1
2 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ สารบญั คำ�นำ� 3 บทที่ 1 บทนำ� 6 บทท่ี 2 รูจ้ ักเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ 10 2.1 ความหมายของเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ 11 2.2 ความเปน็ มาของเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ 11 2.3 ประเภทของเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ 12 2.4 แอลกอฮอล์มีผลต่อรา่ งกายอยา่ งไร 14 2.5 ผลกระทบจากการบรโิ ภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 18 2.6 ปัจจัยทสี่ ่งเสรมิ ใหม้ ีการบริโภคแอลกอฮอล์ 23 2.7 คนไทยกบั การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ 25 2.8 แรงงานไทยกบั การดมื่ เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ 28 2.9 การลดและควบคมุ ปัญหาจากการบรโิ ภคเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 29 บทท่ี 3 รจู้ กั สถานประกอบการปลอดเหล้า 30 3.1 อย่างไรจงึ เรียกวา่ สถานประกอบการปลอดเหล้า 33 3.2 จะต้องทำ�อะไรบา้ งจงึ จะไดเ้ ป็นสถานประกอบการปลอดเหลา้ 35 3.3 ขอ้ มลู ทั่วไปของสถานประกอบการปลอดเหล้า 38 3.4 ความชุกของการบรโิ ภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลข์ องพนักงานในสถาน 43 ประกอบการทเี่ ข้ารว่ มโครงการ 44 3.5 เหตุผลในการพฒั นาหน่วยงานใหเ้ ป็นสถานประกอบการปลอดเหล้า 45 3.6 สรุป 46 บทท่ี 4 ทำ�อย่างไรจงึ จะเปน็ สถานประกอบการปลอดเหล้า 47 4.1 แนวคดิ ในการพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหล้า 52 4.2 ขน้ั ตอนพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหลา้ 76 4.3 สรปุ
3 บทท่ี 5 รหสั “สถานประกอบการปลอดเหลา้ ” 78 5.1 การทบทวนและสร้างความตระหนกั รับรู้ สถานการณ์/ปญั หา/ 79 ผลกระทบจากการดม่ื เหล้าหรือเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ 82 5.2 สรุปบทเรียนและประสบการณ์จากการด�ำ เนนิ งานท่ผี า่ นมา 92 93 บทท่ี 6 เรื่องเลา่ สถานประกอบการปลอดเหล้า 100 6.1 เร่ืองเล่า บริษทั ราชาเซรามิคจำ�กดั 108 6.2 เรื่องเลา่ บริษัท พ.ี ซี.โปรดกั ส์ อินเตอรเ์ นชน่ั แนล จ�ำ กัด 113 6.3 เรอ่ื งเล่า บริษทั ริกิ การ์เม้นส์ จ�ำ กัด 118 6.4 เรื่องเล่า บริษทั ยางโอตานิ จ�ำ กดั และในเครือโอตานิกรปุ๊ ฯ 122 6.5 เรอื่ งเล่า บริษทั ซมั มิท แหลมฉบงั โอโต บอดี้ เวริ ์ค จำ�กัด 124 (สาขาระยอง) 127 6.6 เรอ่ื งเลา่ บริษัทเคอารเ์ อส ลอจสิ ตคิ ส์ จ�ำ กดั 6.7 เรอ่ื งเล่า บริษทั ประยูรชยั (1984) จ�ำ กดั 130 6.8 เรอ่ื งเล่า บริษทั ซพี อี อลล์ จ�ำ กดั (มหาชน) 131 ศูนยก์ ระจายสนิ ค้า RDC ล�ำ พนู 136 ภาคผนวก 144 ภาคผนวก 1 ประกาศสำ�นกั นายกรัฐมนตรี เรอื่ งห้ามขายหรือห้ามบริโภค 146 เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ในพื้นทปี่ ระกอบกจิ การโรงงาน 148 ภาคผนวก 2 แบบสำ�รวจสถานการณ์และพฤติกรรมการดม่ื แอลกอฮอลใ์ นสถานประกอบการ ภาคผนวก 3 ตวั อย่างแผนปฏิบตั ิการสถานประกอบการปลอดเหลา้ ภาคผนวก 4 รายช่อื ภาคีเครอื ขา่ ยดา้ นการควบคุมการดมื่ แอลกอฮอล์ ภาคผนวก 5 เกย่ี วกับแผนงานส่งเสริมการขยายฐานการปอ้ งกนั ปัจจยั เส่ยี ง: บหุ ร่ี เหล้า อบุ ตั ิเหตุ ในสถานประกอบการ ภาคผนวก 6 รายชอ่ื สถานประกอบการปลอดเหลา้ เอกสารอา้ งอิง
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 4 คำ�นำ� ตลอดระยะเวลากวา่ 8 ปี (พ.ศ. 2551-ปจั จบุ นั ) ของการด�ำ เนนิ งานดา้ นการปอ้ งกนั และควบคมุ ปจั จัยเสีย่ งทางสขุ ภาพในสถานประกอบการ โดยเฉพาะการควบคมุ การสบู บุหรแ่ี ละการดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน สมาคมพฒั นาคุณภาพส่ิงแวดล้อม โดย แผนงานพัฒนาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี (ระยะที่ 1) แผนงานพัฒนาการ สรา้ งเสรมิ สุขภาพในสถานประกอบการ (ระยะที่ 2) แผนงานส่งเสรมิ การขยาย ฐานการป้องกนั ปจั จัยเสีย่ ง: บหุ รี่ เหลา้ และอบุ ัติเหตุ (ระยะที่ 3) ท่ีสนบั สนุนโดย กองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ได้ค้นพบขอ้ เท็จจรงิ ท่ีตอกยำ้�วา่ หากสถานประกอบการตอ้ งการให้พนักงานของตนมีสขุ ภาวะทดี่ ี (เพ่ือคงไว้ซึง่ ประสทิ ธภิ าพการทำ�งานและอน่ื ๆ) สถานประกอบการนน้ั ๆ จะตอ้ งจดั ให้มกี าร ป้องกันและควบคมุ พฤตกิ รรมเสี่ยงทางสขุ ภาพของพนักงานร่วมดว้ ย เช่น ควบคุม และป้องกันการสูบบุหร่ี/ดื่มเหล้าของพนักงานท้ังในและนอกเวลาทำ�งานป้องกัน การขับข่ียานพาหนะหรือการเดินทางของพนักงานในสภาพท่ีเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุ นอกจากน้ี การดำ�เนินงานเพือ่ ควบคุมพฤตกิ รรมเสยี่ งดงั กลา่ ว จะต้องทำ� อยา่ งเปน็ ระบบ ครบวงจร (ทำ�ทั้งการป้องกนั ผเู้ สพหน้าใหม่ และลดผู้เสพหน้าเกา่ ท�ำ ทง้ั ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในโรงงาน การมรี ะบบสอ่ื สารใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ปจั จยั เสย่ี ง และการสนับสนนุ ช่วยเหลือให้ลดละเลกิ จากปัจจยั เสี่ยง ไม่วา่ จะเปน็ เหล้า บหุ ร่ี หรอื อน่ื ๆ ฯลฯ) ท�ำ อย่างมีสว่ นร่วม และทส่ี �ำ คญั คือ ทำ�อย่างตอ่ เน่อื ง อย่างไร ก็ตาม ในการควบคมุ หรอื ปอ้ งกนั พฤติกรรมเสย่ี งแต่ละประเภท มรี ายละเอยี ด ปลีกย่อยของการด�ำ เนินงานหรือการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ ทแี่ ตกต่างกันออกไป
5 เพื่อให้องคค์ วามรูเ้ ก่ยี วกับกระบวนการขบั เคล่ือนอยา่ งเปน็ ระบบวธิ ีการเคลด็ ลับ การดำ�เนินงานด้านการควบคุมและลดปัญหาการดื่มเหล้าของพนักงานในสถาน ประกอบการทร่ี วบรวมจากการถอดบทเรียนสถานประกอบการปลอดเหลา้ ที่เขา้ รว่ มโครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี เหล้า อบุ ตั ิเหตุ ภายใตแ้ ผน งานสง่ เสรมิ การขยายฐานการปอ้ งกันปัจจยั เสยี่ ง:บหุ ร่ี เหลา้ และอุบตั ิเหตุใน สถานประกอบการ ได้เผยแพรส่ ู่สถานประกอบการอ่นื ๆ สมาคมพฒั นาคุณภาพ ส่งิ แวดลอ้ ม จึงได้จัดทำ�คมู่ อื ดำ�เนนิ งานด้านการควบคมุ และลดปัญหาการดมื่ เหล้า ของพนักงานในสถานประกอบการขึน้ โดยใชช้ ่อื วา่ ถอดรหัสสถานประกอบการ ปลอดเหลา้ สำ�หรับใหค้ ณะท�ำ งานหรอื บคุ ลากรทางดา้ นบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ บุคลากรด้านความปลอดภัยในการทำ�งานและสวัสดิการแรงงานในสถาน ประกอบการไดเ้ รยี นรู้และใชแ้ นวทางพรอ้ มเรอื่ งเลา่ ตา่ งๆจากสถานประกอบการ ทม่ี ปี ระสบการณใ์ นการควบคมุ การดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน ทน่ี �ำ เสนอในคมู่ อื ฉบบั น้ี เป็นต้นแบบในการขับเคล่ือนสถานประกอบการตนเองให้เป็นสถานประกอบการ ปลอดเหล้า หรือสถานประกอบการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพตอ่ ไป สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม โดยแผนงานสง่ เสริมการขยายฐานการป้องกนั ปัจจยั เส่ียง: บหุ รี่ เหลา้ และอุบัติเหตุ ในสถานประกอบการ หวงั เปน็ อยา่ งย่งิ ว่า สถานประกอบการหรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ ทม่ี คี วามสนใจและตง้ั ใจทจ่ี ะสง่ เสรมิ สขุ ภาพ พนกั งานของตนเอง ดว้ ยการควบคมุ และลดปญั หาการดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน จะไดใ้ ช้ ประโยชนจ์ ากคมู่ อื ฉบบั น้ี เปน็ เขม็ ทศิ ชน้ี �ำ ทางใหแ้ กค่ ณะท�ำ งานของสถานประกอบการ ในการขบั เคลอ่ื นงานดา้ นการคมุ้ ครองสขุ ภาพของพนกั งาน ใหส้ �ำ เรจ็ ไดต้ ามทม่ี งุ่ หวงั
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 6 บทที่ บทนำ� นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2551 จนถงึ ปัจจุบนั สถานประกอบการที่ ไดร้ ว่ มกบั สมาคมพฒั นาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม โดยการสนบั สนนุ ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จ�ำ นวน รวม 1,241 แหง่ (ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2551 - 2558 จากการ ทำ�โครงการ 3 ระยะ) ได้ทำ�การป้องกันและควบคมุ ปจั จยั และพฤตกิ รรมเสย่ี งทางสขุ ภาพ: บหุ ร่ี เหลา้ อบุ ตั เิ หตุ การพนนั และอื่นๆ นำ�มาซึ่งความสำ�เร็จในการคุ้มครองสุขภาพของ พนกั งานไดใ้ นระดบั ตา่ งๆ กนั ตามความเขม้ ขน้ ของการท�ำ งาน ของสถานประกอบการเอง เช่น ท�ำ ให้พนักงานทีไ่ มส่ บู บุหรี่ หา่ งไกลหรอื ปลอดภยั จากควนั บหุ ร่ี จากนโยบายสถานประกอบ การปลอดบหุ ร่ี หรอื สามารถลดอบุ ตั เิ หตจุ ากการเดนิ ทางหรอื ลดอุบัติเหตุในที่ทำ�งานจากนโยบายสถานประกอบการ ปลอดเหล้า จนกระทั่งสามารถช่วยให้พนักงานที่ติดเหล้า ตดิ บหุ ร่ี ลด ละ เลกิ เหล้า หรอื ลด ละ เลิกบหุ รี่ไดส้ �ำ เร็จ
7 จากจ�ำ นวนสถานประกอบการทเี่ ข้ารว่ มโครงการทง้ั 3 ระยะ ในการท�ำ งาน รวมทง้ั ทางดา้ นสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2551 พบวา่ มีจ�ำ นวน 253 แห่ง ท่ีมกี าร สมาคมพฒั นาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม โดยแผนงานส่งเสริมการ ควบคุมการดื่มเหล้าของพนักงาน (โดยเฉพาะระหว่างปี ขยายฐานการปอ้ งกนั ปจั จยั เส่ียง: บุหร่ี เหล้า อบุ ตั ิเหตใุ น พ.ศ. 2553-2558 ซง่ึ เปน็ การด�ำ เนนิ งานในระยะท่ี 2 และ 3 สถานประกอบการ (แผนงาน/โครงการระยะที่ 3) และ ของแผนงานฯ ทไี่ ดม้ กี ารสง่ เสรมิ การควบคุมและลดปัญหา สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ รวมทั้ง การด่ืมเหล้าของพนักงานในสถานประกอบการร่วมด้วย) สถานประกอบการปลอดเหล้า 253 แห่ง จงึ ไดจ้ ดั ทำ�ค่มู อื จนสามารถช่วยให้พนักงานเลิกเหล้าได้สำ�เร็จ 1,274 คน คณะทำ�งานสถานประกอบการปลอดเหลา้ ฉบับนีข้ ้ึน โดย จากจำ�นวนพนักงานที่ด่มื เหลา้ 11,420 คน (ข้อมลู จาก ใชช้ อื่ วา่ “ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ” และ สถานประกอบการท่ีมีการจัดกิจกรรมสนับสนุนให้พนักงาน ในการจัดทำ� ได้อาศัยข้อมูลส่วนใหญ่ที่ได้จากการถอด เลกิ ดื่มจ�ำ นวน83แหง่ โดยแบ่งเป็นสถานประกอบการที่เข้า บทเรยี นการด�ำ เนนิ งานดา้ นการควบคมุ ปจั จยั เสย่ี งทางสขุ ภาพ ร่วมโครงการในระยะที่ 2 ระหว่างปี 2553-2556 จ�ำ นวน ของสถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพท่ีมีการควบคุม 53 แห่ง และสถานประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการในระยะ การด่มื สุราของพนักงาน ทไ่ี ดเ้ ขา้ รว่ มโครงการพฒั นาสถาน ท่ี 3 ระหวา่ งปี พ.ศ.2556-2558 จ�ำ นวน 30 แห่ง) เพ่อื ให้ ประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ กบั สมาคมฯ ในระยะท่ี 2 แนวคดิ ประสบการณ์ แนวทางและกระบวนการท�ำ งาน (พ.ศ. 2553-2556) และโครงการพฒั นาสถานประกอบการ ด้านการควบคุมและลดปัญหาการด่ืมเหล้าของพนักงานใน ปลอดบุหร่ี เหล้า และอุบัติเหตุ ในระยะที่ 3 (พ.ศ. 2556- สถานประกอบการไดเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สถานประกอบการอน่ื ๆ 2558) โดยเฉพาะขอ้ มูลทีเ่ กยี่ วกับกระบวนการด�ำ เนนิ งาน โดยเฉพาะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการด้านการสร้างเสริม เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นสถานประกอบการปลอดเหลา้ ในระดบั หนว่ ยงาน สขุ ภาพของพนกั งาน หรอื ดา้ นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั
8 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ นอกจากน้ี ยงั ไดอ้ าศัยขอ้ มลู ทีไ่ ด้มกี ารศึกษา รวบรวม หรอื เจา้ หนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการท�ำ งาน ฯลฯ ทต่ี อ้ งการด�ำ เนนิ ถอดบทเรยี นมากอ่ นหนา้ จากหน่วยงานตา่ งๆ ทง้ั หนว่ ยงาน งานด้านการป้องกันและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่ม ที่มีภาระหลักเกี่ยวกับการควบคุมการดื่มสุรา สถาบันการ แอลกอฮอล์ ไดม้ ีความเข้าใจเกี่ยวกับเครอื่ งด่มื ชนิดน้ี ก่อนท่ี ศกึ ษา และภาคีเครือขา่ ยทก่ี ำ�ลงั ขบั เคลอื่ นสังคมไทยสู่สังคม จะลงมือขับเคลื่อนภาวะปลอดเหล้าในท่ีทำ�งานตนเอง ปลอดเหล้า ทั้งที่ได้รับการสนับสนุนจากสำ�นักงานกองทุน นอกจากนี้ ในบทนี้ยังน�ำ เสนอเรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ผลกระทบ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและได้รับการสนับสนุน จากการบรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ ม่ี ตี อ่ สขุ ภาพ สงั คม และ จากแหลง่ ทนุ อืน่ ๆ โดยขอ้ มูลทตุ ิยภมู เิ หล่าน้ี ได้แก่ ความรู้ เศรษฐกจิ โดยเฉพาะผลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของ พื้นฐานเกี่ยวกับเหล้า พิษภัยจากการดื่ม ข้อมูลทางด้าน สถานประกอบการ ซง่ึ เปน็ เหตผุ ลส�ำ คญั ทส่ี ถานประกอบการ สถานการณ์การบริโภคสุรา ตลอดจนขอ้ มูลเก่ียวกับวิธกี าร จะต้องหันมาควบคุมการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของ เลกิ เหลา้ โดย คมู่ อื คณะท�ำ งานสถานประกอบการปลอดเหลา้ พนกั งาน โดยในช่วงทา้ ยของเนอ้ื หาในบทนี้ น�ำ เสนอข้อมูล หรอื หนังสอื “ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ” เกี่ยวกับสถานการณ์และพฤติกรรมการบริโภคเคร่ืองดื่ม ฉบบั นี้ แบ่งเนอื้ หาสาระภายในเล่ม ออกเปน็ 6 บท ดังน้ี แอลกอฮอล์ของคนไทยและแรงงานในสถานประกอบการ ที่ได้มีการสำ�รวจและศึกษาในช่วงเวลาก่อนหน้า พร้อมทั้ง บทท่ี 1 บทนำ� นำ�เสนอทม่ี าของการจัดทำ�คู่มือสถาน แนวทางและมาตรการต่างๆ ที่ได้มีการดำ�เนินการแล้วใน ประกอบการปลอดเหลา้ แหล่งข้อมลู และเนื้อหาโดยสรปุ ประเทศไทย ทง้ั น้ี เพอ่ื ปอ้ งกนั ควบคุม และลดปญั หาจาก ท่นี �ำ เสนอในบทที่ 1 ถงึ บทที่ 6 การบรโิ ภคเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลข์ องคนไทย บทท่ี 2 รู้จักเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ นำ�เสนอขอ้ มลู ตา่ งๆ บทท่ี 3 สถานประกอบการปลอดเหล้า นำ�เสนอ ทเ่ี กย่ี วกบั เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ตง้ั แตค่ วามหมาย ความเปน็ มา ข้อมูลเพอื่ สร้างความเขา้ ใจตรงกันตอ่ คำ�นิยามของ “สถาน ประเภทของเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ จนถงึ ผลของแอลกอฮอล์ ประกอบการปลอดเหล้า” และกิจกรรมหรอื กระบวนการท่ี ต่อร่างกาย ทั้งนี้เพื่อให้คณะทำ�งานควบคุมและลดปัญหา สถานประกอบการจะต้องจดั ให้มขี ้นึ เพือ่ พฒั นาหน่วยงาน การดม่ื เหลา้ ของพนกั งานในสถานประกอบการ หรอื บคุ ลากร ตนเองใหเ้ ปน็ สถานประกอบการปลอดเหลา้ ตามความหมาย ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ บคุ ลากรทางดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ ดงั กลา่ ว นอกจากน้ี ยงั น�ำ เสนอขอ้ มลู ทว่ั ไปของสถานประกอบ
9 การทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ และมกี ารด�ำ เนนิ งานดา้ นการควบคมุ บทที่ 6 เรือ่ งเล่าสถานประกอบการปลอดเหลา้ และลดปญั หาการดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน รวมทง้ั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั นำ�เสนอตัวอย่างการดำ�เนินงานของสถานประกอบการ ความชุกของการบรโิ ภคเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ และแรงจูงใจ ปลอดเหล้า 8 แห่ง ทสี่ ามารถควบคุมและลดปัญหาการ ในการดำ�เนินงานด้านนี้ของสถานประกอบการที่เข้าร่วม ดม่ื เหลา้ ของพนักงานไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม หรือมีการด�ำ เนนิ โครงการ งานดา้ นนอ้ี ย่างจรงิ จงั โดยมีเน้ือหาท่ีเรม่ิ จากแรงจงู ใจหรือ บทที่ 4 ทำ�อยา่ งไร แรงบันดาลใจ ตลอดจนความเป็นมาของการควบคุมการ จึงจะเปน็ สถานประกอบการ ดื่มเหล้าของพนักงานของสถานประกอบการทั้ง 8 แห่ง ปลอดเหลา้ เปน็ ส่วนส�ำ คญั ของหนงั สือฉบับน้ี โดยเปน็ การ กระบวนการดำ�เนินงานที่ใช้ รวมถึงอุปสรรคในการดำ�เนิน น�ำ เสนอแนวคดิ และหลกั การ รวมทง้ั ขน้ั ตอนในการขบั เคลอ่ื น งานและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำ�หรับ สถานประกอบการปลอดเหลา้ อยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื ใหส้ ามารถ สถานประกอบการอน่ื ๆ ไดเ้ รยี นรแู้ ละใชเ้ ปน็ กรณศี กึ ษาตอ่ ไป ควบคุมและลดปัญหาการดื่มเหล้าของพนักงานได้อย่าง เป็นรปู ธรรม น�ำ ไปสูก่ ารลดความชกุ ของพนักงานทีด่ ม่ื เหลา้ หรอื อยา่ งนอ้ ยลดผลกระทบ หรอื ปญั หาจากการทม่ี พี นกั งาน ด่มื เหลา้ ได้สำ�เรจ็ บทที่ 5 ปัจจยั เอ้อื ต่อการพฒั นาสถานประกอบการ ปลอดเหลา้ น�ำ เสนอปัจจัยสำ�คญั ท่ที ำ�ใหส้ ถานประกอบการ ปลอดเหลา้ ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ สามารถควบคมุ และลดปญั หา การดม่ื เหลา้ ของพนกั งานไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยเปน็ ปจั จยั ท่ีเกย่ี วกับสถานประกอบการโดยตรง (ปัจจัยภายใน) และ ปจั จยั จากภายนอก รวมทง้ั น�ำ เสนอวธิ กี าร และเทคนคิ ตา่ งๆ ทค่ี ณะท�ำ งานได้คิดค้น และน�ำ ไปใช้ให้เหมาะสมกบั บรบิ ท ของสถานประกอบการตนเอง
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 10 บทที่ รจู้ แักอเลคกรอื่อฮงดอ่ืมล์ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์เป็นเคร่ืองด่ืมท่ีได้จากกระบวนการ หมักของจลุ ินทรีย์ ซง่ึ ปลายทางของกระบวนการดงั กลา่ วจะ ได้ผลิตภัณฑ์ คือ เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) เม่ือความเข้มแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการหมัก จะสามารถฆา่ เซลลจ์ ลุ นิ ทรยี ท์ เ่ี ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของกระบวนการ หมักดังกล่าวได้ทั้งหมด ทำ�ให้มนุษย์สามารถดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ได้ โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการฆา่ เชื้อ อย่างไร ก็ตาม แอลกอฮอลท์ ี่ด่ืมเขา้ ไปก็มีผลเป็นพิษต่อเซลลม์ นษุ ย์ ไดด้ ว้ ยเชน่ กนั ถงึ แมม้ นษุ ยจ์ ะมรี ะบบทส่ี ามารถก�ำ จดั สารพษิ เหล่านไ้ี ดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ แต่ตอ้ งอยูภ่ ายใตค้ วามเข้มขน้ ที่จำ�กดั เท่าน้ัน คอื ไมเ่ กนิ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ และจะตอ้ งเป็น เอทิลแอลกอฮอลเ์ ท่าน้ัน
11 2.1 ความหมายของเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และในคู่มือ ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหล้า ฉบับนี้ ใชค้ �ำ วา่ เหล้า สรุ า และเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ ทดแทนกันไป แอลกอฮอล์ (Alcohol) หมายถงึ สารอนิ ทรียช์ นิดหนึ่ง มาตามความเหมาะสม โดยมคี วามหมายเดียวกันกบั ความ ลกั ษณะเปน็ ของเหลวใส กลิน่ ฉุน ระเหยงา่ ย จดุ เดือด 78.5 หมายของเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ องศาเซลเซยี ส ชอ่ื เต็มคือ เอทลิ แอลกอฮอล์ แต่มกั เรียกส้ันๆ วา่ แอลกอฮอล์ โดยปกติเกิดจากการหมักสารประเภทแป้ง หรอื นา้ํ ตาลผสมยสี ต์ มกั เรยี กกนั วา่ แปง้ เชอ้ื หรอื เชอ้ื หมกั เปน็ 2.2 ความเป็นมาของเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ องคป์ ระกอบสําคญั ของสรุ าและเมรยั ทกุ ชนดิ เมอ่ื ดื่มเขา้ ไป จะทําให้เกดิ อาการมนึ เมา ใช้ประโยชนเ์ ปน็ ตวั ทาํ ละลายและ นักวิทยาศาสตร์นั้นได้รู้ว่าธรรมชาติรู้จักสร้างเคร่ืองด่ืม เป็นเชอื้ เพลิง เป็นต้น แอลกอฮอล์มานานนับล้านปีมาแล้ว แต่ยังไม่สามารถพบ หลักฐานที่แสดงให้เรารู้แน่ชัดว่า มนุษย์เริ่มรู้จักการดื่ม เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ (Alcohol Beverage) องคก์ าร แอลกอฮอล์ตง้ั แตเ่ มอ่ื ใด แต่เชอื่ วา่ เป็นสง่ิ ทีอ่ ยู่คู่กับมนุษย์มา อนามัยโลกไดใ้ หค้ วามหมายว่า เป็นของเหลวที่มสี ่วนผสม อยา่ งยาวนาน และมนุษยร์ ูจ้ กั การดมื่ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ของแอลกอฮอล์ชนิดด่ืมหรือเอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล์ มาต้ังแตส่ มัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ใชเ้ พอ่ื การดม่ื สว่ นใหญไ่ ดม้ าจากการหมกั (Fermentation) ไดแ้ ก่ เบยี ร์ทไี่ ดม้ าจากการหมกั เมล็ดขา้ ว เชน่ ขา้ วมอลต์ มนษุ ยใ์ นสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อาจรจู้ กั เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ขา้ วบาเลย่ ์ ไวน์ได้มาจากการหมกั ผลไม้ เช่น ผลองุ่น ลกู โดยบงั เอญิ จากการดม่ื น�ำ้ ผง้ึ ทถ่ี กู ปลอ่ ยทง้ิ ในอากาศเปน็ ระยะ เบอร์รี่ ไซเดอร์ได้มาจากการหมักผลแอปเปิ้ล สาเกได้มา เวลานานๆ จนกระทง่ั มีปรมิ าณแอลกอฮอลเ์ พิม่ ขึน้ และพบ จากการหมกั ขา้ ว สว่ นเครอ่ื งดม่ื ทไ่ี ดม้ าจากการหมกั แลว้ กลน่ั วิธีการทำ�แอลกอฮอล์โดยใช้วิธีหมักผลไม้เป็นเวลานานๆ เช่น วอดก้า ไดม้ าจากวัตถุดบิ เมล็ดข้าวหรอื มนั ฝรั่ง วสิ กี้ได้ กส็ ามารถท�ำ ใหม้ แี อลกอฮอลไ์ วด้ ม่ื กนิ ไดท้ นั ที นกั วทิ ยาศาสตร์ มาจากวตั ถดุ บิ ขา้ วไรยห์ รอื ขา้ วโพด รมั ไดม้ าจากวตั ถดุ บิ ออ้ ย ได้ศึกษาถึงจุดเร่ิมต้นของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์จากการหมัก บรน่ั ดไี ด้มาจากวัตถุดบิ ผลองุน่ ผลไมพ้ บว่า เกิดขนึ้ เมื่อประมาณ 8,000 ปมี าแล้ว โดยชน ชาติอาร์เมเนียร์ ซ่ึงเป็นชนชาตแิ รกท่ีรูจ้ กั การปลูกอง่นุ เพอ่ื สรุ า หมายถึง เครื่องดมื่ ชนดิ หนึง่ ซ่งึ มีเอทลิ แอลกอฮอลผ์ สม การบริโภคในครัวเรือน ทำ�ให้มีการค้นพบวิธีการหมักองุ่น อยู่หรือที่เรียกสัน้ ๆ วา่ แอลกอฮอล์ โดยอาศยั กระบวนการย่อยสลายทางจุลนิ ทรยี ์ จงึ นา่ จะเป็น จุดเริ่มต้นของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ประเภทไวน์คร้ังแรกใน เหล้า หมายถึง ของเหลวที่สามารถด่ืมกนิ ได้ มสี ว่ นประกอบ โลก ตอ่ มาเม่อื มนุษย์ร้จู ักการเพาะปลกู ข้าว เมอื่ 5,000 ปี ของแอลกอฮอล์ เมอ่ื ดื่มกินแลว้ ท�ำ ให้เกดิ ความมนึ เมา ซึ่ง ทแ่ี ลว้ ทม่ี กี ารปลกู ขา้ วสาลแี ละขา้ วบารเ์ ลยก์ นั อยา่ งแพรห่ ลาย ความมนึ เมานี้ ขน้ึ กบั ปรมิ าณและระดับของแอลกอฮอล์ท่ี ในบริเวณทั้ง 2 ฝากฝั่งของแม่น้ำ�ไนล์ ซึ่งอยู่ในบริเวณ เปน็ สว่ นประกอบของเหล้า ประเทศอียปิ ต์ รวมถงึ ประเทศอิรกั ในปัจจบุ ัน ทำ�ใหส้ ามารถ สันนิษฐานได้วา่ จดุ เริม่ ตน้ ของเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ประเภท สรปุ ได้ว่าเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง เครอื่ งดม่ื ทุกชนิด เบียร์ไดก้ �ำ เนิดขน้ึ ในบรเิ วณดงั กล่าวน่นั เอง ท่ีผ่านกระบวนการหมกั กลนั่ โดยมีเอทิลแอลกอฮอล์เป็น สว่ นผสม ต้ังแต่ 0.5 ดีกรี ถงึ 60 ดีกรี และสามารถดม่ื กินได้ อย่างไรก็ตามตลอดเวลา 8,000 ปที ี่ผา่ นมา มนุษยร์ ดู้ วี ่าการ เช่น สุราชนิดตา่ งๆ เบยี ร์ ไวน์ เหลา้ เป็นตน้ หมักผลไม้และธัญพชื จะได้ปรมิ าณแอลกอฮอล์ค่อนข้างต่ำ� และไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการท่ีเพียงพอใน
12 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ระหวา่ งการดม่ื จงึ คดิ หาวธิ กี ารทจ่ี ะเพม่ิ ความเขม้ ขน้ ใหส้ งู ขน้ึ การแบ่งประเภทของเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์น้ันสามารถแบ่ง ซึ่งในปี พ.ศ. 1240 กไ็ ด้มกี ารคิดคน้ วิธีการเพิม่ ความเขม้ ข้น ตามกรรมวิธกี ารผลิตไดเ้ พยี ง 2 ประเภทเท่านน้ั ซึง่ ในแตล่ ะ ของแอลกอฮอล์ ด้วยการต้มแอลกอฮอล์ผสมกับน�ำ้ ซึง่ จะ ประเภทกย็ งั สามารถแบง่ ไดอ้ กี หลายชนิด ดงั นี้ ท�ำ ใหไ้ ดไ้ อน�ำ้ ทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของแอลกอฮอลส์ งู เมอ่ื กระทบ กับความเย็นในอากาศ ก็จะเกิดการควบแน่น หยดลงมา 2.3.1 เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ที่ไดจ้ ากกระบวนการแช่ เปน็ ของเหลวท่มี ปี รมิ าณแอลกอฮอลเ์ พิม่ ขึ้น ซ่ึงจะทำ�ใหไ้ ด้ หรือหมกั (Fermented beverages) ของเหลวท่ีมีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์สูงย่ิงกว่าเมื่อตอน เร่ิมต้นของเหลวผสม ทงั้ นี้ เชอื่ กนั วา่ การคิดค้นวิธีเพมิ่ ความ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ ไ่ี ดจ้ ากการแชห่ รอื หมกั ไดจ้ าก เข้มข้นของแอลกอฮอล์ เปน็ จดุ เริม่ ตน้ ทท่ี �ำ ให้ประชากรโลก การน�ำ วัตถดุ ิบ เชน่ ผลไม้ หรือธัญพชื ต่างๆ มาหมักกบั ยสี ต์ ติดแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความเชื่อว่าการต้มและ จนกระท่งั เกดิ กระบวนการหมกั ทไ่ี ดผ้ ลติ ภัณฑ์เป็นแอลกอฮอล์ การกลนั่ จะท�ำ ใหเ้ พ่ิมความบรสิ ทุ ธ์ิและสามารถด่ืมไดอ้ ยา่ ง ซึ่งจะมีความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 เปอร์เซ็นต์ ปลอดภยั มากข้ึน ตวั อยา่ งเครื่องดื่มแอลกอฮอลป์ ระเภทนม้ี ีหลายชนิด ดังน้ี ไวน์ (Wine) เป็นเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลท์ ี่เก่าแก่ 2.3 ประเภทของเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทส่ี ดุ ในโลก สว่ นใหญเ่ กดิ จากการน�ำ องนุ่ ซง่ึ มปี รมิ าณน�ำ้ ตาลสงู มาผ่านกระบวนการหมักจนได้ปริมาณแอลกอฮอล์ท่ีสูงข้ึน เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ คนไทยจะรู้จกั กันในนาม “สรุ า เมรัย” แต่บางครั้งก็สามารถนำ�ผลไม้ชนิดอื่นท่ีมีความหวานมา ซึง่ เป็นค�ำ ทคี่ นไทยสว่ นใหญ่มกั จะพูดกนั จนตดิ ปาก และเปน็ หมกั ไดด้ ว้ ยเชน่ กนั ปรมิ าณความเขม้ ขน้ แอลกอฮอลข์ องไวน์ คำ�ท่ีใช้แทนการเรียกช่ือเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีนิยมดื่ม ส่วนใหญ่อยทู่ ปี่ ระมาณ 10 - 15 เปอร์เซน็ ต์ ซงึ่ ถือวา่ มี ท่ัวไปจนบางครง้ั ก็กลายเปน็ คำ�ๆเดียวกันทั้งทจ่ี ริงแลว้ ค�ำ วา่ ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์สูงที่สุดในบรรดาเคร่ืองด่ืม สรุ าและเมรยั นน้ั เปน็ ค�ำ 2 ค�ำ ทม่ี คี วามหมายแตกตา่ งกนั ใน แอลกอฮอล์ประเภทหมกั พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคำ�ว่า สรุ า หมายถงึ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ ไ่ี ดจ้ ากกระบวนการกลน่ั แชมเปญ (Champagne) เป็นเครือ่ งด่มื อัดกา๊ ซที่ ส่วนคำ�ว่าเมรัยนั้น หมายถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ได้จาก มแี อลกอฮอลท์ เ่ี กา่ แกท่ ี่สดุ ในโลก เกิดจากชาวฝรั่งเศสทคี่ น้ กระบวนการหมกั จะเห็นไดว้ ่าค�ำ 2 ค�ำ นี้นอกจากจะมคี วาม พบโดยบังเอญิ จากการนำ�น�้ำ องนุ่ มาหมกั ทำ�ใหเ้ กิดปฏกิ ิรยิ า หมายตา่ งกันแลว้ ปริมาณแอลกอฮอล์กรรมวิธีการผลิตและ การเปลย่ี นแปลงน�ำ้ ตาลไปเปน็ แอลกอฮอลโ์ ดยยสี ต์ แตน่ �ำ้ ตาล ความนยิ มกแ็ ตกต่างกนั ตามแต่ละพน้ื ทีอ่ ีกด้วย เปลี่ยนเป็นแอลกอฮอลไ์ ม่หมด ดงั น้นั เมอ่ื บ่มทงิ้ ไวจ้ งึ เกดิ การ หมักได้กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดเ์ พม่ิ ข้ึน จึงมฟี องและรสซ่า ปจั จบุ ัน เครื่องดม่ื แอลกอฮอลใ์ นทอ้ งตลาด มมี ากมายหลาก กวา่ ไวน์ทว่ั ไปเมอ่ื เปิดขวดจะมีเสียงดงั จากกา๊ ซทบี่ รรจุอย่ดู ัน หลายชนิด ซ่ึงแตล่ ะชนดิ กจ็ ะมีวัตถุดิบ กระบวนการผลติ ออกมา และมฟี องเป็นจ�ำ นวนมาก แชมเปญส่วนใหญ่จะมี รวมถงึ ปริมาณแอลกอฮอลท์ แ่ี ตกตา่ งกนั และถึงแม้จะเป็น ความเขม้ ข้นแอลกอฮอล์ประมาณ 10 - 13 เปอร์เซ็นต์ ชนดิ เดยี วกัน หากมตี ้นก�ำ เนดิ พนื้ ถน่ิ ทแี่ ตกตา่ งกันแล้ว ก็จะ มชี อ่ื เรยี กทไ่ี มเ่ หมอื นกนั อกี ดว้ ย ท�ำ ใหบ้ างครง้ั เกดิ ความสบั สน ในการเรียกช่อื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลแ์ ต่ละชนิด อย่างไรก็ตาม
13 เบยี ร์ (Beer) เบยี รเ์ ปน็ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ เ่ี กา่ แก่ 2.3.2 เครื่องดืม่ แอลกอฮอลท์ ี่ไดจ้ ากกระบวนการกลนั่ และก�ำ เนิดมาหลายพนั ปีแลว้ เช่นกนั สามารถใช้วัตถดุ ิบจาก (Distilled หรือ Spirit beverages) ขา้ วทกุ ชนดิ ในกระบวนการผลติ แตว่ ตั ถดุ บิ ทน่ี ยิ มใชผ้ ลติ เบยี ร์ มากท่สี ุด คือ ข้าวสาลีหรอื ขา้ วบาร์เลย์ โดยมีดอกฮอ๊ ปซึง่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีได้จากกระบวนการกลั่น เป็นวัตถุดิบท่ีทำ�ให้เบียร์มีกลิ่นและรสชาติท่ีเป็นเอกลักษณ์ ถือว่าเป็นเครื่องดื่มท่ีมีวิวัฒนาการต่อจากเครื่องด่ืม เฉพาะตัว ในปัจจบุ ันสามารถจ�ำ แนกเบียรไ์ ดห้ ลายประเภท แอลกอฮอลท์ ผ่ี า่ นกระบวนการหมกั กลา่ วคอื เครอ่ื งดม่ื ประเภท ตามกระบวนการผลิตหรือตามสายพันธุ์ของยีสต์ที่แตกต่าง น้ีจะเกิดข้ึนไม่ได้ถ้าไม่ผ่านกระบวนการหมักในข้ันตอนแรก กัน เชน่ เอลเบียร์ สเตา๊ รเ์ บียร์ พอร์ดเตอรเ์ บียร์ เป็นต้น ดงั นั้นจงึ ทำ�ใหม้ หี ลากหลายชนดิ ซ่ึงจะจ�ำ แนกได้ตามวัตถดุ ิบ โดยเบียร์ส่วนใหญ่จะมีความเข้มข้นแอลกอฮอล์อยู่ระหว่าง ทีน่ ำ�มาหมัก รวมถงึ สถานท่ีทีเ่ ป็นแหลง่ กำ�เนดิ ของเครื่องดื่ม 3 - 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ แอลกอฮอลช์ นิดนน้ั ๆ อกี ดว้ ย ตวั อยา่ งเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ สาโท หรือ นำ�้ ขาว (Sato) เป็นเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ ประเภทน้ี ได้แก่ ประเภทหมกั ทำ�จากวัตถดุ ิบประเภทขา้ วชนดิ ต่างๆ ที่ผา่ น วสิ ก้ี (Whisky) คอื สรุ าท่มี วี ตั ถุดบิ มาจากข้าวชนิด การหมักดว้ ยลกู แปง้ และยสี ต์ เพ่ือเปล่ียนแป้งในข้าวให้ ใดชนดิ หน่งึ หรือหลากหลายชนดิ เช่น ขา้ วสาลี ขา้ วบาร์เล่ย์ เปน็ แอลกอฮอล์ โดยสาโทท่ีผา่ นกระบวนการหมักแล้ว จะมี ข้าวโพด ขา้ วไรน์ เป็นตน้ โดยน�ำ มาผา่ นกระบวนการหมัก ความเขม้ ข้นของแอลกอฮอล์ไมเ่ กนิ 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ มีรสชาติ แล้วกล่ันให้มีดีกรีสูงข้ึนจากน้ันจึงนำ�ไปเก็บหมักบ่มในถังไม้ หวาน เพราะกระบวนการหมกั ยงั ไมส่ ้ินสดุ และจะเก็บไว้ไม่ โอค๊ อกี ครง้ั เพือ่ ให้ไดส้ ี กล่นิ และรสชาติหอมนุ่ม สุราชนิดนี้ ไดน้ าน นยิ มผลิตกันในประเทศแถบภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีน จะมีความเขม้ ขน้ แอลกอฮอล์ประมาณ 40 - 50 เปอร์เซนต์ เกาหลี ญป่ี ุน่ และไทย โดยจะมชี อื่ เรยี กต่างกันไป เชน่ ใน และยี่ห้อที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จักและนิยมด่ืมมีหลากหลาย ประเทศจีนเรียกวา่ chao-ching-yu ในประเทศญีป่ ุ่นเรียก ยีห่ ้อ เชน่ Johnnie Walker, Chivas Regal, Black Label, Japanese liqueur ส่วนในประเทศไทย เครื่องดม่ื ในกลมุ่ Red Label, Jack Daniel, Jim Beam เป็นตน้ นี้มีช่ือเรยี กหลายช่อื ดว้ ยกนั โดยอาจมีกระบวนการผลติ ท่ี แตกตา่ งกนั บ้าง เชน่ กระแช่ เหลา้ อากนุ น�้ำ ขาว เปน็ ต้น บร่นั ดี (Brandy) คอื สรุ าท่กี ลน่ั จากผลไมท้ ีผ่ ่าน กระบวนการหมัก โดยสว่ นมากมกั จะใชอ้ งุ่นเป็นวัตถดุ ิบหลกั อุ เปน็ เครอ่ื งด่ืมพื้นบ้านทมี่ ีวฒั นธรรมในการดม่ื ในการหมักใหเ้ ป็นไวน์ก่อน จากนนั้ จึงน�ำ มาทำ�การกลั่น แลว้ ตา่ งจากสรุ าชนดิ อน่ื โดยจะใชไ้ ห เปน็ ภาชนะส�ำ หรบั กระบวน จึงนำ�ไปเก็บบ่มใหไ้ ดส้ ี กลิน่ และรส อีกครงั้ ในถังโอ๊ค ซึง่ จะ การหมกั และปิดฝาดว้ ยขี้เถ้าผนกึ สนิท ใชห้ ลักการเดียวกบั เทข�ำม้ ใขหน้ แ้ ขออลงกแออฮลอกลอท์ ฮม่ี ออี ลยก์ เู่จ็ดะมิ ลลดดตล�ำ่ งลงไแปลเะรเอ่ื มยอ่ื ๆยง่ิ บบาม่ งไชวนน้ ดิ าบนม่คนวาานม สาโท แตแ่ ตกตา่ งในดา้ นวัตถดุ บิ ทต่ี อ้ งใช้ขา้ วผสมแกลบและ หมักในไหเทา่ นนั้ ดังนัน้ อจุ ะมสี ีเหลอื งของแกลบ และจะ ถึง 50 ปขี ้ึนไป ทำ�ใหบ้ รัน่ ดนี ั้นมีความพเิ ศษในดา้ นกลน่ิ และ มกี ลิน่ หอมของขา้ วเปลอื ก สำ�หรบั วิธีดมื่ จะตอ้ งใชห้ ลอดดูด รสชาตทิ ด่ี ี บรน่ั ดสี ว่ นใหญจ่ ะมคี วามเขม้ ขน้ แอลกอฮอลป์ ระมาณ เจาะลงไป มีรสชาตหิ วานเป็นทน่ี ิยมของคนในทอ้ งถ่ิน โดย 45 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดยยห่ี อ้ ทค่ี นไทยสว่ นใหญร่ จู้ กั เชน่ Regency เฉพาะในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Brandy, German Brandy เปน็ ตน้
14 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ วอดก้า (Vodka) คือสุรากลน่ั ท่อี าศยั กระบวนการ มกี ารดดู ซมึ แอลกอฮอล์ในปริมาณมาก จากนนั้ แอลกอฮอล์ หมกั ท่มี วี ัตถดุ ิบ เชน่ กากน้ำ�ตาลท่ีไดจ้ ากมันฝรง่ั หรอื ธัญพืช จะเข้าสู่ลำ�ไส้เล็กซึ่งถือเป็นอวัยวะที่มีประสิทธิภาพสูงสุดใน จะมลี กั ษณะใส ไมม่ สี ี วอดกา้ สว่ นใหญม่ คี วามเขม้ ขน้ แอลกอฮอล์ การดดู ซมึ เนือ่ งจากมีความยาวถงึ 2 - 8 เมตร และมีพื้นท่ีผวิ ระหวา่ ง 35 - 70เปอร์เซ็นต์ เปน็ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลท์ ไ่ี ดร้ ับ มากถึง 300 ตารางเมตร ในส่วนของลำ�ไสใ้ หญ่ กส็ ามารถ ความนยิ มในทว่ั ทุกมมุ โลก โดยสว่ นใหญม่ ักนยิ มน�ำ วอดกา้ ดูดซมึ แอลกอฮอลไ์ ดเ้ ชน่ กัน เพยี งแต่โดยทว่ั ไปการทำ�หนา้ ที่ ไปผสมเปน็ คอกเทล เพ่อื ดมื่ ในโอกาสต่างๆ ได้อยา่ งลงตวั ของลำ�ไส้เล็กมักจะทำ�ให้ไม่มีแอลกอฮอล์ผ่านมาถึงส่วนนี้ ยห่ี อ้ ของวอดก้าทค่ี นไทยสว่ นใหญร่ จู้ กั เช่น Grey goose, และแอลกอฮอลจ์ ะมกี ารกระจายไปยงั อวยั วะอน่ื ๆ ท�ำ ใหอ้ วยั วะ Smirnoff, Absolute เปน็ ต้น ที่ทำ�หน้าท่ีขบั ถา่ ยของเสีย ทำ�งานหนกั มากข้นึ เพราะขณะที่ แอลกอฮอลแ์ พร่เขา้ ไปในผนงั ของทางเดินอาหาร จะแพร่ผา่ น รัม (Rum) เป็นสรุ าประเภทกล่นั ที่อาศัยกระบวน หลอดเลือดฝอย และจะผ่านไปยังตบั ซ่งึ เปน็ อวัยวะทสี่ ำ�คัญ การหมักวตั ถุดบิ จากกากนำ้�ตาลท่ไี ด้จากออ้ ย ซงึ่ มตี ้นกำ�เนดิ ในการก�ำ จัดของเสียบางส่วนของรา่ งกาย แอลกอฮอลจ์ ะถูก จากหมเู่ กาะฝง่ั ทะเลแครบิ เบยี น บางประเทศในอเมรกิ ากลาง ท�ำ ลายโดยเอ็นไซมท์ ต่ี บั ส่วนที่เหลอื จะเขา้ ส่กู ระแสเลอื ดไป และอเมริกาใต้ ซงึ่ นยิ มปลูกอ้อยกนั เป็นส่วนใหญ่ เสนห่ ์ของ ยงั หวั ใจและอวยั วะตา่ งๆ ของรา่ งกายรวมทง้ั สมอง แอลกอฮอล์ รมั อยู่ทกี่ ล่นิ หอมของกากน�้ำ ตาลออ้ ยที่เจอื จางอยูใ่ นรมั ซง่ึ จะเขา้ สแู่ ตล่ ะอวยั วะไดไ้ มเ่ ทา่ กนั ขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณของน�ำ้ และ ผผู้ ลิตจะต้องใชค้ วามละเอียดอ่อน ในการผลิตเพอ่ื เกบ็ รกั ษา ปริมาณเลือดทีไ่ หลเวยี นในอวยั วะนน้ั ๆ อวยั วะทีแ่ อลกอฮอล์ คุณสมบัตินี้ไว้ให้ดีที่สุด ความเข้มข้นแอลกอฮอล์ของสุรา แพรเ่ ขา้ ไปไดส้ งู สดุ ในรา่ งกาย คอื สมอง เนอ่ื งจากเปน็ อวยั วะ ประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 40 - 50 เปอร์เซ็นต์ ทีม่ ีน�้ำ เป็นองคป์ ระกอบมาก และยังมีปริมาณเลอื ดมาเลี้ยง ส่วนยี่ห้อที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จัก เช่น แสงโสม หงส์ทอง มากดว้ ย สว่ นกลา้ มเนอ้ื ผวิ หนงั กระดกู และผม จะมแี อลกอฮอล์ แมโ่ ขง เปน็ ตน้ ต�ำ่ กวา่ และหลงั จากทด่ี ม่ื แอลกอฮอลเ์ ปน็ เวลานานพอสมควร ความเข้มขน้ ของแอลกอฮอลใ์ นเลือดจะคอ่ ยๆ ลดลง เนื่อง จากแอลกอฮอล์ถูกขับออกจากร่างกาย ขณะที่แอลกอฮอล์ 2.4 แอลกอฮอล์มีผลตอ่ ร่างกายอยา่ งไร ในเลอื ดลดลง แอลกอฮอลใ์ นอวยั วะต่างๆ จะแพรเ่ ข้าส่เู ลอื ด จนกระทัง่ แอลกอฮอล์ทั้งหมดถูกขบั ออกไป จึงจะหยุดขบวน การแพรใ่ นท่ีสุด โดยท่ัวไปแอลกอฮอลจ์ ะถกู ขบั ออกจาก 2.4.1 การดดู ซึมและการกระจายแอลกอฮอลใ์ นร่างกาย รา่ งกายหมดภายใน 24 ชว่ั โมง สว่ นการทผ่ี ดู้ ม่ื สรุ าจะมนึ เมา เมื่อแอลกอฮอล์เข้าสู่ร่างกายโดยการดื่มแล้ว จะมี ชา้ หรอื เรว็ ขน้ึ อยกู่ บั อตั ราความเรว็ ของการดดู ซมึ แอลกอฮอล์ การดูดซึมบริเวณปากและหลอดอาหารเพียงเล็กน้อย เขา้ สหู่ ลอดเลอื ดของแตล่ ะบคุ คลทแ่ี ตกตา่ งกนั และปจั จยั เสรมิ เพราะแอลกอฮอล์จะผ่านบริเวณนี้ค่อนข้างรวดเร็วและ อืน่ ๆ เชน่ ความเขม้ ขน้ หรอื ดกี รี ปรมิ าณและอัตราเรว็ ของ มีเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณนี้ค่อนข้างน้อย หลังจากนั้นจะมี การบรโิ ภค สภาพกระเพาะอาหารที่ว่าง สภาพของรา่ งกาย กระบวนการตา่ งๆ เกดิ ขนึ้ ในร่างกาย เริ่มตั้งแตก่ ารดูดซมึ ใน และความเคยชิน สภาพอารมณ์และจติ ใจ ตลอดจนสภาวะ ระบบทางเดินอาหาร (เนื่องจากโมเลกุลของแอลกอฮอล์มี แวดล้อมในขณะท่บี รโิ ภคเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ เปน็ ตน้ ขนาดเล็กและไม่ตอ้ งการน�ำ้ ยอ่ ย) ซงึ่ ในกระเพาะอาหารอาจ จะอยู่นานถึง 7 ชั่วโมง ประกอบกับในกระเพาะอาหารจะ มีปริมาณเลือดที่มาหล่อเลี้ยงจำ�นวนมาก ทำ�ให้ในบริเวณนี้
15 2.4.2 ผลต่อรา่ งกาย สารออกฤทธิ์ที่สำ�คัญในสุรา คือ แอลกอฮอล์ ซึ่ง การขยายตัวของต่อมเหง่ือ) และศูนยก์ ารควบคุมความรอ้ น ท�ำ ละลายไดด้ ี ทง้ั ในน�้ำ และไขมัน สามารถแพรไ่ ปไดท้ ุกสว่ น ทสี่ มองจะถกู กด ทำ�ใหป้ รับตวั ไมไ่ ด้ การดม่ื แอลกอฮอล์ใน ของรา่ งกาย โดยทว่ั ไปแล้ว ร้อยละ 95 ของแอลกอฮอล์ท่เี ข้า ปริมาณมากๆ ในฤดหู นาว เพอื่ ปอ้ งกันความหนาว จงึ จดั สรู่ า่ งกาย จะถูกดูดซมึ เขา้ ไปในกระแสเลือด โดยผา่ นเยื่อบุ เป็นพฤติกรรมทอ่ี นั ตราย กระเพาะอาหาร และลำ�ไส้ เม่อื ถงึ กระแสเลอื ดแอลกอฮอล์ จะเขา้ ไปในเซลล์ รวมถงึ เนอ้ื เยอ่ื ตา่ งๆ ในรา่ งกายอยา่ งรวดเรว็ ผลตอ่ ระบบเลอื ด แอลกอฮอลท์ �ำ ใหเ้ ซลลข์ องเลอื ดเกาะเปน็ ฤทธข์ิ องแอลกอฮอล์จงึ มผี ลต่อร่างกายทุกระบบ ดงั น้ี กอ้ นเหนียวการไหลเวียนจึงชา้ ลง และปริมาณออกซเิ จนลด ต่ำ�ลงดว้ ย การดมื่ สรุ าในระดับสงู จะลดการผลติ เม็ดเลือด ผลต่อระบบประสาท ขาว ลดความสามารถของเซลลใ์ นการเขา้ สตู่ ำ�แหนง่ ตดิ เชื้อ • จำ�เหตุการณ์ขณะเมาไม่ได้ เป็นลักษณะการสูญเสีย และท�ำ ใหเ้ ม็ดเลอื ดขาวทำ�ลายแบคทีเรยี ชา้ ลง มีผลต่อเซลล์ ความจ�ำ ในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ ในขณะทผ่ี ดู้ ม่ื นน้ั จ�ำ ไมไ่ ด้ ต้นกำ�เนดิ เม็ดเลอื ด ซ่ึงท�ำ ใหม้ ีการสร้างจำ�นวนเม็ดเลือดแดง ว่าคยุ กับใคร จอดรถไวท้ ่ีไหน ลดลง รูปร่างเม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่ขึ้น และมีผลต่อ • ผลตอ่ การนอน แม้ว่าการดื่ม การเมาสรุ า อาจจะท�ำ ให้ ประสิทธิภาพของเกล็ดเลือดซึ่งทำ�ให้การแข็งตัวของเกล็ด นอนหลบั ได้ง่ายขึ้น แต่แอลกอฮอล์จะรบกวนวงจรการ เลือดชา้ ลงดว้ ย นอน นอนหลับไม่ต่อเนอ่ื ง ทำ�ให้ตื่นขึ้นมามอี าการไม่ สดช่ืน ร้สู กึ แฮงค์ มะเร็ง พบอตั ราการเกิดมะเร็งสูงในผตู้ ดิ สุรา ตงั้ แตม่ ะเรง็ • ผลต่อเสน้ ประสาทส่วนปลาย ซึง่ เป็นผลจากการขาด ของสมอง คอ ปอด หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตบั และ วติ ามนิ และพษิ ของแอลกอฮอลโ์ ดยตรง โดยจะมอี าการชา ล�ำ ไส้ใหญ่ บริเวณมอื และแขน • ผลตอ่ สมองสว่ นซรี เี บลลม่ั มลี กั ษณะเฉพาะคอื ไมส่ ามารถ ผลต่อทารกในครรภม์ ารดา เนื่องจากแอลกอฮอล์ สามารถ ยืนหรือทรงตวั น่ิงได้ อาการตากระตุก สมองสว่ นน้จี ะ ดดู ซึมได้ จงึ ท�ำ ใหเ้ กิดผลร้ายแรงในทารกได้ หากมปี รมิ าณ เส่อื มลงถาวร แม้หยดุ สุราแล้วกไ็ ม่ค่อยหายอยา่ งสมบูรณ์ แอลกอฮอลม์ ากพอ จะท�ำ ใหเ้ ดก็ เสยี ชวี ติ หรอื คลอดกอ่ นก�ำ หนด ทารกท่ีคลอดจากครรภม์ ารดาทีด่ มื่ สรุ าอยา่ งมาก พบวา่ จะ ผลตอ่ ระบบทางเดินอาหาร ปัญหาคล่ืนไสอ้ าเจยี น เลือด มกี ลมุ่ อาการ สตปิ ัญญาทบึ อยา่ งรนุ แรง ศรี ษะเล็ก รูปร่าง ออกในทางเดินอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ ไปจนถึง เล็ก หนา้ ตาผดิ ปกติ ภาวะโรคหัวใจแต่กำ�เนดิ น้วิ มือติดกัน ปญั หาตบั ตบั ออ่ น ท�ำ ใหเ้ กิดโรคตับแขง็ มีการสะสมของ หญิงตัง้ ครรภ์ จงึ ไมค่ วรดมื่ สรุ าตลอดอายุการต้งั ครรภ์ เสยี พวก ยูเรยี จนเปน็ พิษต่อสมอง อ่ืนๆ โดยทัว่ ไปมกั เชื่อกันวา่ แอลกอฮอลก์ ระตุ้นความรสู้ กึ ผลต่อระบบหลอดเลือด การดืม่ สุราเปน็ จำ�นวนมาก จะทำ� ทางเพศของผดู้ ม่ื ซง่ึ อาจเกดิ จากการออกฤทธก์ิ ดระบบควบคมุ ใหค้ วามดนั โลหิตสูงขน้ึ เพ่ิมระบบไขมนั อ่ิมตวั ทมี่ ักจะสะสม การยบั ยง้ั ในสว่ นน้ี และสดุ ทา้ ยจะกลายเปน็ คนทไ่ี รส้ มรรถภาพ ตามหลอดเลอื ด ได้แก่ LDL และ triglyceride จงึ เพิ่มความ ทางเพศ เพราะแอลกอฮอลจ์ ะมผี ลตอ่ อวยั วะเพศโดยตรง คอื เส่ยี งในการเกดิ โรคหวั ใจขาดเลือด นอกจากนี้ แอลกอฮอล์ ท�ำ ใหอ้ วัยวะเพศตนื่ ตวั และออ่ นตัวเร็ว สำ�หรับเพศหญิงจะ ยังมีฤทธ์ิขยายหลอดเลอื ด ในระยะแรกผูท้ ่ีดม่ื แอลกอฮอล์ ทำ�ให้ความสุขทางเพศหายไปและทำ�ให้มีโอกาสเป็นมะเร็ง จะรสู้ ึกอบอุ่น แตถ่ ้าดม่ื ปริมาณมากจะท�ำ ให้รา่ งกายสูญเสีย เตา้ นมสงู ขึ้นถึง 30 เทา่ ความร้อนทางผิวหนงั (จากการขยายตวั ของเส้นเลือดและ
16 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ท้ังนี้ แอลกอฮอลเ์ มอื่ ผา่ นเข้าไปในอวัยวะตา่ งๆ ของรา่ งกาย ที่สุด ซึง่ ตับที่เคยนุ่มนมิ่ กจ็ ะกลายเปน็ ตับทแ่ี ข็งตัวขน้ึ ไม่มี จะมอี นั ตรายต่ออวัยวะตลอดเสน้ ทางทผี่ ่าน ดงั น้ี เลือดมาหล่อเลีย้ ง จงึ เกดิ อาการที่เรียกวา่ ตบั แข็งในท่ีสดุ และความเส่ยี งต่อการเป็นโรคตับมีถงึ 8 เทา่ เมอ่ื เทียบกับ ปากและลำ�คอ เมอื่ แอลกอฮอล์เข้าปากและล�ำ คอจะไปออก คนทีไ่ ม่ดม่ื สุรา ฤทธิ์ต่อผิวอวัยวะภายในช่องปากทำ�ให้เกิดการระคายเคือง ช้ันเยอ่ื บทุ ี่ละเอยี ดออ่ นในปาก และหลอดอาหาร มักมอี าการ ตับอ่อน แอลกอฮอลจ์ ะทำ�ให้เซลลข์ องตบั ออ่ นระคายเคือง ร้อนซ่เู ม่อื ผา่ นลงไป และบวมขึ้น การไหลของน้ำ�ย่อยไม่สามารถที่จะเข้าไปใน ล�ำ ไสเ้ ล็กได้ ทำ�ให้น�ำ้ ย่อยยอ่ ยตวั ตบั อ่อนเอง ท�ำ ให้เกดิ เลือด ระบบทางเดินอาหาร แอลกอฮอลม์ ีผลท�ำ ใหเ้ กิดการระคาย ออกอย่างเฉียบพลนั และเกิดการอักเสบของตบั ออ่ น พบวา่ เคอื งตอ่ เย่ือบทุ างเดินอาหาร ในกรณผี ทู้ ี่ด่ืมแอลกอฮอล์เปน็ 1 ใน 5 จะเสียชีวติ ไปในครง้ั แรก เมอ่ื มปี ัญหาเกีย่ วกับตับ ประจ�ำ มักจะเกิดการอักเสบของเย่ือบุผนงั กระเพาะอาหาร อ่อน การสรา้ งอนิ ซูลินขาดหายไป และท�ำ ให้เป็นเบาหวาน หรือมเี ลอื ดออกในกระเพาะอาหารได้ เพราะแอลกอฮอล์มี ในท่ีสุด คุณสมบตั ิเปน็ กรด ทำ�ให้มกี รดเพิม่ ในกระเพาะอาหาร ผลท่ี ตามมาคอื กระเพาะอาหารอกั เสบ ซง่ึ สามารถเกดิ ไดส้ องแบบ หัวใจ แอลกอฮอลท์ �ำ ให้กล้ามเนอ้ื หัวใจบวมข้ึน เปน็ พษิ กับ คอื แบบฉบั พลนั และแบบเรือ้ รงั ในแบบฉับพลัน มีอาการ หัวใจและทำ�ให้เกิดการสะสมของไขมันบริเวณหัวใจสูงขึ้น คอื ปวดทอ้ ง คลน่ื ไส้ อาเจียน อาจมีเลือดออก และมีแผล ส่งผลให้หัวใจมีการสูบฉีดเลือดเร็วข้ึนเพิ่มการใช้ออกซิเจน เกดิ ขนึ้ ในกระเพาะอาหารได้ ส่วนอาการในแบบเรือ้ รงั น้นั ของหวั ใจ ท�ำ ให้หวั ใจทำ�งานหนกั ขน้ึ จนกระท่งั กล้ามเน้ือ อาจมีอาการเบอื่ อาหาร ปวดท้องปวดแถวล้นิ ปี่ นำ้�หนกั ลด หวั ใจโต จนมอี าการหวั ใจวายหรอื หวั ใจลม้ เหลวตามมาในทส่ี ดุ คลื่นไส้อาเจียนเกิดแผลอักเสบในกระเพาะอาหารหรือ บริเวณลำ�ไส้เล็กได้ซ่ึงอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดอาการตก สมอง เปน็ อวยั วะทไ่ี วตอ่ ฤทธข์ิ องแอลกอฮอลซ์ ง่ึ เหน็ ไดช้ ดั เจน เลือดตามมาได้ นอกจากนั้น เหลา้ ยงั เป็นอปุ สรรคกับการ ก่อให้เกดิ พษิ แบบเฉียบพลันและเร้อื รงั ดดู ซมึ สารอาหารบางชนดิ เชน่ วติ ามนิ B1 วติ ามนิ บี 6 วติ ามนิ • พษิ แบบเฉยี บพลนั ได้แก่ Alcoholic intoxication บี 12 ไขมนั กรดโฟลกิ และกรดอะมโิ นต่าง ๆ แบ่งออกเป็นพษิ ในระดบั มากน้อยแตกต่างกันไป ตามระดบั ของแอลกอฮอล์ในเลอื ดดังนี้ ตบั ตบั เปน็ เสมอื นโรงงานสรา้ งพลงั งานใหแ้ กร่ า่ งกาย มหี นา้ ท่ี ระดบั แอลกอฮอล์ (มลิ ลิกรัม/100 มลิ ลิลิตร) สร้างสารทีจ่ ำ�เปน็ ตอ่ รา่ งกาย เช่น นำ้�ดี วติ ามิน สารที่ทำ� 30 mg% - ท�ำ ให้เกิดการสนุกสนานรา่ เริง ใหเ้ ลอื ดแข็งตัว และยังช่วยกำ�จัดสารพิษในร่างกายอีกดว้ ย 50 mg% - เสยี การควบคมุ การเคล่อื นไหว แอลกอฮอลม์ ีอิทธพิ ลตอ่ ตับ ทำ�ให้เกดิ การบวม และจะไป 100 mg% - แสดงอาการเมาให้เหน็ เดนิ ไม่ตรงทาง ขัดขวางทางเดินของนำ้�ดีซ่ึงจะส่งต่อไปยังลำ�ไส้เล็ก 200 mg% - เกิดอาการสบั สน นอกจากนี้ตับซึ่งเป็นอวัยวะที่มีส่วนสำ�คัญในการกำ�จัด 300 mg% - เกิดอาการง่วงซมึ แอลกอฮอล์ จึงเป็นบริเวณที่ได้รับสารพิษจากเครื่องดื่ม 400 mg% - เกิดอาการสลบ และอาจถึงแกช่ วี ิตได้ แอลกอฮอลม์ ากที่สุด เซลลต์ ับจะถกู ทำ�ลายโดยจะมีไขมัน • พษิ แบบเรอื้ รัง แอลกอฮอล์มีพษิ โดยตรงตอ่ สมอง ท�ำ เข้าไปแทนที่ ทำ�ใหเ้ กดิ การค่งั ของไขมันในตบั ซง่ึ เป็นสาเหตุ ใหเ้ ซลล์สมองเสือ่ ม ในผตู้ ิดสุราพบวา่ มีการฝอ่ ลีบของ แรกๆ ของอาการตับอักเสบ จากน้ันตบั จะถกู ทำ�ลายมากขน้ึ สมอง ซึง่ จะมผี ลตอ่ การเสื่อมทางจติ ด้วยหลายประการ จนกระทง่ั มีพงั ผืดเกาะบรเิ วณตับ มผี ลทำ�ใหเ้ ซลลต์ ับตายใน เช่น ขาดความรบั ผดิ ชอบ ความจ�ำ เสอ่ื ม เม่อื เปน็ มาก
17 เกิดประสาทหลอน หูแว่ว หลงผดิ หวาดระแวง คล้มุ คลงั่ 2.4.3 ภาวะมึนเมาจากแอลกอฮอล์ และแอลกอฮอลม์ ีฤทธ์ิกดประสาท โดยกดศูนย์ควบคมุ ภาวะมึนเมาจากแอลกอฮอล์เป็นผลจากการท่ี ระบบต่างๆ เช่น กดศูนย์หายใจ และศูนย์ควบคุม แอลกอฮอล์ ในกระแสเลือด ไปมผี ลต่อการท�ำ งานของสมอง การไหลเวียนของโลหติ ในสมอง ทำ�ให้ถงึ แกช่ ีวิตได้ ทำ�ให้เกิดอาการที่แตกต่างกันไปตามระดับของแอลกอฮอล์ ในกระแสเลอื ด ผู้ดื่มจะมอี าการมากนอ้ ยเพยี งใดนัน้ ข้ึนอยู่ ไต แอลกอฮอลม์ ผี ลทำ�ใหห้ ลั่งปสั สาวะมากข้นึ สว่ นหนึ่งมี กบั ปจั จยั หลายอยา่ ง ไดแ้ ก่ ปรมิ าณของแอลกอฮอลท์ บ่ี รโิ ภค สาเหตจุ ากปรมิ าณน�ำ้ ทค่ี นนยิ มดม่ื รวมไปกบั การดม่ื แอลกอฮอล์ เขา้ ไป สง่ ผลตอ่ อตั ราการเพม่ิ สงู ขน้ึ ของแอลกอฮอลใ์ นรา่ งกาย ซ่ึงจะไปเพ่มิ ปรมิ าณนำ้�ที่ผา่ นไต ทำ�ใหม้ ปี ัสสาวะเพิม่ ขนึ้ อีก ยิ่งดูดซมึ ท�ำ ใหม้ ีอาการได้เร็ว และเพ่ิมมากขน้ึ ตามล�ำ ดบั สาเหตุหนึ่งก็คือแอลกอฮอล์จะออกฤทธ์ิกดการหลั่ง ภาวะร่างกายของแต่ละคนที่จะตอบสนองต่อแอลกอฮอล์ ฮอร์โมน Anti-diuretic (ADH) ซึ่งเป็นฮอรโ์ มนที่ท�ำ หนา้ ที่ ซง่ึ บางคนต้องใชแ้ อลกอฮอล์ปริมาณมาก จึงจะเกดิ อาการ ดูดน�้ำ กลับ แตเ่ มอื่ มีปรมิ าณแอลกอฮอล์เพ่มิ ขน้ึ มผี ลทำ�ให้ ขึ้นได้ นอกจากนปี้ จั จยั ทางพนั ธุกรรม ยังเป็นตวั ก�ำ หนดการ ไปกดการทำ�งานของฮอร์โมน การดูดน้ำ�กลับที่ท่อไตลดลง ตอบสนองของสมอง ที่มีตอ่ ระดบั แอลกอฮอล์ และภาวะ การหลั่งปัสสาวะจึงเพิ่มขึ้น ซึ่งจะสังเกตเห็นว่าเวลาคนดื่ม ของอารมณแ์ ละส่งิ แวดลอ้ มในขณะท่ดี ื่ม เหลา้ ก็จะท�ำ ให้มีการปสั สาวะบอ่ ยผิดปกติ ผลของแอลกอฮอล์ทม่ี ตี ่อการท�ำ งานของสมอง จะสมั พันธ์ หชู ั้นใน โดยหูช้นั ในเปน็ ส่วนทร่ี ับรู้การทรงตัว ในหชู ้นั ใน กบั ปริมาณแอลกอฮอล์ในกระแสเลือด โดยในระดับต�ำ่ จะมี มลี กั ษณะเปน็ ถงุ ภายในมเี จลหย่นุ ๆ บรรจุอยู่ ผนังด้านใน ผลตอ่ การควบคมุ อารมณ์ให้รสู้ กึ รา่ เริง คกึ คกั และความ ของถุงจะมีเซลล์ประสาททย่ี ื่นขนไปในเนอ้ื เจล เมือ่ ขยับหวั วิตกกงั วลลดลง ตอ่ มาเมื่อระดบั ของแอลกอฮอลเ์ พ่มิ สูงข้นึ เจลในถุงจะขยับ ทำ�ใหข้ นเซลลป์ ระสาทบดิ งอ เกดิ สญั ญาณ ก็จะมีผลต่อการประสานงานในระบบการทำ�งานของสมอง ประสาทส่งไปยังสมองเพ่ือแปลความหมายเป็นตำ�แหน่ง ทำ�ให้พดู ไมช่ ัดเจน เดินเซ การประสานงานระหว่างสายตา ของหัวท่ีขยบั เราจงึ ทรงตวั อยู่ได้ ระบบน้ีทำ�งานประสาน สมอง และการกระทำ�เรม่ิ ผิดพลาด การตัดสินใจบกพรอ่ ง กับการกลอกตาของเราอีกที จึงทำ�ให้เราสามารถจับจ้องไป มองเห็นภาพ ไมช่ ัด ภาพซอ้ น และเม่อื ระดับแอลกอฮอล์ ยังจุดใดจุดหนึ่งได้อย่างราบรื่นในขณะท่ีโยกหัวไปมาหรือ เพิ่มสงู ขนึ้ ถึง 200 มิลลกิ รัม/100 มิลลลิ ติ ร จะมผี ลตอ่ ระบบ เคล่อื นที่ เม่อื ระดบั แอลกอฮอล์ในเลอื ดสูงขน้ึ จะรบกวน การทำ�งานของสมองอยา่ งรุนแรง ท�ำ ใหส้ ูญเสียการควบคมุ ระบบการทำ�งานของอวัยวะรับรกู้ ารทรงตัวนี้ แอลกอฮอล์ การทำ�งานของกล้ามเน้ือ มีอาการคล่นื ไส้ อาเจียน จติ ใจ จากกระแสเลอื ดจะคอ่ ยๆ แพรผ่ า่ นเยอ่ื หมุ้ เขา้ สเู่ จลในหชู น้ั ใน สับสนและถ้าระดบั ของแอลกอฮอลเ์ พ่มิ สูงข้ึนไปอกี จะท�ำ ให้ แอลกอฮอล์มีความหนาแนน่ น้อยกวา่ เจล จึงคล้ายกบั การ หมดสติได้ นอกจากนี้ ภาวะมึนเมาจากแอลกอฮอลย์ งั มีผล เทน�้ำ ใส่นำ้�เช่อื ม ระหวา่ งท่สี ารทง้ั สองชนิดผสมกนั โมเลกลุ เสยี ตอ่ รา่ งกายในด้านตา่ งๆ กล่าวคอื ทำ�ให้เกิดอาการหน้า ของแอลกอฮอล์จะเบียดแทรกเข้าระหว่างโมเลกุลของเน้ือ แดง ใจเต้นแรง หายใจเรว็ มพี ฤตกิ รรมท่รี นุ แรง ก้าวรา้ ว และ เจล ท�ำ ใหเ้ จลกระเพอ่ื ม ขนของเซลล์ประสาทจงึ ถูกกระต้นุ ยงั มผี ลเสยี ต่อความจำ� ท�ำ ใหจ้ �ำ อะไรไมไ่ ดใ้ นขณะทม่ี ึนเมา ตามการเคลอ่ื นไหวของเจล สมองจงึ ตคี วามหมายวา่ เราก�ำ ลงั ในภาษาอังกฤษเรียกอาการน้ีว่า แบลก็ เอาต์ (blackout) เคลอื่ นทอ่ี ยู่ แมว้ ่าเราจะนงั่ ฟุบอยกู่ ็ตามลกั ษณะข้างต้นเป็น ความผดิ ปกตทิ ่ีเราเรยี กว่า อาการเมานนั่ เอง
18 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 2.4.4 ภาวะขาดแอลกอฮอล์ 2.5 ผลกระทบจากการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ เกิดจากการลดลงของระดับแอลกอฮอล์ ซ่ึงจะส่งผล ตอ่ การท�ำ งานของสมอง ท�ำ ใหเ้ กดิ อาการตา่ งๆ ตามมา อาการ จะขน้ึ อยู่กบั วา่ ผู้น้ันเป็นผู้ท่ดี ื่มจนกลายเปน็ ผ้ตู ดิ แอลกอฮอล์ 2.5.1 ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ หรอื ไม่ โดยทัว่ ไป ผูท้ ่ีไม่ติดแอลกอฮอล์ จะเกดิ อาการขาด แม้ว่าเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์จะเป็นส่ิงถูกกฎหมาย แอลกอฮอล์ได้ หลงั จากดมื่ ในปริมาณทมี่ าก โดยมีลกั ษณะท่ี ในเกือบทุกประเทศทั่วโลก แต่ข้อมูลงานวิจัยทั้งในและ เรยี กกนั วา่ เมาค้างในตอนเชา้ หรือยงั ไมส่ ร่างจากเมาในชว่ ง ต่างประเทศ พบวา่ การด่มื เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์กอ่ ให้เกิด กลางคนื อาการจะเร่มิ เกดิ ข้นึ หลังจากหยุดดื่มได้4-6ช่วั โมง ผลกระทบทางสุขภาพในเชิงลบมากกว่าเชิงบวกหลาย โดยมีอาการปวดศีรษะ มือสัน่ หงุดหงิด กระวนกระวาย สิบเทา่ โดยการดม่ื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ มีผลกระทบทาง ตาสแู้ สงสวา่ งไมไ่ ด้ รวมทง้ั อาจมอี าการใจสน่ั รว่ มดว้ ย อาการ สขุ ภาพ ในรูปแบบตา่ งๆ กัน ดังนี้ ตา่ งๆ เหล่านี้ จะเปน็ อยูป่ ระมาณ 24 - 48 ชั่วโมง สำ�หรบั อาการขาดแอลกอฮอล์ ในผทู้ ี่ดื่มจนตดิ แล้วน้นั อาการจะ • ภาระโรคจากเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ เร่มิ เปน็ ตามช่วงระยะ และล�ำ ดบั เวลาดงั น้ี ในชว่ ง 6 - 24 เป็นปัจจัยเส่ียงท่ีก่อให้เกิดภาระโรคและความบาดเจ็บ ชัว่ โมงแรก หลงั จากหยดุ หรือลดปรมิ าณการดื่ม จะมอี าการ เปน็ อันดับต้นๆ เมื่อเทยี บกับปัจจัยเส่ยี งอน่ื ๆ จากข้อมลู มือสน่ั ปวดศรี ษะ หงุดหงิด กระวนกระวาย ใจสน่ั นอนไม่ ขององค์การอนามัยโลกเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เป็น หลบั ในบางรายจะเรม่ิ เกิดอาการประสาทหลอน ส่วนใหญ่ สาเหตขุ องความเจ็บปว่ ยกว่า 60 โรค และแอลกอฮอล์ เปน็ อาการหแู วว่ หวาดระแวง กลัวคนจะมาทำ�รา้ ย บางราย ยังมีความสัมพันธ์กับการเกดิ โรคไมต่ ิดตอ่ อีกดว้ ย โดย จะพบอาการชกั กระตุกเกรง็ ท้ังตัวได้ อาการตา่ งๆ จะเปน็ อยู่ การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับโรค ประมาณ 24 - 48 ชว่ั โมง และหากผนู้ น้ั เปน็ ผทู้ ต่ี ดิ แอลกอฮอล์ ต่างๆ ที่เป็นสาเหตกุ ารเสยี ชีวิตในอนั ดบั ตน้ ๆ หลายโรค อย่างรุนแรง ก็จะทำ�ให้เกิดอาการต่างๆ ตามมาได้อีกคือ ดว้ ยกัน เชน่ โรคตับแขง็ (ซง่ึ มคี วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งชดั เจน ประมาณ 36 - 72 ชว่ั โมง หลงั จากหยดุ ดม่ื หรอื ลดปรมิ าณการ กับการดมื่ สรุ า โดยเฉพาะการดม่ื เป็นเวลานาน จากการ ดมื่ ลง จะเกิดอาการสบั สน จ�ำ วัน เวลา สถานท่ี และบุคคล รวบรวมขอ้ มูลในต่างประเทศพบว่า รอ้ ยละ 73 และ 50 ไม่ได้ เพ้ออยา่ งรนุ แรง กระวนกระวาย ไดย้ นิ เสียงแว่ว ภาพ ของโรคตับแข็งเกิดในเพศชายและหญิงตามลำ�ดับ หลอน ควบคมุ ตวั เองไมไ่ ด้ อาการเหลา่ นจ้ี ะเปน็ มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ เป็นผลจากการบรโิ ภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์) โรคหลอด บางรายอาจเป็นไดน้ านถงึ สปั ดาห์ หากไม่ไดร้ ับการรกั ษา เลือดสมอง (Stroke) การบาดเจบ็ จากอบุ ตั ิเหตุจราจร อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม จะมอี นั ตรายตอ่ สขุ ภาพตามมาได้ (Traffic accidents) เบาหวาน (Diabetes) การติดสุรา นอกจากน้ี บางรายที่ติดแอลกอฮอล์ อาจเกิดภาวะขาด (Alcohol dependence) โรคเอดส์ (HIV/AIDS) โรค แอลกอฮอล์ ในลกั ษณะทเ่ี รอ้ื รงั ไดค้ อื จะมอี าการนอนไมห่ ลบั กลา้ มเนอ้ื หัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease) ความจำ�บกพร่อง ออ่ นเพลีย และการท�ำ งานของระบบ มะเรง็ ตบั (Liver cancer) และโรคซมึ เศรา้ (Depression) ประสาทอตั โนมัติของร่างกายผิดปกติไปเชน่ ใจสั่นใจเต้นเรว็ อาการเหลา่ นจ้ี ะเปน็ ตอ่ เน่อื งได้นาน 6-24 เดอื น ถึงแมว้ ่า • การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับการเกิดอุบัติเหตุ จะหยดุ ดมื่ แอลกอฮอลแ์ ลว้ กต็ าม ทางจราจร เป็นทร่ี ู้กันดีว่า อุบัตเิ หตจุ ราจรท่มี คี วาม รนุ แรงและพบบ่อยในปจั จบุ นั มกั มคี วามเก่ยี วขอ้ งกับ
19 การด่ืมสุรา เน่ืองจากการดื่มสรุ าทำ�ให้ความสามารถใน วาเลนไทน์ จึงนำ�ไปสูค่ วามสูญเสียทง้ั การบาดเจ็บ การ การขับขลี่ ดลง โดยเฉพาะผู้ขบั ขที่ ่อี ยู่ในสภาพมึนเมานั้น เสยี ชวี ิต ความพกิ าร รวมไปถงึ ความเสียหายดา้ นทรัพย์ จะขาดสตแิ ละไมส่ ามารถบังคบั ตนเองได้ โดยสุราท่ดี ่ืม สนิ ทั้งของผขู้ ับข่ี ผู้โดยสาร คู่กรณี คนเดนิ เทา้ และของ จะออกฤทธต์ิ อ่ ระบบประสาท ลดความไวของการรู้สกึ สังคมโดยรวม และการสัง่ การของสมอง กล้ามเนอื้ ทำ�งานไมป่ ระสาน กัน การมองเห็นไม่สามารถกะหรอื ก�ำ หนดระยะทางได้ การด่ืมแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับอุบัติเหตุจราจร ถูกต้อง และไมส่ ามารถตดั สนิ ใจในเวลาอนั รวดเรว็ พอท่ี ในหลายมติ ิ โดยเพม่ิ ทง้ั ความเสย่ี งหรอื โอกาสในการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ จะพาใหพ้ ้นจากอุบัตเิ หตไุ ด้ ดังนน้ั การเพม่ิ ปริมาณการ ลดความสามารถในการหลีกเล่ียงอบุ ัตเิ หตุ เพิ่มระดับความ ด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของคนไทยในช่วงเทศกาล รนุ แรงของอบุ ตั เิ หตุ และเพม่ิ ความรนุ แรงและภาวะแทรกซอ้ น ไม่ว่าจะเป็นเทศกาลตามประเพณีไทยหรือสากล ของผลกระทบจากอุบตั ิเหตุ โดยความสมั พันธข์ องระดับ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ วันตรษุ จนี หรือวนั แอลกอฮอล์ในเลือดกบั โอกาสเกิดอุบัตเิ หตุจราจร มดี ังน้ี ความสัมพันธข์ องระดับ แอลกอฮอลใ์ นเลอื ด กบั โอกาสเกิดอบุ ตั เิ หตุจราจร ระดับแอลกอฮอล์ สมรรถภาพในการขับรถ กาสท่จี ะเกิดอุบัติเหตุเม่ือเทียบกับคนทไ่ี ม่ด่ืมสุรา ในเลอื ด (ม.ก.%) 20 มผี ลเพยี งเล็กน้อยเฉพาะบางคน ใกลเ้ คยี งกับคนไมด่ ่ืมสรุ า 50* ลดลงโดยเฉล่ยี รอ้ ยละ 8 โอกาสท่จี ะเกดิ อุบตั เิ หตเุ ปน็ 2 เทา่ 80 ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 12 โอกาสท่จี ะเกิดอบุ ัตเิ หตุเป็น 3 เท่า 100 ลดลงโดยเฉล่ยี ร้อยละ 15 โอกาสที่จะเกดิ อบุ ัตเิ หตเุ ปน็ 6 เทา่ 150 ลดลงโดยเฉลยี่ รอ้ ยละ 33 โอกาสที่จะเกดิ อบุ ตั ิเหตุเปน็ 40 เท่า มากกวา่ 200 ลดลงเปน็ สัดสว่ นกับ ไม่สามารถวดั ไดเ้ น่ืองจากควบคุมการทดลองไม่ได้ ระดบั แอลกอฮอลใ์ นเลือด * ค่าแอลกอฮอล์ในเลอื ดมากกว่า 50 มลิ ลิกรัมเปอรเ์ ซ็นต์ ถอื ว่าเปน็ ผทู้ ่ีเมาแล้วขับข่ี
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 20 อาการทางกายอ่นื ๆ ท่ีทำ�ใหไ้ มม่ ีสมาธใิ นการทำ�งานโดย เฉพาะการควบคมุ เครื่องจกั รกล จากการศึกษาสภาพ • การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับการเกิดอุบัติเหตุใน ลักษณะและสาเหตุของอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นกับแรงงานท่ี ทท่ี �ำ งาน สาเหตหุ นง่ึ ของการเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการท�ำ งาน ปฏบิ ตั งิ านในธุรกจิ อตุ สาหกรรม พบว่า แรงงานทเ่ี กดิ คอื การทผ่ี ทู้ �ำ งานหรอื แรงงานมสี ภาพรา่ งกายทไ่ี มเ่ หมาะสม อบุ ตั เิ หตสุ ว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย มอี ายรุ ะหวา่ ง 25 - 35 ปี หรอื ไม่พรอ้ ม มีอาการเมอ่ื ยลา้ เน่อื งจากท�ำ งานตลอด โดยมีลกั ษณะของอุบตั ิเหตุทีเ่ กดิ ขึน้ ดังนี้ เวลาโดยไมม่ กี ารหยดุ พกั ท�ำ ใหอ้ อ่ นเพลยี หรอื เนอ่ื งจาก ไม่สบายเปน็ ไข้แล้วเข้าทำ�งานหนักหรือมอี าการเมาค้าง จากการดม่ื สรุ าในชว่ งเวลากอ่ นหนา้ มอี าการปวดหวั และ กล่มุ อตุ สาหกรรม อุบตั ิเหตทุ ีพ่ บบอ่ ย กลุ่มการผลิตอาหารและเคร่อื งดืม่ กลุ่มการปน่ั ทอ ถูกวัตถุสง่ิ ของหนบี ดงึ อวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย กล่มุ หลอ่ หลอม กลึงโลหะ และกลุ่มการปัม๊ โลหะ ถูกวัตถุสง่ิ ของหนีบ ดึงอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย กลมุ่ การผลิตผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ ถูกวตั ถหุ รอื ส่งิ ของร่วงหลน่ ถกู อวัยวะตา่ งๆ กลมุ่ ผลิตเครอ่ื งเรือน เคร่อื งใชไ้ ม้ และกลุม่ การค้า ของรา่ งกาย ถกู วัตถหุ รือสง่ิ ของดีดกระเดน็ ถูกอวัยวะตา่ งๆ เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ยานพาหนะ ของร่างกาย กลมุ่ ผลติ อปุ กรณเ์ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ อุปกรณย์ านพาหนะ และกล่มุ ผลติ ประกอบรถยนต์ โดยอุบัติเหตุท้ังหมดมีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากความประมาท ทเี่ หมอ่ ลอยและเปน็ เหตใุ ห้เกิดความประมาท และมีการเกิด เลินเล่อ การหยอกลอ้ กันขณะทำ�งาน และเปน็ กลมุ่ ท่ที �ำ งาน อบุ ตั เิ หตไุ ด้ โดยสมมตฐิ านน้ี ภายหลงั พบวา่ มคี วามสอดคลอ้ ง เตม็ เวลา หรอื ท�ำ งานตามช่วงเวลาปกติ และช่วงเวลาทเ่ี กิด กับการศึกษาทางด้านผลกระทบด้านการทำ�งานจากการ อุบัตเิ หตสุ ว่ นใหญอ่ ย่ใู นช่วงเวลา 12.00 - 18.00 น. (ฐิตริ ตั น์ ดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ของกลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ แรงงานภาค ถาวรสุจรติ กุล, 2546) จากขอ้ มูลดังกลา่ ว แมไ้ ม่มกี ารเชือ่ ม อตุ สาหกรรม จังหวัดนครราชสีมา โดยพงษ์เดช สารการและ โยงอยา่ งชดั เจนว่า อบุ ตั ิเหตทุ ีเ่ กดิ ข้ึน เปน็ ผลกระทบมาจาก คณะ (2552) ซง่ึ แรงงานสว่ นใหญ่ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกบั อาการ การด่มื เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ แต่อาจประเมนิ จากลักษณะ ซ่ึงเป็นผลกระทบจากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ก่อน บางประเดน็ ได้ เชน่ แรงงานทเี่ กิดอบุ ัตเิ หตสุ ว่ นใหญเ่ ป็นชาย เข้างาน คือ อาการปวดศีรษะ (ร้อยละ 52.7) อาการกระหาย และมอี ายุ 25 - 35 ปี และช่วงเวลาท่ีเกดิ อบุ ัตเิ หตุสว่ นใหญ่ น�ำ้ (รอ้ ยละ 51.8) อาการเหนอ่ื ยลา้ (รอ้ ยละ 34.8) และพบวา่ อยใู่ นช่วง 12.00 - 18.00 น. ซ่ึงอาจตัง้ สมมตฐิ านไดว้ ่า การมีอาการดงั กล่าว สง่ ผลให้ตนเองเคยได้รบั อุบัติเหตจุ าก กลมุ่ แรงงานชายวัยดงั กลา่ ว นา่ จะมแี นวโน้มการดืม่ เคร่ือง การทำ�งาน รอ้ ยละ 2.4 เชน่ การถูกอุปกรณ์หรือของมคี ม ดื่มแอลกอฮอล์และเมื่อเขา้ ท�ำ งานตงั้ แต่เชา้ จึงเร่ิมอ่อนลา้ ทม่ิ แทง การสะดดุ หรอื หกลม้ ขณะทำ�งาน การถกู วสั ดุภายใน หรอื มอี าการเมาคา้ งในชว่ งเวลาบา่ ย สง่ ผลใหเ้ กดิ สภาวะจติ ใจ สถานประกอบการหลน่ ทบั จากการเผอเรอ เป็นตน้
• แอลกอฮอลก์ บั ความเสีย่ งต่อสุขภาพจิต การด่มื สุรา 21 มิได้เป็นการสร้างปัญหาท้ังทางสุขภาพร่างกายและ สขุ ภาพจติ ให้แกต่ วั ผู้ด่มื เทา่ น้นั หากแตย่ ังสรา้ งปญั หา งานลดลง (เมือ่ เทียบกบั มาตรฐานของตนเอง) และ ทางสุขภาพจิตและการใช้ความรุนแรงให้แก่ครอบครัว รอ้ ยละ 17.6 เคยท�ำ งานแล้วคุณภาพงานลดลง (เม่อื หรือบคุ คลทีอ่ ยรู่ อบข้างด้วย ยกตวั อย่างเช่น มผี ลตอ่ เทียบกับมาตรฐานของตนเอง) ในขณะที่พนกั งานทไี่ ม่ สุขภาพจิตของลกู ท�ำ ให้เด็กมคี วามเครยี ด และความ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีค่าเฉลี่ยของการขาดงาน วติ กกงั วลจนกลายเปน็ คนขโี้ มโห ซึมเศร้าไดง้ ่าย รสู้ ึก และการเข้างานสายน้อยกว่าพนักงานที่ด่ืมเคร่ือง อบั อาย โดดเด่ียว รสู้ กึ ไรท้ พี่ ง่ึ และขาดความภาคภูมใิ จ ดืม่ แอลกอฮอล์อย่างมนี ัยสำ�คญั ทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 ในตนเอง เนอ่ื งจากจะตอ้ งรองรบั อารมณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลง นน่ั แสดงวา่ การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลม์ ผี ลท�ำ ใหร้ ะบบ ง่ายของพ่อแม่ตอนเมา รวมทั้งมีผลต่อสุขภาพจิตของ การทำ�งาน ทั้งตัวแรงงาน และภาพรวมของสถาน สมาชิกในครอบครัว จากเหตุการณ์ทะเลาะเบาะแว้ง ประกอบการเปน็ ไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ (กมลมาลย์ ครอบครวั แตกแยก เกดิ ความเครยี ด และความวติ กกงั วล ศริ พิ นู สวัสดิ์, 2550) ซึ่งจะเป็นปัจจัยท่ีนำ�ไปสู่ปัญหาสุขภาพจิตของคนใน นอกจากน้ี ยังพบวา่ การบรโิ ภคเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ ครอบครวั ในระยะยาวตอ่ ไป ของพนักงานในสถานประกอบการยังก่อให้เกิดการ สญู เสยี ผลติ ภาพในการท�ำ งาน ทง้ั ในสว่ นของการขาดงาน เนื่องจากปัญหาสุขภาพ (absenteeism) การขาด 2.5.2 ผลกระทบทางสงั คม ประสทิ ธิภาพขณะท�ำ งาน (presenteeism) ตลอดจน • การบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์กับประสิทธิภาพใน การสูญเสียผลิตภาพการทำ�งานโดยรวม (overall impairment) โดยพบว่าผทู้ ไ่ี มด่ ืม่ (abstainer) มกี าร การทำ�งาน เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์มผี ลกระทบโดยตรง ขาดงานเนอื่ งจากปญั หาสขุ ภาพต�ำ่ ท่สี ดุ (ร้อยละ 0.9) ตอ่ ความสามารถในการควบคุมสติของผู้ด่มื และท�ำ ให้ ขณะทผ่ี ู้ท่ีด่มื อยา่ งอันตรายมาก (harmful) มปี รมิ าณ การประมวลผลในสมองท�ำ งานชา้ ลง ซง่ึ ไมใ่ ชแ่ คช่ ว่ งขณะ การขาดงานในรปู ของรอ้ ยละสงู ท่ีสุด (ร้อยละ 3.2) ทด่ี ม่ื แอลกอฮอลเ์ ทา่ นน้ั แตย่ งั สง่ ผลไปถงึ การท�ำ งานของ รองลงมาได้แก่ผู้ทเ่ี คยดืม่ (former) ร้อยละ 2.8 และ สมองในระยะยาว เนอ่ื งจากรา่ งกายมกี ารดงึ เอาแอลกอฮอล์ ผดู้ มื่ บ้าง (responsible) รอ้ ยละ 1.8 ตามลำ�ดบั บางสว่ น ทย่ี งั ไมไ่ ดถ้ กู ขบั ออกจากรา่ งกายไปใช้ นอกจากน้ี (มนทรัตม์ ถาวรเจรญิ ทรพั ย,์ 2551) การดื่มมากเกนิ ไปจนเกดิ อาการเมาคา้ ง หรอื อาการไม่ ในส่วนของการสูญเสียประสิทธิภาพในขณะทำ�งาน สบายกายบางอย่าง จนในทสี่ ุดสง่ ผลตอ่ การท�ำ งาน ทง้ั (presenteeism) พบวา่ ผู้ท่ีดมื่ อยา่ งอันตรายมาก ทางดา้ นหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ และตอ่ ความปลอดภยั (harmful) และผ้ทู ่ีเคยดม่ื (former) จะมกี ารขาด ของตนเองและผอู้ น่ื จากผลการศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ประสิทธิภาพขณะท�ำ งานมากกวา่ ผทู้ ี่ไมด่ ม่ื (abstainer) แรงงานภาคอตุ สาหกรรม จงั หวดั นครราชสมี าในประเดน็ อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (รอ้ ยละ 11.5, 11.3 และรอ้ ยละ ผลกระทบด้านการทำ�งานจากการด่ืมเคร่ืองด่ืม 7.1 ตามล�ำ ดับ) เมอื่ พิจารณาถงึ การสูญเสียผลติ ภาพใน แอลกอฮอล์ (พงษ์เดช สารการและคณะ, 2552) พบวา่ การทำ�งานโดยรวมพบว่าผู้ที่ด่ืมอย่างอันตรายมาก รอ้ ยละ 17.4 ของแรงงานท่ดี ื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ (harmful) ผู้ที่เคยดื่ม (former) และผู้ที่ดื่มบ้าง มีพฤติกรรมเคยไปทำ�งานสายภายหลังจากการด่ืม (responsible) มีการสูญเสียผลิตภาพการท�ำ งานโดย เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ ในขณะทร่ี ้อยละ 16.5 เคยไมไ่ ป รวมมากกวา่ ผทู้ ่ไี ม่ดืม่ (abstainer) อย่างมนี ัยสำ�คัญทาง ท�ำ งาน และรอ้ ยละ 20.5 ตอบวา่ เคยท�ำ งานแลว้ ปรมิ าณ
22 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ สถติ ิ โดยพบวา่ ผทู้ ี่ไม่ดืม่ จะมปี ริมาณการสญู เสียผลิต นอกจากน้ี การศกึ ษาพฤตกิ รรมการดืม่ และผลกระทบ ภาพการทำ�งานโดยรวมคดิ เป็นเพียงร้อยละ 7.6 ในขณะ จากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มแรงงานภาค ทผ่ี ทู้ ด่ี ม่ื อยา่ งอนั ตรายมาก (harmful) ผทู้ เ่ี คยดม่ื (former) อุตสาหกรรมจงั หวดั นครราชสมี า พบวา่ รอ้ ยละ 8.1 และผู้ทด่ี ื่มบา้ ง (responsible) มีปรมิ าณการสญู เสีย เคยทะเลาะวิวาทกับคนในครอบครัวท่ีมีสาเหตุมาจาก ผลติ ภาพการท�ำ งานโดยรวมคดิ เป็นรอ้ ยละ13.3 รอ้ ยละ การด่มื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ และรอ้ ยละ 27.7 เคย 13.2 และร้อยละ 9.3 ตามลำ�ดับ ถูกต�ำ หนิ หรือ ถูกว่ากล่าวจากบคุ คลภายในครอบครวั เกี่ยวกับการดืม่ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ (พงษเ์ ดช สารการ • การบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์กับความรุนแรงใน และคณะ, 2552) ครอบครวั (Domestic violence) การด่ืมเคร่อื ง ดมื่ แอลกอฮอล์ มผี ลต่อความรนุ แรงในครอบครัว โดย • การบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์กับอาชญากรรม ครอบครัวท่ีสามีดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีการทำ�ร้าย ความสัมพันธ์ระหว่างการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับ ภรรยาถึงร้อยละ 19.2 ซงึ่ สงู กวา่ ในกลุ่มสามีทีไ่ ม่ด่มื การก่ออาชญากรรมมีลักษณะที่ซับซ้อน ซึ่งนอกจาก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ถงึ 3 เทา่ ตัว (ร้อยละ 6.8) และ การมีสติสัมปชัญญะและความสามารถในการควบคุม ประมาณการว่า การท�ำ รา้ ยร่างกายภรรยามากถึง 1 ใน ตนเองท่ีลดลง ทงั้ ยังลดความเกรงกลวั หรือไมต่ ระหนัก 4 ครงั้ เกดิ ขึน้ หลงั จากสามดี ืม่ สุรา ท้งั นี้ ความรนุ แรงใน ถงึ โทษทอ่ี าจจะไดร้ บั แลว้ ยงั พบวา่ ผปู้ ระกอบอาชญากรรม ครอบครวั ยังมีความหมายรวมถงึ การท�ำ ร้ายทางจิตใจ จำ�นวนหนึ่งใชก้ ารดืม่ เป็นการย้อมใจใหก้ ล้า โดยไมไ่ ด้ การไม่ใส่ใจดูแลและการล่วงละเมิดทางเพศ ระหว่าง ดมื่ จนมึนเมา นอกจากนัน้ อาชญากรรมจำ�นวนไมน่ ้อย สมาชิกทม่ี คี วามสัมพนั ธ์ฉันท์ครอบครัวเดยี วกัน ไมว่ า่ เกิดเหตทุ ี่สถานท่ีดม่ื และขายสรุ า และเกิดกับผู้ร่วมด่ืม จะเปน็ สามี ภรรยา บตุ ร หรอื ญาติ โดยข้อมูลจาก เชน่ การท�ำ รา้ ยรา่ งกาย หรอื ละเมดิ ทางเพศกบั ผรู้ ว่ มดม่ื การส�ำ รวจพฤตกิ รรมการสบู บุหร่ี และการดื่มสรุ าของ และคนแปลกหน้า และยังพบว่าอาชญากรรมบางสว่ น ประชากร ในปี 2554 โดยการสอบถามครอบครวั ทม่ี ี ที่มีการวางแผนหรือเกิดแรงจูงใจในสถานท่ีที่ดื่มและ สมาชิกด่มื สุราและมปี ัญหา พบว่า มถี ึงร้อยละ 36.6 ท่ี จ�ำ หน่ายสุรา เช่น เกิดจากแรงสนับสนุนหรอื ทา้ ทาย มีปัญหาการใช้ความรุนแรงในครอบครัว/ปัญหาความ ของผู้ร่วมดม่ื และมกั พบบอ่ ยๆ ว่าผกู้ ่ออาชญากรรม สัมพันธ์ในครอบครัว (ศูนย์วิจัยปญั หาสุรา, 2556) อ้างถึงสาเหตุการกระทำ�ว่าทำ�ไปเพื่อหาเงินไปซื้อหา สรุ า โดยเฉพาะในกลุ่มท่มี ีภาวะตดิ สุราหรอื เปน็ การดมื่ ตดิ ลมตอ่ เน่ือง
23 2.6 ปจั จัยที่สง่ เสรมิ ใหม้ ีการบริโภคแอลกอฮอล์ 2.6.1 ปจั จยั ท่สี ง่ เสริมใหม้ กี ารเรมิ่ บริโภคเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ ความอยากลอง กระแสของสื่อโฆษณา เป็นธรรมชาติของมนุษย์ในการที่อยากจะลองหรือเผชิญกับ ปจั จบุ นั นส้ี อ่ื ตา่ งๆ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ วถิ ชี วี ติ ของคนอยา่ งมาก และ ส่ิงใหม่ๆ โดยเฉพาะในวัยรุน่ ทค่ี วามร้สู ึกอยากลองเปน็ เรอ่ื ง ในเรือ่ งที่เก่ียวกับแอลกอฮอล์ จะเหน็ วา่ มกี ารแขง่ ขันทาง ท่ีทา้ ทาย ตืน่ เตน้ สนุกสนาน การคา้ กนั สูงมาก โฆษณาท่เี กี่ยวกบั เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์มี อยมู่ ากมาย ซง่ึ เปน็ กลยทุ ธข์ องบรษิ ทั ผลติ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ กลุ่มเพ่ือน ทจ่ี ะตอ้ งพยายามสรา้ งสอ่ื โฆษณาขน้ึ เปน็ จ�ำ นวนมาก เพอ่ื ให้ หลายคนไมก่ ลา้ ทจ่ี ะปฏเิ สธ เมอ่ื ถกู เพอ่ื นชวนใหด้ ม่ื แอลกอฮอล์ ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกอยากลอง และรู้สึกว่า การบริโภค หรือบางคน มีทัศนคตวิ า่ การด่ืมแอลกอฮอล์กับกลุ่มเพ่อื น แอลกอฮอล์นั้น เป็นเรื่องที่ดีงาม หรือเป็นเรื่องที่ควรจะ หมายถึง การรกั พวกพอ้ งเปน็ หน่ึงเดียวกนั ท�ำ ให้เกดิ ความ ภูมิใจ ในฐานะที่เกิดเป็นคนไทย (ซึ่งจริงๆ แล้ว ไม่มีความ เพลดิ เพลนิ และความสนุกสนาน เกี่ยวข้องกนั เลย) หรอื เปน็ เร่ืองท่ผี ูช้ ายควรจะต้องลอง เพอ่ื แสดงความเปน็ ลกู ผชู้ ายอยา่ งแทจ้ รงิ บางผลติ ภณั ฑจ์ ะเจาะจง สังคมและวัฒนธรรม กลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ เช่น กลุ่มสภุ าพสตรี ให้หันมามีคา่ นิยม สังคมไทยมองเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ว่าเป็นเรื่องธรรมดา ในการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มขึ้น นอกจากสื่อโฆษณาสินค้า จะเหน็ ได้ว่า งานสงั สรรค์ งานเลี้ยง งานฉลอง และงาน เครื่องด่ืมแล้ว สอ่ื ในลกั ษณะบนั เทิง เชน่ ภาพยนตร์ ละคร ประเพณตี า่ งๆ แทบทกุ งานจะต้องมีเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ หรือแมก้ ระทง่ั เพลงก็มีส่วนจูงใจผชู้ มให้เกดิ ความรสู้ กึ คลอ้ ย เปน็ สว่ นประกอบดว้ ยเสมอ ท�ำ ใหผ้ ทู้ เ่ี ตบิ โตในสงั คมลกั ษณะน้ี ตามได้ สิ่งตา่ งๆ เหล่านี้ รวมทั้งความสะดวกในการซื้อหา ก็มี มองวา่ การด่มื เป็นเรอ่ื งธรรมดา เพยี งแตว่ า่ ส�ำ หรับตนเอง ส่วนอย่างมากต่อการส่งเสริมการบริโภคเครื่องด่ืมประเภทนี้ จะเลอื กเป็นโอกาสใดเทา่ น้ัน ความเครยี ด ความเชื่อ คุณสมบตั ิของแอลกอฮอล์ สามารถทำ�ให้ผู้ดืม่ เกิดความรสู้ ึก เม่ือใดทีค่ นเรามคี วามเช่อื ว่า สง่ิ ที่ตนเองกำ�ลังกระท�ำ ไม่เป็น ผ่อนคลายลืมความทุกข์ และเกิดความคึกคะนอง ทำ�ให้ อนั ตรายตอ่ ตนเอง และสามารถท่ีจะควบคมุ สถานการณ์ได้ ในหลายๆ ครงั้ การดื่มเพ่อื ลดความเครยี ด จงึ เป็นเหตผุ ล เมอ่ื น้นั จะย่ิงท�ำ ใหค้ วามกังวลใจ หรือความกลวั ทจ่ี ะกระทำ� อย่างหนึง่ ของผดู้ ม่ื และยังเปน็ ปจั จยั ที่สง่ เสริมใหม้ ีการดื่ม สงิ่ นน้ั ๆ ลดน้อยลง และทัศนคตนิ ้ีไปสอดคลอ้ งกับความเช่ือ อย่างต่อเนื่อง แตจ่ ากการศึกษาพบว่า เมื่อดื่มแอลกอฮอล์ ทม่ี ตี อ่ แอลกอฮอล์ โดยชา้ นานมาแลว้ คนมกั จะเชอ่ื ในสรรพคณุ ในปริมาณมาก จะทำ�ให้เกิดความรู้สึกตรงกันข้าม คือ ของยาดองเหลา้ และเชอ่ื วา่ การดม่ื แอลกอฮอลเ์ ปน็ ครง้ั คราว กระวนกระวาย เครยี ด หรอื หงดุ หงิดได้งา่ ย โดยเฉพาะชว่ ง หรอื ประเภทดกี รีอ่อนๆ คงไม่นา่ จะเป็นปญั หากบั ตนเอง ท่รี ะดับแอลกอฮอล์ในกระแสเลอื ดเรม่ิ ลดลง
24 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 2.6.2 ปจั จยั ทเ่ี สยี่ งตอ่ การติดแอลกอฮอล์ ปัจจยั ทางชวี ภาพอืน่ ๆ พบวา่ ในคนท่มี กี ารตอบสนองตอ่ แอลกอฮอล์ ในลกั ษณะที่ ดอื้ ต่อฤทธิ์ของสารน้ี อาจตอ้ งบริโภคแอลกอฮอล์ ในปริมาณ สารแอลกอฮอล์ ทม่ี ากกวา่ เกณฑเ์ ฉลย่ี จงึ จะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการมนึ เมาได้ คนกลมุ่ น้ี แอลกอฮอล์เปน็ สาร ทีม่ คี ณุ สมบัติ ทำ�ให้เกดิ การเสพติดได้ เป็นผู้ท่มี ีความเสยี่ งสูงมาก ทจ่ี ะกลายเป็นคนติดแอลกอฮอล์ โดยแอลกอฮอล์จะไปกระตุ้นสมอง ในส่วนท่เี กีย่ วขอ้ งกับ เมอื่ มอี ายมุ ากขน้ึ ความอยาก การเสพติดเปน็ วงจรของสมองท่เี กีย่ วกบั ความ อยาก ความพึงพอใจ และมีความตอ้ งการใช้ซำ�้ อกี หักหา้ ม ใจไมไ่ ด้ ซงึ่ น�ำ ไปสู่การตดิ ในที่สดุ และในหลายๆ คร้งั ท�ำ ให้ บคุ ลิกภาพ มกี ารกลับไปใชส้ ารนี้ใหมอ่ ีก เพราะความอยาก ปัญหาของ บคุ คลท่มี ีลักษณะบคุ ลกิ ภาพ แบบประหมา่ วติ กกงั วล ไม่ การเลกิ แอลกอฮอลจ์ ึงไมไ่ ด้ “อยูท่ ใ่ี จ” เพียงอยา่ งเดียว แต่ มนั่ ใจ และถา้ การบรโิ ภคแอลกอฮอล์ ช่วยทำ�ให้ส่ิงเหลา่ น้ี เปน็ เรอ่ื งการท�ำ งานของสมอง ในส่วนของวงจรนีร้ ่วมดว้ ย หายไป เชน่ ทำ�ให้รสู้ กึ กลา้ และมั่นใจมากขน้ึ จะเป็นบคุ คล นอกจากนี้ เมื่อไดม้ กี ารบริโภคแอลกอฮอลใ์ นปรมิ าณ และ ทม่ี ีความเสย่ี งสูงตอ่ การติดแอลกอฮอล์ นอกจากนี้ บคุ คล ระยะเวลาหน่งึ จะท�ำ ให้เกิดอาการติด “ทางรา่ งกาย” เกิดข้นึ ทมี่ บี ุคลิกภาพแบบต่อตา้ นสงั คม เชน่ ชอบความกา้ วรา้ ว นั่นคอื เม่อื หยดุ ดม่ื หรอื เพยี งแคล่ ดปริมาณการดืม่ ลง กจ็ ะ รนุ แรง ไม่เกรงใจ และไม่เคารพสิทธิของผู้อ่นื ไมร่ ้สู กึ ผิดใน ท�ำ ให้เกิดอาการตา่ งๆ เหลา่ นีไ้ ด้ เชน่ กระสับกระสา่ ย สิง่ ท่ตี นเองกระท�ำ ต่อผอู้ ืน่ ก็เป็นอีกกลมุ่ หน่ึง ที่มคี วามเส่ยี ง หงุดหงดิ นอนไมห่ ลบั ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน บางรายมี ต่อการเปน็ คนติดแอลกอฮอล์เช่นกนั อาการรนุ แรง เชน่ เกิดภาพหลอน ได้ยินเสยี งแวว่ สบั สน 2.6.3 ปจั จยั ที่ส่งเสริมให้มกี ารบริโภคแอลกอฮอล์ และมอี าการชกั รว่ มดว้ ย ท�ำ ใหต้ อ้ งดม่ื แอลกอฮอล์ เพอ่ื ระงบั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อาการเหลา่ นี้ กรรมพันธ์ุ การเรยี นรู้ ในปจั จุบัน พบว่า มีความสัมพนั ธ์ระหว่างกรรมพันธก์ุ ับการ การเรยี นรวู้ า่ เมอื่ ตนเองไดบ้ รโิ ภคแอลกอฮอล์แล้ว ทำ�ให้เกดิ ติดแอลกอฮอล์ จากการศึกษาพันธุกรรมของคนที่ติดสุรา ความสุข ความพงึ พอใจ จะเปน็ เหตุท่ีทำ�ให้เกิดความ อยาก พบว่ามีอัตราสูงในระหว่างญาติของคนท่ีติดสุรามากกว่า และมีการบริโภคแอลกอฮอล์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เรียกว่า อาการ ประชากรทว่ั ไป คือพบวา่ ประมาณร้อยละ 25 ของบดิ าและ ตดิ ใจ ซึ่งความสุขความพงึ พอใจเหล่าน้ี จะสมั พันธ์กับชว่ ง พี่น้องผู้ชายของผู้ตดิ สรุ า จะตดิ สุราดว้ ย (Goodwin ค.ศ. เวลา ทีร่ ะดับแอลกอฮอล์ในเลอื ดสูงขึ้น หลังจากเริ่มบริโภค 1971) ในค่แู ฝดท่มี กี ารติดสุราอย่างมากก็พบว่า แฝดทีเ่ กดิ ได้ไมน่ าน จากไขใ่ บเดียวกนั ถ้าคนใดคนหน่ึงติดสุรา อีกคนจะมโี อกาส ความเครยี ด ติดสุรารอ้ ยละ 50 แต่แฝดที่เกิดจากไขค่ นละใบ ถา้ คนใดคน คนที่เครยี ดง่าย ขาดทกั ษะในการปรับตวั หรอื แก้ไขปัญหา หนึ่งติดสุรา อกี คนจะมโี อกาสตดิ สุราดว้ ยในอตั ราท่ตี �ำ่ กวา่ อาจพบวา่ การบรโิ ภคแอลกอฮอล์ช่วยท�ำ ใหล้ มื ความเครียด และเทา่ ๆ กับอัตราท่ีเกดิ กับพี่นอ้ งของผตู้ ิดสรุ า ยง่ิ กวา่ นยี้ งั ได้ชัว่ ขณะ ในขณะทย่ี ังคงขาดทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หาชีวิต พบว่าบุตรทีข่ อมาเล้ียงจากบิดามารดาทีต่ ิดสุรา มีโอกาสตดิ คนเหล่าน้นั จะหนั มาพงึ่ แอลกอฮอล์ จนเกิดการติดขน้ึ ได้ใน สรุ าเปน็ 2 เทา่ ของบุตรทขี่ อมาเลย้ี งจากบิดามารดาที่ไมต่ ิด ที่สุด สุรา และบุตรของผทู้ ตี่ ิดสรุ าแม้จะไดร้ ับการเลีย้ งดูโดยคนที่ ไมต่ ดิ สุราก็มโี อกาสตดิ สุราไดเ้ ท่าๆ กับบตุ รของคนทีต่ ดิ สรุ า ซ่ึงบิดามารดาเลย้ี งดูเอง (Goodwin และคณะ ค.ศ. 1973 และ 1974)
25 ภาวะดอ้ื ต่อฤทธิ์แอลกอฮอล์ เมอ่ื บรโิ ภคแอลกอฮอลไ์ ปไดร้ ะยะหนง่ึ จะเกดิ การดอ้ื ตอ่ ฤทธ์ิ 2.7 คนไทยกับการดื่มเครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ แอลกอฮอลข์ น้ึ อาจเปน็ เพราะเกดิ การเผาผลาญของแอลกอฮอล์ ในร่างกายได้มากข้ึน ท�ำ ให้ฤทธ์ติ ่างๆ ของแอลกอฮอล์หมด ไปอยา่ งรวดเรว็ จงึ ทำ�ใหต้ อ้ งดม่ื ในปริมาณท่มี ากขนึ้ หรอื คนไทยมีการบรโิ ภคแอลกอฮอลม์ าช้านานแลว้ โดยมักดมื่ อาจเกิดจากการทีร่ า่ งกาย โดยเฉพาะสมองของเรา มกี าร ในเทศกาลและวาระต่างๆ และมคี วามเช่อื เรอ่ื งการดม่ื เพอ่ื ปรบั ตวั ในลกั ษณะทเ่ี คยชิน ตอ่ ฤทธิ์ของแอลกอฮอล์ ทัง้ หมด สขุ ภาพ เชน่ ยาดอง โดยเอายามาผสมหรอื ดองกบั สรุ า เชอ่ื วา่ นี้จะน�ำ ไปสกู่ ารบรโิ ภคแอลกอฮอลใ์ นปรมิ าณทม่ี ากข้ึน เพ่ือ ชว่ ยบ�ำ รงุ ร่างกาย บ�ำ รงุ โลหติ รกั ษาอาการปวดเมื่อย ท�ำ ให้ ใหไ้ ดฤ้ ทธท์ิ ่ีพงึ ประสงค์ดงั เดิม เจริญอาหาร ซง่ึ ความจริงแล้ว ส่วนผสมของแอลกอฮอล์ใน ยาดองนนั้ มีค่อนข้างสงู ดังนั้น การดม่ื ยาดองกค็ อื การด่มื ภาวะขาดแอลกอฮอล์ สรุ านั่นเอง นอกจากน้ี ในบางครง้ั จะพบทศั นคติของคน เกดิ อาการเช่นเดยี วกบั ภาวะขาดสารเสพติดทวั่ ๆ ไป หรอื ที่ ไทย ท่มี ตี อ่ เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ในลกั ษณะทส่ี ่งเสรมิ การด่ืม เรียกกนั ว่า อาการลงแดง เนื่องจากการบรโิ ภค แอลกอฮอล์ โดยไมร่ ตู้ ัว เช่น การวางขวดสุราไวใ้ นห้องรบั แขกตามบ้าน ในปรมิ าณหน่งึ อยา่ งต่อเนื่อง จะเกิดผลต่อการปรับตัวของ ในงานเลยี้ งสังสรรค์ หรืองานฉลองตามประเพณตี ่างๆ มัก สมอง ดงั น้ันเม่ือปรมิ าณแอลกอฮอลใ์ นรา่ งกายลดลง จึงสง่ จะพบเห็นการดื่มสรุ ากนั เป็นเร่ืองปกติ ผลตอ่ การท�ำ งานของสมอง ท�ำ ให้เกดิ อาการกระสบั กระส่าย มอื สั่น นอนไมห่ ลบั และต้องหวนกลบั มาดื่มแอลกอฮอล์ เพอ่ื ระงบั อาการเหล่านี้ ไมเ่ คยด่มื เลย ดื่มในรอบ 60% 12 เดอื น 31% เคยดม่ื แตใ่ น รอบ 12 เดอื น ไมไ่ ดด้ ืม่ 9% ข้อมลู จากสำ�นักงานสถติ แิ ห่งชาตทิ ส่ี �ำ รวจในปี พ.ศ. 2554 พบว่า คนไทยที่มีอายุตงั้ แต่ 15 ปีขน้ึ ไป จำ�นวน 16,992,017 คน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 31.5 ของประชากรไทยที่เป็นผู้ใหญ่ มีการดื่มเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ในรอบ 12 เดือนทผี่ ่านมา ในขณะท่ปี ระชากรอกี ราว 4,714,885 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 8.7 เปน็ ผ้ทู เี่ คยดมื่ แตไ่ ม่ไดด้ ่มื ในช่วง 12 เดอื นท่ีผ่านมา ทำ�ใหใ้ นปี พ.ศ. 2554 มีประชากรราว 32,189,553 คน หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 59.7 เป็นผทู้ ไี่ มด่ มื่ และไมเ่ คยดมื่ เลยในชีวติ
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 26 ท้งั นี้ ในรอบ 10 ปี ทผี่ ่านมา พบวา่ สดั ส่วนของคนไทยท่ีบรโิ ภคเคร่อื งดื่ม แอลกอฮอล์ มแี นวโนม้ ลดลงเลก็ นอ้ ย จากรอ้ ยละ 32.7 ในปี พ.ศ. 2544 เปน็ รอ้ ยละ 31.5 ในปี พ.ศ. 2554 ร้อยละ 60 50 40 30 20 10 0 พ.ศ. 2544 2547 2549 2550 2552 2554 ชาย ทมี่ า: ปี 2544, 2547, 2550, 2554 จากการสำ�รวจ หญิง พฤตกิ รรมการสูบบุหร่แี ละการดม่ื สรุ าของประชากร, สำ�นักงานสถติ แิ ห่งชาติ ปี 2549, ปี 2552 จากการ รวม ส�ำ รวจอนามัยและสวัสดกิ าร, ส�ำ นกั งานสถติ ิแหง่ ชาติ วิเคราะหโ์ ดย: ศูนย์วิจยั ปัญหาสุรา ในจ�ำ นวนของผ้ทู ่ีดื่มเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ทเี่ ปน็ ชาย พบวา่ ชุกของนกั ดม่ื สงู ทส่ี ุด โดย 12 เดอื นทีผ่ า่ นมา มีจ�ำ นวนผดู้ มื่ ประมาณคร่ึงหนงึ่ ดมื่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ในรอบ 12 เดือน เคร่อื งด่มื แอลกอฮอลส์ ูงถึงร้อยละ 37.3 รองลงมาคอื กล่มุ ทผี่ ่านมา ในขณะที่ประชากรผหู้ ญงิ ท่ดี ่ืมมีประมาณรอ้ ยละ เยาวชน (อายุ 15 - 24 ป)ี มีจ�ำ นวนผู้ด่มื รอ้ ยละ 23.7 11 หรอื เปรียบเทยี บได้วา่ ประชากรผูใ้ หญช่ าย มคี วามชกุ ส�ำ หรับวยั สูงอายุ (อายุ 60 ปีข้นึ ไป) ดมื่ ร้อยละ 16.6 โดย การดื่มสงู กวา่ ประชากรผ้ใู หญห่ ญงิ ประมาณ 5 เท่า ในขณะ ประชากรชายดื่มมากกวา่ หญิงในทกุ กลมุ่ อายุ ท่ีวัยผใู้ หญ่ (อายุ 25 - 59 ปี) เป็นกลุ่มประชากรท่มี ีความ
27 ตารางแสดง ความชุกของนกั ดม่ื อายุ 15 ปขี ้นึ ไปที่ดื่มเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ ใน 12 เดอื นทผี่ า่ นมา จ�ำ แนกตามกลุ่มอายุ (ปี 2554) รวม ชาย หญงิ จ�ำ นวน รอ้ ยละ จ�ำ นวน ร้อยละ จ�ำ นวน ร้อยละ 16,992,016 31.5 ท้ังประเทศ 2,462,745 23.7 13,979,367 53.4 3,012,650 10.9 15 – 24 ปี 13,166,266 37.3 25 – 59 ปี 1,363,005 16.6 2,127,058 40.0 335,687 6.6 60 ปขี ึน้ ไป 10,745,158 62.3 2,421,109 ;13.4 1,107,151 30.6 255,854 5.6 ทมี่ า: การส�ำ รวจพฤติกรรมการสูบบหุ รแ่ี ละการดม่ื สรุ า ของประชากร พ.ศ. 2554, สำ�นกั งานสถติ แิ ห่งชาติ วิเคราะห์โดย: ศูนยว์ ิจัยปัญหาสรุ า อยา่ งไรกต็ าม ส�ำ หรบั ผทู้ ม่ี กี ารดม่ื ในรอบ 12 เดอื นน้ี (จ�ำ นวน บอ่ ยทส่ี ดุ ใน 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ รา้ นขายของช�ำ รา้ นสะดวกซอ้ื 16,992,016 คน) พบวา่ เปน็ ผทู้ ม่ี กี ารดม่ื เปน็ ประจ�ำ (Regular และรา้ นอาหาร (สถานท่ที ัง้ 3 แหง่ นี้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87 Drinker) หรอื ด่มื ทุกสัปดาห์ จ�ำ นวน 7.5 ลา้ นคน (ประมาณ ของการซ้ือเครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล)์ สำ�หรับสถานท่ดี ม่ื เครื่อง เกอื บครง่ึ ของผดู้ ม่ื หรอื รอ้ ยละ 44.2) เปน็ ผทู้ ด่ี ม่ื นานๆ ครง้ั ด่ืมแอลกอฮอล์ พบว่า คนไทยมกั ดม่ื สุราในบา้ นตนเอง บ้าน 9.5 ลา้ นคน (รอ้ ยละ 55.8) และเมือ่ ดตู ามกลุ่มอาชพี พบว่า คนอนื่ (เช่น บา้ นเพอ่ื น บ้านของเพอื่ นบา้ น เปน็ ต้น) และ สดั สว่ นของผดู้ ม่ื ประจ�ำ ถงึ รอ้ ยละ 44 มาจากกลมุ่ ชา่ งเทคนคิ ในสโมสร/ในงานเลย้ี ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 90 ของการด่มื ใน ช่างฝมี ือ และเจ้าหน้าท่ีเทคนคิ สดั ส่วนรองลงมา คือ กลมุ่ สถานที่ทด่ี มื่ บอ่ ยที่สุด ในขณะทีม่ นี ักดื่มส่วนหน่งึ (ร้อยละ ผทู้ ่ที �ำ งานในภาคเกษตรและประมง โดยประเภทสุราทีน่ ยิ ม 35) ทดี่ ื่มหนกั หรอื ดื่มแบบหวั ราน้�ำ (การดม่ื ปริมาณมากใน ดืม่ มากทส่ี ุดคือ เบียร์ ครงั้ เดียว ซึง่ กำ�หนดไวท้ ่ีการดื่ม 5 หนว่ ยดมื่ มาตรฐานขึน้ ไป หรอื พดู งา่ ยๆ ก็คือ ด่ืมมากกวา่ 5 แกว้ ขนึ้ ไป) ในรอบ 12 นอกจากน้ี ยังพบว่า นกั ด่ืมไทยสว่ นใหญซ่ ้ือเคร่ืองด่ืม เดอื นท่ผี า่ นมา โดยแบ่งเป็น ดื่มหนกั เปน็ ประจำ�หรอื ดืม่ หนัก แอลกอฮอล์จากร้านทไ่ี ม่มีท่นี ั่งดม่ื หรือเป็นการซอ้ื จากที่หน่ึง อย่างน้อย 1 ครง้ั ตอ่ สปั ดาห์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.8 และด่มื ไปดมื่ อีกที่หนง่ึ ซ่งึ สถานทที่ ค่ี นไทยซอื้ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ หนกั แบบนานๆ คร้งั รอ้ ยละ 28.6
28 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 2.8 แรงงานไทยกับการดม่ื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ การมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั งิ าน และการไมม่ คี วามใสใ่ จในการ ท�ำ งาน ความรสู้ กึ แปลกแยกแตกตา่ งจากคนอน่ื (Alienation) 2.8.1 ความชุกของแรงงานที่บรโิ ภคเครื่องดืม่ วัฒนธรรมกลมุ่ ใหญ่และกลุม่ ย่อย (Cultures and Subcul- แอลกอฮอล์ tures) อย่างไรก็ตาม นอกจากปัจจยั เสีย่ งท่ัวไปแล้ว ปจั จัย ข้อมูลจากสำ�นักงานสถิติแห่งชาติท่ีสำ�รวจในปี ย่อยที่ส่งผลต่อการบริโภคสุราในสถานประกอบการ พ.ศ. 2554 พบว่า ในจำ�นวนประชากรผใู้ หญ่ท่ีเปน็ ผู้ด่ืม กม็ ีความส�ำ คัญเช่นเดยี วกัน โดยปัจจัยดังกลา่ วมดี งั ต่อไปน้ี เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ� ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 44) (เทอดศักด์ิ เดชคง, 2554) จะเปน็ ชา่ งเทคนิค ชา่ งฝีมือ และเจ้าหน้าทเ่ี ทคนิค สอดคลอ้ ง 1. ชนิดของสถานประกอบการ กับการศกึ ษาความชุก พฤตกิ รรมการดื่ม และผลกระทบที่ 2. ค่านิยมหรือวัฒนธรรมในสถานประกอบการ เกดิ ข้นึ จากการดม่ื รวมถึงปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ การดม่ื เครือ่ งด่ืม สถานประกอบการแบบใชแ้ รงงาน เชน่ กอ่ สรา้ ง มีแนว แอลกอฮอล์ของกลุ่มแรงงานภาคอุตสาหกรรมในจังหวัด โนม้ ในการใชแ้ อลกอฮอลส์ ูงกวา่ ซงึ่ เรอื่ งน้อี าจเกยี่ วข้อง นครราชสีมา โดยศนู ยว์ จิ ัยปัญหาสุรา (พงษเ์ ดช สารการ กบั เพศ กลา่ วคอื สถานประกอบการที่มพี นกั งานชาย และคณะ, 2552) ท่พี บว่า รอ้ ยละ 73 ของแรงงานภาค ก็มีแนวโน้มท่ีจะใช้แอลกอฮอล์มากกว่าสถานประกอบ อตุ สาหกรรมเคยด่มื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ ท้งั น้ี มสี ว่ นหนึง่ การท่มี พี นักงานหญงิ มากนอกจากนี้ค�ำ ว่า“คา่ นยิ ม”อาจ (รอ้ ยละ 12.3) ท่ีเคยดม่ื ในชว่ งกอ่ น 3 เดอื นนบั จากวนั ทใี่ ห้ หมายถึง ค่านยิ มจากผู้บรหิ ารกลา่ วคอื สถานประกอบการ ข้อมลู ในขณะท่สี ่วนท่เี หลือ (ร้อยละ 61) มกี ารดื่มในรอบ ท่ีผู้บริหารดม่ื สรุ า หรอื เหน็ ด้วยกับการด่ืมกจ็ ะอนุญาต 3 เดอื นทผี่ ่านมา (current drinker) โดยชนดิ เครื่องดม่ื ท่ี ใหม้ กี ารดื่มในกิจกรรมส�ำ คัญๆ ขององค์กร ขณะท่ี นิยมด่ืม คือ เบียร์ ความถใ่ี นการดื่มเฉลี่ยต่อสัปดาห์เทา่ กบั สถานประกอบการทผี่ ้บู ริหารต่อตา้ นการดม่ื สุรา กอ็ าจ 1.6 วนั ปรมิ าณการดม่ื ต่อครัง้ ประมาณ 5.24 แก้ว และสว่ น มีการเวน้ การดื่มในช่วงเทศกาลงานเลยี้ งบรษิ ทั เปน็ ต้น ใหญ่มีการด่มื ในชว่ งเย็น (17.00 - 23.59 น.) อีกท้งั ยงั มกี าร 3. ชนิดของงาน งานท่ีมคี วามเครียดสูง มแี นวโนม้ ท่ีจะ ขับขยี่ านพาหนะภายหลงั การดื่มทุกครงั้ รอ้ ยละ 29.6 ผลักดันให้มกี ารใช้แอลกอฮอลด์ ว้ ย งานประเภทน้อี าจ เป็นงานท่ีต้องทำ�ตามหน้าท่ีโดยไม่สามารถควบคุมได้ นอกจากนใี้ นการศกึ ษาเดยี วกนั ยังพบวา่ ในกล่มุ แรงงานที่ มากนัก รวมทง้ั งานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความคับข้องใจหรือ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลใ์ นรอบ 3 เดือน (current drinker) กดดนั เปน็ ต้น ส่วนใหญ่เปน็ เพศชาย ท�ำ งานในฝ่ายผลติ ที่อยู่ในระดบั ปฏบิ ตั ิ 4. แกนารวมนหี โยัวบหานยา้ ขงาอนงบดูแริษลทั พบว่าพนักงานในกะเย็น/คำ�่ และมกี ารท�ำ งานเปน็ กะ โดยมจี �ำ นวนชว่ั โมงในการท�ำ งานตง้ั แต่ 5. ท่ี 8 ชวั่ โมงข้นึ ไป และจ�ำ นวนวนั ทำ�งานที่ 6 วนั ตอ่ สปั ดาห์ มีหัวหน้างานดูแลน้อยกว่ากะเช้า มีแนวโน้มที่จะใช้ มีสภาพการใช้จ่ายต่อเดือนแบบพอใช้แตไ่ ม่มีเหลอื เกบ็ แอลกอฮอล์มากกว่างานที่ได้รับผลกระทบจากการด่ืม ไดง้ า่ ยจะมผี ลใหพ้ นกั งานดม่ื ไดน้ อ้ ยลง เชน่ นกั บนิ แพทย์ 2.8.2 ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ พนกั งานควบคุมเครอ่ื งจกั ร ของแรงงานในสถานประกอบการ 6. การหาไดง้ า่ ยของสรุ า ในบางชมุ ชนหรอื นคิ มอตุ สาหกรรม สภาวะต่างๆ ทเี่ กิดขน้ึ ในทที่ �ำ งานอาจสง่ ผลกระทบ ท่กี ารซื้อหาสุรา (หรือแอลกอฮอลช์ นดิ อื่นๆ) เป็นเรื่อง ตอ่ การบริโภคเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ของพนกั งาน (ดรณุ ี ภขู่ าว ง่ายก็จะท�ำ ให้ปัญหาการดม่ื มีมากขึ้นได้ บางพนื้ ท่มี ีการ และคณะ, 2549) สภาวะดงั กล่าวนี้ ได้แก่ ความเครียด ผลิตและจำ�หนา่ ยโดยไม่ได้มีการควบคมุ (ดงั เชน่ ท่มี ี (Stress) ในทที่ �ำ งาน เช่น การขาดความพงึ พอใจในการ คนขายสรุ าในรปู แบบตา่ งๆ ตามชมุ ชนหรอื ทางเดนิ รถตา่ งๆ ทำ�งาน การไมศ่ รทั ธาในวิธกี ารบรหิ ารทผี่ ู้บรหิ ารใช้ การขาด ก็มีผลทำ�ให้พนักงานที่เดินทางผ่านเส้นทางดังกล่าว มีโอกาสใชส้ ุรามากข้ึน)
29 2.8.3 พฤตกิ รรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ครั้งแรก ไดแ้ ก่ เบียร์ รอ้ ยละ 58.3 และเหลา้ /บรน่ั ดี รอ้ ยละ ของแรงงาน 35.2 ในขณะท่ีผู้ทดี่ ม่ื เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ในรอบ 3 เดอื น ส�ำ หรบั พฤตกิ รรมการดม่ื ของแรงงาน พบวา่ แรงงาน (current drinker) ส่วนใหญใ่ หข้ อ้ มูลวา่ มกี ารดมื่ เครือ่ งดืม่ ส่วนใหญ่มอี ายเุ ฉล่ียที่เริ่มด่ืม คอื 17.5 ปี โดยมสี าเหตุการ แอลกอฮอลใ์ นชว่ งเวลา 17.00 - 23.59 น. ซง่ึ เปน็ ชว่ งหลงั ดม่ื ครง้ั แรกมาจากการอยากลองดมื่ เอง รอ้ ยละ 64.5 รอง เลิกงาน โดยมกั ดม่ื ร่วมกบั เพอื่ นรว่ มงาน (รอ้ ยละ 82) ท่ี ลงมาได้แก่ เพือ่ นชกั ชวนใหด้ มื่ ร้อยละ 31.1 และมสี ถาน บา้ นพกั อาศยั (รอ้ ยละ 75) และให้ขอ้ มูลว่าเป็นการด่มื เพื่อ ที่ดม่ื ครง้ั แรกเปน็ ทพี่ ักอาศัย รอ้ ยละ 49.8 ร้านคา้ /สถาน คลายเครยี ดและแก้เหนื่อย (รอ้ ยละ 40) ในขณะท่รี ้อยละ บันเทงิ ร้อยละ 43.7 ท้งั นี้ ชนิดเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ทดี่ ืม่ 78 มกี ารจ่ายเป็นเงนิ สดทุกครัง้ ผลกระทบจากการด่ืมทีพ่ บ รอ้ ยละ* ดา้ นอุบัติเหตุ 14.3 ดา้ นสุขภาพ 6.9 ดา้ นครอบครัว (เคยถกู ต�ำ หนจิ ากคนในครอบครวั ) 27.7 ด้านสังคม (เคยถูกต�ำ หนิจากบุคคลรอบข้างหรอื เพอ่ื นบา้ น) 20.7 ดา้ นการทำ�งาน (เคยไปท�ำ งานสาย) 17.6 ด้านการทำ�งาน (เคยขาดงาน) 16.7 * ตอบไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ สำ�หรบั ผลกระทบทพ่ี บ ในกลุ่มตัวอย่างทด่ี ืม่ พบว่า มีทั้ง ท�ำ ใหช้ าตามมอื ตามเทา้ เปน็ ตน้ และยงั พบวา่ การตดิ แอลกอฮอล์ ทางด้านอบุ ตั เิ หตุ ดา้ นสุขภาพ ดา้ นครอบครัว (โดยเคยถกู มีความสัมพนั ธก์ บั ความเครยี ด ความพยายามฆ่าตัวตาย และ ตำ�หนจิ ากคนในครอบครัว) ด้านสงั คม (เคยถกู ตำ�หนจิ าก อยากฆา่ ผู้อน่ื นอกจากปญั หาตอ่ สุขภาพแล้ว การบริโภค บคุ คลรอบขา้ งหรอื เพอ่ื นบา้ น) ดา้ นการท�ำ งาน (เคยไปท�ำ งาน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาทางสังคม สายและเคยขาดงาน) ดงั ขอ้ มูลในตาราง เช่น การบาดเจ็บและตายจากอุบตั ิเหตจุ ราจร การบาดเจ็บ ขณะท�ำ งาน การทะเลาะวิวาทและท�ำ รา้ ยร่างกาย การฆา่ 2.9 การลดและควบคุมปัญหาจากการบริโภคเครอ่ื งดืม่ ตวั ตาย ประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งานลดลง และปญั หาทาง แอลกอฮอล์ เศรษฐกจิ อีกมากมาย ซึง่ ปญั หาเหลา่ น้เี ป็นภาระต่อรัฐและ สังคมในวงกว้าง นอกจากนี้ จากขอ้ มลู ด้านความชกุ ของการ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัญหาทางสังคม บริโภคเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศต่างๆ พฤตกิ รรมการ และสาธารณสุขทสี่ ำ�คญั ในประเทศไทย นอกจากท�ำ ให้เกดิ ดม่ื ของประชากร และปจั จยั เกย่ี วขอ้ งตา่ งๆ สง่ ผลใหท้ กุ ประเทศ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ เช่น ตับอักเสบ ตับแข็ง มะเร็งทาง ทวั่ โลกต่างมีนโยบายและมาตรการต่างๆ เพอื่ ควบคุมการ เดินอาหาร โรคหวั ใจ ความดนั โลหิตสงู โรคเกาต์ เส่อื ม จ�ำ หนา่ ยและบรโิ ภคเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ สมรรถภาพทางเพศ ท�ำ ใหค้ วามจ�ำ เสื่อม ปลายประสาทพกิ าร
30 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ การดำ�เนินงานตามนโยบายแอลกอฮอล์ของประเทศไทยที่ การบริโภค และพฤติกรรมหลงั การบริโภค) และ (4) เพือ่ ผ่านมา มีท้งั ในรูปของมาตรการทางกฎหมาย (Mandatory จ�ำ กัดและลดความรนุ แรงของปัญหาจากการบรโิ ภค ท้ังนี้ measure) และการด�ำ เนินการใดๆ ตามความสมคั รใจหรอื ยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ แบง่ เปน็ 5 ด้าน ดงั นี้ ความรว่ มมือกนั เองในภาคส่วนต่างๆ ทัง้ ภาคประชาชนหรือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การควบคมุ การเข้าถงึ ทางเศรษฐศาสตร์ ชุมชน ภาครฐั และภาคเอกชน (Voluntary measure) และทางกายภาพ โดยอาศยั มาตรการทห่ี ลากหลาย ทง้ั การลดอปุ สงค์ (Demand) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับเปลีย่ นค่านิยมและแรงสนับสนุน การควบคุมอปุ ทาน (Supply) การควบคมุ ปัจจยั แวดลอ้ ม ในการด่ืม การดื่ม กลไกทางสังคม การลดแรงสนับสนนุ การดืม่ การ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การลดอันตรายจากการบริโภค บ�ำ บดั รกั ษาและการคดั กรองเบอ้ื งตน้ รวมทง้ั การใหก้ ารศกึ ษา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การจัดการปัญหาแอลกอฮอล์ (ทักษพล ธรรมรังสี และคณะ, 2556) อย่างไรก็ตาม จากการ ในระดบั พืน้ ท่ี ศึกษาประสิทธิผลและความคุ้มค่าของนโยบายแอลกอฮอล์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การพฒั นากลไกการจดั การและสนบั สนุน ในการควบคมุ ปญั หาจากเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ พบวา่ นโยบาย ท่ีเข้มแข็ง แอลกอฮอลแ์ ละมาตรการทดี่ ที สี่ ดุ 10 ประการ ได้แก่ 1. การจ�ำ กัดอายผุ ซู้ อื้ สำ�หรับการดำ�เนินการเพ่อื ควบคุมการจำ�หน่ายและการบริโภค 2. การทร่ี ฐั เป็นเจ้าของร้านขายสรุ าปลกี เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ท่ผี า่ นมา สรปุ รปู แบบการด�ำ เนนิ การ 3. การจำ�กดั เวลาในการขาย ได้ดังนี้ 4. การจำ�กดั ความหนาแน่นของจดุ ขาย • มาตรการทางกฎหมาย เพ่ือควบคมุ การเข้าถึง และ 5. ระบบภาษสี รุ า จ�ำ กดั พ้นื ที่ในการบริโภค (ประกาศบงั คบั ใชร้ ะหว่าง 6. การส่มุ ตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจของผู้ขบั ขี่ พ.ศ. 2554 - 2558) 7. การลดเพดานระดับแอลกอฮอล์ในเลอื ดของผ้ขู บั ข่ี ประกาศสำ�นกั นายกรัฐมนตรี เรอื่ ง กำ�หนด 8. การยดึ ใบอนญุ าตขบั ข่ี (ซ่งึ หมายถึงการหา้ มผูข้ ับขี่ เวลาหา้ มขายเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2558 (ประกาศ ขณะมนึ เมาไปขบั ขี่อีก) วันที่ 6 มกราคม 2558) ซง่ึ ระบกุ ารหา้ มขายเครอื่ งด่ืม 9. การกำ�หนดระดบั บตั รอนญุ าตขบั ขีเ่ ปน็ ขัน้ ตอน แอลกอฮอล์ในเวลาอืน่ นอกจากต้ังแตเ่ วลา 11.00 - โดยคำ�นงึ ถงึ พฤตกิ รรมขับข่ีขณะมึนเมา 14.00 น. และ 17.00 - 24.00 น. ยกเว้น การขายใน 10. การคดั กรองผูม้ คี วามเสี่ยงดว้ ยระบบ อาคารท่าอากาศยานนานาชาตแิ ละสถานบรกิ าร ซ่ึง brief intervention เป็นไปตามกำ�หนดเวลาเปิดปิดของสถานบริการตาม กฎหมาย วา่ ด้วยสถานบริการ นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. 2552 สำ�นกั งานคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค ได้จัดทำ� ประกาศส�ำ นักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ห้าม ยุทธศาสตรแ์ อลกอฮอลร์ ะดับชาติ และแผนปฏิบัตกิ ารตาม ขายหรือห้ามบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในพ้ืนท่ี แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว เพื่อเป็นกรอบและทิศทางการ ประกอบกจิ การโรงงาน พ.ศ. 2555 (ประกาศวนั ที่ ดำ�เนินงานควบคุมเคร่อื งดม่ื แอลกอฮอลข์ องประเทศ โดยมี 23 กรกฎาคม 2555) ซ่ึงระบุการหา้ มขายหรอื เป้าหมายหลกั ของแผนปฏบิ ตั ิการ คือ (1) เพ่ือควบคุม บริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นท่ีประกอบกิจการ ปรมิ าณการบริโภคของสังคม (2) เพ่ือป้องกันนกั ด่มื หนา้ ใหม่ โรงงานตามกฎหมาย วา่ ด้วยโรงงาน เพือ่ มใิ หเ้ กดิ การ และควบคมุ ความชกุ ของผ้บู รโิ ภค (3) เพ่อื ลดความเสย่ี ง เข้าถึงเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลไ์ ด้โดยงา่ ย ของการบรโิ ภค (ทง้ั ในมติ ขิ องปรมิ าณการบรโิ ภค รปู แบบของ
31 • มาตรการทางสังคมและการรณรงค์สาธารณะของเครือ ประกาศส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง ก�ำ หนด ข่ายภาคประชาชน การรณรงค์สาธารณะ ถือเปน็ กลไก สถานท่ีหรือบริเวณห้ามขายหรือบริโภคเคร่ืองด่ืม สำ�คัญในการสร้างบรรยากาศทางสังคมท่ีสนับสนุน แอลกอฮอล์ ในรัฐวสิ าหกิจและหนว่ ยงานอื่นของรฐั กระบวนการนโยบายแอลกอฮอล์ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 (ประกาศวนั ท่ี 1 สงิ หาคม 2555) ซึ่ง โดยการรณรงค์และสื่อสารสาธารณะที่ผ่านมามุ่ง ระบุการห้ามขายและบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เน้นในการทำ�ให้สังคมเข้าใจมาตรการของนโยบาย ในสถานทห่ี รอื บริเวณรฐั วิสาหกจิ และหน่วยงานอ่นื แอลกอฮอล์ และการรว่ มกนั สร้างค่านยิ มและทัศนคติ ของรัฐ ยกเว้นบรเิ วณทจี่ ดั ไวเ้ ป็นร้านค้า หรือสโมสร แก่สงั คมวา่ “เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลเ์ ป็นสนิ ค้าไม่ธรรมดา เปน็ สนิ คา้ อนั ตราย ตอ้ งควบคมุ ดว้ ยกฎหมายและกฎของ ประกาศส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี เร่อื ง กำ�หนด สังคม “กจิ กรรมสว่ นใหญ่ของมาตรการนี้ ได้แก่ การจดั สถานที่หรือบริเวณห้ามบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ กจิ กรรมตามวาระต่างๆ และเทศกาลปลอดเหล้า เชน่ บนทาง พ.ศ. 2555 (ประกาศวนั ที่ 23 กรกฎาคม โครงการ “รณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา” ซึ่งสามารถ 2555) ซง่ึ ระบกุ ารหา้ มดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลบ์ นทาง ผลักดันใหใ้ นปีพ.ศ.2551คณะรฐั มนตรีในสมยั น้นั ได้มี ในขณะขบั ขหี่ รือในขณะโดยสารอยใู่ นรถ หรอื บนรถ มตปิ ระกาศใหว้ นั เข้าพรรษาเปน็ “วันงดสรุ าแหง่ ชาติ” ซึง่ ค�ำ ว่า “ทาง” และ“รถ” ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย และได้ขยายผลต่อยอดการงดเหล้าไปสู่ช่วงเวลาและ วา่ ดว้ ยการจราจรทางบก งานเทศกาลประเพณอี ่นื ๆ ท่มี ีปรมิ าณการด่ืมสูงและมี ผลกระทบเชงิ ลบจากการบรโิ ภคสงู ดว้ ย เชน่ งานสงกรานต์ นอกจากนั้นยังมีความพยายามในการ งานลอยกระทง งานแขง่ เรอื งานปใี หม่ งานบญุ บงั้ ไฟ ผลักดันกฎหมายควบคุมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ งานกาชาด เป็นต้น รวมถงึ การจดั กจิ กรรมในระดับ เพิ่มเตมิ อาทเิ ช่น ประกาศสำ�นกั นายกรฐั มนตรี เรอื่ ง พ้ืนท่ีและในหนว่ ยงาน เชน่ กิจกรรมรบั นอ้ งปลอดเหล้า กำ�หนดสถานที่หรือบริเวณห้ามขายเครื่องด่ืม การจดั เทศกาลกีฬาและดนตรีปลอดเหลา้ ฯลฯ แอลกอฮอล์บนทาง พ.ศ. 2558 ประกาศสำ�นัก • มาตรการอืน่ ๆ เช่น ใชม้ าตรการทางภาษใี นการควบคุม นายกรัฐมนตรี เรอ่ื ง กำ�หนดวนั ห้ามขายเคร่ืองดืม่ การบรโิ ภค รวมทัง้ นำ�เงนิ ภาษีมาชดเชยความเสยี หายที่ แอลกอฮอล์ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2558 และการปรับปรงุ เกดิ ตอ่ สงั คม เน้ือหาอนุบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องกับการห้ามโฆษณา เพียงบางสว่ นให้เข้มขน้ ข้ึน
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 32 บทที่ ปรประลกูจ้ อักอดสบเถหกาลานรา้ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ เปน็ สนิ คา้ ทถ่ี กู กฎหมาย และมกี ารดม่ื ในสงั คมไทยมาเปน็ เวลานาน ทง้ั ในสว่ นของการใชเ้ ปน็ เครอ่ื งดม่ื ในการสงั สรรคท์ างสงั คมในชว่ งของเทศกาลตา่ งๆ (งานเลย้ี ง และงานบุญ) ใช้ในพิธีกรรม ใช้เป็นของขวัญ ใช้เป็นของ ประดับตกแต่งบ้าน รวมทั้ง ยังมีความเข้าใจว่า เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ (เช่น ยาดอง) เป็นเครอ่ื งดื่มบำ�รุงสุขภาพ และ เป็นสัญลักษณ์ของการเล่ือนสถานภาพเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ หรือเป็นตัวบ่งช้ีของความเป็นชายที่จะต้องยึดโยงกับความ กลา้ หาญ ฯลฯ ดว้ ยเหตุนี้ ทำ�ใหท้ ่ผี ่านมา การดมื่ เครอ่ื งดื่ม แอลกอฮอล์ ถูกมองวา่ เป็นเรือ่ งปกติของสังคม (หากยังไม่ใช่ เป็นผู้ท่ีติดสุราในระดับท่ีมีผลต่อการดำ�รงชีวิตประจำ�วัน) ไม่ว่าผู้ด่ืมจะมีสถานะทางเศรษฐกิจอย่างไรหรือประกอบ อาชีพอะไร ความเคยชนิ คา่ นยิ ม และความเชอ่ื ทม่ี ตี อ่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ สง่ ผลตอ่ เนอ่ื งถงึ ความชกุ และพฤตกิ รรมการบรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลใ์ นประเทศไทย รวมทง้ั ตอ่ ความชกุ และพฤตกิ รรม การดื่มของแรงงานในสถานประกอบการ โดยเฉพาะสถาน ประกอบการด้านการการผลิต ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม
33 ประเภทตา่ งๆ ดว้ ยเปน็ พน้ื ทท่ี ป่ี ระชากรวยั แรงงานเปน็ จ�ำ นวน ผ้บู รหิ ารสถานประกอบการ หรือการไดร้ บั ความรว่ มมือจาก มากมาอยู่ด้วยกัน เพื่อประกอบกิจการตามภาระหน้าที่ที่ ทั้งผู้บริหารและพนักงานส่วนใหญ่ทั้งที่ดื่มและไม่ดื่ม ยังมี รบั ผดิ ชอบในฐานะของพนกั งานสถานประกอบการ ในต�ำ แหนง่ คอ่ นข้างนอ้ ย บทท่ี 3 ร้จู ักสถานประกอบการปลอดเหล้า หรือระดับต่างๆ ที่อาจเกิดความเครียดจากการทำ�งานได้ ของ “ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหล้า” ฉบับน้ี จงึ โดยง่าย หรอื ต้องการการยอมรบั จากเพือ่ นร่วมงาน ตอ้ งการ ถูกกำ�หนดให้นำ�เสนอเร่ืองราวเกี่ยวกับสถานประกอบการ แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ� ฯลฯ ทำ�ให้การดื่มเครื่องดื่ม ที่เข้าร่วม โครงการพัฒนาสถานประกอบการสร้างเสริม แอลกอฮอล์หรือการดื่มเหล้า/สุรา ของพนักงานในสถาน สุขภาพ (แผนงานพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพในสถาน ประกอบการ กลายเป็นความเคยชิน เป็นสิ่งปกติหรือ ประกอบการ) และ โครงการพัฒนาสถานประกอบการ พฤตกิ รรมปกติท่ผี ้ปู ระกอบการก็ดีผบู้ ริหารหรือหวั หนา้ งาน ปลอดบหุ ร่ี เหลา้ อุบัติเหตุ (แผนงานส่งเสรมิ การขยาย กด็ ี และพนกั งานด้วยกันกด็ ี ใหก้ ารยอมรับ ทั้งๆ ท่เี ป็นท่ี ฐานการปอ้ งกนั ปจั จัยเส่ยี ง: บุหรี่ เหล้า อบุ ัตเิ หตุในสถาน รบั รู้และเข้าใจกันดีว่า การดมื่ เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์มผี ลต่อ ประกอบการ) ทจ่ี ดั ท�ำ โดย สมาคมพฒั นาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สุขภาพของผู้ดืม่ และในหลายกรณที ่ีเคยมปี ระสบการณก์ บั และสนับสนุนโดยสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง ตนเอง หรอื เหน็ ตวั อยา่ งทเ่ี กย่ี วกบั การเกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นทท่ี �ำ งาน เสรมิ สขุ ภาพ(สสส.)และไดป้ ฏบิ ตั ภิ ารกจิ พฒั นาหนว่ ยงานให้ รวมทั้งมีเพื่อนร่วมงาน/ทีมงานที่มีพฤติกรรมขาดงาน ปลอดเหลา้ จนเกดิ ผลเปน็ รปู ธรรมในระดบั ตา่ งๆ กนั จ�ำ นวน ท�ำ งานไดน้ ้อยลง คณุ ภาพงานตกตำ�่ จากปัญหาการบรโิ ภค 253 แหง่ โดยน�ำ เสนอขอ้ มูลเพือ่ ท�ำ ความเขา้ ใจรว่ มกนั ว่า เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ ตง้ั แตด่ ืม่ เปน็ คร้งั คราว ดื่มเปน็ ประจำ� “สถานประกอบการปลอดเหลา้ ” เปน็ อยา่ งไร และต้องท�ำ จนถงึ ตดิ เหล้าหรือเปน็ โรคพิษสรุ าเร้อื รงั อะไรบา้ ง รวมทงั้ ใหข้ ้อมลู เกย่ี วกบั ลกั ษณะท่วั ไปของสถาน ประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย ทีต่ ้งั ชนดิ นอกจากนี้ สถานประกอบการส่วนหนึง่ ยงั มคี วามเขา้ ใจวา่ กจิ การ และขนาดของสถานประกอบการ นอกจากน้ี ยงั จัด การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลเ์ ปน็ เรอ่ื งสว่ นตวั ของพนกั งาน (หาก ใหม้ ีการน�ำ เสนอขอ้ มลู เก่ยี วกับสถานการณ์และพฤตกิ รรม เจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย กเ็ ปน็ เรอ่ื งของพนกั งานเอง สถานประกอบการ การบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของพนักงานในสถาน สามารถจ้างแรงงานใหม่ได้) หากไปยงุ่ เกยี่ วกบั เรอ่ื งการดื่ม ประกอบการเหลา่ น้ี (กอ่ นเข้าร่วมโครงการฯ) โดยม่งุ หวงั ของพนักงาน อาจไปกระทบกบั สทิ ธสิ ่วนบคุ คล และสถาน ให้สถานประกอบการหลายแห่งท่ียังไม่ตัดสินใจดำ�เนินการ ประกอบการเองก็มีระเบียบห้ามดื่มในเวลางานอยู่แล้ว ด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงาน ได้ทำ�ความเข้าใจ ทเ่ี หลือก็นา่ จะเป็นเร่อื งของพนกั งานที่จะดแู ลตัวเอง อกี ทั้ง เกย่ี วกบั สถานประกอบการปลอดเหล้า และเกิดแรงจงู ใจท่ี ยังเชื่อว่า การสนับสนุนหรือส่งเสริมให้พนักงานเลิกดื่ม จะร่วมกันควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของ เปน็ สง่ิ ทท่ี ำ�ได้ยากและเสียเวลา พนกั งาน ด้วยความเชื่อ คา่ นิยม ลักษณะและภาระงาน รวมทงั้ บรบิ ท 3.1 อยา่ งไรจึงเรียกว่า สถานประกอบการปลอดเหลา้ อน่ื ๆ ของสถานประกอบการ ท�ำ ใหท้ ผ่ี า่ นมา การด�ำ เนนิ การ เ พื่ อ ค ว บ คุ ม ก า ร บ ริ โ ภ ค เ ค รื่ อ ง ด่ื ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ใ น จากการศึกษาพฤติกรรมการดื่มของแรงงานในภาค สถานประกอบการ โดยเฉพาะทางดา้ นการลดความชกุ ของ อตุ สาหกรรม ทเี่ คยดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในรอบ 3 เดอื น พนกั งานทด่ี ม่ื สรุ าหรอื เหลา้ ยงั คงมลี กั ษณะทอ่ี งิ กระแสสงั คม (current drinker) ในจงั หวดั นครราชสมี า จ�ำ นวน 1,341 Event Based โดยจดั ในรปู ของการประชาสมั พนั ธห์ รอื รณรงค์ ราย โดยพงษ์เดช สารการและคณะ (2552) สนับสนนุ โดย ให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของการดื่มสุรา มากกว่าที่จะทำ� ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ ในขณะที่การสนับสนุนจาก เสริมสุขภาพ (สสส.) พบว่า แรงงานส่วนใหญ่มีการดื่ม
34 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ในช่วงเวลา 17.00 - 23.59 น. ซง่ึ เป็น อาณาเขตของสถานประกอบการ (รวมถึงการด่มื ในงานบญุ ชว่ งหลงั เลกิ งาน โดยมกั ดมื่ รว่ มกับเพื่อนรว่ มงาน (รอ้ ยละ งานเลย้ี ง การดม่ื ในหอพกั บา้ นพกั ทเ่ี ปน็ ของสถานประกอบการ 82) ทบ่ี ้านพักอาศัย (ร้อยละ 75) และแรงงานเหลา่ น้ีให้ ฯลฯ) รวมท้ังสง่ เสรมิ ให้พนกั งานท่ีเคยด่มื หรอื ดืม่ เป็นประจำ� ขอ้ มลู วา่ เปน็ การดม่ื เพอ่ื คลายเครยี ดและแกเ้ หนอ่ื ย (รอ้ ยละ (อาจถึงระดับติดสุรา) ลด ละ เลิกการด่มื ซึง่ สถานประกอบ 40) ในขณะทีร่ ้อยละ 78 มีการจา่ ยเปน็ เงินสดทกุ ครั้ง การสามารถท�ำ ได้โดยเริ่มจากการออกมาตรการต่างๆ เพ่อื ควบคุมไม่ให้มีการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทุกพื้นที่ของ สอดคล้องกับการศึกษาสถานการณ์การบริโภคเคร่ืองดื่ม สถานประกอบการ (รวมถึงการดื่มในงานบุญ งานเลี้ยง แอลกอฮอลแ์ ละผลกระทบในประเทศไทย ท่จี ดั ท�ำ โดยศนู ย์ การดม่ื ในหอพกั บ้านพักท่เี ปน็ ของสถานประกอบการ ฯลฯ) วิจัยปัญหาสุรา (2556) ที่พบว่า นักดื่มไทยส่วนใหญ่ซื้อ เช่น ออกระเบยี บห้ามด่ืมและห้ามน�ำ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอลจ์ ากร้านท่ีไม่มที น่ี ่ังดืม่ หรือเปน็ การซือ้ เข้ามาในพื้นที่ของสถานประกอบการ ห้ามขายเครื่องดื่ม จากทห่ี น่ึงไปดืม่ อีกท่ีหนึ่ง ซงึ่ สถานท่ที ี่คนไทยซอ้ื เครือ่ งดื่ม แอลกอฮอล์ในพื้นที่ของสถานประกอบการและพ้ืนที่ แอลกอฮอล์บ่อยทีส่ ดุ ใน 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ รา้ นขายของช�ำ โดยรอบ (ถา้ สามารถท�ำ ได)้ ไปจนถงึ การสรา้ งความเขา้ ใจและ รา้ นสะดวกซ้อื และร้านอาหาร (สถานท่ที ง้ั 3 แหง่ นี้ คดิ เปน็ ความตระหนักของพนักงาน และสนับสนุนหรือช่วยเหลือ ร้อยละ 87 ของการซ้ือเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์) สำ�หรบั สถาน ให้พนกั งานลด ละ เลิก การดมื่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ทกุ ที่ที่คนไทยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้น พบว่า คนไทยมัก ประเภท (แม้ยังไม่เกิดผลกระทบต่อหน้าที่การงานหรือ ดื่มสุราในบ้านตนเอง บ้านคนอนื่ (เชน่ บา้ นเพ่ือน บา้ นของ ประสทิ ธภิ าพในการท�ำ งานกต็ าม) ทง้ั น้ี ความหมายดงั กลา่ ว เพื่อนบ้าน เป็นต้น) และในสโมสร/ในงานเลี้ยง คิดเป็น มีหลักคิดว่า การพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหล้า รอ้ ยละ 90 ของการด่มื ในสถานทที่ ี่ดม่ื บ่อยท่สี ุด จะสำ�เร็จหรือไม่นั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำ�นวนพนักงานที่เลิก เหล้าได้ แต่อยทู่ จ่ี ะท�ำ อย่างไร จงึ จะสามารถท�ำ ให้ทั้งชีวติ จากพฤติกรรมการดื่มดังกล่าว ทำ�ให้สรุปได้ว่า แรงงาน การงานและชีวิตความเป็นอยู่ของพนักงานในสถาน หรือคนทำ�งานส่วนใหญ่ไม่ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในช่วง ประกอบการ ไม่มสี ว่ นเก่ยี วข้องกับหรอื ต้องพึ่งพาเคร่ืองด่มื เวลางาน ท้ังน้ี อาจเนื่องจากนโยบายหรอื มาตรการห้ามดื่ม แอลกอฮอลอ์ ย่างสิ้นเชงิ ของที่ทำ�งาน แต่มักมีการดื่มนอกเวลางานรวมทั้งการดื่ม เนอื่ งในโอกาสวันส�ำ คัญๆ ตา่ งๆ ทส่ี ถานประกอบการมกี าร และเพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์การควบคุมการบริโภค จดั เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอลเ์ ลย้ี งพนักงาน เชน่ ในงานบญุ หรือ เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอลใ์ นสถานประกอบการ ที่สว่ นใหญย่ ังคง งานเลี้ยงทจ่ี ดั โดยหน่วยงาน ดว้ ยเหตุผลดังกล่าว การพัฒนา มีการดำ�เนินการด้านนี้อย่างไม่เป็นระบบ (ทำ�ตามกระแส สถานประกอบการปลอดเหล้า ภายใตแ้ ผนงานส่งเสริมการ มักเป็นการรณรงค์ทั่วๆ ไปไม่ต่อเนื่อง) โครงการพัฒนา ขยายฐานการป้องกันปัจจัยเส่ยี ง: บุหร่ี เหลา้ อบุ ตั ิเหตุใน สถานประกอบการปลอดบุหร่ี เหล้า อุบตั ิเหตุ ภายใต้แผน สถานประกอบการ จึงให้นยิ ามค�ำ วา่ สถานประกอบการ งานสง่ เสรมิ การขยายฐานการปอ้ งกนั ปจั จยั เสย่ี ง: บหุ ร่ี เหลา้ ปลอดเหลา้ คือ สถานประกอบการท่มี กี ารดำ�เนินงานด้าน อบุ ัตเิ หตใุ นสถานประกอบการ จงึ ไดใ้ ชต้ วั ช้วี ดั เชงิ กระบวน การลดและควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของ การมาเป็นตัวก�ำ หนดว่า สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครง พนักงานในสถานประกอบการ (โดยสถานประกอบการดัง การฯ แตล่ ะแห่ง เปน็ สถานประกอบการปลอดเหล้าหรือไม่ กล่าวอาจมีพนักงานหรือไม่มีพนักงานท่ีด่ืมเครื่องด่ืม แทนการใช้ตัวชี้วัดที่เป็นผลผลิตจากการดำ�เนินงานด้าน แอลกอฮอลก์ ไ็ ด)้ โดยก�ำ หนดมาตรการหรอื จดั กจิ กรรมตา่ งๆ การควบคมุ การบริโภคเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ เช่น ตัวชว้ี ดั ที่ ที่จะทำ�ให้ไม่มีการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในพ้ืนที่หรือใน เก่ยี วกับจ�ำ นวนพนักงานทีเ่ ลกิ เหลา้ ไดส้ ำ�เร็จ ความชุกของ
35 การด่ืมเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ของพนักงาน ท้ังน้ี ตวั ช้ีวัด 3. มีระบบสื่อสารให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของเคร่ืองดื่ม เชงิ กระบวนการ เปน็ ตวั ชีว้ ัดทจี่ ะบอกได้ว่า ขณะนี้ สถาน แอลกอฮอล์ และแนวทางในการเลิกเหล้า ประกอบการมีการดำ�เนินงานด้านการควบคุมการด่ืมเครื่อง 4. มีมาตรการห้ามด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ทุกประเภทใน ดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงานหรือไม่ และการดำ�เนินงาน พื้นที่ของสถานประกอบการ ในทุกโอกาส และมีการ ดังกล่าว จะนำ�ไปสู่การเป็นสถานประกอบการปลอดเหล้า เฝา้ ระวงั ให้มกี ารปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ต้องตามมาตรการ รวมทั้ง ไดส้ �ำ เรจ็ หรอื ไม่ อกี ทง้ั ยงั เปน็ ตวั ชว้ี ดั ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั ความเปน็ อาจมรี ะเบยี บจดั ซื้อจดั จ้างปลอดเหล้า (ไม่ให้ของขวญั จริงทางด้านความชุกและพฤติกรรมการด่ืมของพนักงาน ที่เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) และไม่ให้มีการจำ�หน่าย ตลอดจนสอดคล้องกับความเข้มข้นหรือความจริงจัง เหล้าหรือสุราในพ้ืนท่ีของสถานประกอบการรวมท้ัง ต่อการควบคุมการดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงานในสถาน พ้ืนท่โี ดยรอบ (หากสามารถท�ำ ได้) ประกอบการในปจั จบุ ัน ทำ�ให้สถานประกอบการสามารถ 5. มกี ารสนบั สนนุ ใหพ้ นกั งานทต่ี ดิ เหลา้ เลกิ เหลา้ เชน่ มคี ลนิ กิ กำ�หนดเป้าหมายและแนวทางการดำ�เนินงานได้ไม่ยากจน เลิกเหล้า หรือมีระบบส่งต่อ หรือจัดกิจกรรมส่งเสริม เกินไปและสามารถทำ�ได้จริง ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว สถาน การเลกิ เหล้าของพนกั งาน ประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการพัฒนาสถานประกอบการ 6. มีการสนบั สนุนใหพ้ นกั งานออกก�ำ ลงั กาย ปลอดบุหรี่ เหล้า อุบัตเิ หตุ มักจะมกี ารด�ำ เนินงานเพ่อื ควบคุมการดื่มเหล้าของพนกั งาน อยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดหรอื 3.2 จะตอ้ งทำ�อะไรบา้ งจงึ จะได้เป็นสถานประกอบการ ทัง้ หมด ดังต่อไปนี้ (ข้อ 1 - 3 เป็นตวั บง่ ชี้ข้นั พื้นฐานทีส่ ถาน ปลอดเหล้า ประกอบการปลอดเหลา้ ทกุ แหง่ จะต้องด�ำ เนินการ) 1. มีนโยบายควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ใน ประเทศไทยมีการดำ�เนินงานด้านการควบคุมปัญหา สถานประกอบการ ท่ีชดั เจนและเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร การดื่มสุราของพนักงานในสถานประกอบการมาได้ระยะ 2. มีคณะทำ�งานหรืออย่างน้อยผู้รับผิดชอบเรื่องน้ีอย่าง เวลาหนงึ่ โดยสว่ นใหญ่เน้นทีก่ ารจัดกิจกรรมรณรงคใ์ ห้กล่มุ ชดั เจน เป้าหมายเกิดความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของแอลกอฮอล์
36 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ที่มีต่อสุขภาพและผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคม ของพนักงานทกุ ระดบั และต่อเน่ือง รวมทั้งผลักดันให้สถานประกอบการมีการจัดกิจกรรมเพื่อ • ปจั จัยเอ้ือภายในสถานประกอบการ ส่งเสริมให้พนักงานลด ละ เลิกการดื่มสุรา ทั้งนี้ พบว่า • ->- มีคณะทำ�งานที่มีจิตสาธารณะ ตระหนักถึงความ ส่วนใหญ่มักใช้วันหรือเทศกาลสำ�คัญๆ เป็นจุดเริ่มต้นของ สำ�คัญของการป้องกันปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ และที่ การลดละเลกิ สรุ าของพนักงาน ซึ่งท่ผี า่ นมา สามารถท�ำ ให้ สำ�คัญมีความเข้าใจหรือมีกระบวนการเรียนรู้และมี พนักงานในสถานประกอบการท่ีติดเหล้าหรือเป็นนักด่ืม ทักษะในการด�ำ เนนิ งานดา้ นนี้อยา่ งเป็นระบบ ประจำ� เกิดความตระหนกั และหันมาลด ละ เลกิ การด่มื • ->- มีผบู้ ริหารท่ใี หค้ วามสำ�คญั ต่อการด�ำ เนินงานดา้ น ไดจ้ ำ�นวนหน่ึง อย่างไรกต็ าม การสง่ เสรมิ ให้สถานประกอบ การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ การให้ความสนใจ หันมาดูแลป้องกันและแก้ไขปัญหาจาก สนบั สนนุ ทง้ั เชิงนโยบายและการจัดการ การท่มี พี นักงานดมื่ สุรา ต้องพบกับปัญหาความไม่ต่อเน่ือง ของการดำ�เนินงานของสถานประกอบการ เนื่องจากไม่มี จากข้อเท็จจริงที่ค้นพบดังกล่าว ทำ�ให้การพัฒนาสถาน เจา้ ภาพหลกั (ไมม่ คี ณะท�ำ งานหรอื ผทู้ ร่ี บั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน) ประกอบการปลอดเหลา้ ในครั้งน้ี ยังคงอาศยั แนวทางและ หรือไม่มีนโยบายท่ีต่อเนื่องและแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน กระบวนการในการสรา้ งเสริมสุขภาพอยา่ งเป็นระบบ ครบ (ไม่รู้จะทำ�กิจกรรมอะไร เมื่อไร อย่างไร) ซึ่งเป็นปัญหา วงจร อย่างมีสว่ นร่วม และทำ�ตอ่ เนือ่ ง ดังกล่าว มาใช้ใน เดียวกันกับการป้องกันและควบคุมพฤติกรรมเสี่ยงทาง การขับเคลื่อนให้เกิดการควบคุมการด่ืมเหล้าของพนักงาน สขุ ภาพประเภทอน่ื ๆ (บหุ ร่ี ออกก�ำ ลงั กาย กนิ รอ้ นชอ้ นกลาง พร้อมๆ กับการสง่ เสรมิ ให้สถานประกอบการ เกิดปจั จัยเอ้ือ ฯลฯ) ทม่ี กั เปน็ ไปตามกระแส มากกวา่ ทจ่ี ะมกี ารจดั ท�ำ อยา่ ง ภายในสถานประกอบการเอง (คณะทำ�งานเหน็ ความส�ำ คญั เปน็ ระบบ เป็นข้ันเปน็ ตอนอยา่ งต่อเน่ือง โดยมีคณะทำ�งาน และมที กั ษะในการขบั เคลอ่ื น ผบู้ รหิ ารสนบั สนนุ ทง้ั เชงิ นโยบาย หรือผู้รับผิดชอบชัดเจน ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหาร และการจดั การ) ไปพรอ้ มๆ กัน ทงั้ น้ี มเี ป้าหมายให้สถาน ตงั้ แตร่ ะดบั การรบั รู้ การเขา้ ร่วมกิจกรรม ให้การสนบั สนุน ประกอบการสามารถดำ�เนินงานด้านการควบคุมการ เชิงนโยบาย จนไปถงึ ระดบั ให้การสนับสนนุ เชิงการจัดการ บริโภคเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม (ท�ำ อย่าง จรงิ จงั จนมผี ลใหส้ ามารถคมุ้ ครองสขุ ภาพของพนกั งาน และ ในขณะที่ การดำ�เนนิ งานของแผนงานพัฒนาสถานประกอบ ท�ำ ใหพ้ นกั งานที่ดืม่ เหล้าเป็นประจ�ำ ละ ลด เลิก การดมื่ ลง) การปลอดบหุ ร่ี (พ.ศ. 2551-2553) และแผนงานพัฒนาการ อยา่ งไรกต็ าม จากการทส่ี ถานประกอบการมศี กั ยภาพและมี สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในสถานประกอบการ (พ.ศ. 2553-2555) ระดบั ความพรอ้ มในการด�ำ เนนิ งานดา้ นนไ้ี มเ่ ทา่ กนั อกี ทง้ั ยงั ของสมาคมพฒั นาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ไดค้ น้ พบวา่ การสรา้ ง มีการคำ�นึงถึงสถานการณ์ด้านความชุกและพฤติกรรมการ เสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบการ ด้วยการ ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของแรงงานในสถานประกอบการ ควบคมุ ปจั จัยและพฤตกิ รรมเสย่ี งทางสุขภาพ (ไม่วา่ จะเปน็ ดงั รายละเอยี ดในหัวข้อ 2.6, 2.7 และ 3.1 รวมทง้ั เป็นการ ประเด็นไหน) ใหเ้ กดิ ผลอยา่ งเป็นรปู ธรรม สถานประกอบ สร้างบรรยากาศให้สถานประกอบการสามารถดำ�เนินงาน การจะต้องมีการดำ�เนินงาน พร้อมทั้งมีปัจจัยเอื้อภายใน ด้านนี้ได้โดยสะดวก การพัฒนาสถานประกอบการปลอด สถานประกอบการเอง (Workplace factors) ดังนี้ เหล้า ในครง้ั น้ี จึงเปิดโอกาสใหส้ ถานประกอบการสามารถ • การด�ำ เนนิ งาน ->- มีการดำ�เนนิ งานทเ่ี ปน็ ระบบ เลอื กด�ำ เนนิ การไดต้ ามความสะดวกของตนเอง ดังตอ่ ไปนี้ ครบวงจร (ลดช่องทางในการเขา้ ถึงปจั จัยเสย่ี ง ลดพืน้ ท่ี ดมื่ - สบู ควบคมุ การด่มื - สบู ฯลฯ) อย่างมีสว่ นร่วม
37 ท�ำ ระดบั พ้ืนฐาน เป็นการดำ�เนินงานด้านการควบคุมการบริโภคเคร่ืองดื่ม พนักงานรับทราบโดยทั่วถึงกัน มีการจัดตั้งคณะทำ�งาน แอลกอฮอล์ในสถานประกอบการ แบบไม่ซับซ้อน โดย ขบั เคลอ่ื นงานดา้ นน้ี (ซง่ึ อาจใชค้ ณะท�ำ งานสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ อาจเปน็ การจดั กจิ กรรมตา่ งๆ เพื่อควบคุมการบรโิ ภคฯ โดย ที่มีอยู่แล้ว) มีการจัดทำ�แผนปฏิบัติการควบคุมการบริโภค ไมต่ ้องมกี ารจดั ท�ำ อยา่ งเปน็ ระบบ เปน็ ขน้ั เป็นตอน เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ หรอื คณะกรรมการควบคมุ การดม่ื เหลา้ มกี ารดำ�เนนิ การตามแผนปฏบิ ัตกิ าร จนถงึ การประเมนิ ผล ท�ำ ระดับก้าวหนา้ เพ่อื ปรับปรงุ กจิ กรรมหรือโครงการทไี่ มไ่ ด้ผล เป็นการดำ�เนินงานด้านการควบคุมการบริโภคเคร่ืองด่ืม แอลกอฮอล์ในสถานประกอบการ อย่างเป็นระบบเป็นขั้น โดยสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาสถาน เปน็ ตอน ตัง้ แต่การจดั ทำ�นโยบายควบคมุ การบริโภคเคร่อื ง ประกอบการปลอดเหล้า รวมทั้งหมด 253 แห่ง มีการ ดื่มแอลกอฮอล์ให้ชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ ดำ�เนนิ งานโดยแบง่ เป็นระดับความเขม้ ขน้ ได้ดงั น้ี ระดับการด�ำ เนินงาน จ�ำ นวนสถานประกอบการ (บริษัท) คิดเป็นรอ้ ยละ ระดบั กา้ วหน้า (Premium Level) 120 47.4 ระดับพ้นื ฐาน (Standard Level) 133 52.6 253 100 รวม 47% 53% ระดับพนื้ ฐาน (Standard Level) ระดับก้าวหนา้ (Premium Level)
38 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 3.3 ขอ้ มูลท่วั ไปของสถานประกอบการปลอดเหลา้ 3) มจี ำ�นวนรวมทง้ั สิ้น 253 แห่ง ทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของการ ดำ�เนินงานท่ตี า่ งกัน คอื มีการด�ำ เนินการอย่างเป็นระบบ สถานประกอบการที่มีการควบคุมการบริโภคเคร่ืองด่ืม (ระดับกา้ วหน้า) จำ�นวน 120 แห่ง และมีการด�ำ เนินงาน แอลกอฮอล์ของพนักงาน ภายใต้แผนงานพัฒนาการสร้าง ขั้นพนื้ ฐาน 133 แหง่ โดยสถานประกอบการเหลา่ น้ี ต้งั อยู่ เสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (แผนงานระยะที่ 2) ในกรุงเทพและจังหวัดในภูมิภาคต่างๆ มีขนาดหรือจำ�นวน และแผนงานส่งเสริมการขยายฐานการป้องกันปัจจัยเสี่ยง: พนกั งาน และประเภทกจิ การทแี่ ตกต่างกัน ดงั รายละเอยี ด บหุ รี่ เหล้า อุบตั เิ หตใุ นสถานประกอบการ (แผนงานระยะท่ี ตอ่ ไปนี้ ตารางแสดงจำ�นวนสถานประกอบการ จำ�แนกตามประเภทกิจการและระดบั การควบคุมการบรโิ ภคเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ ประเภทกจิ การ จำ�นวนสถานประกอบการ (บริษทั ) รวม รวม เซรามิก ระดบั พน้ื ฐาน ระดับกา้ วหน้า (บริษัท) (%) กระจกและแก้ว 1 3 4 1.6 0 1 1 0.4 อโลหะ 1 3 4 1.6 โลหะมูลฐาน (เหล็ก ผลติ ภณั ฑ์เหล็ก) ผลิตภัณฑโ์ ลหะ เคร่ืองจกั รอุปกรณ์ 3 4 7 2.8 และเครอื่ งเรือน 39 42 81 32.0 อุตสาหกรรมอาหาร 22 21 43 17.0 สิ่งทอและเคร่อื งหนงั 11 6 17 6.7 เคมภี ณั ฑ์/ พลาสตกิ 21 14 35 13.8 กระดาษและส่งิ พมิ พ์ 4 4 8 3.2 0 4 4 1.6 ยาง 31 18 49 19.4 อ่ืน ๆ (รฐั วิสาหกจิ การขายและบริการ) 133 120 253 100 52.57 47.43 100 รวม คิดเป็น (%)
39 แสดงจำ�นวนสถานประกอบการจำ�แนกตามประเภทกจิ การ เซรามิก 19 % 32 % กระจกและแกว้ 0.4 % 17 % 1.6 % 7% อโลหะ 14 % โลหะมลู ฐาน (เหล็ก ผลิตภณั ฑ์เหลก็ ) 3% 3% ผลิตภณั ฑโ์ ลหะ เคร่อื งจักรอปุ กรณ์ และเครือ่ งเรือน 2% 19 % อตุ สาหกรรมอาหาร สง่ิ ทอและเครอ่ื งหนงั เคมภี ณั ฑ์ พลาสตกิ กระดาษและส่ิงพมิ พ์ ยาง อน่ื ๆ (รฐั วิสาหกิจ การขายและบรกิ าร) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ 3.3.1 ประเภทกิจการ 3.3.2 ท่ีตง้ั ของสถานประกอบการ สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ และมีการ สถานประกอบการที่มีการควบคุมการบริโภค ป้องกันและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ราย เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ สว่ นใหญ่ตง้ั อยทู่ ่กี รุงเทพและจงั หวัด ละเอียดในตาราง) ส่วนใหญเ่ ป็นสถานประกอบการดา้ นการ ใกล้เคียงดังตาราง ทั้งนี้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ทำ�งาน หรือ ผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร อุปกรณ์และเครื่องเรือน พื้นที่เป้าหมายของการดำ�เนินงานแผนงานทั้ง 2 ระยะ (ร้อยละ 32) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเป็นกิจการที่ต้องอาศัย นอกจากน้ี การทส่ี ถานประกอบการจะเลอื กควบคมุ ปัจจัย เครื่องจักรที่ต้องมีความระมัดระวังในการควบคุมหรือ เส่ียงทางสุขภาพประเดน็ ไหน (เหล้า บุหรี่ อบุ ัติเหตุ ฯลฯ) ใช้งาน อีกทั้งสถานประกอบการเหล่านี้เป็นสถานประกอบ มักจะขึ้นกับสภาพปัญหาของสถานประกอบการตนเอง การทม่ี พี นกั งานสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศชาย ซง่ึ มคี วามชกุ ของการ เชน่ สถานประกอบการทมี่ ีสัดส่วนพนักงานดม่ื เหล้าสูง หรอื บรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลม์ ากกวา่ เพศหญงิ รองลงมาเปน็ มีอุบัติเหตุจากการทำ�งานท่ีสัมพันธ์กับการด่ืมเหล้าของ สถานประกอบการดา้ นอตุ สาหกรรมอาหาร (รอ้ ยละ17) และ พนักงาน ก็อาจจะจดั ให้มกี ารควบคมุ การด่ืมเหลา้ เปน็ ตน้ เคมภี ณั ฑ์ /พลาสติก (ร้อยละ 14) อยา่ งไรกต็ าม ความหลาก นอกจากนี้ อาจเป็นไปได้ว่า การด่ืมเหล้าของพนกั งานใน หลายของประเภทกิจการของสถานประกอบการที่เข้าร่วม สถานประกอบการทอ่ี ยใู่ นเขตกรุงเทพ และจังหวดั ใกลเ้ คยี ง โครงการ ชีใ้ ห้เห็นว่า ประเภทของกจิ การไมไ่ ดเ้ ป็นข้อจ�ำ กัด เรม่ิ มผี ลกระทบดา้ นใดดา้ นหนง่ึ จนท�ำ ใหส้ ถานประกอบการ ในการควบคมุ การบริโภคเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ เลือกท่ีจะควบคุมการบริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ด้วย นอกเหนอื จากควบคุมปจั จัยเส่ยี งอ่นื ๆ
40 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ตารางแสดงจำ�นวนสถานประกอบการทมี่ ีการด�ำ เนินงานด้านการควบคุม และลดปญั หาการด่ืมเหล้าของพนักงาน จ�ำ แนกตามจังหวดั ทต่ี ้งั พื้นท่ี จ�ำ นวนสถานประกอบการทีม่ ีการควบคุม การบรโิ ภคเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ (แหง่ ) กรงุ เทพมหานคร 106 พระนครศรีอยธุ ยา 29 นครปฐม 18 สมทุ รสาคร 17 สมุทรปราการ 14 ปทุมธานี 9 9 ชลบรุ ี 8 นนทบุรี 8 สระบรุ ี 7 ราชบุรี 5 ระยอง 3 เชยี งใหม่ 3 ลพบรุ ี 3 ล�ำ พนู 3 นครราชสมี า 2 ปราจนี บรุ ี 9 อ่นื ๆ จังหวดั ละ 1 บริษัท 253 รวม หมายเหตุ อนื่ ๆ ได้แก่ ฉะเชงิ เทรา กาญจนบรุ ี ตรัง ตราด ประจวบคีรขี นั ธ์ พิจิตร สงิ หบ์ รุ ี ภูเก็ต สงขลา
41 3.3.3 ขนาดสถานประกอบการ มาเป็นสถานประกอบการท่ีมีพนักงาน น้อยกวา่ 100 คน และ 500 - 1,000 คน (รอ้ ยละ 21.3 และ 13.8 ตาม (พิจารณาจากจำ�นวนพนักงาน) ลำ�ดบั ) นอกจากนี้ เป็นที่น่าสงั เกตวา่ มสี ถานประกอบการ สถานประกอบการทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ และมีการ ขนาดใหญ่ ดำ�เนินงานด้านนี้อย่างเข้มข้นและเป็นระบบใน ควบคมุ การบรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ มที ง้ั สถานประกอบ สัดส่วนที่มากกว่าสถานประกอบการขนาดเล็ก (แผนภาพ) การขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ อยา่ งไรกต็ าม สว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ ทั้งนี้ อาจเนื่องจาก ขนาดของสถานประกอบการมีความ 52) มจี �ำ นวนพนกั งานในชว่ งระหว่าง 100 - 500 คน รองลง สัมพันธ์กับความพร้อมและศักยภาพในการทำ�งานเชิงระบบ มากกวา่ เช่น มีฝา่ ยหรือแผนกทรัพยากรมนุษย์ หรือฝา่ ย อาชวี อนามยั และความปลอดภัยในการทำ�งาน เข้ามารับผดิ ชอบโดยตรง ทำ�ใหส้ ามารถดำ�เนินงานครั้งนีไ้ ด้คล่องตวั กว่า เนือ่ งจากมีระบบงานรองรับอยู่แลว้ ตารางแสดงจำ�นวนสถานประกอบการจำ�แนกตามขนาด (จ�ำ นวนพนกั งาน) จำ�นวนพนักงาน (คน) รวม (บริษทั ) % นอ้ ยกวา่ 100 54 21.3 100 - 500 132 52.2 501 - 1000 35 13.8 1,001 - 2,000 20 7.9 2,001 - 3,000 4 1.6 3,000 ขึ้นไป 8 3.2 รวม 253 100
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 42 ตารางแสดงระดับความเขม้ ข้นในการด�ำ เนินงานเพอ่ื ควบคมุ การด่ืมเหลา้ ของพนักงาน จำ�นวนพนักงาน (คน) จำ�นวนสถานประกอบการ (บรษิ ัท) % ระดบั กา้ วหนา้ ระดบั พนื้ ฐาน รวม (บรษิ ทั ) นอ้ ยกวา่ 100 100 - 500 14 40 54 501 - 1000 62 70 132 1,001 - 2,000 21 14 35 2,001 - 3,000 14 6 20 3,000 ข้ึนไป 3 14 6 28 รวม 120 133 253 แผนภาพแสดงระดบั ความเขม้ ข้นในการดำ�เนนิ งานเพอ่ื ควบคมุ การดื่มเหลา้ ของพนกั งาน จำ�แนกตามขนาดสถานประกอบการ (จ�ำ นวนพนกั งาน) ขนาดสถานประกอบการ จ�ำ แนกตามจ�ำ นวนพนักงาน และระดบั ความเข้มข้น ในการควบคุมการบรโิ ภคเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ 62 70 40 14 21 14 14 6 3 1 6 2 นอ้ ยกวา่ 100 - 500 501 - 1,000 1,001 - 2,000 2,001 - 3,000 3,000 ขึ้นไป 100 ระดับก้าวหน้า ระดบั พื้นฐาน
43 3.4 ความชุกของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของ โดยสรปุ แลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ ลกั ษณะทว่ั ไปของสถานประกอบการ พนักงานในสถานประกอบการทเี่ ข้ารว่ มโครงการ เช่น ท่ีต้ัง จ�ำ นวนพนกั งาน (ขนาดสถานประกอบการ) และ ชนิดกิจการ ไม่มผี ลต่อระดับความเขม้ ขน้ ในการดำ�เนินงาน จากการสำ�รวจความชุกของการด่ืมของพนักงานในสถาน ด้านการควบคุมการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของพนักงาน ประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ (และมกี ารด�ำ เนนิ งานดา้ น หากแต่ชนิดกิจการที่เช่ือมโยงไปถึงเพศของพนักงาน การควบคมุ และลดปญั หาการดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน 253 แหง่ ) ความชุกของพนักงานที่ดื่ม ความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ มสี ถานประกอบการใหข้ อ้ มลู กลบั มาจ�ำ นวนทง้ั สน้ิ 197 แหง่ ขณะท�ำ งาน การขาดงาน การมาสาย อาจมีสว่ นในการจูงใจ พบวา่ สถานประกอบการเหลา่ นม้ี พี นกั งานรวมทง้ั สน้ิ 96,719คน ให้ผู้ประกอบการหันมาให้ความสำ�คัญกับการควบคุมการ (จากสถานประกอบการ 197 แห่ง) มีจ�ำ นวนพนกั งานที่ด่มื ดื่มเหลา้ ของพนักงาน และมกี ารด�ำ เนนิ งานดา้ นการควบคุม สุรารวม 35,371 คน หรือคดิ เปน็ สดั ส่วนร้อยละ 40 ของ การดืม่ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลใ์ นรูปแบบตา่ งๆ อยา่ งจริงจงั พนักงานทั้งหมด และในจำ�นวนพนักงานที่ดื่มสุราดังกล่าว แบง่ เปน็ เพศชาย 12,540 คน และเพศหญงิ รอ้ ยละ 5,226 คน หรอื พนกั งานชายทด่ี ม่ื สรุ าคดิ เปน็ 2.4 เทา่ ของพนกั งานหญงิ (ในขณะทใ่ี นปี พ.ศ. 2556 ศูนย์วจิ ัยปัญหาสรุ า ไดร้ ายงาน ข้อมูลสัดส่วนการด่ืมของเพศชาย-หญิงในภาพรวมของ ความชกุ ของการด่ืมสุราของพนักงาน ในสถานประกอบการท่เี ข้าร่วมโครงการฯ พนักงานท่ี พนกั งาน ไม่ดืม่ ท่ดี มื่ 60% 40% เพศชาย เพศหญิง 40% 12%
44 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ ประเทศไทย ไวว้ า่ เพศชายจะมีสดั สว่ นของการดม่ื มากกว่า อบุ ตั เิ หตอุ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรอื ทกุ ประเดน็ ) จ�ำ นวน 136 แหง่ เพศหญงิ 4.6 เท่า) พบวา่ สถานประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการสว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 88.2) เห็นความสำ�คัญของการสร้างเสริมสุขภาพในสถาน 3.5 เหตผุ ลในการพัฒนาหน่วยงานให้เปน็ สถานประกอบ ประกอบการ ในขณะทส่ี ถานประกอบการสว่ นหนง่ึ (รอ้ ยละ การปลอดเหล้า 55) ใหค้ วามส�ำ คัญกับการปฏิบัตติ ามกฎหมาย และรอ้ ยละ 31.6ตอ้ งการพฒั นาการด�ำ เนนิ งานของบรษิ ทั โดยเฉพาะดา้ น จากการสอบถามและรวบรวมข้อมูลของสถานประกอบ สวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน หรอื ดา้ นความปลอดภัยใน การที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอดบุหร่ี การท�ำ งาน ใหไ้ ดม้ าตรฐานเทยี บเทา่ ระดบั ประเทศหรอื ระดบั เหลา้ และอุบตั ิเหตุ ที่จดั โดยแผนงานสง่ เสริมการขยายฐาน สากล และเห็นว่าการสร้างเสริมสุขภาพของพนักงานจะ การปอ้ งกนั ปจั จยั เสย่ี ง: บหุ ร่ี เหลา้ อบุ ตั เิ หตใุ นสถานประกอบการ สอดคล้องกับการส่งเสริมความปลอดภัยในการทำ�งาน เกี่ยวกับสาเหตุและแรงจูงใจท่ีทำ�ให้สถานประกอบการ รวมทั้งเป็นเร่ืองเดียวกับการส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครอง เหลา่ น้ี เขา้ รว่ มโครงการพฒั นาสถานประกอบการสรา้ งเสรมิ แรงงานหรอื เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการขับเคลอื่ นHappyWork- สขุ ภาพ (ควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ เชน่ บหุ รี่ เหล้า และ place ในขณะมสี ถานประกอบการร้อยละ 13.2 ทเี่ ขา้ มา เหตผุ ลในการเขา้ ร่วมโครงการพัฒนาสถานประกอบการปลอด บหุ รี่ เหล้า อบุ ัติเหตุ ลดภาระคา่ ใช้จ่ายดา้ นคา่ รกั ษาพยาบาลพนักงาน 13.2 ค่าประกันชวี ิต ประกนั อัคคภี ัย ตอ้ งการพัฒนาบรษิ ัทใหไ้ ดร้ ะดบั มาตรฐาน 31.6 ตอ้ งการทำ�ตามกฎหมาย เชน่ กฎหมายเกยี่ วกบั 55.8 การคมุ้ ครองสุขภาพจากควันบหุ ร่ี เหน็ ความสำ�คญั ของการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 88.2 ในสถานประกอบการ 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ทำ�งานด้านนี้เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านค่ารักษาพยาบาลของ เหตผุ ลของการเข้ารว่ มโครงการฯ ได้ดังต่อไปน้ี พนักงาน • โครงการนี้ มีความสอดคล้องกับนโยบายของสถาน ประกอบการ ทต่ี อ้ งการสรา้ งเครอื ขา่ ยกจิ กรรมทางสงั คม ของสถานประกอบการอยแู่ ล้ว นอกจากน้ี ในการถอดบทเรียนสถานประกอบการทีม่ ีการ • ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเครือข่ายเพื่อ ควบคมุ การบริโภคเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ทั้งกลมุ่ ทมี่ ีการ นำ�แนวความคิดไปปรับใช้ในสถานประกอบการของ ขับเคลอื่ นอย่างเปน็ ระบบ หรือทำ�ในระดับกา้ วหนา้ และ ตนและต้องการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน กลมุ่ ท่ีทำ�ในระดบั พ้นื ฐาน ถงึ เหตผุ ลในการเข้าร่วมโครงการ ภายนอกที่เกี่ยวขอ้ ง หรือท�ำ การควบคุมการด่มื เหลา้ ของพนักงาน สามารถสรปุ
45 • ตอ้ งการจัดท�ำ กิจกรรม / โครงการ ส�ำ หรับสง่ เสรมิ สุข ครอบครัว มาตรฐานความปลอดภัยทางอตุ สาหกรรม และ ภาพของพนกั งาน ทง้ั น้ี ในการจัดกิจกรรม ใช้รปู แบบ สวสั ดกิ ารแรงงาน ซง่ึ ถกู ก�ำ หนดเปน็ นโยบายทางดา้ นแรงงาน บรู ณาการทกุ ประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เชน่ เหลา้ ของสถานประกอบการ รวมทง้ั ความต้องการในการปฏิบตั ิ บุหรี่ ตามกฎหมายของผู้บริหาร และเหตุผลอื่นๆ ทำ�ให้สถาน • เพ่ือเป็นช่องทางในการจัดทำ�และสะท้อนข้อมูลเกี่ยว ประกอบการจำ�นวน 253 แห่ง หันมาพัฒนาให้สถาน กับพนักงานเสนอต่อผู้บรหิ าร เกย่ี วกบั สถานการณก์ าร ประกอบการตนเอง เป็นสถานประกอบการปลอดเหล้า เกิดอบุ ัติเหตขุ องพนักงานที่ดมื่ เหลา้ ภายใต้การดแู ล แนะนำ� สง่ เสรมิ และสนบั สนุนของแผนงาน • โดยสถานประกอบการเหลา่ น้ี มกี ารรบั รหู้ รอื รจู้ กั โครงการ ส่งเสริมการขยายฐานการป้องกันปัจจัยเสีย่ ง: บุหรี่ เหลา้ พฒั นาสถานประกอบการปลอดบหุ ร่ี เหล้า อุบตั เิ หตุ อบุ ตั เิ หตใุ นสถานประกอบการ ด�ำ เนนิ งานโดยสมาคมพฒั นา ผา่ นทางช่องทางตา่ งๆ ดังนี้ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และหน่วยงานที่เป็นจุดจัดการด้าน • โครงการน้ีไดถ้ ูกเปดิ ตัวใหร้ ูจ้ กั ใน event และทราบจาก สุขภาพและด้านแรงงาน (เช่น โรงพยาบาล สำ�นักงาน Web site ของแผนงานฯ สาธารณสุขจังหวัด สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด • ฝ่ายบุคลากรหรอื ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ Happy Work- ศูนย์ความปลอดภัยแรงงาน สมัชชาสุขภาพประจำ�จังหวัด place ของสถานประกอบการ มีโอกาสไดไ้ ปออกบูท และอื่นๆ) และสนับสนุนโดยสำ�นักงานกองทุนสนับสนุน และชมงานนทิ รรศการ เกย่ี วกบั สขุ ภาพของพนกั งานใน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) โดยสถานประกอบการเหลา่ น้ี สถานประกอบการ โดยมี สสส. เปน็ หนว่ ยงานสนับสนุน ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพ จังหวัดใกล้เคียง และใน หลัก และได้ลงทะเบยี นเพื่อเข้าร่วมโครงการไว้ ภมู ภิ าคตา่ งๆ และมกี ารประกอบกจิ การตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย • แผนงานฯ ส่งข้อมูลเกี่ยวกับโครงการนี้ ไปยังสถาน รวมทั้งมีขนาดทแ่ี ตกตา่ งกนั ต้งั แต่มพี นกั งานนอ้ ยกวา่ 100 ประกอบการ เพื่อประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้เข้าร่วม คน ถงึ มากกวา่ 3,000 คน ในขณะทคี่ วามชุกของการ โครงการ ซึ่งสถานประกอบการก็มีปัญหาเกี่ยวกับ ดม่ื เหลา้ ของพนักงานในสถานประกอบการเหลา่ นี้ เท่ากบั พฤติกรรมการดมื่ ของพนักงานอยู่แลว้ จงึ มคี วามสนใจ รอ้ ยละ 40 และมจี �ำ นวนพนักงานเพศชายท่ดี มื่ เหลา้ มาก เข้าร่วม กว่าพนกั งานเพศหญงิ ที่ 2.4 เท่า 3.6 สรปุ ในการดำ�เนินงานเพ่ือให้เป็นสถานประกอบการปลอดเหล้า นั้น สถานประกอบการเหล่านีส้ ามารถเลอื กที่จะดำ�เนนิ การ สถานประกอบการเป็นพ้ืนท่ีที่คนจำ�นวนมากมาอยู่ร่วมกัน ตามความพรอ้ มและศกั ยภาพของตนเอง ด้วยการควบคุม ในช่วงเวลาหนึ่งภายใต้บทบาท หน้าท่ี และระเบียบที่ถูก การบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่เน้นการห้ามดื่มใน ก�ำ หนดโดยระบบของสถานประกอบการน้ันๆ การบริโภค ที่ทำ�งาน และจดั กิจกรรมให้ความรกู้ ับพนกั งาน (ทำ�ขั้นพ้ืน เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของคนทำ�งานในสถานประกอบการ ฐาน) ไปจนถงึ การควบคุมอยา่ งเปน็ ระบบ เป็นขัน้ เป็นตอน จงึ มกั เกิดขึ้นนอกเวลาทำ�งาน ในพ้ืนที่ตา่ งกันออกไป โดย เนน้ ท่ีการมีเป้าหมาย มีนโยบาย มคี ณะท�ำ งาน และมแี ผน ส่วนใหญ่ด่ืมในบ้านพกั อาศัยของตนเองหรอื ของผอู้ น่ื (รวม ปฏิบัติการทชี่ ดั เจน (ทำ�แบบก้าวหนา้ ) เพอ่ื นำ�ไปส่กู ารจดั ทง้ั ในทีพ่ ักอาศยั เช่น หอพัก บา้ นพกั ทจ่ี ัดใหโ้ ดยหน่วย กจิ กรรมหรอื โครงการตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง น�ำ ไปสู่ความ งานและอยใู่ นพนื้ ทข่ี องหน่วยงาน) ถงึ แมป้ จั จบุ ัน ยังไม่มี สำ�เร็จของการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การประเมินผลกระทบเชิงปริมาณของการมีพนักงานดื่ม และสามารถลดปัญหาจากการที่มีพนักงานดื่มเครื่องดื่ม สรุ าให้เหน็ ได้อยา่ งชดั เจน การเจบ็ ป่วย ขาดงาน ลา การ แอลกอฮอล์ในทีส่ ุด มาสาย และความรุนแรงต่างๆ ที่เกิดขึ้นต่อเพื่อนร่วมงาน
ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ 46 บทที่ ทสำ�ถอายน่าปงไรประลจกองึ อดจบเะหกเปลา็นรา้ ดว้ ยความเช่อื ค่านยิ ม ที่มตี อ่ การด่ืมเหลา้ หรอื สุราของคน ไทยส่วนหนง่ึ อกี ทง้ั ฤทธ์ขิ องแอลกอฮอลท์ ่ีมผี ลต่อสมองของ ผดู้ ม่ื จนท�ำ ใหเ้ กดิ การเสพตดิ ทง้ั ทางกายและใจ ท�ำ ใหก้ ารพฒั นา สถานประกอบการปลอดเหลา้ 1 ใหเ้ กดิ ข้นึ อย่างเปน็ รูปธรรม ไม่สามารถทำ�ได้ด้วยเพียงแค่กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งท่ีจัด เป็นคร้ังคราวตามกระแส หากแต่ทวา่ จะตอ้ งอาศัยการทำ�งาน ทม่ี แี นวทางทช่ี ดั เจน บนพน้ื ฐานของการมขี อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งและ ทนั สมยั เกย่ี วกบั สถานการณแ์ ละพฤตกิ รรมการดม่ื ของพนกั งาน ทีมงานหรือคณะทำ�งานที่รับผิดชอบในการขับเคล่ือนสถาน ประกอบการปลอดเหล้า มคี วามเข้าใจในพฤตกิ รรมการดืม่ 1 ในท่ีนีห้ มายถงึ สถานประกอบการทม่ี กี าร ดำ�เนินงานด้านลดและป้องกันปัญหาที่เกิด เหลา้ ของพนักงาน รูป้ ญั หาและสาเหตุ ทจ่ี ะทำ�ใหส้ ามารถ จากการบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของ กำ�หนดกลไก มาตรการ กจิ กรรม และรูปแบบการขับเคลอ่ื น พนกั งานดว้ ยการออกมาตรการ ระเบียบ หรอื อย่างเปน็ ระบบ เปน็ ขนั้ เป็นตอน และทีส่ ำ�คัญตอ้ งท�ำ อย่าง ด�ำ เนินการด้านต่างๆ จนสามารถท�ำ ให้พ้นื ท่ี ตอ่ เนอ่ื ง มกี ารติดตามความกา้ วหนา้ หรือการเปล่ียนแปลงที่ ในสถานประกอบการท้ังหมดปลอดการด่ืม เกดิ ขนึ้ พร้อมท้ังปรับปรุงกิจกรรมหรือแนวทางการท�ำ งาน เหล้าโดยสน้ิ เชงิ ในทุกช่วงเวลา รวมทงั้ มีการ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และพฤติกรรมการด่ืมของ ช่วยพนกั งานท่ีตดิ เหลา้ (พนกั งานที่ต้องใช้ พนกั งานในแตล่ ะช่วงเวลาอยา่ งเหมาะสม ไมต่ ่างจากการ แอลกอฮอลเ์ ปน็ ประจำ� และไมส่ ามารถมีชีวิต ขบั เคล่ือนงานด้านการสรา้ งเสริมสขุ ภาพประเดน็ อื่นๆ ทห่ี วังผล ปกติไดโ้ ดยขาดแอลกอฮอล)์ ให้เลกิ เหล้า เพอ่ื ใหพ้ นักงานมพี ฤตกิ รรมเสยี่ งลดลง หรือคุ้มครองสุขภาพของ น�ำ ไปสู่การลดจำ�นวนพนักงานทดี่ ื่มเหลา้ (ทัง้ พนกั งานในทุกมิติ ดม่ื เปน็ ประจ�ำ หรอื ครง้ั คราว) หรอื ลดความชกุ ของพนักงานท่ีดืม่ ลง
47 ด้วยลักษณะของปัญหาและข้อเท็จจรงิ ดงั กล่าว ท�ำ ให้ถงึ แม้ ทงั้ นี้ การน�ำ เสนอสาระในบทน้ี เริม่ จากการสรา้ งความเข้าใจ จะมีสถานประกอบการหลายแห่งที่ต้องการคุ้มครอง ของคณะทำ�งานสถานประกอบการปลอดเหลา้ หรือผอู้ ่าน สุขภาพของพนักงานด้วยการป้องกันและควบคุมพฤติกรรม ต่อกรอบแนวคิดของการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาสถาน เส่ียงทางสขุ ภาพของพนกั งาน และสนใจทีจ่ ะพฒั นาสถาน ประกอบการปลอดเหล้า ทจ่ี ะน�ำ ไปส่กู ารสรา้ งภาวะปลอด ประกอบการตนเองให้เป็นสถานประกอบการปลอดเหล้า เหลา้ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสถานประกอบการอยา่ งแทจ้ รงิ (หวั ขอ้ 4.1) แตด่ ว้ ยภาระตา่ งๆ ทง้ั ทางดา้ นการผลติ และการแขง่ ขนั ทางดา้ น จากนั้นนำ�เสนอสาระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานด้านการ การคา้ ขอ้ จ�ำ กดั ในเชงิ นโยบายของบรษิ ทั เอง สถานประกอบการ ควบคุมการด่ืมเหล้าของพนักงานอย่างเป็นระบบในแต่ละ หลายแห่ง (ทีม่ ีความต้องการช่วยเหลอื พนกั งานให้สามารถ ขน้ั ตอน (หัวข้อ 4.2) และบทสรุปในช่วงสุดท้าย (หัวข้อ 4.3) ปรบั เปล่ยี นหรือลดพฤติกรรมเสี่ยงทางสขุ ภาพ) แมจ้ ะไดม้ ี การลงมือจัดทำ�กิจกรรมไปบ้างแล้ว กย็ ังไมส่ ามารถควบคมุ 4.1 แนวคิดในการพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหลา้ การดม่ื เหล้าของพนกั งานไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม โดยเฉพาะ การดม่ื นอกเวลางาน หรอื ในงานบญุ งานเลย้ี งตา่ งๆ ของบรษิ ทั ตามท่ไี ดก้ ล่าวแล้วว่า การดม่ื เหล้าของพนกั งานในสถาน รวมทั้งไม่สามารถป้องกันและลดปัญหาท่ีเกิดจากการด่ืม ประกอบการ มกั เกิดขึ้นในชว่ งนอกเวลางาน ดังน้ันหาก ของพนกั งานได้สำ�เร็จ รวมถงึ ไมส่ ามารถช่วยให้พนักงานที่ สถานประกอบการต้องการควบคุมการด่ืมเหล้าของ ดม่ื เปน็ ประจ�ำ จนถงึ ขน้ั ตดิ เหลา้ ใหเ้ ลกิ ดม่ื หรอื ลดการดม่ื เหลา้ พนกั งาน ในระดบั ท่ที ำ�ใหส้ ามารถป้องกันอันตรายหรอื ผล ลงได้ ในขณะท่ีมีสถานประกอบการบางสว่ น ยังไม่มีการ เสียอันเนอื่ งมาจากการใช้สุราไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม จะมไิ ด้ ด�ำ เนนิ งานดา้ นน้ี เพราะไมร่ วู้ า่ จะตอ้ งเรม่ิ ตน้ อยา่ งไร ท�ำ กจิ กรรม จ�ำ กดั อยเู่ ฉพาะการควบคมุ การดม่ื ในเวลาท�ำ งาน แตห่ มายถงึ อะไรบา้ ง และท�ำ กจิ กรรมไหนกอ่ น-หลงั และสถานประกอบการ การควบคุมการด่ืมของพนักงานในทุกพื้นท่ีทุกเวลาที่ทำ�ให้ อีกเป็นจำ�นวนมากก็ยังไม่ให้ความสำ�คัญต่อการทำ�งานด้านน้ี เกิดผลกระทบต่อพนักงาน ทงั้ ในมิตสิ ุขภาพ อุบัตเิ หตุ และ ท�ำ ใหโ้ ดยทว่ั ไปแลว้ สถานการณก์ ารบรโิ ภคเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ ศกั ยภาพในการท�ำ งาน ในขณะทก่ี ารควบคมุ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว ของพนกั งานในสถานประกอบการ ไม่เปลี่ยนแปลงจากช่วง เป็นเรอ่ื งทไ่ี มส่ ามารถกระทำ�ได้โดยง่าย เนอ่ื งจากในสถาน เวลากอ่ นหนา้ ความชกุ ของพนกั งานทด่ี ม่ื ยงั คงไมล่ ดลง (บทท่ี 2 ประกอบการหนง่ึ ๆ มพี นกั งานทม่ี พี ฤตกิ รรมการดม่ื ทส่ี ามารถ และ 3) ในขณะทีก่ ารเกิดอบุ ัตเิ หตใุ นท่ีท�ำ งาน การขาดงาน แบง่ ออกเปน็ กลมุ่ ๆ ตง้ั แตก่ ลมุ่ ทไ่ี มด่ ม่ื กลมุ่ ทด่ี ม่ื นอ้ ยและไมม่ ี หรอื การมาสาย การท�ำ งานได้ไม่เตม็ ศกั ยภาพ หลายกรณี ผลกระทบตอ่ งานหรอื ชวี ติ ส่วนตัว กลมุ่ ทดี่ ืม่ และไดร้ ับผล ยังมีสาเหตุมาจากการท่ีพนักงานมีสภาพร่างกายไม่สมบูรณ์ กระทบจากการดม่ื กลมุ่ ทด่ี ม่ื จนตดิ ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ มคี วามเชอ่ื จากการดม่ื เหล้าในชว่ งเวลากอ่ นหนา้ ดังน้ัน ในบทที่ 4 ท�ำ และมคี ่านยิ มในเรอ่ื งของการดำ�เนนิ ชวี ติ ท่แี ตกตา่ งกัน การ อยา่ งไรจึงจะเปน็ สถานประกอบการปลอดเหล้า ในหนังสือ ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม จงึ ต้องอาศยั การขดั เกลาทางความคิด ถอดรหัสสถานประกอบการปลอดเหล้า จึงนำ�เสนอสาระ สร้างเจตคติใหม่ ลงมอื ปฏิบัติจนสามารถน�ำ ไปสู่การเปลี่ยน เกี่ยวกับ กรอบแนวคิด และกระบวนการการพัฒนาสถาน แปลงได้ ซ่งึ เป็นเร่อื งที่ต้องอาศยั กลไกขบั เคลื่อนอย่างเปน็ ประกอบการปลอดเหล้าอยา่ งเปน็ ระบบ ท้งั น้ี เปน็ แนวคิด กระบวนการ ใช้เวลา และท�ำ อย่างต่อเน่อื ง อกี ทงั้ ภาวะการ และแนวปฏิบัตทิ ไ่ี ดม้ ีการนำ�ไปปฏิบัตอิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมแลว้ ติดสุรายังเกิดจากฤทธ์ิของแอลกอฮอล์ที่มีผลต่อการทำ�งาน โดยสถานประกอบการ 253 แห่ง ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการพัฒนา ของสมองสว่ นควบคุมความพอใจ จนสมองเสยี สมดลุ ของ สถานประกอบการปลอดบุหรี่ เหลา้ อุบตั ิเหตุ ของแผนงาน การท�ำ งานแบบปกติไป การควบคุมและดูแลพนักงานกล่มุ น้ี ส่งเสริมการขยายฐานการป้องกันปัจจัยเสี่ยง: บุหรี่ เหล้า ย่งิ จ�ำ เปน็ ตอ้ งทำ�อยา่ งเปน็ ระบบ ต้ังแต่การคดั กรอง การตรวจ อบุ ัติเหตใุ นสถานประกอบการ และได้มีการด�ำ เนนิ งานด้าน สมรรถนะทางรา่ งกาย การบ�ำ บดั ดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ จนถงึ ระยะ การลด และควบคุมการบริโภคเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์หรือ การปรบั ตวั สูส่ ังคม (เทอดศกั ดิ์ เดชคง, 2553) การดืม่ เหลา้ ของพนกั งานมาไดร้ ะยะเวลาหนงึ่
48 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ จากสถานการณ์และพฤติกรรมการด่ืมสุราของพนักงานใน ตกลงในการจดั งานเลี้ยงปลอดเหล้า งานบญุ ปลอดเหลา้ สถานประกอบการ ฤทธิ์ของแอลกอฮอลท์ มี ตี ่อผู้ที่ด่มื และ ข้อตกลงในการห้ามด่ืมเหล้าในบ้านพักหรือหอพักท่ีอยู่ ปัจจัยท่ีเกย่ี วกับสถานประกอบการเอง เช่น ภาวะการผลติ ในอาณาเขตของโรงงาน ไปจนถงึ การจัดกจิ กรรมรณรงคใ์ ห้ การแขง่ ขันทางดา้ นการค้า การยกระดับการดำ�เนนิ งานด้าน ความรหู้ รอื สรา้ งแรงจงู ใจในการลด-ละ-เลกิ เปน็ ระยะๆ รวมท้งั ต่างๆ ให้ไดต้ ามมาตรฐานสากล (มาตรฐาน ISO 26000, การร่วมกันกำ�หนดแนวทางในการช่วยเหลือพนักงานท่ีติด มาตรฐานแรงงานไทย มาตรฐานความปลอดภยั ในการท�ำ งาน สุรา ให้สามารถหยดุ ด่มื ได้ส�ำ เร็จ โดยมีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ฯลฯ) ในขณะทีก่ ารพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหล้าใน ระดบั ที่ท�ำ ใหส้ ามารถคุ้มครองสขุ ภาพของพนกั งานได้ และ การมีส่วนร่วมของเจ้าของและ/หรอื ผูบ้ รหิ าร ลดปัญหาตา่ งๆ ที่เกิดจากการทพ่ี นักงานดมื่ สุราได้อย่างเป็น สถานประกอบการ รูปธรรมจะต้องทำ�หรือขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในระดับพฤติกรรม ทขี่ ึ้นอยู่กบั สถานการณ์ต่างๆ ทม่ี กี าร เจ้าของและ/หรอื ผบู้ รหิ ารสถานประกอบการ เปน็ ผูท้ ี่มีความ เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา (Dynamics) ไมว่ า่ จะเปน็ พฤตกิ รรม สำ�คัญอย่างมากต่อการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาสถาน ของพนกั งาน ทง้ั ทด่ี ม่ื และไมด่ ม่ื หรอื ตดิ หรอื ไมต่ ดิ เหลา้ ท�ำ ให้ ประกอบการปลอดเหลา้ เนื่องจากเป็นผทู้ ่กี ำ�หนดนโยบาย การควบคุมการดมื่ เหล้าของพนกั งาน ภายใต้โครงการพัฒนา เปน็ ผ้ตู ัดสนิ ใจในการเขา้ ร่วมโครงการ และเป็นผู้ท่ีสามารถ สถานประกอบการปลอดเหล้า มีการดำ�เนนิ งานบนพ้นื ฐาน สนบั สนุน และสง่ เสริมท้งั ทางดา้ นก�ำ ลงั คน งบประมาณ ความคดิ ท่ีว่า หากสถานประกอบการใดหวังผลให้เกดิ ภาวะ เครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ เพ่ือให้สถานประกอบการสามารถควบคมุ ปลอดเหลา้ ในทท่ี �ำ งานได้ 100% อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและยง่ั ยนื การด่ืมเหล้าของพนักงานได้อย่างต่อเน่ืองจนเกิดผลสำ�เร็จ จำ�เป็นต้องมีการดำ�เนินการด้านการควบคุมการด่ืมสุราโดย ในการถอดบทเรยี นคณะทำ�งาน ที่ได้รับมอบหมายใหค้ วบคมุ ยดึ หลักการ ดงั ตอ่ ไปนี้ ดูแลและลดปัญหาการดื่มเหล้าของพนักงานในสถาน ประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการพัฒนาสถานประกอบการ การทำ�แบบมีส่วนร่วม ปลอดเหลา้ ทด่ี �ำ เนนิ งานโดยสมาคมพฒั นาครุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ต่างยืนยันถึงความสำ�คัญของผู้บริหารที่มีต่อการขับเคลื่อน รหัสสำ�คัญท่ีจะทำ�ให้การพัฒนาสถานประกอบการปลอด ภาวะปลอดเหล้าในท่ีท�ำ งาน โดยมองวา่ การที่ตนและทมี เหลา้ เกิดผลส�ำ เรจ็ ได้ คือ การสรา้ งความต้องการและการมี งานสามารถข้ามารว่ มผลกั ดันงานทางดา้ นนไี้ ด้ เนอ่ื งจากมี ส่วนร่วมในการพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหล้าให้เกิดข้ึน ผู้บริหารที่ให้ความสำ�คัญกับเร่ืองคุณภาพชีวิตของพนักงาน มากน้อยแตกต่างกันไปตามบทบาทหน้าที่ของพนักงาน ท่ีเช่ือว่าสุขภาพของพนักงานเป็นเร่ืองสำ�คัญต่อผลประกอบ แตล่ ะคน โดยเฉพาะการมสี ่วนร่วมของผบู้ ริหารและคณะ การของบรษิ ัท และบรษิ ทั มีหน้าท่ีทจ่ี ะต้องดูแลให้พนกั งาน ทำ�งานที่ถูกมอบหมายให้ดูแลควบคุมปัญหาจากการด่ืม มสี ขุ ภาพท่ดี ี ทำ�ใหส้ นบั สนนุ การทำ�งานดา้ นน้ีอยา่ งเต็มที่ เหลา้ ของพนักงาน ซง่ึ อาจเปน็ พนกั งานจากฝา่ ยบรหิ ารงาน โดยเฉพาะหากสามารถทำ�ให้ผู้บริหารเข้าใจในกรอบความ บุคคล ฝ่ายพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ฝา่ ยอาชีวอนามัยและ คิดของการดำ�เนินงาน รู้กระบวนการ ขั้นตอน และขอบเขต ความปลอดภัยในการท�ำ งาน หรอื สหภาพแรงงาน ที่จะต้อง ของการด�ำ เนนิ งานอย่างถ่องแท้ และผลกั ดัน/สนบั สนนุ งาน ร่วมกันทำ�งานทุกด้านในการควบคุมการด่ืมเหล้าของ ดา้ นนด้ี ว้ ยความเตม็ ใจ จดั ใหม้ กี ารจดั ตง้ั คณะท�ำ งานรบั ผดิ ชอบ พนกั งาน ตง้ั แตก่ ารก�ำ หนดระเบยี บแนวปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ทเ่ี กย่ี วกบั อยา่ งชัดเจน มีการพฒั นาศักยภาพของคณะท�ำ งาน ดว้ ยการ การดื่มเหลา้ ของพนักงาน เชน่ การหา้ มดื่มในเวลางาน ข้อ อนุญาตให้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการควบคุม
49 ปัจจัยเส่ียงฯ ทจี่ ดั โดยหน่วยงานตา่ งๆ รวมทั้งสนับสนุนทง้ั ทมี่ ศี กั ยภาพ โดยมกี ระบวนการเรียนรูห้ รอื มคี วามเข้าใจใน งบประมาณและกำ�ลังคน และเปิดโอกาสใหพ้ นักงานมสี ่วน กลยทุ ธแ์ ละกจิ กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ มคี วามสามารถ รว่ มดว้ ยการรบั ฟังความคิดเหน็ และใหร้ ่วมดำ�เนินการในทุก ในการวางแผนและบรหิ ารโครงการ รวมทงั้ มที กั ษะในการ ขั้นตอน พร้อมทัง้ ชื่นชม และให้กำ�ลังใจในความรว่ มมอื และ จัดกิจกรรมเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของพนักงานได้อย่างมี สรา้ งบรรยากาศของการทำ�งานเป็นทีม กจ็ ะมโี อกาสพัฒนา ประสทิ ธภิ าพ และทส่ี �ำ คญั มที กั ษะในการเกบ็ ขอ้ มลู ทางดา้ น เป็นสถานประกอบการปลอดเหลา้ ได้อยา่ งแท้จริง สขุ ภาพของพนกั งานอยา่ งเป็นระบบ การมีส่วนรว่ มของคณะทำ�งาน อยา่ งไรกต็ าม ในความเปน็ จรงิ ของสถานประกอบการสว่ นใหญ่ มักพบวา่ การขับเคล่อื นงานด้านการสง่ เสรมิ สขุ ภาพหรือ คณะทำ�งานที่ทำ�หน้าที่ควบคุมและลดปัญหาการด่ืมเหล้า สวัสดิการแรงงาน มักเป็นหน้าที่ของพนักงานฝ่ายบริหาร ของพนกั งาน มีบทบาทสำ�คัญอย่างยิ่งท่ีจะทำ�ใหน้ โยบาย ทรัพยากรบุคคล หรอื เจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั ในการท�ำ งาน สถานประกอบการปลอดเหลา้ ถกู ขบั เคลอ่ื นหรอื น�ำ มาปฏบิ ตั ิ ท่ีมภี าระหน้าทปี่ ระจ�ำ หรอื รบั ผิดชอบงานอน่ื ๆ อยู่แลว้ ท�ำ ให้ อยา่ งเปน็ รูปธรรม อยา่ งไรกต็ าม เนือ่ งจากการขับเคลือ่ น ดูเหมือนวา่ การท�ำ งานด้านนเ้ี ปน็ การเพ่มิ ภาระของตนเอง สถานประกอบการปลอดเหล้า ประกอบด้วยการด�ำ เนินการ และไม่อยากท�ำ อกี ทงั้ ผบู้ รหิ ารเองก็ไมใ่ หค้ วามสำ�คัญต่อการ ดา้ นตา่ งๆ ทง้ั ในสว่ นของการออกมาตรการหรอื ระเบยี บปฏบิ ตั ิ ควบคุมการดม่ื เหลา้ ของพนกั งาน และไมม่ ีนโยบายควบคุม เพือ่ ควบคมุ การด่ืมของพนักงาน การให้ความรแู้ กพ่ นักงาน การดมื่ เหล้าของพนกั งานที่ชดั เจน หรอื มีเพยี งนโยบายใน อย่างต่อเน่ืองสม่�ำ เสมอ รวมทงั้ การชว่ ยเหลอื พนักงานที่ดม่ื กระดาษทไ่ี มเ่ คยถกู น�ำ มาปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ รปู ธรรม และผบู้ รหิ าร ใหห้ ยุดหรอื เลกิ ดื่ม การดำ�เนินงานเหล่าน้ี ตอ้ งอาศยั การมี ก็ไม่ได้สนใจทจี่ ะติดตามผล จงึ เป็นทค่ี าดการณ์ไดว้ า่ การลด สว่ นรว่ มหรอื การท�ำ งานเปน็ ทีมของคณะทำ�งานฯ ในการ ปัญหาจากการด่ืมเหล้าของพนักงานในสถานประกอบการ ผลักดนั ใหเ้ กิดข้ึน เริ่มจากการส�ำ รวจขอ้ มูลการดืม่ เหลา้ ของ เหลา่ น้ี ไมส่ ามารถเกดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมได้ ในทางกลบั กนั พนกั งาน การน�ำ ขอ้ มลู มาใชใ้ นการจดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ หากเจา้ ของและ/หรือผู้บรหิ ารสถานประกอบการ ใหค้ วาม และลดปญั หาการด่ืมเหลา้ หรอื วางแผนจัดกจิ กรรมต่างๆ ให้ สำ�คญั กบั นโยบายสถานประกอบการปลอดเหลา้ ดว้ ยการ เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั พฤตกิ รรมการดม่ื ของพนกั งานในแตล่ ะ คัดเลือกคณะท�ำ งานฯ อย่างเหมาะสม กำ�หนดเป้าหมายที่ ชว่ งเวลา การปฏิบัติการดว้ ยการจดั กิจกรรมตามที่กำ�หนดไว้ ชัดเจน ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการท�ำ งานอยา่ งจริงจงั และ ในแผนฯ ตลอดจนร่วมกนั เก็บรวมรวมขอ้ มูลเพื่อตดิ ตามการ ให้รางวัลตามความเหมาะสม อกี ทงั้ คณะทำ�งานฯ กม็ ีความ เปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ และน�ำ มาปรบั ปรงุ แนวทางการท�ำ งาน เข้าใจและเห็นประโยชน์จากการทำ�งานด้านนี้ และลงมือ ส�ำ หรับชว่ งเวลาตอ่ ไป ดำ�เนนิ การตามข้ันตอนอย่างแขง็ ขัน ในกรณนี ี้ การควบคมุ ดูแลและลดปัญหาจากการดื่มเหล้าของพนักงานก็สามารถ ซึ่งเปน็ ทช่ี ัดเจนวา่ การดำ�เนนิ งานของคณะท�ำ งานฯ จะมี พบกับความสำ�เร็จได้อย่างแนน่ อน หรอื ถงึ แมผ้ ู้บรหิ ารจะไม่ ประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล จนน�ำ ไปสกู่ ารลดปัญหา ให้ความสนใจอย่างแท้จริง (สนับสนุนเชิงนโยบาย แต่ไม่ ทเ่ี กดิ จากการดม่ื สรุ าของพนกั งานไดส้ �ำ เรจ็ หากคณะท�ำ งานฯ สนบั สนุนเชิงการจัดการ) แต่หากคณะท�ำ งานฯ มีความตง้ั ใจ ทกุ คน มคี วามตระหนักถงึ ความส�ำ คญั และความจ�ำ เปน็ ของ ในการด�ำ เนินการ เชือ่ ไดว้ ่า การควบคมุ การดืม่ เหลา้ ของ การท�ำ งานด้านน้ี และมเี ป้าหมายเดยี วกนั รวมทงั้ มีแนวทาง พนักงานในสถานประกอบการท่มี ีสถานการณแ์ บบน้ี กย็ งั การด�ำ เนนิ งานไปในทศิ ทางเดยี วกนั อกี ทง้ั ยงั เปน็ คณะท�ำ งานฯ
50 ถอดรหสั สถานประกอบการปลอดเหลา้ สามารถประสบความส�ำ เรจ็ ได้ในระดับหนง่ึ เชน่ อย่างน้อย การทำ�ให้ครบวงจรหรือครบทุกดา้ นเป็นองค์รวม ท�ำ ให้การประกอบกจิ การของสถานประกอบการ ไม่มีสว่ น หนง่ึ ส่วนใดข้องเก่ยี วกับเหลา้ หรือเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอล์ สถานประกอบการหน่ึงๆ มพี นักงานทมี่ พี ฤติกรรมในการ ด่มื เหลา้ ที่แตกต่างกันออกไป ตั้งแตพ่ นกั งานกลุม่ ทไ่ี มด่ ่ืม การมสี ว่ นรว่ มของพนกั งาน พนกั งานทดี่ ่ืมบางโอกาส พนกั งานที่ด่มื เป็นประจ�ำ และ พนักงานทีด่ ื่มจนถงึ ขนั้ ตดิ เหล้า โดยมสี าเหตขุ องการด่มื พนักงานเป็นตัวแปรสำ�คัญของความสำ�เร็จในการพัฒนา ที่แตกตา่ งกันออกไป เช่น ดืม่ เพราะความเครยี ดจากการ ทกุ ๆ ดา้ นของสถานประกอบการ เพราะเปน็ กลมุ่ คนสว่ นใหญ่ ท�ำ งาน ลักษณะของงาน วฒั นธรรมของกลมุ่ หรอื องค์กร ในขณะที่การพัฒนาสถานประกอบการปลอดเหล้า ความเครียดจากปัญหาอ่นื ๆ ดม่ื เพอื่ เข้าสงั คม หรอื แม้ พนักงานเป็นกลุ่มเป้าหมายของการดำ�เนินงานด้านการ กระทั่งดืม่ เพราะหาด่มื ได้ง่าย ฯลฯ การควบคุมดูแลเพือ่ ลด ควบคุมและลดปัญหาจากการดื่มเหล้า ดังนั้น ในการจัด ปัญหาจากการด่ืมเหล้าของพนักงานจึงต้องนำ�เอาลักษณะ กิจกรรมตา่ งๆ เพอ่ื หวงั ผลให้เกิดความเข้าใจ จนถึงข้ันปรับ หรือปจั จัยเหตดุ งั กล่าวข้างตน้ มาพจิ ารณา และก�ำ หนดเป็น เปลย่ี นพฤตกิ รรม จงึ ตอ้ งการการมสี ว่ นรว่ มของพนกั งานมาก มาตรการหรือแผนการจัดกิจกรรมท่ีจะสามารถควบคุม ทส่ี ดุ ซง่ึ สามารถท�ำ ไดโ้ ดยการเปดิ ใจ (ของผบู้ รหิ ารและคณะ พฤตกิ รรมที่เกดิ จากปญั หาและสาเหตตุ า่ งๆ ทมี่ อี ยไู่ ด้ โดย ท�ำ งาน) ในการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของพนกั งานทกุ ระดบั เพอ่ื ทว่ั ไปแล้ว การควบคมุ การดื่มเหลา้ ของพนกั งานเพ่อื ไม่ให้ หาแนวทางร่วมกันในการดำ�เนินงานเพื่อลดปัญหาจากการ เกิดผลกระทบหรอื ผลเสยี ด้านต่างๆ ตามมา อาจประกอบ ด่มื เหล้าของพนักงาน ซึง่ การรับฟงั ความคิดเหน็ นี้ สามารถ ดว้ ยการออกมาตรการหรอื ระเบยี บข้อปฏิบัติต่างๆ เพ่อื ทำ�ได้โดยการใช้แบบสำ�รวจในการสอบถามความคิดเห็น อย่างน้อยท่ีสุดไม่ให้มีการดื่มในพ้ืนท่ีของสถานประกอบการ ของพนกั งาน เกย่ี วกบั มาตรการควบคมุ การดม่ื เหลา้ ความคดิ (เช่น ดม่ื ในโอกาสงานบญุ งานเล้ยี งท่ีจัดโดยสถานประกอบ เหน็ เกย่ี วกบั การจดั งานเลย้ี งปลอดเหลา้ นอกจากน้ี การสรา้ ง การ หรอื การดมื่ ในหอพกั พนกั งาน) หรือดมื่ ในเวลางาน การมสี ว่ นรว่ มใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั พนกั งานยงั ท�ำ ได้ โดยการเผยแพร่ กลุ่มกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการให้ข้อมูลความรู้ด้านพิษภัยของ ความรู้เก่ียวกับกฎหมายควบคุมการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ การด่มื สรุ าทง้ั ต่อสขุ ภาพและเศรษฐกจิ ครวั เรอื น หรอื ความ หรือประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้าของการดำ�เนินงานด้าน รู้ด้านอื่นๆ อยา่ งตอ่ เน่อื ง และกลมุ่ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกบั การ การควบคุมการดืม่ เหล้าของหน่วยงาน เชน่ เผยแพรค่ วาม ใหค้ ำ�แนะนำ�ปรกึ ษา/บำ�บัดรักษาพนักงานทด่ี ืม่ จนตดิ รวม สำ�เร็จของพนักงานต้นแบบที่สามารถเลิกด่ืมได้สำ�เร็จ ทง้ั กิจกรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพอื่นๆ เพื่อเบย่ี งเบนความสนใจ ทอยงั้ น่าง้ี สกมาำ�่รเเสผมยอแพทรัง้ ่แกล่อะนปเรริม่ะชโคารสงัมกพานัรธกด์ ่องั นกลก่าาวรจัดจะกติจอ้กงรทรม�ำ ของพนกั งานออกจากการด่ืมเหลา้ โดยในการจดั กิจกรรม หรอื ก่อนออกมาตรการใหม่ๆ สง่ เสริมในแต่ละคร้ัง ควรมตี ัวชี้วัดทเ่ี หมาะสมในการตดิ ตาม ประเมนิ ผล ซึ่งหากสถานประกอบการสามารถจัดกิจกรรม ดงั กล่าวข้างตน้ ไดอ้ ย่างครบถ้วนและต่อเน่อื ง กจ็ ะมโี อกาส ในการพฒั นาเป็นสถานประกอบการปลอดเหล้าได้ส�ำ เรจ็
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214