1 แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี ๒๕๖๓ -๒๕๖๗ ฉบบั ปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวดั ชยั นาท เอกสารทางวิชาการ ท่ี ๒/๒๕๖๔
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ข แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ เอกสารทางวชิ าการ ท่ี ๒/๒๕๖๔ พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๒/๒๕๖๔ จานวนทพ่ี มิ พ์ ๑๕ เล่ม จดั ทาตน้ ฉบบั และเผยแพร่ / พมิ พท์ ่ี : งานแผนงานและโครงการ กลมุ่ อานวยการ กศน.อาเภอสรรพยา สานกั งาน กศน.จงั หวัดชยั นาท หนา้ ข @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ค การพจิ ารณาใหค้ วามคดิ เหน็ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาหรอื ผแู้ ทน ในคราวการประชมุ ครงั้ ที่ ๑/25๖๔ เมอื่ วนั ศกุ รท์ ี่ ๔ ธนั วาคม 25๖๓ ณ หอ้ งประชมุ สอนเสริมโอกาสฅนนอกระบบ อาคารอานวยการ กศน.อาเภอสรรพยา ขอ้ พจิ ารณาวา่ จะพิจารณาให้ความเหน็ ชอบหรืออนุมตั ิ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ฉบับท่ี ๖ ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๗ (ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔) ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสรรพยา หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด อนุมตั ิ / เหน็ ชอบ ไม่อนมุ ตั ิ / ไม่เห็นชอบ เหตผุ ล ลงชอ่ื ...................................................... ( พระสุธีวราภรณ์ ) เจ้าคณะจังหวดั ชัยนาท ประธานที่ปรกึ ษาคณะกรรมการสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา /ผ้ทู รงคุณวฒุ ดิ า้ นศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ลงชื่อ...................................................... ลงชือ่ ...................................................... ( นายอยุธยา วาริชา ) ( นายนิคม ชเู มือง ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา รองประธาน ที่ ๑ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ / ผ้ทู รงคุณวฒุ ดิ ้านพฒั นาสังคม ชุมชนและสงิ่ แวดลอ้ ม / ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นการเมือง การปกครอง ลงชอื่ ...................................................... ลงชอื่ ...................................................... ( นางอาพนั ธุ์ คาทวี ) ( พ.ต.ท.มนญู มว่ งไทยงาม ) รองประธาน ท่ี ๒ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านความม่ันคง / ผ้ทู รงคุณวุฒิด้านการศึกษา ลงชือ่ ...................................................... ลงช่ือ...................................................... ( นายมนตรี พงษ์หริ ญั ) ( นางสาวบษุ ยา ดาคา ) กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒดิ ้านวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสารสนเทศ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นสาธารณสุข ลงช่อื ...................................................... ลงช่อื ............................................... ( นางสมพร ไทยเขียว ) ( นายพรหมมินทร์ พานชิ ) กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิด้านภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ หนา้ ค @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ |กง คานา โดยท่เี ป็นการสมควรปรบั ปรงุ พัฒนาการจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ฉบับท่ี ๖ ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ของ กศน.อาเภอสรรพยา ให้เป็นปัจจุบันสอดคล้องกับบทบาทภารกิจ จุดเน้นและนโยบายท่ี เปลี่ยนแปลงแต่ละปีมากย่ิงขึ้น คณะกรรมการสถานศึกษาได้มีมติเห็นชอบและอนุมัติหลักการในคราวการประชุม คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๔ เมื่อวันศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ กาหนดให้สถานศึกษาดาเนินการปรับปรุงพัฒนาแผนพัฒนา คุณภาพดังกล่าว ให้สอดคล้องกับจุดเน้นและนโยบาย ๑๒ ภารกิจเร่งด่วน ปี ๒๕๖๔ ของเลขาธิการ กศน. ท้ังน้ี วัตถุประสงค์เพอ่ื ใช้เป็นกรอบทิศทางหรือแนวทางในการบรหิ ารจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอ สรรพยา ใช้ประกอบการพิจารณาดาเนินงานให้สนองนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชัยนาท ให้เกิดการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเตรียมพร้อมนาไปสู่การพัฒนา คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทีเ่ ปน็ ปจั จุบันยิ่งข้นึ หวงั เปน็ อย่างยิง่ วา่ เอกสาร แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๗ (ฉบับปรบั ปรุง พัฒนา ปี ๒๕๖๔) ของ กศน.อาเภอสรรพยา จะเป็นเครื่องมืออันสาคญั นาไปใช้เป็นกรอบ แนวทางในการ พฒั นาการศกึ ษาในหว้ งเวลาทเี่ ป็นปจั จบุ นั ดงั กล่าวในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาการจัดการศกึ ษาของ สถานศกึ ษาให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย และนโยบายของสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัด ชยั นาทต่อไป ในการดาเนนิ การปรับปรุงพัฒนาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ฉบับน้ี ได้รบั ความร่วมมอื เป็นอยา่ งดยี ่ิง จากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ภาคีเครอื ข่าย และเจ้าหนา้ ที่บุคลากร ในสถานศึกษาทกุ ท่านที่ไดร้ ว่ มกันให้ขอ้ มลู วิพากย์ วิเคราะห์ กาหนดใหเ้ ขา้ กับบรบิ ทของสถานศึกษาและ ชุมชนทอ้ งถน่ิ สามารถร่วมจดั ทาจนสาเร็จลุลว่ งสมประสงค์ ในนามสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ผมขอขอบคุณผู้เกย่ี วข้องทุกทา่ นทใ่ี หค้ วามร่วมมือไว้ ณ โอกาสนี้ พรหมมนิ ทร์ พานิช ( นายพรหมมินทร์ พานิช ) ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสรรพยา วันพุธท่ี ๖ มกราคม 25๖๔ หนา้ ง @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | จ ข ครคู อื ใคร ครู คอื ใคร ใครคอื ครู ใครรูบ้ า้ ง คือผ้สู รา้ งศิษยาให้กล้าหาญ คอื ผบู้ ม่ ดวงวญิ ญาณว์ ิชชาการ คือผดู้ าลดลสขุ ผ้ปู ลกุ ใจ คือพระพรหมผ้รู ังสรรคบ์ นั ดาลโลก ผนู้ าโชคนาทางสวา่ งไสว ผยู้ กระดบั มนษุ ยว์ ุฒไิ กร ผจู้ ดุ ไฟแห่งปญั ญาแดน่ าคร คอื ผเู้ ปน็ ม่งิ มติ รที่ศิษย์รัก ผู้เป็นหลักปวงประชากลา้ สั่งสอน ผเู้ ป็นพระอรหนั ตห์ มนั่ อาทร ผู้ทกุ ขร์ ้อนหว่ งใยไมส่ รา่ งชา คือผทู้ รงเกียรตขิ องครูกูรแู กว้ ผู้เพรศิ แพรวภูมิธรรมล่าศกึ ษา ผู้รับใช้มวลมนษุ ยว์ ิสทุ ธา ผู้เป็นปาจารย์เอกดเิ รกคุณ ครู คือ ใคร ใครคือครู ใครรู้บ้าง ใครครูสรา้ งจนเดน่ ดีมีสขุ สนุ ทร์ อยา่ ลมื ครูลมื ใครผใู้ จบุญ อยา่ ลมื ทนุ แหง่ ชีวติ ท่ีติดครู ! ว.วชิรเมธี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ หนา้ จ @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ฉ ค คตชิ วี ติ ๑๐ ดี แดเ่ พอื่ นรว่ มวชิ าชพี ครู.....จากอดตี ผแู้ ทนครใู น ก.ค.ศ ชดุ แรก ( เกิดดี โตดี เรยี นดี ประพฤติดี ทางานดี แต่งงานดี ลูกดี สรา้ งฐานะดี ดารงอาชพี ดี ตายดี ) คนใดดตี ลอดชาตวิ าสนา อยทู่ ี่วา่ สบิ ดีขอช้ไี ข คอื เกิดดีมีค่ามาก่อนใด เป็นยาใจสดุ ที่รกั พ่อแมต่ น เกดิ มาพรอ้ มนีด้ ีเลิศประเสริฐสดุ สว่ นโตดีมอี ีกจดุ ต้องฝึกฝน ไม่เจ็บป่วยแอดออดมอดมว้ ยชนม์ จงึ เปน็ คนมีบุญการุณธรรม ไดเ้ รยี นดกี ็ยิ่งดสี มประสงค์ เพราะความรชู้ บู รรจงไมถ่ ลา หากเรียนเลวคนก็เลวเหลวระยา พาลกลับซ้าทุกขย์ ากลาบากกาย ประพฤตดิ ีมเี สน่หห์ ันเหจิต ใหค้ นอ่ืนเขาคดิ ชอบรกั ใคร่ ทางานดีมศี รีศักด์ิจักก้าวไกล เก็บออมไว้จากน้าพักน้าแรงเรา แต่งงานดีเรอ่ื งสาคญั อีกแงห่ น่งึ ทน่ี า่ ทึ่งอยา่ ประมาทอาจจะเขลา ผวั ชว่ ยเมยี เมยี ช่วยผวั ตัวกเ็ บา เกดิ ลกู เต้ามีลกู ดีราศีงาม ลกู ท่ีชว่ั ยงิ่ กวา่ หนามตากลางอก สุดจะยกสุดจะแยกแหวกใจหวาม จงเลยี้ งดใู ห้เขาดีหนีสิ่งทราม คอยตดิ ตามอบรมบม่ ให้เจรญิ สรา้ งฐานะดีน้นั ไซร้ตอ้ งใดหลัก อย่าริรกั อบายมุขสุขผิวเผิน จะยากจนป่นปี้มีภัยเผชิญ ขอชวนเดนิ ดารงอาชพี ดีมีศลี ธรรม ใจสตั ยซ์ ่ือตัญญูรู้ผิดชอบ ตามระบอบกฎหมายไมผ่ ลีผลา ไม่ลืมตนหลงผดิ คิดกอ่ กรรม ใหช้ อกซา้ ดวงกมลคนท้งั ปวง ดสี ดุ คอื ตายดีน่ีเองท่าน ตายแลว้ หลานลูกเมยี ผวั ไมม่ วั ห่วง ไมท่ งิ้ หนีใ้ ห้คนขา้ งหลังตอ้ งคง่ั ทรวง ชนชนั้ สรวงย่งิ นบั ถือระบือขจร รวมสิบดที ผ่ี มกลา่ วไม่ยากนัก คงประจกั ษใ์ จแจ้งใชแ่ กลง้ สอน เพยี งฝากคาพรรณนามาเปน็ กลอน ดุจเพ่ือนนอนเพอ่ื นใจมติ รเพือ่ คิดดี จกั ราวุธ คาทวี…ครูเช่ียวชาญ กศน.อาเภอสรรพยา ผแู้ ทนขา้ ราชการครใู น ก.ค.ศ. ปี ๒๕๔๙-๒๕๕๒ ( เรยี บเรียงถ่ายทอดไว้ในคู่มอื การจัดระบบบรหิ ารปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา เม่อื ธนั วาคม ๒๕๕๖ ) หนา้ ฉ @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ช ง สารบญั หนา้ ใบอนมุ ตั ใิ หค้ วามเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา คานา ก ครูคอื ใคร ข คตชิ วี ติ ๑๐ ดี แดเ่ พอื่ นรว่ มวชิ าชพี คร…ู ..จากอดตี ผู้แทนครูใน ก.ค.ศ.ชุดแรก ค สารบญั ง สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา ๑-๑๘ - สภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา ชื่อ ทอี่ ยู่ สังกัด ๑ - ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศึกษา อาณาเขตทตี่ ั้งสถานศึกษา สภาพของชุมชน ๑ ประชากร การปกครอง การเมอื ง สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพสังคมและเศรษฐกิจ การศกึ ษาและศาสนา - ทาเนยี บผ้บู รหิ าร ๕ - โครงสร้างการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ๖ - โครงสรา้ ง/แผนผงั การดาเนินงาน กศน.ตาบล อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท ๗ - ขอ้ มลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา สัญลกั ษณ์ ตราสปี ระจาสถานศึกษาและชื่อย่อ ๘ ปรัชญา อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ วิสยั ทัศน์ พันธกจิ สัญลักษณ์ สีประจาสถานศึกษา ค่านิยมองค์การ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวดั เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ กลยทุ ธ์ - อานาจหน้าท่ีของกศน.อาเภอสรรพยา / อานาจหนา้ ทข่ี อง คณะกรรมการ ๑๓ สถานศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา - ขอ้ มลู บคุ ลากร จานวนบุคลากร (ปีปจั จุบนั ) ๑๔ - แหล่งเรยี นรูแ้ ละภาคเี ครือข่าย /ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ๑๕ สว่ นท่ี ๒ ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ๑๙-๕๘ เหลียวหลัง แลหน้า กศน.อาเภอสรรพยา ๑๙ วิเคราะห์ความสอดคลอ้ งนโยบาย จดุ เนน้ และทศิ ทางการพฒั นาสถานศกึ ษา ๒๑ - เหตุผลและความจาเปน็ ๒๑ - วิเคราะหค์ วามสอดคล้องนโยบาย จุดเนน้ ๒๒ ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 12 ๒๒ (พ.ศ. 2560-2564) ข. หลกั การสาคญั ของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ๒๖ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ค. ยทุ ธศาสตร์แผนการจดั การศกึ ษาชาติ ๒๐ ปี (๒๕๖๐-๒๕๗๙) ๒๘ ง. เป้าหมายตามยทุ ธศาสตร์และแนวทางพัฒนาของแผนพัฒนา ๓๗ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ สานกั งาน กศน.พ.ศ. 2560-2579 หนา้ ช @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ซ จ สารบญั (ตอ่ ) หน้า การวเิ คราะห์ SWOT ๔๒ เป้าหมายการพัฒนาหรือวัตถุประสงค์ การจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของ ๔๔ กศน.อาเภอสรรพยา ทิศทางการพัฒนาสถานศึกษา ๕๔ สว่ นท่ี ๓ แนวทางการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ๕๙-๘๓ เป้าหมายของสถานศึกษา ๕๙ - มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี - การกาหนดค่านา้ หนักตัวบ่งชี จุดเนน้ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๖๔ - จุดเน้นการขับเคลื่อนด้านบรหิ ารภายใน - จดุ เน้นการขบั เคล่ือนด้านผเู้ รียน/ผรู้ บั บรกิ าร - จุดเน้นดา้ นการพัฒนาวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ อาคารสถานท่แี ละสิ่งแวดล้อม - จดุ เน้นด้านพัฒนาความสมั พันธ์ระหว่างสถานศกึ ษากับชุมชน - จุดเน้นด้านธุรการและการเงนิ บทบาทหนา้ ท่ผี ู้เกยี่ วข้อง ๖๖ แผนการดาเนนิ งานสถานศกึ ษา ๖๘ - แผนงบประมาณ - แผนการปฏบิ ตั ิงาน - กลยุทธใ์ นการพฒั นา - แผนงาน / โครงการ / ตัวช้วี ดั เปา้ หมายการใหบ้ ริการหน่วยงาน/ตวั ชว้ี ดั ของ กศน.อาเภอสรรพยา ๗๒ ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) การขับเคลื่อน กศน.อาเภอสรรพยา สูค่ วามสาเร็จต่อโครงการ ๗๖ ทส่ี าคัญตามนโยบาย รฐั บาลและจดุ เน้นของสานกั งาน กศน. และสานักงาน กศน.จงั หวดั ชยั นาท โครงการท่ีสาคัญตามนโยบายรัฐบาลและจดุ เน้นของรฐั มนตรวี า่ การ ๗๗ กระทรวงศึกษาธกิ าร และสานกั งาน กศน. บรรณานกุ รม ๘๓ ภาคผนวก ๘๔-๑๑๐ - คาสั่งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.256๓-256๗) - บัญชลี งเวลาผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการฯ วนั ท่ี ๒๘-๒๙ ต.ค. ๖๒ - ประมวลภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารยกรา่ งจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพ การศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. 256๓-256๗) วันท่ี ๒๘-๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ ห้องประชมุ พึ่งสขุ กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ ซ @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | ฉฌ สารบญั (ตอ่ ) หน้า - บัญชีลงเวลาผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมการทบทวนและวิพากย์แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี ( พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๗ ) วนั องั คารท่ี ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ - ประมวลภาพกจิ กรรมการทบทวนและวิพากย์แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. 256๓-256๗) วนั องั คารท่ี ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ณ หอ้ งประชมุ พงึ่ สุข กศน.อาเภอสรรพยา - การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ บางสว่ นทีผ่ ู้มีสว่ นได้เสยี อยากใหเ้ พิ่มเติมลงในแผน พัฒนาคุณภาพ เม่ือวนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒ - บัญชลี งเวลาผู้เข้ารว่ มกิจกรรมการทบทวนและวิพากย์แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี ( พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๗ ) ฉบับปรบั ปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ วันที่ ๑๖-๑๘ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ณ ไร่ภฟู า้ โฮมสเตยฟิชช่ิง ต.แก่นกระจาน อ.แก่นกระจาน จ.เพชรบรุ ี - ประมวลภาพกิจกรรมการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการยกร่างจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพ การศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. 256๓-256๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ วนั ท่ี ๑๖-๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๔ และการณ ไร่ภูฟา้ โฮมสเตยฟิชชิง่ ต.แก่นกระจาน อ.แกน่ กระจาน จ.เพชรบุรี - การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ บางส่วนท่ผี ูม้ ีส่วนไดเ้ สียอยากให้เพม่ิ เติมลงในแผนพฒั นาคณุ ภาพ ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๓ เมอ่ื วนั ศุกรท์ ่ี ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ ไร่ภฟู า้ โฮมสเตยฟิชชงิ่ ต.แกน่ กระจาน อ.แก่นกระจาน จ.เพชรบุรี คณะผูจ้ ดั ทา ๑๑๑ หนา้ ฌ @ กศน.อาเภอสรรพยา
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 1 สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา สภาพทวั่ ไปของสถานศกึ ษา ชอื่ สถานศึกษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสรรพยา ที่อยู่ 295/7 หมู่ที่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท เบอร์โทรศัพท์ 056-499759 โทรสาร 056-499759 E-mail ตดิ ต่อ [email protected] สังกัด : สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ชัยนาท สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศกึ ษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสรรพยา ได้ประกาศ จดั ตงั้ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เม่อื วันท่ี 27 สิงหาคม 2536 เดมิ มีชอื่ วา่ ศนู ย์บริการการศกึ ษานอก โรงเรียนอาเภอสรรพยา สังกัด ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดชัยนาท กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยใช้สถานท่สี ่วนหน่งึ ของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสรรพยาเป็นสถานศกึ ษาชั่วคราวปฏิบัติ หน้าที่จัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน โดยรัฐไม่ต้องใช้จ่ายงบประมาณเป็นค่าสิ่งก่อสร้าง (อาคารเรียน) ยานพาหนะ(ใช้ยานพาหนะส่วนตัวของผู้บริหาร) และอื่น ๆ ท่ีสามารถมาบริหาร/จัดการโดยขอรับการสนับสนนุ จากองค์กรเครอื ขา่ ย - ตุลาคม 2536 - เมษายน 2545ศูนยบ์ ริการการศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอสรรพยาอาศยั หอ้ งสมุดประชาชน เปน็ ทท่ี าการสถานศกึ ษา - เมษายน 2545 - เมษายน 2547 ไดย้ ้ายท่ที าการสถานศกึ ษามาอยู่ทวี่ ่าการอาเภอสรรพยา อาคารหลังแรกก่อสร้างในปี 2547 ใช้เป็นที่ทาการสถานศึกษาและต่อมาในปี 2549 ได้สร้างอาคาร เรียนเพม่ิ อีก 1 หลงั โดยคณะนักศึกษา กศน.เขตวัฒนา กทม. มาจัดกจิ กรรมเข้าคา่ ยพัฒนาศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนท่ี ตาบลสรรพยา โดยสร้างโครงสรา้ งอาคารไวใ้ ห้แต่อาคารยังไม่เสร็จสมบูรณ์ จึงทาการทอดผ้าป่า เพื่อการศึกษา สมทบสร้างจนแล้วเสร็จ โดยใช้อาคารหลังนี้เป็นท่ีทาการพบกลุ่มนักศึกษาพ้ืนฐานและจัดอบรมประชาชนและ บริการอินเตอร์เน็ตแก่นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป มีหน่วยงานเครือข่ายมาขอใช้บริการสถานท่ีเพ่ือจัดการอบรม โครงการต่าง ๆ ต่อมาปี 2551 ร่วมกบั ชุมชนในอาเภอสรรพยาสร้างอาคารเช่อื มตอ่ ระหว่างอาคารหลังท่ี 1 และ 2 จงึ ได้ดาเนนิ การสร้างเสร็จสิน้ เม่ือเดือน กมุ ภาพนั ธ์ 2551 โดยใชเ้ ปน็ หอ้ งประชุมศูนย์ และในปี 2553 ไดร้ ับ งบประมาณในการปรับปรุงซ่อมแซมอาคาร กศน.อาเภอสรรพยา (ห้องทะเบียน , กศน.ตาบลสรรพยา) จาก สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั - สงิ หาคม 2547 - มิถนุ ายน 2553 ได้ดาเนินการทอดผ้าป่าสามัคคีเพ่ือการศึกษาหาทุนสมทบ สรา้ งอาคารสถานศึกษาอย่างถาวรข้ึน จานวน 1 อาคาร โดยไดร้ บั ความอนเุ คราะหจ์ ากพระราชสริ ิชยั มณุ ี เจา้ คณะ จังหวัดชัยนาทเป็นประธานอุปถัมภ์ให้การดูแลก่อสร้างอาคารและได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่พี่น้องประชาชน จนสร้างอาคารสถานศกึ ษาสาเรจ็ ด้วยดี ปจั จุบันมอี าคาร 3 หลงั เชื่อมต่อกันทกุ อาคาร โดยไมไ่ ด้ใชเ้ งินงบประมาณ หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 1 จกั ราวุธระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 2 ต่อมาเมื่อปี 2551 ได้เปล่ียนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอสรรพ ยา ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ประกาศใช้ใน ราชกิจนุเบกษา เมอื่ วนั ท่ี 4 มนี าคม พ.ศ. 2551 และสิงหาคม 2560 ได้รับจัดสรรงบประมาณจากสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 1,463,900.-บาท (-หนึ่งล้านส่ีแสนหกหมื่นสามพนั เก้าร้อยบาทถ้วน-) โดยสามารถดาเนินการจ้างเหมาได้ภายในวงเงนิ ๑,๒๐๐,๐๐๐.- บาท(-หนึ่งล้านสองแสนบาท ถ้วน-) เพื่อใช้ในการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคารอานวยการ ท่ีชารุด หลังกลางที่มีการกอ่ สร้างติดกับอาคารห้องสมดุ ประชาชนอาเภอสรรพยา ซง่ึ มีสภาพวิบัตติ ัวอาคารทรดุ ผนงั อาคารเกดิ รอยรา้ วแตกแยกของผนังอาคาร อาณาเขตที่ตั้งสถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสรรยา ต้ังอยู่ ณ เลขที่ 295/7 หมู่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท เปน็ สถานศกึ ษาขนาดกลาง มพี ้ืนที่จานวน 3 งาน 82 ตารางวา มอี าณาเขตติดตอ่ ดงั นี้ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ อาเภอเมืองชยั นาท จังหวัดชัยนาท ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั อาเภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค์ ทศิ ใต้ ติดต่อกับ อาเภออินทรบ์ ุรี จงั หวดั สงิ ห์บุรี ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอสรรคบรุ ี จงั หวัดชัยนาท สภาพของชุมชน อาเภอสรรพยาต้งั อยู่ทางทศิ ใต้ของจงั หวัดชัยนาท ห่างจากตวั จังหวัดประมาณ 20 กโิ ลเมตร มเี น้อื ทป่ี ระมาณ 228.27 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 142,673 ไร่ พ้นื ท่ีส่วนใหญ่ไดร้ ับการจัดรปู ทด่ี นิ หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 2 จกั ราวุธระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 3 เพื่อการเกษตรกรรมแลว้ ประมาณรอ้ ยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมดของอาเภอ (จากบันทึกเรอื่ งเลา่ สว่ นตัวกับการ ทางานสองปแี รกเม่ือย้ายมาอยู่อาเภอสรรพยาของครจู ักราวุธ คาทวี : http://jukravuth.blogspot.com/p/blog-page_4738.html) คาขวญั จงั หวดั “หลวงปศู่ ุขลอื ชา เขอื่ นเจา้ พระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา” คาขวญั อาเภอ “เขาสรรพยาบรรพต หวานเลศิ ล้ารสน้าตาล แชมพูว่านหางจระเข้ จักสานเปล ผักตบชวา ล้าคุณค่าหอพระไตร เขอ่ื นใหญ่เจา้ พระยา” ในอดตี เป็นชมุ ชนหนาแนน่ ใชก้ ารคมนาคมทางเรอื โดยอาศยั แม่นา้ เจา้ พระยาเปน็ เส้นทางหลกั แต่ในปัจจบุ ันมี ถนนสายชัยนาท - สงิ ห์บุรี และสายเอเชยี ตดั ผา่ นจงึ นยิ มใช้การคมนาคมทางบกเปน็ หลกั ส่ิงที่น่าสนใจคือ เป็นตานานทาง วรรณคดีเร่ืองรามเกียรต์ิตามธรรมชาติ ภูเขาสรรพยาจงึ เป็นทมี่ าของช่ืออาเภอสรรพยาในปัจจบุ นั อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์ ประชากรแยกชายหญิง อ.เมือง ชชายาย ๒21๓,8,3๓0๓๙คน คน ต.ตลุก ต.หาดอาษา พญงิ 23,446 คน รหวมญิง ๒45๕,2,7๐6๖๕คน คน รวม 48,404 คน ต.บางหลวง ต.เขาแก้ว หมายเหตุ ต.โพนางดาออก ทว่ี ่าการสรรพยา ต.สรรพยา อ.อนิ ทร์บุรี จ.สิงห์บุรี สถานอี นามัย อ.สรรคบุรี โรงพยาบาลสรรพยา แม่นา้ เจ้าพระยา ถนนสายเอเชีย ต.โพนางดาตก ทศิ เหนือ ติดต่อกบั อาเภอเมือง จังหวดั ชยั นาท ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ทิศใต้ ติดต่อกบั อาเภออนิ ทร์บุรี จังหวดั สงิ ห์บรุ ี ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ อาเภอสรรคบุรี จงั หวัดชัยนาท ประชากร การปกครอง การเมอื ง ข้อมูลการปกครอง 8 เทศบาล 7 ตาบล 55 หมู่บา้ น ข้อมลู ประชากร 48,404 คน เปน็ เพศชาย 23,339 คน เป็นเพศ หญงิ 25,065 คน อาชีพหลกั ทานา ทาสวนผลไม้ อาชพี เสรมิ กลุม่ \" OTOP \" หนึง่ ตาบลหน่งึ ผลิตภณั ฑ์จาก ภมู ปิ ญั ญาและวัตถุดิบในท้องถ่ิน หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 3 จักราวุธระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 4 สภาพภมู ปิ ระเทศ อาเภอสรรพยามีพื้นท่ีส่วนใหญเ่ ป็นท่ีราบลุม่ ริมฝั่งแม่น้า โดยมีแม่นา้ เจ้าพระยาไหลผ่านมี นา้ ท่วมขงั ในบางปี ลกั ษณะของหมูบ่ ้านอยู่หนาแน่นเรยี บริมฝ่งั แมน่ ้าเจ้าพระยา นอกจากนัน้ ยงั มีเนนิ เขาเลก็ ๆ คือ เขาสรรพยา เขาแกว้ และ เขานมโฑ สภาพภมู อิ ากาศ แบบมรสุม มี 3 ฤดู หนาว ร้อน ฝน ภมู ิอากาศท่ัวไปคอ่ นขา้ งรอ้ นในฤดรู ้อน และอบอ่นุ ในฤดูหนาว มฤี ดูฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายน - ตุลาคม ทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหลง่ น้าทางธรรมชาตทิ ่ีสาคัญคือแมน่ า้ เจา้ พระยาไหลผา่ นตัง้ แต่ใตเ้ ข่ือนเจ้าพระยาลงไป ถงึ เขตติดต่ออาเภออนิ ทร์บุรี จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี และลาคลองชลประทานไหลผา่ นมีผลตอ่ การประกอบอาชพี เกษตรกรรมของประชากรในพ้นื ท่ี โดยเฉพาะการ ทานา ทาปีละ 3 ครั้ง สภาพสงั คมและเศรษฐกจิ พ้นื ทสี่ ่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่ม ดังนั้นประชากรสว่ นใหญ่จงึ ประกอบอาชีพดา้ นเกษตรกรรม ส่วนใหญ่มี ฐานะระดับปานกลาง อาชพี หลักทาเกษตรกรรม อาชีพรองรบั จ้าง อาชีพเสรมิ มีกลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ เช่น กลุ่มผลติ แชมพูสมนุ ไพร ผลติ ภณั ฑ์หนุ่ ฟางนก นา้ พริก นา้ ดม่ื บรรจขุ วด การจักสานผกั ตบชวา การทาปุ๋ย อินทรยี อ์ ัดเม็ด ฯลฯ การศกึ ษาและศาสนา อาเภอสรรพยามีวัดท้ังสนิ 26 วดั สานักสงฆ์ 2 แห่ง ประชากรส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ สถานศกึ ษาภาครัฐ ในระบบ - โรงเรียนประถมศึกษา 27 แห่ง - โรงเรยี นมธั ยมศึกษา 3 แหง่ นอกระบบ - กศน.อาเภอสรรพยา หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 4 จักราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 5 ทาเนยี บผบู้ รหิ าร ลาดบั ท่ี ชอ่ื – สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ารงตาแหนง่ 1. นายกฤษชยั รกั ษาพล หวั หนา้ ศนู ยบ์ ริการการศึกษานอก ตุลาคม 2537 – ตลุ าคม โรงเรยี นอาเภอสรรพยา 2540 2. นายสุรพล อา่ จาปา หวั หน้าศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอก ตุลาคม 2540- เมษายน 2545 โรงเรยี นอาเภอสรรพยา 3. นางสาเนาว์ ศรภี ิรมย์ ผอู้ านวยการศนู ยบ์ รกิ าร เมษายน 2545– เมษายน 2547 การศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอ สรรพยา ระดับ 8 4. นางฐติ ิมาภรณ์ พงึ่ สุข ผู้อานวยการศูนยบ์ รกิ าร มิถนุ ายน 2547–มีนาคม 2551 การศกึ ษานอกโรงเรยี นอาเภอ สรรพยา คศ. 3 5. นางฐิตมิ าภรณ์ พ่ึงสขุ ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอก มีนาคม2551 – พฤศจิกายน ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2553 อาเภอสรรพยา คศ. 3 6. นางอุทัยวรรณ ผ้อู านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอก พฤศจกิ ายน 2553 - มนี าคม ๒๕๕๕ โพธกิ์ ระจ่าง ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสรรพยา คศ. 3 ๗. นายสมเกียรติ เหล่ามา ผู้อานวยการศนู ย์การศึกษานอก มนี าคม ๒๕๕๕–1 สิงหาคม 2556 ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอสรรพยา คศ. 3 8. นางอทุ ยั วรรณ แก้วเขียว ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอก 2 สิงหาคม 2556 – มกราคม ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2558 อาเภอสรรพยา คศ. 3 9. นางขวัญใจ บณุ ยะบูรณ์ ผูอ้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอก กมุ ภาพนั ธ์ 2558 – พฤศจิกายน ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2558 อาเภอสรรพยา คศ. 3 10. นายจกั ราวุธ คาทวี ครู (คศ.4 ) รักษาการในตาแหนง่ พฤศจกิ ายน 2558–พฤศจกิ ายน ผอ.กศน.อาเภอสรรพยา 25๖๐ ๑๑. นายพรหมมนิ ทร์ พานิช ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอก พฤศจกิ ายน 25๖๐– ปจั จบุ นั ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสรรพยา คศ. ๒ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 5 จักราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 6 โครงสร้างการบริหารงานของสถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษา คณะกรรม ( นายพรหมมนิ ทร์ พานิช ) การสถาน ศกึ ษา กล่มุ อานวยการ กลุม่ สง่ เสริมปฏบิ ัติการ กลมุ่ ภาคีเครอื ข่ายและกิจการพิเศษ ( นายจกั ราวุธ คาทวี ) (น.ส.กัญญาภัค ชนื่ จติ ร์) ( นางอารยี ์ รงุ่ สวา่ ง) ) งานธรุ การและงานสารบรรณ งานสง่ เสริมการเรยี นรหู้ นังสือ งานสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคี ๑. ตาบลโพนางดาตก เครือขา่ ย งานกองทนุ กยู้ ืมเงิน ( นายสนั ต์ สมมงั ) ( นางนิตยา โชติพรม ) งานพัฒนาหลกั สตู ร ส่ือ นวัตกรรม เพื่อการศึกษา ๒. ตาบลหาดอาษา ( นางนติ ยา โชติพรม ) งานบญั ชี และเทคโนโลยี งานศูนย์บรกิ ารให้ งานกจิ การพเิ ศษ (นายชัยยศ แก้วมานพ) ๓.ตาบลบางหลวง ( นางสนุ ันพร จันทร์ปุย ) คา ปรึกษาแนะแนว (Advice (งานโครงการอนั เนอื่ งมาจาก (นายโกวทิ ย์ เยน็ อ่วม) พระราชดาริ งานปอ้ งกัน แก้ไข ๔.ตาบลโพนางดาออก งานการเงิน งานควบคมุ ภายใน center) ปัญหายาเสพติด/ โรคเอดส์ ( น.ส.สมหญงิ รุ่งกลิน่ ) งานส่งเสรมิ กจิ กรรม ๕.ตาบลสรรพยา (นางอารยี ์ รุง่ สวา่ ง) งานประกนั คุณภาพภายใน ประชาธปิ ไตย งานสนบั สนุน (นางจริญญา ทับทวี) สง่ เสริมนโยบายจงั หวัด/ ๖.ตาบลตลกุ งานสวัสดกิ าร สถานศึกษา งานการศึกษาต่อเน่อื ง อาเภอ) (น.ส.อานนั ท์ ญาณกลนิ่ ) งานกจิ การลูกเสอื และ ๗.ตาบลเขาแก้ว (นางอารีย์ รงุ่ สว่าง) (งานการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ ยุวกาชาด ( นางนิตยา โชตพิ รม ) (วา่ ที่ร้อยตรีธณเดช เสนารักษ์) ( นางสาวนวรัตน์ มารุต ) งานการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ ( นางสาวนวรตั น์ มารุต ) งานพัสดุ งานการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คม และ ( นายชยั ยศ แก้วมานพ ) ( นายกมล อยู่เล่ห์ ) ชมุ หชมนายงาเหนสตงุ่ เใสหรเ้ิมสกถาารนจศัดกึกษระาบสวานมารถ ( นายชัยสทิ ธิ์ แตงฉา่ ) กเศานรรษาเรเฐยีสกนนจิ รอพ้ตู ขอา้อเมพมหียลู ลงโักค)ปรรงสัชญร้าางการ งานบคุ ลากร งานนติ ิกรของสถานศกึ ษา ศนู ย์ราชการใสสะอาด งานนิเทศภายใน ( นบารยหิ จากั รรงาาวนธุ ขอคงาสทถวีา)นศึกษา ทต่ี รงกบั ทงง(ง(แ(((ง((ส(((โง(สงนราาาาาาลถานนนนนนนนนนรหงานนนนนนะรพัาาาาาาาาาาางตลสงปเอแในงยยงยงงงยยสลยนิดบผักนาสอนนสรศกจจชาาขตวหคปะนาาาเสตติิักักึกมกยัวาาทีรนาววรชรงมยอยูตรรสษรลนะรศยกีนาะาา้ผาาาาาทิราุกสน(์วญัสทมิรลอววนนสรธงาถชุฒัมแุุธธาตี่ยญัโโุ่งนา์ิร.ถาสาณชลชพู่เาสนคทนนแลาา.ตะตแคควันปกแณภต์ห่นท์ศโหพิิพา่าาธลญัรคงคัญ์ศีะง่งททรินชร์ระ)ะฉราญกิวกึมววมา่งก)ยังรา่นงโิรชีีณนษาาะนักรน))ยร)))่นืนภักดจาากคามุ จขคักรมน)นลุณกกติอ้าก่ินพาชภศรรมุลร)าน่ืภ์านลู )หพจ)า.อนรติ ะารเ)์ ภอสร(งงปงจ(ง((เศ(ง(งง(ง((ผราาาาาาาาดัูนนนนนนนนนนัญพยคนนนนนนนนพยาาาาาาาาาญแวกกกกทหสยงงงงยงยงก์ัฒยปพาง่ิจาาาอสนสนสอ้าะาโจาววเมนรรรกรทกามาาเิิตตงกัรสชบีรศศศ่วววรเสาาอ้เหยยรรป.ระียยีกกึกนึึิทแนรมกางาามิญีย็นนน์หษษษวริวถยวดุศรนิงชรจุฒุธักแนลนิ่์าาาปนโโงุ่ ชัตาชชรพตทลศ่งิทสเร.นกงยุมนิงเตตาะคกึาื้นวะรรา็านมช์ศ์งวพพิิ่าาษรชฐียนรสดันองอทศริมาชรรานานิจ่ือิวผั่วธ/นกชมมวา)ยัรัดทกิโสมยลีรนาู้แรนแ)ร))ศาาุตหรลจ)ล์รศุแน)นนะ)ม)ะยัล.ภตกาพ้วะูมาุลลฒั(6บงิช)นาลนนา) แนวคิดเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การองคก์ ร ของ กศน.อาเภอสรรพยา ( ส้เู ป้าหมาย GO : Excellence Office ) จักราวุธระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 7 โครงสรา้ ง/แผนผงั การดาเนนิ งาน กศน.ตาบล อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท หวั หนา้ กศน.ตาบล คณะกรรมการ ศรช. ตาบล การบรหิ ารจัดการ กจิ กรรม จดั กจิ กรรม สง่ เสรมิ กจิ กรรม กศน.ตาบล ในสงั กดั กศน.อาเภอสรรพยา ภายใต้แนวคดิ สานกั งานทยี่ อดเยย่ี ม ( สเู้ ป้าหมาย GO : Excellence Office ) หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 7 จักราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 8 ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศกึ ษา สญั ลักษณ์ ตราสีประจาสถานศกึ ษาและช่อื ยอ่ สัญลักษณ์สถานศึกษา เป็นรปู วงกลมมีเส้นรอบวง สนี า้ เงนิ ภายในวงกลมมีตราเสมาธรรมจกั ร สีเขียวตงั้ อยู่บนเครอื่ งหมาย (INFINITY) สีเขียว ลอ้ มรอบด้วยชือ่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสรรพยา อยู่ ด้านบน สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ อยดู่ า้ นลา่ ง ตวั อกั ษรสีน้าเงนิ คนั่ ดว้ ยดอกประจายามสีเดยี วกนั และรองรับด้วยรูปรวงข้าวสีเหลอื งทอง ภาพเครื่องหมายน้แี สดงถึง การส่งเสรมิ ให้ประชาชนไดเ้ รยี นรอู้ ย่าง ตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ เพ่ือความผาสุกของประชาชน สีประจาสถานศึกษา - สีเขียว ความสดใส รม่ รนื่ ความหนกั แนน่ สุขมุ ความร่มเยน็ อดุ มสมบูรณ์ ชื่อย่อสถานศึกษา - กศน.อาเภอสรรพยา ปรชั ญาในการจดั การศกึ ษา “ สรา้ งสังคมอุดมปญั ญา ดว้ ยการจดั การศกึ ษา ให้เกิดการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ ” อตั ลกั ษณส์ ถานศกึ ษา “ ใฝร่ ู้ ใฝ่เรยี น อยู่อยา่ งพอเพียง ” ความหมายวา่ น้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มุ่งส่งเสรมิ พัฒนาบริบทของชมุ ชนและวัฒนธรรม ทอ้ งถิ่นให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ ให้ผู้เรยี นและชุมชนเหน็ ความสาคญั และมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีความสุข เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา “ สรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ สูก่ ารพึง่ ตนเอง” หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 8 จกั ราวุธระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 9 ความหมายวา่ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนและกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยมงุ่ ให้ผเู้ รียน มคี ุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์สู่วิถีชมุ ชน สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข วสิ ยั ทศั น์ “ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสรรพยา จะเป็นองค์กรในการส่งเสรมิ และ พฒั นาประชาชนกลุ่มเปา้ หมายใหเ้ ปน็ บคุ คลใฝ่รูใ้ ฝ่เรียน และแสวงหาความร้ไู ด้ด้วยตนเอง ตามความต้องการอย่าง ตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ เพอ่ื นาไปสู่สงั คมสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ บนพน้ื ฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการ เปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” คาขวญั สถานศกึ ษา “การเรยี นรู้ไม่มีวนั สายเกินไป ไม่มนี านเกินวยั ไมไ่ กลเกนิ เอื้อม” อดุ มการณ์ในการกาหนดนโยบายคุณภาพของสถานศกึ ษา “มีความรู้ คู่คุณธรรม สร้างสัมพันธ์ชมุ ชน” พนั ธกจิ 1. จดั และสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้มคี ุณภาพและบริการประชาชนได้อยา่ ง ทวั่ ถงึ 2. จัดและสง่ เสริมการศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทา/เพือ่ พฒั นาสมรรณนะของประชาชนและชุมชนให้ สามารถสรา้ งรายได้ สรา้ งสรรค์และแบ่งบันด้านอาชีพได้อย่างย่ังยืน 3. ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายทั้งในและตา่ งประเทศ ในการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพอื่ สง่ เสริมการศกึ ษาตลอดชีวิต และการศึกษาอาชีพเพ่อื การมีงานทา 4. พัฒนาและส่งเสริมการนา วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ 5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้สามารถดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย เพ่ือส่งเสรมิ การศกึ ษาคลอดชวี ติ และการศึกษาอาชีพ เพื่อการมงี านทาของประชาชนได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ คา่ นิยมองคก์ าร TEAMWINS T = Teamwork การทางานเป็นทีม หมายถึง บุคลากรมีความสามัคคี มีการประสานงาน ระดม ความคิดในการพัฒนางานร่วมกัน มีเอกภาพในการบริหารจัดการ มีทีมงานที่สามารถนานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ พฒั นางาน เพ่ือไปสู่เป้าประสงคข์ ององคก์ ร E = Equality of Education ความเสมอภาคทางการศกึ ษา หมายถงึ เปน็ การใหโ้ อกาสการเรียนรู้ ตลอดชีวิตใหก้ ับประชาชนอย่างเทา่ เทยี มกนั A = Accountability ความรับผิดชอบตอ่ ผลสาเร็จของงานและต่อสารธารณะ หมายถงึ บคุ ลากรมี ความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ ปฏิบัติงานด้วยความต้ังใจอยา่ งเต็มความสามารถ มีการตรวจสอบ ทบทวนและ ปรับปรงุ การทางานอยา่ งตอ่ เน่อื ง เพื่อให้บรรลผุ ลสาเร็จตามเป้าหมาย หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 9 จักราวุธระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 10 M = Moral and Integrity การมศี ีลธรรมและมีความซอื่ สตั ย์ หมายถึง บุคลากรปฏบิ ตั ิ หน้าท่ดี ้วย ความซื่อสตั ย์ สุจรติ โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ เพื่อนาพาองค์กรใหเ้ ป็นทีน่ า่ เช่ือถือ และกา้ วไปขา้ งหน้าอยา่ ง ภาคภมู ิ W = Willful มคี วามม่งุ มัน่ ตง้ั ใจทางานอย่างเต็มศักยภาพ หมายถงึ บคุ ลากรปฏบิ ัตหิ น้าท่ดี ้วยความ เต็มใจ เต็มเวลา และเตม็ ศักยภาพ เพือ่ มุ่งสคู่ วามสาเรจ็ ขององค์กร I = Improve Ourselves การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ หมายถึง บุคลากรแสวงหา ความรเู้ พื่อพฒั นาตนเองอยู่เสมอ พร้อมรบั การเปลย่ี นแปลงและพฒั นางานในหนา้ ท่ใี หม้ ีประสิทธิภาพ N = Network and Community การเป็นเครอื ขา่ ยทีม่ ปี ฏิสมั พันธอ์ นั ดตี ่อกันทัง้ ภายในและภายนอก องค์กร หมายถึง สร้างสมั พนั ธภาพท่ีดีภายในองค์กรและสร้างความเขม้ แขง็ ของภาคีเครือข่ายในการรว่ มจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้เปน็ กลไกในการส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ S = Service Mind การมีจิตใจพร้อมให้บริการ หมายถงึ บุคลากรให้บรกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจย้ิมแย้ม แจ่มใส ม่งุ ใหผ้ รู้ บั บริการเกดิ ความพึงพอใจ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 1. การขยายโอกาสและการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. การสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือขา่ ย 3. การสง่ เสรมิ การพัฒนากระบวนการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตของชมุ ชน 4. การใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาในการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาตลอดชวี ิต 5. การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ เปา้ ประสงค์ 1. คนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งท่ัวถงึ ครอบคลุม และเป็นธรรม 2. ผูเ้ รียนและผูร้ บั บริการไดร้ บั การศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพได้มาตรฐานและมคี ุณลักษณะ ทพ่ี ึงประสงค์ 3. ภาคีเครือขา่ ยเข้ามารว่ มดาเนินการจดั การศึกษาตลอดชวี ิตอยา่ งกวา้ งขวาง 4. ชมุ ชนมกี ารจดั การความรูแ้ ละกระบวนการเรยี นร้เู พอ่ื สร้างสังคมแหง่ ภมู ิปญั ญาและการเรียนรู้ 5. แหล่งการเรยี นรมู้ อี ยอู่ ยา่ งทั่วถงึ และได้รบั การพัฒนาเพ่อื สนองตอบความตอ้ งการการเรยี นรขู้ อง ประชาชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษานาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร มาใชใ้ นการบรหิ ารองคก์ ร และจัดบริการการเรียนรูแ้ กป่ ระชาชนอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการทีม่ คี ณุ ภาพ สามารถจัดบริการตอบสนองกับ สภาพและความตอ้ งการของผู้เรียนและผู้รับบรกิ ารได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั เชงิ ปรมิ าณ 1. รอ้ ยละของคนไทยกลุม่ เป้าหมายกลุ่มต่าง ๆ (เชน่ กลุ่มเดก็ กลุม่ เยาวชน กลุม่ วัยแรงงาน กล่มุ ผสู้ ูงอายุ กลุม่ คนพิการ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ชุ นกลุ่มนอ้ ย กลุม่ คนไทยในตา่ งประเทศ กลุม่ คนไทยท่ัวไป เป็นตน้ ) ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและความต้องการ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 10 จักราวุธระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 11 2. จานวนประชากรวัยแรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ปี) กลุ่มเป้าหมายท่ีเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศกึ ษานอกระบบ 3. จานวนประชากรวัยแรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ป)ี กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบรกิ ารการศึกษาเพ่อื พัฒนา ทักษะชีวติ และการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเศรษฐกจิ เชิงสร้างสรรค์ 4. ร้อยละของชุมชน (ตาบล/หมบู่ ้าน) เป้าหมายท่ีประชาชนในพ้นื ท่ที ่ไี ดร้ ับการอบรมหลักสูตร OTOP Mini MBA ตามโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนเพ่อื การมงี านทาแล้ว สามารถจัดต้ังกลุม่ วิสาหกิจชุมชน ระดบั ตาบล/ หมูบ่ า้ นได้ 5. จานวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายทีไ่ ด้รับบริการการเรียนรู้/รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ทางวทิ ยาศาสตรข์ อง ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 6. รอ้ ยละของประชาชนกล่มุ เปา้ หมายที่ได้รบั บริการการเรียนรู้/รว่ มกจิ กรรมการเรียนรทู้ างวิทยาศาสตร์ ของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาแล้วมีการพฒั นาเจตคติทางวิทยาศาสตรแ์ ละ มองเห็นแนวทางการนาไปใชใ้ น การดารงชวี ิตได้ 7. จานวนประชาชนกลุม่ เป้าหมายท่ีได้รบั การศกึ ษาอบรมในหลกั สูตรภาษาอังกฤษ ภาษากลุม่ ประเทศ อาเซยี น และอาเซียนศกึ ษา 8. จานวนองค์กรภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียนท่รี ว่ มลงนามในบนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื (MOU) ในการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กบั ประเทศไทย ๙. รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. ที่มกี ารพฒั นา/วจิ ยั และพฒั นาสื่อและเทคโนโลยที างการ ศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นร้ขู องผู้เรียน/ผรู้ ับบริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๑๐. รอ้ ยละของผู้เรียน/ผเู้ ขา้ รับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่มี คี วามพึงพอใจ ในคุณภาพและปริมาณ/ความหลากหลายของสอ่ื การเรยี นรทู้ หี่ น่วยงานและสถานศึกษา กศน. จดั บริการ ๑๑. ร้อยละของหนว่ ยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่มกี ารบรหิ ารจดั การ และพฒั นาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่อื สาร เพือ่ สนบั สนุนการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ องค์กร ๑๒. ร้อยละของ กศน. ตาบล ท่ีจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ การพฒั นาชุมชน โดยใชป้ ัญหาของชุมชนเป็น ศูนย์กลาง ๑๓. รอ้ ยละของหน่วยงาน และสถานศกึ ษา กศน. ท่สี ามารถดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกจิ ท่ีรบั ผิดชอบได้สาเรจ็ ตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้โดยใชท้ รัพยากรอย่างประหยดั /ตามแผนที่กาหนดไว้ เชิงคณุ ภาพ 1. คนไทยกลุม่ ต่าง ๆ ที่ไดร้ บั บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี 2. ผเู้ รียนและผู้รับบริการทมี่ ีผลสมั ฤทธ์ิตามจดุ มงุ่ หมายการเรยี นร้ขู องแตล่ ะหลักสตู ร หรือกิจกรรมการ เรียนรู้ และมีศกั ยภาพทพี่ ึงประสงค์ 3. ผู้รบั บริการทีม่ คี วามพงึ พอใจตอ่ การใชบ้ ริการของหนว่ ยงาน และสถานศึกษา 4. ภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมทีเ่ ข้ามามีสว่ นรว่ มเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวติ 5. ชุมชนท่ีเข้าร่วมกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั มีการจัดการความรแู้ ละ กระบวนการเรยี นรู้ 6. ชุมชนท่มี แี หล่งการเรยี นรู้ท่พี ร้อมในการจัดและสนบั สนุนการศกึ ษาตลอดชีวิต 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษาทมี่ ีการนาเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร มาใช้ในการบริหารองคก์ ร และจดั บรกิ ารการเรียนรแู้ กป่ ระชาชน หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 11 จกั ราวธุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 12 8. ผูร้ ับบริการที่มีความพงึ พอใจต่อการใช้เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สารของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา 9. บุคลากรที่ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะในการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10. หน่วยงานและสถานศึกษาทมี่ รี ะบบการนิเทศทีม่ คี ุณภาพ 11. หน่วยงานและสถานศกึ ษาที่มีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบต่อเนื่องและสามารถนาไป พัฒนาการบริหารจัดการองคก์ รไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาหลักสูตร ส่ือ วิธีการเรียนและกิจกรรมท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ ตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย 2. สนบั สนนุ การจัดการศึกษาโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่าย ๑๕ ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ การเทยี บโอน เทียบระดับ 3. จดั ให้มศี ูนย์การเรียนชมุ ชนทีม่ คี ุณภาพครอบคลุมทุกพื้นท่ี 4. พฒั นามาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5. สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 6. แสวงหาภาคีเครือข่ายรว่ มดาเนนิ การจัดและสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชีวิต 7. สร้างและขยายภาคีเครือข่ายเพ่ือการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 8. จัดตัง้ กศน.ตาบล โดยให้ชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ยมีส่วนร่วม 9. พัฒนาครู กศน. เพื่อจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต 10. ส่งเสรมิ การพัฒนากระบวนการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตของชุมชน 11. เรง่ รดั พัฒนาระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้และการบริหารจัดการ 12. พฒั นาบุคลากร กศน. และภาคเี ครือข่าย ใหส้ ามารถผลิต เผยแพร่ และใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ 13. พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาในหลายช่องทาง ทั้งการออกอากาศทางสถานี วทิ ยุ สถานวี ทิ ยุโทรทัศน์ อนิ เทอรเ์ น็ต และรปู แบบอืน่ ๆ เพ่อื ให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถใช้บริการไดต้ ามต้องการ 14. เร่งรัด พัฒนา การประชาสัมพันธ์ให้มีการใช้สื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้เป็นประโยชน์ต่อการ จัดการเรยี นการสอนและการสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชวี ติ ให้กับกลมุ่ เป้าหมายและประชาชนท่วั ไป 15. พัฒนาการให้บริการสื่อวิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษา ให้มีหลากหลายรูปแบบ เพื่อเป็นการเสรมิ ความรู้ นอกหอ้ งเรยี นใหก้ ล่มุ เป้าหมายสามารถใช้บริการได้ตามความต้องการ 16. เร่งรัด พัฒนา การประชาสัมพันธ์ให้มีการใช้สื่อวิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็นประโยชน์ต่อการ เสริมความรู้ในการจดั การเรยี นการสอนนอกห้องเรียนให้กับกลุ่มเปา้ หมาย 17. ส่งเสรมิ การพฒั นาความรู้ความสามารถของบุคลากร กศน.ให้มีสมรรถนะในการปฏิบัตงิ านอยา่ ง มี ประสิทธิภาพ 18. สง่ เสริมการพัฒนาการกากับ นิเทศ ติดตาม วิจยั และประเมินผลการดาเนินงานการศึกษาตลอดชีวติ อานาจหนา้ ทขี่ อง กศน.อาเภอสรรพยา ตามพระราชบัญญัติส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีอานาจและ หน้าทีบ่ ริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยภายในของ กศน.อาเภอสรรพยา ดังต่อไปนี้ 1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคีเครือขา่ ย เพื่อการจดั การศกึ ษานอกระบบและ หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 12 จักราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 13 การศึกษาตามอธั ยาศยั 3. ดาเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสรา้ งความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานงานการจดั การศกึ ษาตามโครงการอันเน่ืองมา จากพระราชดารใิ นพื้นที่ 5. จดั สง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ 6. วจิ ัยและพฒั นาคุณภาพหลกั สูตร ส่อื กระบวนการเรยี นรู้ และมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 7. ดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน การเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์ 8. กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. พัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 10. ระดมทรพั ยากรเพือ่ ใชใ้ นการจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 11. ดาเนินการประกันคณุ ภาพภายใน ใหส้ อดคลอ้ งกับระบบ หลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่กี าหนด 12. ปฏบิ ัติงานอื่น ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย อานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ตามมาตรา ๑๙ แหง่ พระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551 ประกอบประกาศคณะกรรมการสง่ เสริม สนบั สนุนและประสานความรว่ มมอื การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ลงวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๑ เรื่อง จานวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ์ วธิ ีการได้มาของประธานและ กรรมการ วาระการดารงตาแหนง่ การพ้นจากตาแหน่งและอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในสังกัดสานกั งาน ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย มหี นาที่ใหคาปรึกษา แนะนา เห็นชอบแผนการ จดั การศกึ ษา และตดิ ตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษา และมีอานาจหน้าทตี่ ามคาสั่งศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ชัยนาท ที่ ๘๖/๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ และที่ ๑๑๑/๒๕๖๐ เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ลงวนั ที่ ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๖๐ ดังนี้ (๑) ให้คาปรึกษาและพจิ ารณาใหข้ ้อเสนอแนะแผนพฒั นา แผนปฏบิ ัตกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และใหค้ วามเหน็ ชอบหลกั สตู รของสถานศึกษา (๒) ส่งเสริมให้มีการระดมทนุ ทางสงั คมและทรพั ยากรจากชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องคก์ รอื่นทัง้ ภาครฐั และเอกชน ใหม้ สี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (๓) ตดิ ตามและเสนอแนะผลการดาเนนิ งานการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ สถานศึกษา (๔) ปฏิบตั ิงานอื่นตามทีค่ ณะกรรมการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และประสานความรว่ มมือการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาอัธยาศัยกาหนด หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 13 จักราวุธระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 14 ข้อมูลบคุ ลากร รายละเอยี ด ประเภท ช่อื นายพรหมมินทร์ พานชิ ตาแหนง่ ครู (คศ.1) 1) ผบู้ รหิ าร 2) ครู วฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี (วทบ.) สาขาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ,ประกาศนยี บตั รวิชาชีพครู 3) บคุ ลากรทางการศกึ ษา ปรญิ ญาโท (ค.ม.) สาขาการบริหารการศกึ ษา 4) ลูกจ้างประจา 5) พนักงานราชการ 1) ชอ่ื นายจกั ราวุธ คาทวี ตาแหน่ง ครู (คศ.4) 6) ลูกจ้างวคราว วฒุ กิ ารศึกษา ป.วชิ าชพี การสัตวแพทย์ / ปรญิ ญาตรี (ทษ.บ.) เทคโนโลยสี ง่ เสรมิ การเกษตร ปริญญาตรี (นบ.) บณั ฑติ กฎหมายมหาชน เนติบัณฑิตกฎหมายปกครอง ท่ี ก.ศป.รบั รอง รุน่ ท่ี 1 นกั กฎหมายปกครองชัน้ สงู รุน่ ท่ี ๑ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ 2) ช่อื นางสาวกัญญาภัค ชน่ื จติ ร์ ตาแหน่ง ครู (คศ.๒) วฒุ ิการศึกษา ปริญญาตรี (คบ.) สาขาวชิ าเอกบริหารการศกึ ษา 1) นางอารยี ์ รุง่ สวา่ ง ตาแหนง่ บรรณารกั ษ์ปฏิบัติการ วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา บรรณารกั ษ์ศาสตร์และ สารนเิ ทศศาสตร์ 1) นายชยั สิทธ์ิ แตงฉา่ ตาแหนง่ พนกั งานพิมพ์ ส. ระดับ 3 วุฒกิ ารศึกษา มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ๒) นายกมล อยู่เล่ห์ ตาแหนง่ พนกั งานพมิ พ์ ส. ระดับ 3 วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา บรรณารักษ์ศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ 1) นางสาวนวรัตน์ มารุต ตาแหน่ง ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี (ค.บ.) สาขา ครศุ าสตรบัณฑิต 2) นางนิตยา โชติพรม ตาแหนง่ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน วฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา ศิลปศาสตรบัณฑิต 3) นายสันต์ สมมงั ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลโพนางดาตด วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา บรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ 4) นายชยั ยศ แก้วมานพ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลหาดอาษา วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ 5) น.ส.สมหญงิ รุ่งกลนิ่ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลโพนางดาออก วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี (บธ.บ.) สาขา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 6) นายโกวิทย์ เย็นอ่วม ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลบางหลวง วุฒกิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี (บท.บ.) สาขา บริหารธุรกิจบัณฑิต 7) นางสาวอานันท์ ญาณกล่นิ ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลตลุก วุฒกิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี (วทบ.) สาขา การจัดการทว่ั ไป 8) นางจริญญา ทบั ทวี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลสรรพยา วุฒิการศกึ ษา ปริญญาตรี (ศศ.บ.) สาขา ศิลปศาสตรบัณฑติ 9) ว่าที่รอ้ ยตรธี นเดช เสนารกั ษ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลเขาแก้ว วุฒกิ ารศกึ ษา ปริญญาตรี (ค.อ.บ.) สาขา วิศวกรรมอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม 1) นางสาวนริ ชา ศริ วิ ิโรจนกุล ตาแหน่ง พนักงานบริการ วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี (คบ.) สาขา คอมพิวเตอร์ศึกษา 2) นางสาววรรณา ทองวัง ตาแหน่ง ครูผู้สอนคนพกิ าร วฒุ กิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี (ศศ.บ.) สาขา รฐั ประศาสนศาสตร์ ๓) นางสุนันพร จนั ทรป์ ยุ ตาแหนง่ พนักงานบันทึกขอ้ มูล วฒุ ิการศกึ ษา ปวส. สาขา บญั ชี หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 14 จักราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 15 จานวนบคุ ลากร (ปปี จั จบุ นั ) ประเภท/ตาแหนง่ ต่ากวา่ ป.ตรี จานวน (คน) รวมจานวน ป.ตรี ป.โท ป.เอก ขา้ ราชการครู - ๓ บุคลากรทางการศึกษา (บรรณารกั ษ์) - 2 ๑- 1 ลกู จ้างประจา 1 1 -- ๒ พนกั งานราชการ - ๑ -- 9 ครูศนู ย์การเรียนชุมชน - ๙ -- - อัตราจา้ ง - - -- 2 1 2 -- 1๘ รวมจานวน 1๕ ๒ - แหลง่ เรยี นรแู้ ละภาคเี ครอื ขา่ ย แหลง่ เรยี นรู้ กศน.ตาบล ชอื่ กศน.ตาบล ท่ีตงั้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ นายสันต์ สมมัง กศน.ตาบลโพนางดาตก หมู่ที่ 5 บา้ นโคกจันทร์ ตาบลโพนางดาตก นายชัยยศ แกว้ มานพ นางสาวอานนั ท์ ญาณกลน่ิ กศน.ตาบลหาดอาษา หมทู่ ี่ 6 บ้านศรมี งคล ตาบลหาดอาษา ว่าท่ีร้อยตรธี นเดช เสนารกั ษ์ นางจริญญา ทับทวี กศน.ตาบลตลกุ หม่ทู ่ี 9 บา้ นท้ายนา้ ตาบลตลกุ นางสาวสมหญิง รุง่ กลิน่ นายโกวทิ ย์ เย็นอ่วม กศน.ตาบลเขาแกว้ หมทู่ ี่ 4 บ้านนมโฑ ตาบลเขาแก้ว กศน.ตาบลสรรพยา หมู่ที่ 4 บา้ นสรรพยา ตาบลสรรพยา กศน.ตาบลโพนางดาออก หมทู่ ่ี 2 วัดสมอ ตาบลโพนางดาออก กศน.ตาบลบางหลวง หมู่ที่ 1 บ้านท่าทราย ตาบลบางหลวง ชอื่ แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทอ่ี ยู่ ๑) โรงเรียนวดั คงคาราม โรงเรยี น ตาบลโพนางดาตก ๒) โรงเรยี นวัดโคกจันทน์ โรงเรยี น ตาบลโพนางดาตก ๓) โรงพยาบาลสรรพยา โรงพยาบาล ตาบลโพนางดาตก ๔) สถานีอนามยั สถานีอนามัย ตาบลโพนางดาตก ๕) วัดตะกู วดั ตาบลโพนางดาตก ๖) วัดคงคาราม วดั ตาบลโพนางดาตก ๗) วัดสามนวิ้ วดั ตาบลโพนางดาตก ๘) วัดไผ่ลอ้ ม วดั ตาบลโพนางดาออก ๙) วัดมะปราง วัด ตาบลโพนางดาออก ๑๐) วดั เขาแก้ว วดั ตาบลเขาแก้ว ๑๑) วัดนมโฑ วัด ตาบลเขาแก้ว ๑๒) กล่มุ จักสานผกั ตบชวา กลมุ่ อาชีพ ตาบลหาดอาษา ๑๓) กลุ่มดอกไมป้ ระดษิ ฐจ์ ากดินหอม กลุ่มอาชพี ตาบลหาดอาษา ๑๔) กลุ่มจกั สานเส้นพลาสติก กลมุ่ อาชีพ ตาบลหาดอาษา ๑๕) กลมุ่ อาชพี การทาข้าวกลอ้ งเพ่ือสุขภาพ กลมุ่ อาชีพ ตาบลหาดอาษา ๑๖) กลุม่ อาชีพการนวดแผนไทย กลมุ่ อาชีพ ตาบลหาดอาษา ๑๗) กลมุ่ เสริมสวย กลุ่มอาชีพ ตาบลหาดอาษา หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 15 จกั ราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 16 ๑๘) วัดศรมี งคล วัด ตาบลหาดอาษา ๑๙) กลุ่มห่นุ ฟางนกเล็ก กลุ่มอาชพี ตาบลตลกุ ๒๐) กลมุ่ ปยุ๋ อินทรียอ์ ัดเม็ด กลุ่มอาชีพ ตาบลตลุก ๒๑) วดั อินทาราม วัด ตาบลตลกุ ๒๒) กลุ่มจกั สานผักตบชวา กลมุ่ อาชีพ ตาบลตลกุ ๒๓) กลุม่ ปยุ๋ อินทรีย์อดั เม็ดชีวภาพ กลุ่มอาชีพ ตาบลตลุก ๒๔) กลุ่มสรรพยาบาติก กลุ่มอาชีพ ตาบลสรรพยา ภาคเี ครอื ข่าย ท่ีตง้ั /ทอ่ี ยู่ ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท ชอื่ ภาคเี ครอื ขา่ ย หมู่ท่ี 2 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 1) อาเภอสรรพยา หมทู่ ี่ 3 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 2) เทศบาลตาบลโพธ์ิพทิ กั ษ์ หมทู่ ี่ 2 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท 3) เทศบาลตาบลโพนางดาตก หมู่ท่ี 7 ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 4) เทศบาลตาบลหาดอาษา หมู่ท่ี 6 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 5) เทศบาลตาบลตลุก หมู่ที่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 6) เทศบาลตาบลโพนางดาออก หมทู่ ี่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 7) เทศบาลตาบลสรรพยา หมทู่ ี่ 4 ตาบลเข้าแก้ว อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท 8) เทศบาลตาบลเจ้าพระยา หมู่ท่ี 1 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 9) องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลเขาแก้ว หมู่ท่ี 2 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท 10) ผใู้ หญบ่ ้านหมทู่ ่ี 1 หมทู่ ่ี 3 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 11) กานนั หมูท่ ่ี 2 หมู่ท่ี 4 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 12) ผู้ใหญบ่ ้านหมทู่ ่ี 3 หมทู่ ี่ 5 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 13) ผใู้ หญบ่ ้านหมทู่ ี่ 4 หมู่ท่ี 6 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 14) ผู้ใหญ่บา้ นหมทู่ ี่ 5 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 15) ผูใ้ หญ่บ้านหมทู่ ่ี 6 ตาบลเขาแก้ว อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 16) ผ้นู าท้องถน่ิ ตาบลหาดอาษา ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 17) ผู้นาชุมชนตาบลเขาแก้ว ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท 18) ผนู้ าชมุ ชนตาบลตลุก ตาบลบางหลวง อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 19) ผนู้ าชุมชนตาบลสรรพยา ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 20) ผู้นาชุมชนตาบลบางหลวง หมูท่ ่ี 5 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 21) ผนู้ าชุมชนตาบลโพนางดาออก หมู่ท่ี 2 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท 22) โรงพยาบาลสรรพยา หมทู่ ี่ 4 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 23) สถานีอนามยั ประจาตาบล หมทู่ ่ี 6 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 24) สถานพยาบาลตาบลโพนางดาตก หมู่ที่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 25) สถานีอนามัยตาบลโพนางดาออก หมู่ที่ 6 ตาบลเขา้ แก้ว อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 26) สถานีอนามัยตาบลสรรพยา หมู่ที่ 1 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 27) สถานีอนามยั ตาบลเขาแก้ว หมทู่ ี่ 1 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 28) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพประจาตาบล หมทู่ ี่ 2 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 29) วดั ตะกู หมทู่ ี่ 3 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท 30) วัดซุ้มกระต่าย หมูท่ ่ี 4 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 31) วดั คงคาราม หมู่ที่ 4 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 32) วัดสามน้ิว 33) วดั โคกเข็ม หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 16 จกั ราวธุ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 17 34) วัดโคกจนั ทร์ หมทู่ ่ี 5 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 35) วดั สะแก หมู่ท่ี 5 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 36) วดั โคกสาโรง หมู่ท่ี 6 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 37) วดั เขาแก้ว หมู่ท่ี 3 ตาบลเข้าแก้ว อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 38) วัดนมโฑ หมู่ท่ี 4 ตาบลเข้าแก้ว อาเภอสรรพยา จังหวดั ชยั นาท 39) โรงเรียนวัดตะกู หมทู่ ี่ 1 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 40) โรงเรยี นวดั โคกจนั ทน์ หมู่ท่ี 5 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 41) โรงเรียนวดั คลองยาง หมทู่ ี่ 6 ตาบลโพนางดาตก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 42) โรงเรยี นวดั หาดอาษา หมู่ที่ 1 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 43) โรงเรยี นวัดศรมี งคล หมทู่ ่ี 5 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 44) โรงเรียนวดั ยางเจรญิ หมู่ท่ี 4 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 45) โรงเรียนวัดโพธป์ิ ระสทิ ธ์ิ หมทู่ ่ี 3 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 46) โรงเรยี นวดั บา้ นหนอง หมทู่ ่ี 8 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 47) โรงเรียนวัดอินทาราม หมู่ท่ี 1 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 48) โรงเรยี นบางไก่เถอื่ น หมู่ท่ี 3 ตาบลตลุก อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 49) โรงเรียนวดั โคกเข็ม หมู่ท่ี 5 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จังหวัดชยั นาท 50) โรงเรยี นวดั มะปราง หมทู่ ี่ 5 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 51) โรงเรียนวดั สมอ หมทู่ ี่ 3 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 52) โรงเรียนชยานุกิจพทิ ยาคม หมทู่ ่ี 6 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 53) โรงเรียนอนุบาลสรรพยา หมทู่ ี่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 54) โรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา หมู่ที่ 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 55) กลุ่มอาชีพเส้นพลาสตกิ หมู่ที่ 1 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 56) กลุ่มอาชพี จกั สานผักตบชวา หมู่ที่ 5 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท 57) กลุ่มอาชีพนวดแผนไทย หมู่ท่ี 3 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท 58) กลุม่ ปยุ๋ อินทรีย์อัดเม็ดตลกุ หมู่ที่ 1 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชยั นาท 59) กล่มุ ห่นุ ฟางนกเล็ก หมู่ท่ี 12 ตาบลตลกุ อาเภอสรรพยา จงั หวัดชัยนาท 60) โรงงาน S.C.S. หมู่ท่ี 6 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 61) โรงงานเฟมนิ า่ หมทู่ ี่ 6 ตาบลหาดอาษา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท 62) ศูนย์ อปพร.หมู่บา้ นตาบลโพนางดาออก หมู่ท่ี 6 ตาบลโพนางดาออก อาเภอสรรพยา จงั หวัดชยั นาท 63) สถานตี ารวจตาบลเขาแก้ว หมทู่ ี่ 3 ตาบลเขาแก้ว อาเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท 64) สถานีตารวจภูธรสรรพยา หมู่ท่ี 4 ตาบลสรรพยา อาเภอสรรพยา จงั หวดั ชัยนาท หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 17 จักราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 18 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ทอี่ ยู่ ชอื่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ การทาปุ๋ยอนิ ทรยี ์อดั เม็ด, การปลกู ผักปลอดสารพิษ, การ ตาบลตลุก ๑) นายสมพงษ์ วงศก์ อ่ เพาะเหด็ โอง่ , การเลี้ยงไก่ไม่เครียด, การเล้ียงหมหู ลมุ ๒) นายนิรนั ด์ ชวนคิด ๓) นางยพุ าพร มีเทศ การทาหุ่นฟางนกเล็ก ตาบลตลุก ๔) นางแจ้ว ภู่ระหงษ์ ๕) นางเสาวนีย์ สรรค์ประสทิ ธ์ การจักสานผกั ตบชวา ตาบลตลกุ ๖) นางบุญรอด กลัดเจรญิ การทานา้ พรกิ ตาบลตลกุ ๗) นางสาวนงเยาว์ แจ่มหนู ๘) นางทองอยู่ รักซ้อน การทาแบคทเี รียกาจดั หนอนแมลง บ้านตลกุ ตาบลตลุก ๙) นางอาไพ กลา่ แกว้ ๑๐) นางลมัย สุขเอี่ยม การทาดอกไม้จากผ้าใยบัว/การทาดอกไมจ้ นั ทน/์ การทา ตาบลบางหลวง ๑๑) นางอาไพ กลา่ แก้ว ๑๒) นายสมศักดิ์ สีหะ พิมแสนน้า ๑๓) นางสุนทร ภมุ มะละ ๑๔) นางบุษบา จรรยา การจักสานเส้นพลาสติก ตาบลบางหลวง ๑๕) นางลาดวน บญุ ถงึ ๑๖) นางสาวถนอมพร อยู่คง การจกั สานเส้นพลาสตกิ ตาบลบางหลวง ๑๗) นายสุนทร คามี ๑๘) นางลมาย กงสบตุ ร์ การจักรสานผักตบชวา ตาบลบางหลวง ๑๙) นางทองสุด ทองอนิ ทร์ ๒๐) นางอนธุ ิดา บุญมี การทาอาหารขนม ตาบลบางหลวง ๒๑) นางเสมา เรืองนคิ ม ๒๒) นางจรวยพร เกิดเสม การจักสานผกั ตบชวา ตาบลบางหลวง ๒๓) นางสุรางค์ อ่อนจ้าย ๒๔) นางอบุ ล ทพั วัตร์ การลดตน้ ทนุ การทานาโดยใชป้ ุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ดชีวภาพ ตาบลโพนางดาออก ๒๕) นางเออื้ มพร แอธน ๒๖) นางสุธมิ า พรมมี การจกั สานผลติ ภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ ตาบลโพนางดาออก ๒๗) นางกาไร มีจู ๒๘) นางสานวล ศกึ ษากจิ การนวดแผนไทย ตาบลโพนางดาออก ๒๙) นางนฤมล ปิ่นสะอาด ๓๐) นายสม พฤกรัตน์ ผลติ ภณั ฑ์จักสานปลาชอ่ นไม้ไผ่ ตาบลโพนางดาออก ๓๑) นายสุพจน์ มาเร่ือง ๓๒) นายสวง ขาวใส การทาไขเ่ คม็ สมนุ ไพร ตาบลเขาแก้ว ๓๓) นายวชิ ยั โพธ์ิยา ๓๔) นางบญุ เลศิ ช้างอยู่ การตัดผมชาย ตาบลเขาแก้ว การปลูกพชื ผกั เกษตรอินทรยี ์ธรรมชาติ ตาบลเขาแก้ว การรอ้ ยลกู ปดั , การทาดอกไม้จนั ทน์ ตาบลเขาแก้ว การถกั โคเชต์ ตาบลเขาแก้ว จกั สานผลติ ภัณฑไ์ มไ้ ผ่ ตาบลเขาแก้ว การจักรสานผกั ตบชวา ตาบลสรรพยา การจกั สานผักตบชวา, ทากระยาสารท ตาบลสรรพยา อาหารขนมไทย ตาบลสรรพยา การออกแบบเส้ือผา้ สาเร็จรูป ตาบลสรรพยา การจักสานผกั ตบชวา ตาบลสรรพยา การทาขา้ วกล้องเพอื่ สุขภาพ, การทาดอกไมจ้ ากดินญีป่ ุ่น ตาบลหาดอาษา จกั สานผักตบชวา ตาบลหาดอาษา การจักสานเส้นพลาสติก ตาบลหาดอาษา การทาไมก้ วาดทางมะพรา้ ว ตาบลโพนางดาตก การนวดแผนไทย ตาบลโพนางดาตก การเลี้ยงปลาดกุ ในกระชงั ตาบลโพนางดาตก การเล้ยี งปลาดุกในกระชัง ตาบลโพนางดาตก การทาอาหาร ขนม น้าพรกิ ตาบลโพนางดาตก หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 18 จักราวุธระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 19 สว่ นท่ี ๒ ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา เหลยี วหลงั แลหน้า กศน.อาเภอสรรพยา กว่าจะมาเป็น กศน.อาเภอสรรพยา ท่ีเห็นและเป็นอยู่ปัจจุบนั ทุกส่ิงทุกอย่างไม่ได้เกิดข้ึนภายในวันสอง วัน มันเกิดจากการทางานจากอดีตโดยคน กศน.ในอดีตประสานทางานร่วมกับคน กศน.ยุคปัจจุบันอย่างแท้จรงิ ทีมงานดาเนินการยกร่างจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ (25๖๓-25๖๗) กศน.อาเภอสรรพยา จึงให้ความสาคัญกับ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิเหล่าน้ี อยากใหท้ ่านได้เหน็ รบั รู้ การพัฒนาการทางาน กศน.ทท่ี า่ นรัก หว่ งใย อยากใหท้ ่านได้ช่ืนชม ความสาเรจ็ ของ กศน.อาเภอสรรพยา ทส่ี ง่ ตอ่ มาสู่ยุคลูกหลาน อยากใหท้ ่านพบปะกนั ถามไถท่ กุ ข์สุข ติดต่อและ ประสานงานกัน จะเป็นการเช่ือมประสานระหว่างคนรุ่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ เพ่ือ “วัฒนธรรม กศน.สรรพยา ของ พวกเรา” เป็นการแสดงออกถึงความกตัญญูรู้คุณต่ออดีตผู้บังคับบัญชา เพ่ือร่วมงาน ความเป็นพ่ีเป็นน้อง สายเลอื ด สายใย คนทีม่ ีใจให้กับงาน กศน. และมคี วามภาคภมู ิใจในองคก์ ร กศน. ของเรา มาร่วมกนั มองออกไปให้ ไกล ๆ มองทงั้ ไทย และมองสงั คมของโลก ดว้ ย มองโลก : เมื่อมองโลกด้านการพัฒนาคนในสตวรรษที่ ๒๑ ทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี 21 ทั่วโลกตั้งเปา หมายสรางใหไดและไปใหถึงความตองการกาลังคนยุค 4.0 ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ สังคมและ สถานการณสังคมสูงวัยไดสงผลใหทุกประเทศท่ัวโลก กาหนดทิศทางการผลิตและพัฒนากาลังคนของประเทศ ตนใหมที ักษะและสมรรถนะระดับสูง มีความสามารถเฉพาะทางมากขนึ้ สวนความตองการกาลังแรงงานทไี่ รฝมือ และมีทักษะต่า จะถูกแทนท่ีดวยหุนยนตและเทคโนโลยีใหม ๆ มากขึ้น การจัดการศึกษาในปจจุบันจึงตอง ปรบั เปล่ยี นใหตอบสนองกับทิศทางการ ผลิตและการพฒั นากาลังคนดงั กลาว โดยมุงเนนการจดั การเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะในศตวรรษ ท่ี 21 เพื่อใหไดทั้งความรูและทักษะท่ีจาเปนตองใชในการดารงชีวิต การ ประกอบอาชีพ และการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศทามกลางกระแสแหงการเปล่ียนแปลง ทักษะ สาคัญจาเปนในโลกศตวรรษท่ี 21 ประกอบดวย ทักษะที่เรียกตามคายอวา “3Rs + 8Cs” 3Rs ประกอบดวย ๑. อานออก (Reading) ๒. เขียนได (WRiting) ๓. คดิ เลขเปน (ARithmetics) 8Cs ประกอบดวย ๑. ทกั ษะดานการคดิ อยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ๒. ทกั ษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ๓. ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน (Cross – cultural Understanding) ๔. ทักษะดานความรวมมือ การทางานเปนทีม และภาวะผูนา (Collaboration Teamwork and Leadership) ๕. ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และรูเทาทันส่ือ (Communications, Information and Media Literacy) ๖. ทกั ษะดานคอมพวิ เตอร และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy) หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 19 จกั ราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 20 ๗. ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู (Career and Learning Skills) ๘. ความมีเมตตา กรุณา วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion) มองไทย : สภาพบ้านเมืองเราทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ท่ีเห็นได้ชัดเจนว่าสังคมได้เปลี่ยน จากยุคเกษตร มา เป็นยุคอุตสาหกรรม แล้วส่งต่ออย่างรวดเร็วมาสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร แล้วไปยุคไอทีเทคโนโลยีและการส่ือสาร มา ตอนนี้เข้าสู่ยุคเทคโนโลยีดิจิทัล คิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม กศน.ก็ต้องปรับเปลี่ยนไม่ว่าจะเป็น ช่ือหน่วยงาน โครงสร้างการบรหิ าร บุคลากร วิสัยทัศน์ พันธกิจ รูปแบบการจัดและบรกิ ารการศึกษา กลุ่มเป้าหมายผู้เรยี นและ ผู้รับบริการ ภาคีเครือข่าย ฯลฯ แต่อุดมการณ์การทางานสาหรับประชาชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาส พลาดโอกาส ขาด โอกาส และกรอบภารกิจของงาน 3 ภารกิจ คือ การศึกษาพื้นฐาน การศึกษาเพ่ืออาชีพ และการศึกษาตาม อัธยาศัย และจุดมุ่งหมายของงาน กศน. #ไม่เคยเปลี่ยนแปลง# เพราะ กศน.เป็นการศึกษาเพ่ือเตมิ เตม็ ชดเชย และเสริมสรา้ งโอกาสทางการศึกษา ... มาเหลียวหลงั แลไปข้างหนา้ กศน.สรรพยา มาคยุ แลกเปลย่ี นหว้ งเวลาแคบ ๆ ชว่ งยคุ เทคโนโลยีและการ ส่ือสาร มายุคเทคโนโลยีดิจิทัล ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว กศน.สรรพยา โดยองค์รวมทุกคนทุกท่านทมี่ สี ่วนร่วมสงั เคราะห์ วิพากวจิ ารณ์ เหน็ พ้องไปในทศิ ทางเดียวกนั วา่ จากน้ีไป ระยะเวลา ๕ ปี (25๖๓-25๖๗) ข้างหน้า เห็นว่า *** ต้องปรับเปล่ียนการบริหารสมัยใหม่ พัฒนา บคุ ลากรทกุ ระดบั ให้เป็นมอื อาชพี ปรบั ปรุงเนือ้ หาหลกั สูตรให้ทนั สมัย รปู แบบการเรียนรู้ ส่อื นวตั กรรมการเรียนรู้ ท่ีเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล(ออนไลน์) มากขึ้น จัดการศึกษาและบริการการศึกษาเฉพาะ กลุม่ เชน่ ผสู้ ูงอายุ แรงงานตา่ งด้าว คนพกิ าร ผจู้ บการศึกษาสูงกว่าการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ปรญิ ญาตรีขน้ึ ไปแต่อยาก เรียนหลักสูตรระยะส้ันเพิ่มเติม เพ่ือยกระดับทักษะ หรือเปลี่ยนทักษะใหม่ให้ตรงกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน กศน.อาเภอสรรพยา ต้องทางานเชิงรุกร่วมกับภาคีเครือข่ายแบบบูรณาการ โดยใช้เทคโนโลยี คิด สร้างสรรค์ พัฒนานวัตกรรม จัดและบริการการศึกษาท่ีมี \"คุณภาพ\" และมี \"คุณค่า\" เนื้อหาสาระที่เรียนสามารถ นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ และใชไ้ ด้ทันทใี นการดาเนินชีวติ ***...(ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการจัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพ (25๖๓-25 ๖๗) กศน.อาเภอสรรพยา วันจันทร์-องั คารท่ี ๒๘-๒๙ ตลุ าคม 2562 ณ หอ้ งประชุมพ่งึ สขุ กศน.อาเภอสรรพยา และประชุมรับฟังการทบทวน วิพากวจิ ารณ์จากบุคคล ผู้แทนภาคเี ครอื ข่าย ท่ีเกยี่ วข้องในฐานะผูม้ ีส่วนได้เสีย วัน องั คารที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ หอ้ งประชุมพ่ึงสขุ กศน.อาเภอสรรพยา)... ประเดน็ ทแ่ี ลไปขา้ งหน้าว่า เราจะทาอยา่ งไรถึงใหก้ ารจดั การศกึ ษาของเราเป็นไปตามทพี่ วกเราท้ังในอดีต ปัจจุบันเห็นรว่ มกันดังกล่าว ได้ข้อยุติรว่ มกันวา่ “ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาคุณภาพของเรา จงึ จะพฒั นา \"คน\" ให้มีความรู้ เป็นพลเมอื งที่ดี มีคุณธรรม มีทัศนคติท่ีดีและถูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง มีทักษะชีวติ ที่จาเป็นในยคุ ดจิ ิทลั เทคโนโลยี มีอาชพี มีงานทา มีรายได้ มีการศกึ ษาชุมชน ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทยและบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ ไทย ศาสตร์พระราชาและการปลูกจิตสานึกรักษ์บ้านเกิด เทิดทูนสถาบันหลักของชาติ มีจิตอาสา รักษา ส่ิงแวดล้อมร่วมพฒั นาสงั คม และอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติสขุ ” ประกอบกบั เพื่อให้สอดรบั กับทิศทางการบริหารงาน ของ ฯพณฯ นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รมว.ศึกษาธิการ ปัจจุบัน (๓๐ กันยายน ๒๕๖๒) ที่ว่า แนวทางที่จะ ขับเคลื่อนการศึกษา...เพ่ิมขีดความสามารถของประเทศ ซ่ึงจะต้องมีบุคลากรคุณภาพสูง การเรียนการสอน 3 ภาษา มีโอกาสการศึกษาท่ีเท่าเทียม มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีระบบการศึกษาท่ียืดหยุ่นระหวา่ งสายสามัญ กับสายอาชีพสาย โดยจะเป็นการวางแผนงานแบบก้าวกระโดดเริ่มต้ังแต่สร้างคน แก้หน้ี และ ปรับระบบเพ่ือ นาไปสกู่ ารเรยี นรใู้ นโลกศตวรรษท่ี 21 ... แล้วจะทาอยา่ งไร เรามาวางแผนกันตอ่ ไปตามแนวนี้ … หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 20 จกั ราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 21 วเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งนโยบาย จดุ เนน้ และทศิ ทางการพฒั นาสถานศกึ ษา สาระสาคัญของแผนพฒั นาคุณภาพ (25๖๓-25๖๗) กศน.อาเภอสรรพยา ได้กาหนดกรอบแนวทางใน การปฏิบัติงานในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ กศน.อาเภอสรรพยา โดยสถานศึกษาได้ประชุมบุคลากร ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษา ผ้แู ทนองค์กรนกั ศกึ ษา ผแู้ ทนภาคเี ครือขา่ ย เพ่ือร่วมกันประเมนิ สถานการณ์ของ สถานศึกษา โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและ จดุ ออ่ นจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทัง้ โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดลอ้ มภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนาผลไปใช้ในการกาหนดทิศทางการดาเนินงานของ สถานศกึ ษา ซง่ึ ไดผ้ ลการประเมนิ สถานการณข์ องสถานศึกษา ดงั น้ี เหตผุ ลและความจาเปน็ พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 หมวด 1 มาตรา 9(3) ระบวุ ่าการจดั การศึกษาใหย้ ึดหลกั ต้องมกี ารกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพเพอ่ื จัดการศกึ ษาให้ สอดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ตรงปญั หาความตอ้ งการของประชาชน และหมวด 6 มาตรา ๔๗ , มาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 เช่นกนั ไดร้ ะบุ มาตรา ๔๗ ว่าใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดบั ประกอบดว้ ย ระบบการประกนั คุณภาพภายในและระบบการประกนั คุณภาพภายนอกระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง และ มาตรา ๔๘ ว่าใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั และ สถานศกึ ษาจดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาและให้ถอื ว่าการประกนั คณุ ภาพภายในเปน็ สว่ น หนงึ่ ของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษาท่ีต้องดาเนนิ การอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิงานประจาปแี ละรายงานประจาปี เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด หน่วยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง และ เปดิ เผยตอ่ สาธารณชน เพ่อื นาไปส่กู ารพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประกันคณุ ภาพ ภายนอก จากเหตุและผลตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ดังกล่าว เป็นภารกิจท่ี จาเป็นสาหรับสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขึ้นและดาเนินการพัฒนา ควบคมุ คณุ ภาพและตรวจติดตามภายในสถานศึกษาให้เกิดคุณภาพ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอสรรพยา ประกอบกับตั้งแตใ่ นปี ๒๕๖๐ เป็นต้นมา มีการขับเคลื่อนปฏิรปู การศึกษา ให้สอดคล้อง กับยคุ การศึกษา ๔.๐ จงึ ดาเนินการทบทวนและปรับปรุง แกไ้ ขเพม่ิ เติม มองย้อนไปตั้งแต่ ฉบับท่ี ๑ ถงึ ฉบับที่ ๕ ของ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา จากระยะ ๓ ปี มาเป็นระยะ ๕ ปี คือ ฉบับท่ี ๖ ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๗ ข้ึน เพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์อย่างต่อเน่ืองสอดคล้องตอบโจทก์เสนอต่อนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาของแผนบริหารราชการแผ่นดิน และยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนพัฒนา การศึกษาแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 25๖๐–25๗๙) ประการสาคัญต้องมีความเชื่อมโยงสอดรับกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (25๖๐-25๖๔) แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ของสานักงาน กศน. 20 ปี (2560-2579) เพ่ือให้การดาเนนิ งานของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสรรพยา สนองตอ่ ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น นโยบายของสานักงาน กศน. และกระทรวงศกึ ษาธิการ ตลอดจนการ ขับเคลือ่ นปฏิรูปการศึกษา ให้สอดคลอ้ งกบั ยุคการศกึ ษา ๔.๐ และยุทธศาสตร์ เป้าหมาย แผนพฒั นาการศึกษา แห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. 25๖๐–25๗๙) แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของสานกั งาน กศน. 20 ปี (2560-2579) และสอดคล้องกบั ทิศทางการพฒั นาของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยนาภารกจิ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สานักงาน กศน.และสานักงาน กศน.จงั หวัดชยั นาท ด้านการศกึ ษา บริบท หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 21 จักราวธุ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 22 ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องมาเชื่อมโยงกับบทบาทอานาจหน้าท่ขี องสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา มาเปน็ กรอบแนวทาง ในการจัดทาดงั นี้ วเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งนโยบาย จดุ เนน้ แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอสรรพยา มาเพ่อื ประกอบการวเิ คราะหใ์ ห้เห็นว่าแผนงาน/โครงการตา่ ง ๆ ตามที่คณะกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.256๓-256๗) คาสั่ง กศน.อาเภอสรรพยา ที่ ๑๖๑/๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ซึง่ ได้มีการประชมุ ยกรา่ งจัดทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.256๓-256๗) ในระหว่างวันท่ี ๒๙-๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ และดาเนนิ การทบทวน และวิพากยร์ า่ งแผนพัฒนา คณุ ภาพการศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.256๓-256๗) ในวันที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ เพอื่ ให้ มคี วามสมบูรณ์และมปี ระสิทธภิ าพแบบมีส่วนรว่ มจากผู้มีส่วนไดเ้ สยี ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยของอาเภอสรรพยา ประกอบไปด้วย ผแู้ ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา จานวน ๓ ท่าน (ประธาน คณะกรรมการ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒดิ า้ นการศกึ ษาและผู้ทรงคุณวฒุ ดิ า้ นภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ) ผแู้ ทนภาคีเครอื ข่าย ดา้ นผู้นาองค์การปกครองทอ้ งถ่นิ จานวน ๑ ท่าน (นายกเทศมนตรี เทศบาลตาบลเจ้าพระยา) ผู้แทนภาคีเครอื ข่าย ดา้ นองคก์ รนกั ศึกษา จานวน ๒ ท่าน (ประธานองคก์ รนกั ศกึ ษากลมุ่ โซนเขาแก้วและกล่มุ โซนเขาสรรพยา) ผแู้ ทน ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา(นางสาวกัญญาภคั ชื่นจิตร์) ผ้แู ทนครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น (นางนิตยา โชติพรม) ผูแ้ ทนครู กศน.ตาบล (นางสมหญิง การนิ ทร์) ผแู้ ทนลกู จ้างประจา(นายชยั สิทธ์ แตงฉ่า) ผู้แทนลูกจ้างเหมาบรกิ ารสายการสอน(นางสาววรรณา ทองวัง ครผู ู้สอนคนพิการ) เปน็ ต้น โดยผู้แทนผ้มู สี ่วนได้ เสียในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดังกลา่ วได้ร่วมกนั ดาเนนิ การทบทวน และวพิ ากยร์ า่ ง แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน.อาเภอสรรพยา ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.256๓-256๗) ทเ่ี สนอมานั้น ถกู ทศิ ทาง ต่อ การพัฒนาการจัดการศึกษาหรอื ไม่ และเกดิ ประโยชนแ์ ละค้มุ คา่ กับการใช้จ่ายงบประมาณมากนอ้ ยเพียงใด สรุปพอ สงั เขป ดงั น้ี ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ภายใต้วิสัยทัศน์ “มัน่ คง มั่งคั่ง ยั่งยนื ” ของประเทศ ยึดกรอบแนวคิดและหลกั การในการวางแผนที่สาคญั ดงั น้ี (1) การนอ้ มนาและประยกุ ต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2) คนเป็นศูนยก์ ลางของการพฒั นาอย่างมสี ว่ นร่วม (3) การสนับสนุนและสง่ เสริมแนวคดิ การปฏิรปู ประเทศ (4) การพฒั นาส่คู วามมั่นคง ม่งั คง่ั ยัง่ ยืน สังคมอย่รู ว่ มกนั อย่างมคี วามสุข >>> เป้าหมาย การกาหนดตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ (Country Strategic Positioning) เป็นการกาหนด ตาแหนง่ ทางยทุ ธศาสตรข์ องประเทศท่ีสอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติท่ี สศช. ได้จัดทาข้นึ ประเทศไทยเป็นประเทศ รายได้สูงทีม่ ีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนสง่ และโลจิสติกส์ของภมู ภิ าคสู่ความเป็น ชาติการค้าและบริการ (Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรยี ์และเกษตรปลอดภัย แหลง่ อตุ สาหกรรมสร้างสรรคแ์ ละมนี วัตกรรมสงู ทีเ่ ปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม ท่สี าคญั โดยสรปุ ดังน้ี ๑. การหลุดพน้ จากกับดกั ประเทศรายไดป้ านกลางสู่รายไดส้ ูง (1) เศรษฐกจิ ขยายตวั เฉลยี่ ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 5.0 (2) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (GDP Per Capita) และรายได้ประชาชาติต่อหัว (GNP Per Capita) ณ สิ้นแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 ในปี 2564 เพิ่มขึ้นเป็น 317,051 บาท (9,325 ดอลลาร์ สรอ.) และ 301,199 บาท (8,859 ดอลลาร์ สรอ.) ต่อคนต่อปี หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 22 จกั ราวุธระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 23 (3) ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นไมต่ ่ากว่าเฉลี่ยรอ้ ยละ 2.5 ต่อปี (4) การลงทนุ รวมขยายตวั ไมต่ า่ กวา่ เฉลยี่ ร้อยละ 8.0 (การขยายตัวของการลงทุนภาครัฐไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 10.0 และการลงทุนของภาคเอกชนขยายตัวไม่ต่ากว่าเฉลี่ยร้อยละ 7.5 ในขณะท่ีปริมาณการส่งออกขยายตัว เฉลยี่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 4.0 ตอ่ ป)ี ๒. การลดความเหลื่อมล้าทางสังคม (1) การกระจายรายไดม้ ีความเทา่ เทียมกนั มากข้นึ การยกระดับรายได้และสรา้ งโอกาสในการประกอบอาชพี มุ่งเนน้ การเพมิ่ ผลิตภาพแรงงาน โดย สนับสนุนให้แรงงานมีโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานอย่างมีมาตรฐาน ปรับโครงสร้าง ค่าจ้างแรงงานให้ชัดเจนและสะท้อนทักษะฝีมือแรงงานอย่างแท้จริง เร่งผลักดันให้การใช้ระบบมาตรฐานคุณวฒุ ิ วิชาชีพและมาตรฐานฝีมือแรงงานในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ เพ่ิมผลิตภาพทางการผลิตของ เกษตรกรรายย่อย โดยสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาและการผลิตทางการเกษตรท่ีสอดคล้องกับพื้นท่ี สร้าง หลักประกันรายได้แทนการอุดหนนุ ด้านราคาสนิ คา้ เกษตร ลดต้นทนุ ทางการเกษตรโดยสนับสนนุ ปัจจัยการผลิต (2) บริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอยา่ งทวั่ ถึง การจัดบรกิ ารทางสังคมใหท้ กุ คนตามสิทธขิ ้ันพน้ื ฐาน และเนน้ การสรา้ งภูมคิ มุ้ กันระดับปัจเจก โดย - พัฒนาระบบบริการสาธารณะใหม้ ีคุณภาพและมีช่องทางการเข้าถึงอย่างหลากหลายโดยเฉพาะระบบบริการ สาธารณสุขและการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สวัสดกิ ารสงั คม และกระบวนการยุติธรรม - สนับสนุนการจัดหาท่ีอยู่อาศยั ของผู้มรี ายได้น้อยและการเขา้ ถึงระบบสาธารณูปโภค กาหนดเปน็ นโยบายท่ีอยู่ อาศยั แหง่ ชาติและเมอื งน่าอยู่ พฒั นาโครงการทีอ่ ย่อู าศัยแก้ปัญหาชุมชนแออัดในเมืองโดยดาเนินการร่วมกับภาค ธุรกิจเอกชน - การจัดรูปแบบสวัสดิการพ้ืนฐานที่จ้าเป็นและเหมาะสมตามกลุ่มเป้าหมาย(Customized Welfare) ที่ คานึงถงึ ฐานะทางเศรษฐกจิ และสงั คมที่แตกตา่ งกัน โดยมแี นวทางการรับภาระค่าใชจ้ ่ายร่วมกนั (Cost Sharing) (๓) การสรา้ งความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ ทรพั ยากร การสรา้ งความเสมอภาคในการเข้าถึงทรัพยากร โดยปฏิรปู ท่ีดินเพ่ือการเกษตรสนับสนนุ ให้เกษตรกรราย ย่อยท่ีไร้ที่ดินท้ากินและยากจนไดม้ ีที่ดินเป็นของตนเองหรือมีสิทธทิ ้ากินในที่ดินปฏิรูประบบการบริหารจัดการน้า อย่างเป็นระบบและเข้าถึงพ้ืนท่ีเป้าหมายได้อย่างแท้จริงด้วยการผลักดันพรบ.ทรัพยากรน้า พ.ศ. .... และบูรณา การแผนงานและงบประมาณร่วมกนั ของหน่วยงาน และสรา้ งกระบวนการมีสว่ นรว่ ม รวมทัง้ ปรบั โครงสรา้ งภาษีท่ี เปน็ ธรรม เชน่ ภาษีทด่ี นิ และส่งิ ปลูกสรา้ ง ภาษีมรดก และภาษสี ิ่งแวดลอ้ ม เป็นตน้ (๔) การเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างเสมอภาค การค้มุ ครองสิทธิขั้นพื้นฐาน การเขา้ ถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมอย่างเสมอภาค การคุม้ ครองสทิ ธิข้นั พ้นื ฐาน และการเขา้ ถึงกระบวนการ ยตุ ธิ รรมอย่างเท่าเทียมโดยการเสรมิ ศักยภาพและความเข้มแขง็ ด้านกฎหมายให้แก่ประชาชน รวมทงั้ การปรับปรุง และบังคับใช้กฎหมายเพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้า เช่น กฎหมายป่าชุมชนกฎหมายภาษีมรดก กฎหมายท่ีดิน เป็นต้น หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 23 จักราวุธระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 24 การสร้างการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจและสังคมทเี่ ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม (1) รักษาความมั่นคงของฐานทรพั ยากร สร้างสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์อย่างยัง่ ยนื และเปน็ ธรรม การรักษาทุนทางธรรมชาติเพ่ือการเติบโตสีเขียว ใช้ประโยชนจ์ ากทุนธรรมชาติโดยคานึงถึงขีดจ้ากัดและ ศักยภาพในการฟ้ืนตัว ปกป้องรักษาทรพั ยากรป่าไม้ โดยสนธิกาลังของทุกภาคส่วนนาระบบสารสนเทศมาใช้เพอ่ื การบรหิ ารจัดการ บงั คบั ใช้กฎหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพและเปน็ ธรรม เพ่มิ พ้ืนทีป่ ่าไม้โดยสง่ เสรมิ การปลูกไม้มีค่า ทางเศรษฐกิจระยะยาว อนุรกั ษ์และใช้ประโยชนค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพอย่างย่งั ยืนและแบ่งปนั ผลประโยชน์ อย่างเป็นธรรม รวมทั้งผลักดันแนวทางการประเมินมูลค่าของระบบนิเวศและการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์ จัดสรรท่ีดินให้แก่ผู้ยากไร้ กระจายการถือครองท่ีดิน จัดท้าฐานข้อมูลที่ดินเพ่ือการบรหิ ารจัดการอยา่ งเป็นระบบ การจัดเก็บภาษีท่ีดินในอัตราก้าวหนา้ กาหนดเพดานการถือครองท่ีดินที่เหมาะสม และกาหนดมาตรการป้องกัน การถือครองที่ดินของคนต่างชาติ บริหารจัดการน้าเพ่ือให้เกิดความยั่งยืน บูรณาการระหว่างหน่วยงานอย่างเป็น ระบบ สร้างศูนย์ข้อมูลทรัพยากรน้า จัดตั้งองค์กรบริหารจัดการน้าในระดับพ้ืนที่ เช่น คณะกรรมการลุ่มน้าและ องค์กรผู้ใช้น้า คุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ลดความขัดแย้งเชิงนโยบายระหวา่ งการพัฒนาโครงสรา้ ง พ้ืนฐาน การทอ่ งเทีย่ ว การประมง และวิถชี วี ติ ของชมุ ชนบริหารจดั การแรโ่ ดยกาหนดปรมิ าณทเ่ี หมาะสมในการน้า แร่มาใช้ประโยชน์ คานึงถึงความจาเป็นและมูลค่าในอนาคต บังคับใช้มาตรการควบคุมผลกระทบจากการท้า เหมอื งแรท่ ี่ก่อมลพิษต่อสภาพแวดลอ้ มและสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน (2) ขับเคลอ่ื นประเทศส่เู ศรษฐกจิ และสงั คมท่ีเป็นมติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม การส่งเสริมการบริโภคท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างระบบหมุนเวียนวัสดุท่ีใช้แล้ว ท่ีมีประสิทธิภาพ ขับเคล่ือนสู่ Zero Waste Society ผ่านมาตรการต่างๆ เช่น การปฏิรูประบบภาษีและค่าธร รมเนียมเพ่ือ สิ่งแวดล้อม การศกึ ษาเพ่ือสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรฐานและฉลากสินค้า เปน็ ตน้ (3) เพม่ิ ขีดความสามารถในการรบั มือภัยพบิ ตั ิและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การส่งเสรมิ การผลิต การลงทุน และการสรา้ งงานสเี ขียว เพอื่ ยกระดับประเทศสเู่ ศรษฐกจิ และสังคมท่ีเป็น มิตรกับส่ิงแวดล้อม พัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมสีเขียว ส่งเสริมผู้ประกอบการให้สามารถปรับระบบสู่ห่วงโซ่ อปุ ทานหรอื หว่ งโซค่ ุณคา่ ทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม (Green Supply Chain/Green Value Chain) ส่งเสริมการท้า การเกษตรกรรมยง่ั ยนื รวมทงั้ ส่งเสรมิ ภาคบริการทมี่ ีผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อย เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยมีศกั ยภาพ ให้มีบทบาทมากข้นึ ในการขับเคลอื่ นเศรษฐกิจ (4) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพและเสริมสรา้ งธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม การจัดการมลพิษและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ด้วยการเรง่ รัดการควบคุมมลพิษทง้ั ทางอากาศ ขยะ น้า เสีย และของเสียอันตราย ท่ีเกิดจากการผลิตและบริโภค เพ่ือสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมทีด่ ีให้กับประชาชน เร่งรัด แก้ไขปัญหาการจัดการขยะเป็นล้าดับแรก โดยส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ให้มาก ท่สี ดุ เร่งกาจัดขยะมูลฝอยตกคา้ งสะสมในสถานทีก่ าจัดในพน้ื ทว่ี ิกฤต สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของ เสยี อันตรายทเี่ หมาะสม เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน สร้างวินัยของคนในชาติมงุ่ ส่กู ารจัดการทยี่ ั่งยืน โดยให้ความรู้ แก่ประชาชน และการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย (5) มีการบริหารจัดการน้าให้สมดุลระหวา่ งการอุปสงค์และอปุ ทานของน้า การพัฒนาความรว่ มมือด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ผลักดันการจัดท้าแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของอาเซียน หาแนวทางความร่วมมือกับอาเซียนและอนภุ ูมิภาคลุ่มนา้ โขงใน ประเด็นการขนส่งข้ามพรมแดน การเคลื่อนย้ายแรงงาน การบริหารจัดการพลังงานและการบริหารจัด การ ทรัพยากรธรรมชาติ หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 24 จักราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 25 (๖) การเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวเพอื่ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและการบรหิ าร จดั การเพอ่ื ลดความเสี่ยงดา้ นภัยพบิ ัติ การเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการบริหาร จัดการเพื่อลดความเส่ียงด้านภัยพิบัติ เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ เพ่ิมศักยภาพในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้กับทุกภาคส่วน ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาทาง วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมเพื่อลดผลกระทบและปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ พฒั นา ระบบฐานข้อมลู และระบบการเตือนภยั ตลอดจนสง่ เสริมความร่วมมือระหวา่ งประเทศดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ให้ความสาคัญกับการป้องกันน้าท่วม วางแผนป้องกันเมืองและพื้นท่ีชายฝ่ัง พัฒนาเมืองท่ีสามารถปรับตัวและยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Resilience City) การ ให้บริการของระบบนิเวศ ส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนในการรับมือภัยพิบัติโดยสร้างแนวป้องกันตาม ธรรมชาติ และการจัดท้าแผนธุรกิจต่อเนื่อง รวมทั้งการพัฒนาระบบการจัดการภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพพร้อม รองรบั แนวโนม้ การเกิดภยั พิบตั ิท่ีรุนแรงในอนาคต การบริหารราชการแผ่นดนิ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ (1) การบรหิ ารงานภาครฐั ที่โปร่งใส เป็นธรรม มีประสทิ ธภิ าพ และมสี ว่ นร่วม การสร้างความโปร่งใสในทุกข้นั ตอนของการปฏิบัตริ าชการโดยให้มีช่องทางให้ทุกภาคสว่ นสามารถเข้าถึง เข้าตรวจสอบขอ้ มูลของภาคราชการและร้องเรียนได้ เชน่ ขอ้ มลู การประกวดราคาจดั ซ้ือ จดั จา้ งโครงการของทาง ราชการ ข้อมูลการประมูลโครงการ ผู้ชนะการประมูลและราคาปิดประมลู ข้อมูลความก้าวหน้าตามกระบวนการ ยตุ ิธรรม เช่น คดที ี่ไม่ดาเนนิ การตามหลกั ธรรมาภิบาล คดีทจุ ริตคอรร์ ัปชันและคดีที่ประชาชนให้ความสนใจในแต่ ละยุคสมัย ฯลฯ (2) ขจดั การทุจรติ คอร์รัปชนั่ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความเป็นมืออาชีพและเพียงพอต่อการขับเคล่ือนภารกิจภาครัฐร่วมกับ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมที่เปล่ียนแปลงไป เพ่ือให้ระบบราชการเล็กกะทัดรัดแต่มีความคล่องตัวและมี ประสทิ ธภิ าพสงู (3) มีการกระจายอานาจทเ่ี หมาะสม การสร้างรปู แบบการพฒั นา อปท. ใหเ้ หมาะสม สามารถรับมือการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดล้อม รวมท้ังเปน็ แกนหลกั ในการประสานเครอื ขา่ ยและเช่อื มโยงภาคส่วนตา่ ง ๆ ในระดบั พนื้ ทีไ่ ด้อย่างมี ประสิทธิภาพ (4) การสร้างระบบตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผลท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ การสร้างระบบตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมนิ ผลท่มี ปี ระสิทธภิ าพ สร้างผลงานที่มคี ุณภาพ รวดเรว็ และ นา่ เช่อื ถือ สามารถเป็นเครื่องมือให้กับคณะรัฐมนตรีประกอบการตดั สินใจในเชิงนโยบายได้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ การ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลโครงการใหญๆ่ ท่มี กี ารใช้จา่ ยงบประมาณเป็นจานวนมาก และเปน็ โครงการท่ีมผี ลกระทบในวง กวา้ ง การพฒั นาศกั ยภาพคนใหส้ นบั สนนุ การเจรญิ เตบิ โตของประเทศและการสร้างสงั คมสูงวัยอย่างมคี ณุ ภาพ (1) ประชาชนทุกชว่ งวัยมคี วามมน่ั คงทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคม (Socio-Economic Security) และมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การพัฒนาศักยภาพคนในทุกช่วงวยั ให้สนับสนนุ การเจริญเติบโตของประเทศ โดยช่วงวัยเดก็ ตัง้ แตแ่ รกเกิดให้มพี ัฒนาการท่ีสมวัยในทุกด้าน วัยเรยี น วยั รนุ่ ใหม้ ีทกั ษะการเรียนรู้ ทักษะชวี ติ สามารถอยรู่ ่วมกับ ผู้อ่ืนภายใต้บริบทสังคมท่ีเป็นพหุวัฒนธรรม วัยแรงงานให้มีการพัฒนายกระดับสมรรถนะฝีมือแรงงานเพื่อสร้าง หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 25 จักราวุธระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 26 ผลติ ภาพเพ่มิ ให้กบั ประเทศ วัยผสู้ ูงอายุใหม้ ีการท้างานท่ีเหมาะสมตามศกั ยภาพและประสบการณ์ มรี ายได้ในการ ดารงชีวิต มีการสร้างเสริมและฟ้ืนฟูสุขภาพเพ่ือป้องกันหรือชะลอความทุพพลภาพและโรคเร้ือรังต่างๆ ที่จะ กอ่ ใหเ้ กิดภาระแก่ปจั เจกบคุ คล ครอบครวั และระบบบรกิ ารสุขภาพ (2) การศึกษาและการเรยี นรู้ไดร้ ับการพฒั นาคณุ ภาพ การยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู้ใหม้ ีคุณภาพ เท่าเทียมและทว่ั ถึง โดย - ปฏิรูประบบบริหารจัดการทางการศึกษา โดยปรับระบบบริหารจัดการการศึกษาใหม่เพ่ือสร้างความ รับผิดชอบต่อผลลพั ธ์ (Accountability) - ปฏิรูประบบการคลงั ด้านการศกึ ษา เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพและประสิทธิภาพการจัดการศึกษาโดยการจัดสรร งบประมาณตรงสผู่ ู้เรียน สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มจากภาคเอกชนในการจดั การศกึ ษา - พัฒนาคุณภาพครูทั้งระบบ ตั้งแต่กระบวนการผลิต สรรหา และการคัดเลือกให้ได้คนดีคนเก่ง รวมท้ัง ระบบการประเมนิ และรับรองคณุ ภาพที่เน้นผลลัพธจ์ ากตวั ผู้เรยี น และ - ปฏิรูประบบการเรยี นรู้ โดยมุ่งจัดการเรยี นรู้เพื่อสร้างสมรรถนะกาลังคนทัง้ ระบบการศึกษาตัง้ แต่ระดับ ปฐมศกึ ษาจนถงึ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต พฒั นาส่อื เพ่อื การเรยี นรู้ ปรบั หลักสตู รและผลิตกาลังคนใหส้ อดคล้องกับการ เปลีย่ นแปลงและความตอ้ งการของตลาด การวิจยั และการใช้เทคโนโลยีและส่อื เพ่ือการเรยี นรู้ (3) สถาบนั ทางสงั คมมีความเขม้ แข็งเป็นฐานรากทีเ่ อ้ือตอ่ การพัฒนาคน การพฒั นาด้านสุขภาพ โดยสง่ เสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการแพทย์เพอ่ื รองรับการเป็น สงั คมผู้สงู อายุทงั้ ในดา้ นผลิตภัณฑ์สุขภาพและทีอ่ ยอู่ าศยั สาหรับผู้สงู อายุ ยกระดับการบรหิ ารจัดการระบบสุขภาพ เพ่ือลดความเหลื่อมล้าและสร้างความยั่งยืนในระยะยาว โดยพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหาร ทรัพยากรด้านสาธารณสุข บูรณาการระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐให้เกิดความเป็นเอกภาพในการบริหาร จดั การและการใชท้ รพั ยากร และส่งเสรมิ การอภิบาลระบบสุขภาพในรูปแบบเครอื ข่ายทมี่ ีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน พัฒนาศักยภาพของประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติท้ังในด้านศูนย์กลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) ศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสรมิ สขุ ภาพ (Wellness Hub) ศูนยก์ ลางยาและผลติ ภัณฑ์เพ่ือ สุขภาพ (Product Hub) และศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) เพ่ือน้ารายได้กลับมาใช้ ยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุขภายในประเทศรวมท้งั ส่งเสริมการใหค้ วามสาคัญกบั มิติสขุ ภาพในทุกนโยบาย สาธารณะ (Health in All Policies) เพ่ือให้การขับเคล่ือนนโยบายของทุกภาคส่วนตระหนักถึงผลกระทบของ นโยบายสาธารณะที่มีต่อสขุ ภาพของประชาชน (4.) การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอ้ือต่อการดารงชีพในสังคมสูงวัย โดยการปรับปรุง สภาพแวดล้อมและความจาเป็นทางกายภาพให้เหมาะกับวัย และการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุในรูปแบบที่ หลากหลายท้ังในด้านการจดั บรกิ ารสุขภาพและสวสั ดกิ ารสงั คมอย่างบรู ณาการ โดยการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังพัฒนาชุมชนที่มีศักยภาพและความพร้อมให้เป็นต้นแบบของการดูแลผู้สูงอายุเพ่ือขยายผล ไปสู่ชุมชนอืน่ ตลอดจนการพฒั นานวตั กรรมในการใช้ชีวติ ประจา้ วันสาหรับผสู้ งู อายุ ข. หลักการสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) การพฒั นาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 จะมงุ่ บรรลเุ ปา้ หมายในระยะ 5 ปี ที่จะสามารถ ต่อยอดในระยะต่อไปเพ่อื ให้การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาระยะยาวตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี โดยมีหลักการ สาคญั ของแผนพัฒนาฯ ดงั น้ี หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 26 จักราวุธระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 27 1. ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องมาต้ังแต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 เพ่ือให้เกิดบูรณา การการพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณและมีระบบภูมิคุ้มกนั และการบริหารจัดการความ เส่ยี งทีด่ ี 2. ยึด “คนเป็นศูนยก์ ลางการพัฒนา” มุ่งสรา้ งคุณภาพชีวติ และสขุ ภาวะที่ดสี าหรับคนไทยพัฒนาคนให้มี ความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติท่ีดี รับผิดชอบต่อสังคม มจี รยิ ธรรมและคณุ ธรรม 3. ยึด “วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี” มาเป็นกรอบของวสิ ัยทัศน์ประเทศไทยในแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรอื เปน็ คติพจน์ประจาชาติวา่ “มั่งคง มั่งคั่ง ย่งั ยนื ” 4. ยดึ “เปา้ หมายอนาคตประเทศไทยปี 2579” ท่ีเป็นเป้าหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มาเปน็ กรอบ ในการกาหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเปา้ หมายในระดับยอ่ ยลงมา โดยทีเ่ ปา้ หมายและตัวช้ีวัดในด้าน ตา่ ง ๆ มคี วามสอดคลอ้ งกับกรอบเปา้ หมายท่ียง่ั ยนื (SDGs) 5. ยึด “หลกั การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลือ่ มล้าและขับเคลอ่ื นการเจริญเตบิ โต จากการ เพ่ิมผลติ ภาพการผลติ บนฐานของการใช้ภูมปิ ญั ญาและนวัตกรรม” แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12 มุง่ เนน้ การสร้างความ เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจทีม่ คี วามครอบคลุมทัว่ ถึงเพือ่ เพม่ิ ขยายฐานกลมุ่ ประชากรชนั้ กลางให้กว้างข้ึน 6. ยดึ “หลกั การนาไปสู่การปฏิบัติใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน 5 ปีที่ต่อยอดไปสู่ผลสมั ฤทธ์ิ ที่เปน็ เปา้ หมายระยะยาว” จากการท่ีแผนพฒั นาฯ เป็นกลไกเชอ่ื มต่อในลาดบั แรกท่จี ะกากับและส่งต่อ แนวทางการ พฒั นาและเป้าหมายในยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปใี หเ้ กิดการปฏบิ ัตใิ นทุกระดับและในแตล่ ะดา้ นอย่างสอดคลอ้ งกนั จดุ เปลี่ยนสาคญั ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม ฉบบั ท่ี 12 แผนพัฒนาฯ ฉบบั ที่ 12 นับวา่ เป็นจุดเปล่ียนท่ีสาคญั ในหลายเรอ่ื ง ไดแ้ ก่ (1) การกากับกรอบเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนาหลักในระยะยาวด้วยยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยท่ีแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นกลไก เชอื่ มโยงสู่การขับเคลอ่ื นการพฒั นาโดยกาหนดเปา้ หมายที่จะต้องบรรลุและแนวทางพฒั นาทตี่ ้องดาเนนิ การในช่วง 5 ปีแรกของยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2) การปรับเปล่ยี นเร่อื งการเชอ่ื มต่อกบั การแปลงแผนสู่การปฏบิ ัตใิ หม้ ีกรอบ และทิศทางในการกากับท่ชี ัดเจนขึ้น นนั่ คือ แผนพฒั นาฯ ฉบบั นี้ ไดก้ าหนดแนวทางการพัฒนาในรายละเอยี ดท่ีจะ เช่ือมต่อถึงการปฏิบัติโดยได้กาหนดแผนงาน/โครงการ กลุ่มสาคัญฯ ท่ีต้องดาเนินการในการรับแผนงานและ โครงการสาคญั (Flagship Program) จดุ เนน้ และประเด็นพฒั นาหลักในช่วงแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม ฉบับที่ 12 จดุ เน้นและประเด็นหลกั ท่ีเป็นหัวใจของแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 น้ัน ใหค้ วามสาคญั กบั ประเด็นรว่ มและ ประเด็นบูรณาการสาคัญต้องนามาประกอบการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณและการถ่ายทอดลงใน รายละเอียดสาหรับการติดตามประเมินผลการปฏิบัติเพ่ือให้การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเกิดผ ลสัมฤทธ์ิได้อย่าง จรงิ จัง ดงั น้ี 1. การพัฒนานวตั กรรมและการนามาใช้เป็นปัจจยั ขับเคล่อื นการพฒั นาในทกุ มติ ิ เพ่อื ยกระดบั ศักยภาพ ของประเทศในทุกด้าน 2. การเตรียมความพร้อมของประเทศในด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 5 ปีนต้ี อ้ งมงุ่ เนน้ ในเรอื่ งสาคัญ 3. การเตรียมพรอ้ มกาลงั คนและการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของประชากรในทกุ ช่วงวยั 4. การสรา้ งความเป็นธรรมและลดความเหลอื่ มล้า 5. การปรับโครงสร้างการผลติ และการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจในแตล่ ะชว่ งของห่วงโซม่ ลู คา่ หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 27 จกั ราวุธระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 28 6. การปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคลอ้ งกบั พันธกรณีในด้านการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และศักยภาพของพืน้ ท่ี 7. การเพิ่มศักยภาพฐานการผลิตและบริการเดิมและการต่อยอดไปสู่ฐานการผลิตและบริการให้โดยใช้ เทคโนโลยที ี่เขม้ ขน้ และนวัตกรรม 8. การสง่ เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของเศรษฐกิจกระแสใหม่ 9. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการและการท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพ ให้เติบโต และสนับสนุนภาพการผลติ 10. การสร้างความเชอ่ื มโยงระหวา่ งภาคการผลติ 11. การพฒั นาวิสาหกจิ ขนาดยอ่ ย ขนาดเล็กและขนาดกลาง วสิ าหกิจชุมชน และวิสาหกจิ เพอื่ สังคม 12. การสร้างความมัน่ คงของฐานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละยกระดับคุณภาพสิง่ แวดล้อม 13. การฟื้นฟูฟื้นฐานด้านความมั่นคงท่ีเป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ 14. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและการสร้างธรรมาภิบาล ในสงั คมไทย 15. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกของประเทศเพ่ือขยายจัดความสามารถและพัฒนา คุณภาพการให้บริการเพ่อื รองรับการขยายตวั ของเมืองและพ้ืนทเ่ี ศรษฐกิจหลักและส่งเสรมิ การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของทุกกลมุ่ ในสงั คม 16. การพัฒนาภาพ เมอื ง และพนื้ ที่เศรษฐกิจ 17. การสร้างความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศให้เข้มแข็งและสง่ ผลตอ่ การพัฒนาอย่างเตม็ ที่ 18. การส่งเสริมการลงทนุ ไทยในตา่ งประเทศ (Outward Investment) 19. การปรับปรงุ ภาคการเงินของไทยให้มปี ระสิทธิภาพมากข้ึนและใหส้ ามารถแขง่ ขนั ได้ 20. การปฏริ ปู ดา้ นการคลังและงบประมาณ ค. ยทุ ธศาสตร์แผนการจัดการศึกษาชาติ ๒๐ ปี (๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับนีเ้ ป็นการวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศในการ พัฒนาศักยภาพและขดี ความสามารถของคนไทยทุกช่วงวัยให้เต็มตามศกั ยภาพ สามารถแสวงหาความรแู้ ละเรียนรู้ ได้ด้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต โดยการขับเคลื่อนภายใต้วิสัยทัศน์คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรยี นรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 แนวคดิ การจัดการศกึ ษา แนวคดิ การจดั การศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย หลกั การจดั การศกึ ษาเพื่อปวงชน (Education for All) หลกั การจัดการศึกษาเพอื่ ความเท่าเทียมและทั่วถงึ (Inclusive Education) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลกั การมีส่วนรว่ ม ของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อกี ท้ังยดึ ตามเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเดน็ ภายในประเทศ (Local Issues) โดยนายุทธศาสตรช์ าติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคิดสาคัญในการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ วสิ ัยทัศน์ จุดมงุ่ หมาย เปา้ หมาย ยุทธศาสตร์ และตวั ชีว้ ัด ดงั น้ี หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 28 จกั ราวธุ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 29 วสิ ัยทศั น์ “คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ ดารงชวี ติ อยา่ งเป็นสุข สอดคล้อง กับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” พนั ธกจิ 1. พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาท่คี นไทยทุกคนเข้าถงึ โอกาสในการศกึ ษาและเรียนรู้ ตลอดชีวติ สรา้ งความเสมอภาคดา้ นการศึกษาแกผ่ เู้ รียนทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ยกระดบั คุณภาพและประสทิ ธภิ าพ ของการจัดการศึกษาทกุ ระดับ และจดั การศึกษาท่ีสอดคล้องและรองรับกระแสการเปล่ยี นแปลงของโลก ศตวรรษท่ี 21 2. พฒั นาคุณภาพของคนไทยใหเ้ ป็นผมู้ ีความรู้ คุณลกั ษณะ และทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 สามารถพฒั นาศักยภาพและเรยี นรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิต 3. สร้างความมนั่ คงแกป่ ระเทศชาติ โดยสร้างสงั คมไทยใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ และสังคม คณุ ธรรม จริยธรรมที่คนเทยทกุ คนอยู่รว่ มกันอย่างปลอดภัย สงบสุข และพอเพยี ง 4. พฒั นาศกั ยภาพ และความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศไทย เพอื่ การกา้ วข้ามกบั ดักประเทศ รายไดป้ านกลาง สกู่ ารเปน็ ประเทศในโลกทห่ี น่งึ และลดความเหลื่อมลา้ ในสงั คมด้วยการเพม่ิ ผลิตภาพของกาลัง แรงงาน (productivity) ใหม้ ที กั ษะ และสมรรถนะทีส่ อดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดงาน และการพฒั นา ประเทศ พรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลงที่เปน็ พลวตั ของโลกศตวรรษท่ี 21 ภายใตย้ ุคเศรษฐกิจและสงั คม 4.0 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทีม่ คี ุณภาพและมีประสทิ ธิภาพ 2. เพ่อื พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมืองดี มคี ุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะทสี่ อดคล้องกบั บทบัญญัติ ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ 3. เพอื่ พฒั นาสงั คมไทยให้เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม รรู้ กั สามคั คี และร่วมมือ ผนึกกาลังมงุ่ สู่การพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เพือ่ นาประเทศเทยกา้ วข้ามกบั ดกั ประเทศทีม่ ีรายได้ปานกลาง และความเหลอื่ มลา้ ภายในประเทศ ลดลง เปา้ หมายดา้ นผเู้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผ้เู รียนทกุ คนให้มคี ุณลักษณะและทักษะการ เรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs) เปา้ หมายของการจัดการศกึ ษา 5 ประการ ดงั นี้ 1. ประชากรทกุ คนเข้าถงึ การศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพและมมี าตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) มตี ัวช้วี ดั ท่ี สาคญั เชน่ ประชากรกลุม่ อายุ 6 - 14 ปี ทุกคนไดเ้ ขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตอนตน้ หรอื เทียบเทา่ ท่ีรฐั ตอ้ งจัดให้ฟรี โดยไมเ่ ก็บคา่ ใชจ้ า่ ย ผู้เรยี นพกิ ารได้รับการพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษา ท่ีเหมาะสมทกุ คน และประชากรวยั แรงงานมีการศกึ ษาเฉลย่ี เพ่ิมขนึ้ เป็นต้น 2. ผูเ้ รยี นทุกคน ทกุ กลุ่มเป้าหมายไดร้ ับบรกิ ารการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานอยา่ งเท่า เทยี ม (Equity) มีตัวชวี้ ัดท่ีสาคญั เช่น ผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานทุกคนไดร้ ับการสนับสนุนค่าใชจ้ ่าย ในการศึกษา 15 ปี เปน็ ต้น 3. ระบบการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ สามารถพฒั นาผูเ้ รยี นใหบ้ รรลขุ ีดความสามารถเตม็ ตามศกั ยภาพ (Quality) มตี วั ชวี้ ัดท่สี าคัญ เช่น นกั เรยี นมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน(O-NET) แต่ ละวชิ าผา่ นเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 ข้ึนไปเพิ่มขึ้น และคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบโครงการประเมินผลนกั เรยี น หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 29 จักราวุธระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 30 ร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) ของนกั เรียน อายุ 15 ปี สงู ข้นึ เป็นต้น 4. ระบบการบริหารจัดการศกึ ษาท่มี ีประสิทธิภาพ เพอ่ื การลงทุนทางการศึกษาที่คมุ้ ค่าและ บรรลุเปา้ หมาย (Efficiency) มีตวั ชี้วัดที่สาคญั เช่น ร้อยละของสถานศกึ ษาขนาดเล็กท่ีไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพภายนอกลดลง มรี ะบบการบริหารงานบคุ คล ครู และบุคลากรทางการศึกษาทมี่ ีประสิทธิภาพและเป็นไป ตามเกณฑม์ าตรฐาน รวมท้งั มีกลไกสง่ เสรมิ ให้ทุกภาคสว่ นสนบั สนุนทรัพยากรเพ่ือการจดั การศึกษา เป็นตน้ 5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและกา้ วทนั การเปลี่ยนแปลงของโลกที่เปน็ พลวัตและบรบิ ท ที่เปลีย่ นแปลง (Relevancy) ตัวชวี้ ดั ทสี่ าคัญ เช่น อันดับความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศด้านการศกึ ษาดี ขน้ึ สดั ส่วนผเู้ รียนอาชีวศกึ ษาสูงขึน้ เมอื่ เทยี บกบั ผู้เรยี นสามัญศกึ ษา และจานวนสถาบันอุดมศกึ ษาที่ติดอันดบั 200 อันดับแรกของโลกเพ่ิมขึน้ เป็นต้น ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมาย และตวั ชวี้ ดั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : การจดั การศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ มเี ป้าหมายดังนี้ 1.1 คนทุกชว่ งวยั มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยดึ มนั่ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ 1.2 คนทุกชว่ งวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้และพื้นทพ่ี เิ ศษได้รับ การศกึ ษาและเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ 1.3 คนทุกชว่ งวัยไดร้ บั การศกึ ษา การดูแลและป้องกนั จากภัยคกุ คามในชีวิตรปู แบบใหม่ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 : การผลิตและพฒั นากาลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ของประเทศ มเี ปา้ หมาย ดงั นี้ 2.1 กาลังคนมีทักษะทส่ี าคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ 2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศกึ ษาผลิตบณั ฑติ ที่มคี วามเชย่ี วชาญ และเป็นเลิศเฉพาะดา้ น 2.3 การวจิ ยั และพัฒนาเพอ่ื สรา้ งองค์ความรู้ และนวตั กรรมทส่ี ร้างผลผลิตและมลู ค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ มเี ปา้ หมายดังน้ี 3.1 ผ้เู รียนมที กั ษะและคุณลกั ษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลกั ษณะท่ีจาเป็น ในศตวรรษท่ี 21 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐาน การศึกษาและมาตรฐานวชิ าชพี และพัฒนาคุณภาพชีวติ ได้ตามศักยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดบั การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รอย่างมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน 3.4 แหลง่ เรียนรู้ ส่ือตาราเรยี น นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคณุ ภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ 3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมนิ ผลมีประสทิ ธิภาพ 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดับสากล 3.7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 30 จกั ราวธุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 31 ยทุ ธศาสตร์ที๋ 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษามเี ป้าหมาย ดังนี้ 4.1 ผ้เู รียนทุกคนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ 4.2 การเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนดลยีดจิ ิทัลเพื่อการศึกษาสาหรบั คนทกุ ช่วงวัย 4.3 ระบบข้อมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาทค่ี รอบคลุม ถูกต้อง เปน็ ปจั จุบัน เพอื่ การวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 : การจัดการศึกษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ มมีเป้าหมาย ดังน้ี 5.1 คนทกุ ช่วงวยั มจี ติ สานกึ รกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 5.2 หลักสตู ร แหลง่ เรยี นรู้ และส่ือการเรยี นร้ทู ส่ี ่งเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เป็นมติ ร กบั สงิ่ แวดลอ้ ม คณุ ธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ 5.3 การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมด้านการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ท่ี 6 : การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา มีเป้าหมาย ดังนี้ 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจดั การการศกึ ษามีความคล่องตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลส่งผลต่อคณุ ภาพ และมาตรฐานการศกึ ษา 6.3 ทกุ ภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศกึ ษาท่ีตอบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนและพืน้ ท่ี 6.4 กฎหมายและรปู แบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรับลักษณะ ท่ีแตกต่างกันของผ้เู รยี น สถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามคี วามเป็นธรรม สร้างขวัญกาลงั ใจ และส่งเสริมให้ปฏิบัตงิ านได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 31 จักราวุธระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 32 ตวั ชว้ี ดั ตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ตวั ชวี้ ดั ปจั จบุ นั ปที ่ี ปที ี่ ปที ่ี ปที ี่ 1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 - 20 การเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา (Access) 1) สดั ส่วนนกั เรียนปฐมวัย (3 – 5 ป)ี ต่อประชากร 76.2 90 100 100 100 กลมุ่ อายุ 3 – 5 ปี เพ่มิ ขนึ้ 2) ประชากรอายุ 6 – 11 ปี ได้เข้าเรียนระดับ 100 100 100 100 100 ประถมศึกษาทุกคน 3) ประชากรอายุ 12 – 14 ปี ไดเ้ ขา้ เรยี นระดับ 88.9 100 100 100 100 มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าทกุ คน 4) สดั สว่ นนักเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ 72.7 80 85 90 95 (15 –17 ป)ี ต่อประชากร กลุม่ อายุ 15 – 17 ปี เพ่มิ ขึน้ 5) ประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี มีจานวน 10.0 10.7 11.5 12.0 12.5 ปีการศึกษาเฉลีย่ เพ่ิมข้นึ 6) ร้อยละของแรงงานที่ขอเทียบโอนความรู้ และ 0 20 25 30 40 ประสบการณ ์เพ่ือยกระดับคุณวุฒกิ ารศกึ ษาเพมิ่ ขึน้ 7) รอ้ ยละของผเู้ รยี นพกิ ารไดร้ บั การพฒั นาสมรรถภาพ 100 100 100 100 100 หรือบริการทางการศกึ ษาท่เี หมาะสม 8) ร้อยละของแหล่งเรยี นรู้ (พพิ ิธภัณฑ์ สวนสัตว์ N/A 50 75 100 100 หอ้ งสมดุ ศูนย์ ฯลฯ) ท่ีไดร้ ับการพัฒนา ใหส้ ามารถ จดั บรกิ ารทางการศกึ ษาและ มีการจัดกจิ กรรม การเรยี นรูต้ ลอดชีวิตทีม่ ีคณุ ภาพเพิ่มขึ้น 9) สถานศึกษาทุกแหง่ มอี นิ เทอร์เน็ตความเร็วสูง และมี N/A 98 100 100 100 คณุ ภาพ ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษา (Equity) 1) ดัชนีความเสมอภาคของอตั ราการเข้าเรยี น ระดบั N/A 1.0 1.0 1.0 1.0 การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ตามฐานะทางเศรษฐกจิ และพืน้ ที่ ลดลง 2) ร้อยละของเดก็ ในวัยเรยี นท่ีมคี วามตอ้ งการจาเปน็ N/A 20 30 50 65 พเิ ศษไดร้ บั การศึกษาเตม็ ตามศักยภาพ เพม่ิ ขึน้ (จาแนก ตามกล่มุ ประเภทของ ความจาเป็นพิเศษ) 3) ผู้เรียนระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานทุกคนได้รับการ N/A 100 100 100 100 สนบั สนุนคา่ ใช้จา่ ยในการศกึ ษา 15 ปี หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 32 จกั ราวธุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 33 ตวั ชวี้ ดั ตามเป้าหมายของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ (ตอ่ ) ตวั ชวี้ ดั ปจั จบุ นั ปที ่ี ปที ี่ ปที ี่ ปีที่ 1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 - 20 คณุ ภาพการศกึ ษา (Quality) 1) ร้อยละของเดก็ แรกเกิด – 5 ปี มีพัฒนาการ 72.7 85 90 90 90 สมวัยเพมิ่ ข้ึน 2) ร้อยละของนกั เรยี นท่มี คี ะแนนผลการ นอ้ ยกว่า 50 55 60 65 ทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O- 50 NET) แตล่ ะวชิ าผ่านเกณฑค์ ะแนนรอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไปเพิม่ ขึ้น 3) ความแตกต่างระหวา่ งคะแนนเฉลยี่ ผลการ น้อยกวา่ น้อยกว่า 5 น้อยกว่า 2 0 0 ทดสอบ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน 10 (O-NET) ของนักเรียนระหว่างพนื้ ท/่ี ภาค การศึกษาในวิชาคณติ ศาสตร์และภาษาองั กฤษ ลดลง 4) คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบโครงการ 421/ 500 510 520 530 ประเมินผลนกั เรยี นร่วมกบั นานาชาติ 409/ (Programme for International Student 415 /Assessment หรือ PISA) ของนักเรียน อายุ 15 ปี ในวิชาวทิ ยาศาสตร์ การอ่านและ คณติ ศาสตร์สูงขน้ึ 5) ระดับความสามารถดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษ A1/A2/B2 A1/A2/B2 A2/B1/B2+ B1/B1+/C1 B2/B2/C1+ เฉลย่ี ของผสู้ าเร็จการศึกษาในแตล่ ะระดับ เม่ือ ทดสอบตามมาตรฐานความสามารถ ทาง ภาษาอังกฤษ (CEFR) สูงขึ้น (ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น/ ระดับมัธยม ศกึ ษาตอน ปลาย/ระดบั ปรญิ ญาตร)ี 6) รอ้ ยละการอ่านของคนไทย (อายตุ ั้งแต่ 6 ปี 77.7 85 90 95 100 ขึ้นไป) เพ่ิมขนึ้ 7) ร้อยละของผเู้ รียนทกุ ระดับการศึกษามี พฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความตระหนักใน ความสาคัญของการดารงชวี ิตท่ีเปน็ มิตรกับ สิ่งแวดล้อม ความมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งในการดาเนินชีวิตเพิม่ ข้ึน 7.1 รอ้ ยละของจานวนนกั เรียนท่เี ขา้ รว่ ม N/A 30 60 90 100 กิจกรรม/โครงงานทีเ่ กีย่ วข้องกบั การสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มเพิ่มขึน้ 7.2 รอ้ ยละของจานวนโรงเรยี นท่ใี ช้ระบวน การเรยี นรู้ เพ่ือสร้างเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม N/A 40 100 100 100 หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 33 จักราวธุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 34 ตวั ชว้ี ดั ปัจจบุ นั ปที ี่ ปที ี่ ปที ี่ ปีท่ี 1 - 5 6 - 10 11 - 15 16 – 20 7.3 ร้อยละของจานวนนักเรยี นทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม ตาม N/A 30 60 90 100 โครงการนอ้ มนาแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอพยี งส่กู ารปฏิบตั เิ พม่ิ ขนึ้ 8) ร้อยละของผ้สู าเร็จการศึกษาระดบั อาชวี ศกึ ษาและ 60 75 85 95 100 อดุ มศกึ ษามสี มรรถนะเป็นที่พอใจของ สถาน ประกอบการเพิ่ม 9) ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ ตามเกณฑ์ 70 80 90 100 100 ประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพ่ิมขึน้ 10) จานวนโครงการ/งานวิจัยเพ่อื สร้างองค์ความร้/ู N/A 500 700 900 1,200 นวตั กรรมที่นาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นา ประเทศ เพิม่ ขึน้ 11) ร้อยละของผลงานวจิ ยั ท่ไี ด้รับ N/A 10 20 30 40 การตพี ิมพ์ในระดบั นานาชาติเพิม่ ขึ้น 13) ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ กี ารจัด การเรยี นการ N/A 30 60 100 100 สอน/กิจกรรมเพ่ือเสริมสร้าง ความเป็นพลเมอื ง (Civic Education) เพิม่ ขนึ้ ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) 1) มกี ารปรบั ปรงุ โครงสร้างการบรหิ ารงานของ N/A มี มี มี มี กระทรวงศึกษาธิการ 2) มีระบบการบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และ N/A มี มี มี มี บคุ ลากรทางการศกึ ษาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ และเป็นไปตาม เกณฑม์ าตรฐาน 3) มีระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาที่เหมาะสม N/A มี มี มี มี สอดคล้องกบั บรบิ ทและ ความตอ้ งการจาเปน็ ของ สถานศกึ ษา 4) จานวนฐานขอ้ มูลรายบุคคลด้านการศกึ ษา ของ N/A 8 11 11 11 ประเทศท่ีเปน็ ปัจจบุ นั สามารถเช่อื มโยง และใชข้ ้อมูล ระหว่างหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพเพม่ิ ขนึ้ 5) มฐี านข้อมูลด้านการศึกษาเพอื่ ใช้ประโยชน์ ในการ N/A มี มี มี มี วางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การตดิ ตามและ ประเมนิ ผล 6) มรี ะบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่อื การศกึ ษาที่ N/A มี มี มี มี ทนั สมยั สนองตอบความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ริการอย่างมี ประสิทธภิ าพ หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 34 จกั ราวธุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 35 ตวั ชว้ี ดั ปัจจบุ นั ปีที่ ปที ่ี ปีท่ี ปีที่ 1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20 7) มกี ลไกส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ น N/A มี มี มี มี สนับสนนุ ทรัพยากรเพ่ือการจดั มี มี มี มี มี มี มี มี การศกึ ษา 20 10 0 0 8) มีการปรบั ระบบการจัดสรรเงิน ไม่มี 40 : 60 50 : 50 60 : 40 70 : 30 25 : 75 30 : 70 40 : 60 50 : 50 ไปสดู่ ้านอุปสงคห์ รือตัวผเู้ รยี น 0.10 0.08 0 0 9) มกี ารปรับปรงุ แก้ไขกฎหมายที่ N/A 90 95 98 100 100 100 100 100 เกีไยวกบั ความเป็นอิสระและความ 300 400 500 600 รบั ผดิ ชอบของ สถานศึกษา 48 44 40 36 (Autonomous & Accountability) 10) ร้อยละของสถานศกึ ษาขนาด 30 เล็กที่ไม่ ผ่านเกณฑ์ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกลดลง 11) สัดสว่ นงบประมาณตามประเดน็ 30 : 70 (Agenda) สูงขึ้น เมอื่ เทียบกบั งบประมาณตามภารกิจ (Function) 12) สดั สว่ นผเู้ รียนเอกชนสงู ขนึ้ เม่อื 20 : 80 เทยี บกับรฐั 13) อตั ราการออกกลางคนั ของ 0.12 ผ้เู รยี นระดับ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ลดลง 14) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทปี ลอด 80 ยาเสพติดเพ่ิมข้ึน 15) รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากร N/A ทางการศึกษา ทุกระดับและประเภท การศกึ ษาที่ไดร้ บั การพัฒนาตาม มาตรฐานวิชาชีพ และสามารถ ปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ เพิม่ ข้ึน 16) จานวนหนว่ ยงาน องคก์ ร 60 ภาครัฐ/เอกชน ท่ีมีส่วนร่วมจดั การศกึ ษาแบบประชารัฐเพมิ่ ขึ้น การตอบโจทยบ์ รบิ ททเี่ ปลยี่ นแปลง (Relevancy) 1) อนั ดบั ความสามารถในการแข่งขัน 52 ของประเทศด้านการศกึ ษาดขี ้ึน (IMD) หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 35 จักราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 36 ตวั ชวี้ ดั ปัจจุบนั ปีท่ี ปีท่ี ปีที่ ปที ี่ 1-5 6 - 10 11 - 15 16 - 20 2) จานวนสถาบนั อดุ มศกึ ษาทีต่ ดิ 0 อนั ดับ 200 อันดบั แรกของโลก 47 2 4 5 7 เพิม่ ขึ้น 5 2 45 43 41 39 3) อันดบั ความพงึ พอใจของ N/A ผปู้ ระกอบการตอ่ ผู้จบอุดมศกึ ษา 40 : 60 30 60 90 95 เพมิ่ ขึ้น (IMD) 25 : 75 5 10 15 20 4) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ดั 56.25 การศึกษา โดยบรู ณาการองคค์ วามรู้ 30 50 65 80 แบบสะเต็มศึกษา เพมิ่ ขน้ึ 45 : 55 50 : 50 60 : 40 70 : 30 5) จานวนหลกั สูตรของสถานศกึ ษาท่ี 30 : 70 35 : 65 40 : 60 50 : 50 จดั การศกึ ษาทวิวฒุ ิ (Dual Degree) รว่ มกับต่างประเทศเพม่ิ ขึ้น 60 65 70 100 6) รอ้ ยละของผูเ้ รยี นท่เี รียนในระบบ ทวภิ าค/ี สหกิจศึกษาในสถาน ประกอบการทมี่ ีมาตรฐาน เพมิ่ ข้นึ 7) สัดส่วนผเู้ รียนอาชีวศึกษาสูงขึน้ เมอื่ เทียบกบั ผูเ้ รยี นสามัญศึกษา 8) สดั สว่ นผเู้ รยี นวิทยาศาสตร์ สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สูงขึน้ เมอื่ เทียบกบั ผูเ้ รยี น สงั คมศาสตร์ 9) ร้อยละของประชากรวัยแรงงาน (15 – 59 ป)ี ทมี่ ีการศกึ ษาระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา่ ขึ้น ไปเพ่ิมขึ้น 10) อัตราการได้งานทา/ประกอบอาชพี อิสระของผู้สาเรจ็ การศึกษาระดบั อาชวี ศกึ ษา (ไม่นับศกึ ษาตอ่ ) ภายใน ระยะเวลา 1 ปี เพม่ิ ขึ้น 11) อัตราการได้งานทา/ประกอบอาชพี อิสระ ของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาระดับ อุดมศกึ ษา ภายในระยะเวลา 1 ปี เพมิ่ ขึ้น 12) มฐี านขอ้ มลู ความต้องการกาลังคน (Demand) จาแนกตามกลุ่ม อตุ สาหกรรมอย่างครบถว้ น หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 36 จักราวุธระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรุงพฒั นา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 37 ง. เปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางพฒั นาของแผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ของ สานกั งาน กศน. พ.ศ. 2560-2579 ยุทธศาสตรที่ 1 เพ่มิ และกระจายโอกาสในการเขาถึงบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรูท่ีมีคุณภาพ เปาหมายตามยุทธศาสตร 1) คนไทยไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ท่ีมีคุณภาพ และมาตรฐาน 2) แหลงเรยี นรู สือ่ และนวัตกรรมการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนสามารถเขาถึงได โดยไม จากดั เวลาและสถานที่ 3) คนไทยทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจชายแดนใต และพ้ืนที่พิเศษไดรับการศึกษานอก ระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยท่มี คี ณุ ภาพ แนวทางการพฒั นา การศึกษานอกระบบ 1) ประกันโอกาสการเขารับบริการทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหแกผูเรียน ในทุกพ้ืนท่ี ครอบคลุมผูท่ีมีความตองการจาเปนพเิ ศษ 2) สงเสรมิ ใหมีการบูรณาการ การศกึ ษานอกระบบเพือ่ ใหผูเรียนสามารถเขาถึงโอกาสทาง การศกึ ษาที่มี คณุ ภาพ สอดคลองกับวัย สภาพรางกายและสขุ ภาพ ความจาเปน ความตองการและความสนใจ และ สามารถนา ผลที่ไดจากการศึกษาและการเรียนรูไปเทียบระดับ เทียบโอน เช่ือมโยงสงตอระหวางการศึกษาทุก รูปแบบทุก ระดับได 3) สงเสริมการจัดการศกึ ษานอกระบบทส่ี อดคลองกบั ความสนใจและวิถีชวี ติ ของผูเรยี นทุก กลุม เป าหมาย 4) สงเสรมิ โอกาสในการเขาถงึ การศกึ ษานอกระบบของคนทกุ ชวงวัยในพนื้ ที่พิเศษ และเขต พฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภูมิสงั คม อัตลกั ษณ และความตองการของชมุ ชนและ พื้นที่ 5) จัดทา SMART CARD ทางการศึกษาสาหรับทุกกลุมเปาหมายโดยเฉพาะกลุมเปาหมายพิเศษ เพื่อ ขอรับบรกิ ารทางการศึกษา 6) พัฒนาระบบ E-exam และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกสใหมีมาตรฐานและยกระดับ สถานศึกษาทุก แหงใหเปนศูนยทดสอบดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเพื่อเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพใหแก ประชาชน 7) พัฒนาระบบการเทียบโอนและการเทียบระดับการศึกษา ใหมีมาตรฐานและสามารถเช่ือมโยง การศกึ ษาและการเรียนรูทุกระดบั ทกุ รูปแบบ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) พัฒนาแหลงเรียนรูในชุมชนใหมมี าตรฐานตามประเภทแหลงการเรยี นรู และสอดคลองกบั ความสนใจ และวถิ ีชีวติ ของผูรบั บรกิ ารแตละกลมุ เปาหมาย รวมทั้ง สามารถใหบริการไดอยางทว่ั ถึง 2) พฒั นาหองสมุด พิพิธภณั ฑ และจดั แหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย กระจายอยูทกุ พื้นทีใ่ หเปนกลไก ในการ แสวงหาความรูของประชาชน 3) เพิ่มโอกาสในการเขาถึงการศึกษาตามอัธยาศัยของคนทุกชวงวัยในพื้นที่พิเศษ และเขตพัฒนา พเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนใตใหเหมาะสมกบั ภมู สิ งั คม อตั ลักษณ และความตองการของชมุ ชนและพื้นท่ี หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 37 จักราวุธระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรับปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 38 4) พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู ส่ือเพ่ือการเรียนรู และการใหบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกรูปแบบ ตลอดจนขยายเครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในสถานศึกษาทุกแหง ครอบคลุมทุกพื้นที่และ เพยี งพอ กบั ผูเรยี น เพ่ือเอื้อตอการเรียนรูดวยตนเอง และการเรยี นรูแบบมสี วนรวม ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพคนทกุ ชวงวัยใหมสี มรรถนะ และทักษะเหมาะสม มีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) คนทุกชวงวัยมีทักษะ ความรู ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา และพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดตาม ศักยภาพ 2) คนไทยไดรบั การพัฒนาสมรรถนะและทกั ษะในการดารงชวี ิตที่เหมาะสมกับชวงวยั และพรอม รับการ เปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 รวมพนื้ ที่ชายแดนใตและพื้นที่พเิ ศษ 3) ระบบการวดั ผลและประเมินผลและการเทียบโอนการศกึ ษาที่มปี ระสิทธิภาพ 4) คนไทยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 5) สถานศกึ ษาสามารถจดั กิจกรรม กระบวนการเรียนรูตามหลกั สตู รไดอยางมคี ุณภาพ มาตรฐาน 6) ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดรับการพฒั นาสมรรถนะอยางตอเนอ่ื ง 7) กลุมผูดอยโอกาส กลุมผูพลาดโอกาส และกลุมผูขาดโอกาส ไดรับโอกาสในการพฒั นา สมรรถนะและ ทกั ษะในการดารงชวี ิตเพื่อการมีคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี 8) ผูเรียน ผูรับบริการ ไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขารบั การศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัยอยางมคี ณุ ภาพ แนวทางการพัฒนา การศกึ ษานอกระบบ 1) ปฏริ ปู หลกั สูตร ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการจัดการเรียนรูใหทนั ตอความเปลี่ยนแปลง เหมาะสมและสอดคลองกบั สภาพของกลุมเปาหมาย 2) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนเพื่อยกระดับคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบคณุ ภาพการศึกษา นอกระบบระดบั ชาติ (N-NET) 3) พัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษานอกระบบใหเชื่อมโยงกบั ระบบคณุ วุฒวิ ชิ าชีพท่ีนาไปสู เสนทาง อาชพี โดยมีกลไกการวัดและประเมนิ ผลเพอ่ื เทยี บโอนความรูและประสบการณ และพฒั นาใหมีระบบการ สะสม และเทียบโอนหนวยการเรยี น (Credit Bank System) 4) พฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรียนรใู หสอดคลองกับสภาวการณการพัฒนาประเทศ และเปนไป ตามสภาพและความตองการของกลุมเปาหมาย โดยคานงึ ถึงการพัฒนาคณุ ภาพ มาตรฐาน เสริมสราง ความ ตระหนกั ในคณุ คาของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความรูเรือ่ งทักษะท่ีจาเปนในศตวรรษที่ 21 5) พฒั นารูปแบบและวธิ ีการวัดและประเมินผลการเรยี นรูทม่ี ีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถวดั และ ประเมนิ ไดตรงตามวตั ถุประสงค และนาผลการประเมนิ ไปใชไดจรงิ 6) สงเสริมใหมีการวิจยั และพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรียนรู สอื่ เพ่ือการเรียนรู และการ ใหบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศทุกรปู แบบทีไ่ ดมาตรฐาน 7) พฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบและหลกั สตู รการอบรมแกกลุมผูสงู วยั ใหมีคณุ ภาพและ ชีวิตทีด่ ี 8) พัฒนาหลักสูตรภาษาอังกฤษสาหรับประชาชนเพ่อื ยกระดบั ทักษะการใชภาษาอังกฤษของ คนไทย และภาษาตางประเทศอื่น ๆ ทเ่ี ปนไปตามความตองการของพน้ื ท่แี ละประชาชน หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 38 จกั ราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรุงพัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 39 9) สงเสรมิ ใหมกี ารจดั ทาแผนการเรียนรูตลอดชวี ติ ของชุมชน/รายบุคคล เพื่อเปนเคร่อื งมอื ในการ กาหนดทศิ ทางและสรางแรงจูงใจในการเรียนรูตลอดชีวติ ของประชาชน 10) สงเสรมิ ใหสถานประกอบการจดั การศกึ ษานอกระบบ ซึ่งอาจจดั เองหรือรวมจัดโดยสามารถ นาคาใช จายในการจัดการศกึ ษาไปลดหยอนภาษไี ด 11) พฒั นาหลกั สตู รอาชีพเพ่ือเสรมิ สรางการพัฒนาอาชีพใหกบั ประชาชนในชมุ ชนแบบครบวงจร ซ่ึงเปน กระบวนการตนทางถงึ ปลายทางต้งั แตกระบวนการผลติ การแปรรูป การจัดจาหนาย การตลาด และการ ดาเนนิ การ ในเชงิ ธรุ กิจ 12) สงเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรทู ่ีสรางเสริม และปรับเปล่ยี นคานิยมของคนไทยใหมวี นิ ัย จติ สาธารณะ และพฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงค 13) พัฒนาสมรรถนะครใู หมศี ักยภาพในการจัดการเรยี นรู สามารถใชเทคโนโลยี และประสาน ภมู ปิ ญญาทองถิน่ เพอ่ื ประโยชนในการจดั การเรียนรู เปนครูมอื อาชีพ และมีมาตรฐานคุณภาพตามทีส่ านกั งาน รบั รอง มาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพ (องคกรมหาชน) กาหนด 14) พัฒนาศกั ยภาพและขดี ความสามารถของบุคลากรใหตรงกับสายงานหรอื ความชานาญเพ่ือให สามารถจัดการศกึ ษาและสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชีวติ อยางมีคณุ ภาพ 15) สงเสรมิ ใหแรงงานไดรับโอกาสยกระดับคณุ วุฒทิ างการศึกษาและทกั ษะความรูที่สงู ข้ึน การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นรทู ปี่ ลกู จิตวิทยาศาสตรใหกับประชาชนผาน STEM Education สาหรับประชาชน อนั จะนาไปสูการใชความคิดวเิ คราะห ความคิดสรางสรรค และการใชเหตผุ ลในการ ดาเนนิ ชีวิต 2) สงเสริมการสรางสรรคความรูใหมๆทงั้ จากภมู ปิ ญญาทองถนิ่ ท่มี อี ยเู ดิมและความรูดานนวตั กรรมใหมๆ 3) จัดกจิ กรรม ส่อื และนทิ รรศการที่มีชีวติ และกระตุนความคดิ สรางสรรค ในแหลงเรียนรู ยุทธศาสตรที่ 3 สงเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอื่ การศกึ ษาสาหรบั คนทกุ ชวงวยั เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) โครงสรางพน้ื ฐานดานเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศกึ ษาของหนวยงานและสถานศกึ ษามีความ ทันสมัย และมคี ุณภาพ 2) ระบบฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาครอบคลมุ ถูกตอง เปนปจจุบนั และ ระบบ เชอื่ มโยงกับหนวยงานอ่ืนเพื่อประโยชนในการจัดและบริการการศึกษาได แนวทางการพฒั นา 1) พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา การจดั การเรยี นการสอน การจัด กระบวนการเรียนรู ทม่ี ีความยดื หยนุ หลากหลาย สามารถเขาถงึ ไดโดยไมจากัดเวลาและสถานท่ี 2) พัฒนาสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเพอ่ื การศึกษา (ETV) ใหเปนสถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเพ่อื การศกึ ษา สาธารณะ (Free ETV) 3) สงเสรมิ ใหมกี ารจัดตง้ั สถานีโทรทัศนสาธารณะแบบดิจิทัลและการผลิตรายการเพ่ือการศึกษา 4) พัฒนากระบวนการเผยแพร ICT เพอ่ื การศึกษาใหมรี ูปแบบทีห่ ลากหลาย ทนั สมยั เปนปจจุบัน และ สอดรบั กับความตองการของสงั คม 5) สงเสรมิ และสนบั สนุนใหมีการวจิ ัย เพ่ือพัฒนารูปแบบ แนวทางในการใชเทคโนโลยีเพ่ือ การศกึ ษาใน การจดั และสงเสรมิ การจัดการศกึ ษา 6) ใหมแี ละบังคบั ใชมาตรการทางกฎหมายเพอื่ สนับสนนุ ใหเกดิ การใชเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา อยางมี ประสิทธภิ าพ หลักสตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 39 จักราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบับปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 40 7) สงเสริมใหมีส่ือดิจิทัลเพอ่ื พัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชนและการสงเสรมิ การมอี าชพี เพ่ิมขนึ้ 8) จดั และสนบั สนุนสถานศกึ ษา แหลงการเรียนรู กศน.ตาบล ใหมีความพรอมเกีย่ วกับโครงสราง พ้ืนฐาน ดาน ICT และเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษาอื่นท่เี หมาะสมกับพื้นที่ 9) พัฒนาระบบฐานขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาใหครอบคลมุ ถกู ตอง เปน ปจจุบัน และเชอ่ื มโยงทุกหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพ่อื การวางแผน การบริหารจัดการ การติดตาม ประเมนิ และ รายงานผล ใหมีมาตรฐานท่ีครอบคลุม ถกู ตอง เปนปจจุบัน และตรงกับความตองการในการใชงานท่เี ชือ่ มโยงกับ หนวยงานทงั้ ภายในและภายนอกองคกรอยางเปนระบบ 10) พฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา ทัง้ โครงสรางพืน้ ฐาน อปุ กรณ เน้ือหา และวชิ าการ เพอ่ื ชวย ในการ เรียนรดู วยตนเองสาหรบั ประชาชน 11) พฒั นาประสิทธภิ าพเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษาทางไกล และการศกึ ษาในระบบเปด อาทิ ETV E-learning MOOC เพือ่ เปนเครอื่ งมือในการขยายการใหบรกิ ารในรูปแบบตาง ๆ ยทุ ธศาสตรท่ี 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา และสงเสรมิ ใหทกุ ภาคสวนมบี ทบาท และมสี วนรวม ในการจดั การศกึ ษา เพอื่ สรางสงั คมแหงการเรยี นรู เปาหมายตามยทุ ธศาสตร 1) ระบบบรหิ ารจดั การมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล สงผลตอคุณภาพและมาตรฐานการจดั การศกึ ษา และการเรยี นรตู ลอดชวี ติ 2) ระบบบรหิ ารงานบุคคล มคี วามเปนธรรม สรางขวัญและกาลงั ใจ และสงเสริมใหปฏิบตั งิ านได เต็มตาม ศกั ยภาพ 3) บคุ ลากรทุกประเภททกุ ระดับไดรับการพฒั นาความรู ทกั ษะ ตามมาตรฐานตาแหนง รวมทัง้ บทบาทภารกิจทไ่ี ดรับมอบหมาย 4) กฎหมายและระเบียบที่เกยี่ วของ รองรับการปฏิบัตงิ านไดอยางมีประสิทธภิ าพและสอดคลอง กับ บรบิ ทของสภาพสังคม 5) ระบบและกลไกการวัด ตดิ ตาม และประเมินผลการศึกษาและการเรยี นรูมปี ระสิทธภิ าพ 6) ทุกภาคสวนมบี ทบาทและมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรูทีต่ อบสนองตอความ ตองการ ของประชาชนในพ้ืนท่ี เพอื่ สรางสงั คมแหงการเรยี นรใู หเกิดขน้ึ ในพนื้ ท/ี่ ชุมชน แนวทางการพฒั นา 1) พัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การทเ่ี นนการกระจายอานาจลงสูพน้ื ทภ่ี าค การมีสวนรวมของ ทกุ ภาคส วน และมรี ะบบบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล 2) กาหนดใหมีมาตรการจงู ใจท้ังดานภาษี และสิทธปิ ระโยชนตางๆ ใหกับภาคีเครอื ขายที่เขา มารวมจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3) ผลักดนั ใหเกดิ กองทนุ เพอ่ื การพัฒนาสาหรับการศกึ ษานอกระบบ เพ่อื เปนกลไกในการสราง โอกาส ทางการศกึ ษา 4) สงเสริม สนบั สนนุ ใหทกุ ภาคสวนเขามามีสวนรวมในการเปนภาคีเครอื ขาย และสรางแรงจูงใจ ในรูปแบบตางๆ ใหภาคเี ครือขายรวมจัดและสงเสรมิ การจัดการเรียนรูในชมุ ชนอยางตอเน่ืองและยง่ั ยืน 5) สรางเครือขายความรวมมือดานการศึกษากบั องคกรหรอื หนวยงานทั้งในและตางประเทศ โดยเน นการทางานในลักษณะบรู ณาการการวิจยั และพัฒนา 6) วเิ คราะห วจิ ัย ปรบั ปรุงกฎ ระเบยี บตางๆ ทส่ี อดคลองกบั การพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหเออื้ ตอการบรหิ ารจัดการ หลกั สูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 40 จักราวธุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ ๕ ปี (๒๕๖๓-๒๕๖๗) ฉบบั ปรบั ปรงุ พัฒนา ปี ๒๕๖๔ หนา้ | 41 7) สงเสริมการสรางสภาพแวดลอมของชมุ ชน ทองถน่ิ สงั คม เพ่อื เอ้ือตอการศกึ ษาและการเรยี นรู และ สนับสนุนการสรางกลไกการขับเคล่อื นชมุ ชนไปสูสังคมแหงการเรียนรู 8) วิเคราะหและจัดทาแผนอัตรากาลงั ตามบทบาท หนาที่ และภารกจิ ของหนวยงานและ สถานศึกษา ในสังกัดโดยใชรูปแบบการวจิ ัย เพ่อื ใหการเกลี่ยอัตรากาลัง/บรรจุแตงตัง้ บุคลากรตามอตั รากาลังมี ความเหมาะสม 9) พฒั นาบุคลากร กศน. ทุกระดับ ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกบั สาย งานหรอื ความชานาญ หลักสูตรสถานศกึ ษา กศน.อาเภอสรรพยา หนา้ 41 จกั ราวุธระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121