ เพราะสว่ นมากประชาชน ในพ้ืนที่มักใช้แต่ภาษานายูในชีวิตประจ�ำวันอย่างเดียว ชาวบา้ นบางคนไมค่ ุ้นชินหรอื แทบจะไม่พูดภาษาไทยเลย ดงั นน้ั การใชภ้ าษาไทยแบบทเี่ ปน็ ทางการและยากเกนิ ไป อาจท�ำให้ส่ือสารความเข้าใจกันไม่ได้ หรือเกิดความเข้าใจ คลาดเคล่ือน ชวนรู้เพ่ือสันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 43
3. ฝกึ พดู ภาษานายู และผสมคำ� นายูใน ประโยคภาษาไทย ควรใชค้ ำ� ศพั ทน์ ายผู สมในบทสนทนาภาษาไทยบา้ งเมอื่ มีโอกาส เพ่อื ทำ� ใหค้ นมุสลิม (นายู) ร้สู ึกว่าเป็นการพยายาม เปดิ ใจและเรียนร้อู ตั ลกั ษณ์ตัวตนความเปน็ นายูของพวกเขา ซงึ่ จะทำ� ใหก้ ารพดู คยุ สนทนาเปน็ กนั เองมากขน้ึ ลดความตงึ เครยี ด แล้วยังเป็นการฝึกฝนการ “พูดนายู” หรือในภาษานายู เรียกว่า แกแจะนายู ไปในตัวด้วย (โปรดดตู ารางคำ� ศัพท์ พื้นฐานใน “ส่ิงท่ีควรร”ู้ ขอ้ ที่ ๙: ร้คู ำ� ศพั ท์ “นาย”ู พ้ืนฐาน เป็นเร่อื งจ�ำเป็น 44 ชวนรู้เพอ่ื สนั ตสิ ขุ ชายแดนใต้
4. คำ� ศพั ทเ์ กยี่ วกบั สรรพนามภาษานายู ทคี่ วรใช้ เพื่อสรา้ งบรรยากาศความเปน็ กนั เอง จากข้อ 3. เพ่ือเป็นการลดบรรยากาศความตึงเครียด แนะน�ำให้ใช้ค�ำสรรพนามบุคคลต่าง ๆ ขณะสื่อสารก่อน อีกท้ังการสร้างบรรยากาศท่ีเป็นกันเอง ท�ำให้ชาวมุสลิม (นายู) รู้สกึ ใกลช้ ิดและสนทิ กบั ท่านมากข้ึน เชน่ คำ� วา่ โต๊ะ แปลวา่ ทวด ผสู้ งู วยั ผอู้ าวโุ ส หรอื สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ เปน็ คำ� สำ� หรบั เรยี กผสู้ นทนาทเี่ ปน็ คนนายสู งู วยั อาเยาะ (อา่ นวา่ อา – เยา้ ะ) หรือ เป๊าะ แปลว่า พ่อ เป็นค�ำส�ำหรับเรียกผู้สนทนาที่เป็น คนนายทู มี่ อี ายรุ นุ่ เดยี วกบั พอ่ ของทา่ น เมาะ (อา่ นวา่ เมา้ ะ) แปลวา่ แม่ เปน็ คำ� สำ� หรบั เรยี กผสู้ นทนาทเ่ี ปน็ คนนายทู ม่ี อี ายุ รนุ่ เดยี วกบั แมข่ องทา่ น แบ แปลวา่ พชี่ าย เปน็ คำ� สำ� หรบั เรยี ก ผสู้ นทนาทเ่ี ปน็ ชายชาวนายทู ม่ี อี ายมุ ากกวา่ ทา่ น กะ๊ แปลวา่ พ่ีสาว เป็นค�ำส�ำหรับเรียกผู้สนทนาที่เป็นหญิงคนนายูท่ีมี อายมุ ากกว่าท่าน และ เด๊ะ แปลวา่ น้อง เปน็ ค�ำส�ำหรบั เรียก ผสู้ นทนาทเ่ี ป็นคนนายทู ม่ี ีอายอุ อ่ นกว่าท่าน ชวนรู้เพื่อสันตสิ ขุ ชายแดนใต้ 45
5. หากประชาชนไม่เข้าใจภาษาไทย ใหใ้ ช้ “ล่าม” เสมอ ประชาชนทเ่ี ปน็ คนมสุ ลมิ (นาย)ู บางสว่ นไมส่ ามารถพดู หรอื เขา้ ใจภาษาไทยไดค้ ล่อง เชน่ ผสู้ งู อายุ หรอื ผู้นำ� ศาสนา บางทา่ นทเี่ รยี นศาสนาจากตา่ งประเทศ หากทา่ นจำ� เปน็ ตอ้ ง เข้าไปในพ้ืนท่ีชุมชนหรือพูดคุยกับพวกเขา ท่านควรมีผู้ที่ ทำ� หนา้ ทค่ี อยพดู และแปลความ เพอ่ื ทำ� ใหบ้ รรยากาศผอ่ นคลาย และเกิดความเขา้ ใจตรงกนั 46 ชวนรู้เพ่อื สนั ติสุขชายแดนใต้
6. หากตอ้ งเขา้ ไปในพน้ื ทหี่ า่ งไกล ควรมี ผูร้ ภู้ าษานายูตดิ ตามไปดว้ ยทกุ ครง้ั หากต้องลงพ้ืนท่ีในชุมชนหรือพื้นท่ีใด ๆ ท่ีห่างไกล (กาปง) ท่านจ�ำเป็นต้องมีผู้ท�ำหน้าท่ีคอยพูดและแปลความ ติดตามไปดว้ ยเสมอ เพ่อื ง่ายต่อการสอ่ื สารกบั คนในพ้ืนที่ ทสี่ ่วนใหญ่ไม่สันทัดต่อการพูดภาษาไทย อีกทั้งบางพ้ืนท่ี ชาวบา้ นมกั มปี ฏกิ ริ ยิ าไมไ่ วว้ างใจบคุ คลภายนอก การมลี า่ ม ภาษานายเู พื่อชี้แจงขอ้ เทจ็ จริงต่าง ๆ ใหป้ ระชาชนในกาปง เข้าใจตั้งแต่แรก จึงเปน็ สิง่ ที่พงึ กระทำ� เปน็ อย่างย่ิง ชวนรู้เพอ่ื สันตสิ ุขชายแดนใต้ 47
7. ควรทำ� ความรจู้ กั กบั กำ� นนั (โตะ๊ มอื แน) และ ผู้ใหญ่บ้าน (โต๊ะแนแบ) ควรทำ� ความรจู้ กั กบั ผนู้ ำ� ชมุ ชนในทอ้ งทห่ี รอื ชมุ ชน เชน่ ก�ำนัน (โต๊ะมือแน) และผู้ใหญ่บ้าน (โต๊ะแนแบ) เสียก่อน ซ่ึงพวกเขาจะอ�ำนวยความสะดวกแก่ทางราชการ เช่น การสอ่ื สารกบั คนในพนื้ ท่ี การชว่ ยเหลอื และนำ� ขอ้ ปฏบิ ตั ิ หรอื ขอ้ มลู จากทางการมากระจายสชู่ มุ ชน เพราะเปน็ ตวั แทนของ ชาวบ้านที่คนในชุมชนไว้วางใจอย่างมาก อีกท้ังยังคอยเป็น ลา่ มในการพดู คยุ กบั ประชาชนทไ่ี มค่ อ่ ยสนั ทดั ภาษาไทยหรอื เขินอายทจ่ี ะพูดไทยอกี ด้วย 48 ชวนรู้เพ่ือสันติสุขชายแดนใต้
8. หากตอ้ งการปดิ ปา้ ยทเ่ี ปน็ ภาษามลายู (นาย)ู ควรปรึกษาผ้รู ภู้ าษามลายู (นายู) เนอ่ื งจากปา้ ยสาธารณะจำ� นวนมากในพน้ื ทสี่ ามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ มักเขียนป้ายเป็นภาษามลายู (นาย)ู แตใ่ ช้ พยญั ชนะไทย ซง่ึ โดยมากไมต่ รงตามสำ� เนยี งคนมสุ ลมิ (นาย)ู ทัว่ ไป และเม่ือขึ้นปา้ ยประกาศแล้ว มกั ปรากฏวา่ ประชาชน บางสว่ นแสดงออกถงึ ความไมพ่ อใจ เพราะอกั ษรไทยบางครง้ั ให้เสียงและความหมายที่ผิดเพ้ียนไปจากเดิม จนกระท่ัง บางคนถึงกับรู้สึกว่ารัฐบาลไทยก�ำลังครอบง�ำความเป็น มลายู (นายู) ดังน้ัน การจะเขียนป้ายหรือปิดป้ายใด ๆ ท่านควร ปรึกษาผทู้ ่ีมีความรเู้ กี่ยวกบั ภาษามลายู (นายู) เสยี กอ่ น ชวนรู้เพื่อสนั ตสิ ุขชายแดนใต้ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150