Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” สพป.สกลนคร เขต 3 ประจำปี 2564

โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” สพป.สกลนคร เขต 3 ประจำปี 2564

Published by นายมนตรี นาคีย์, 2021-10-20 10:03:11

Description: โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” สพป.สกลนคร เขต 3 ประจำปี 2564 สื่อ/นวัตกรรมและวิธีการสอนภาษาไทย ที่ประสบผลสำเร็จ กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

Search

Read the Text Version

โครงการพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อา่ นออกเขยี นได้ทุกคน” สอ่ื /นวตั กรรม และวิธีการสอนภาษาไทย ที่ประสบผลสาเร็จ กลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา “สื่อ/นวัตกรรมและวิธีการสอนภาษาไทยที่ประสบผลสาเร็จ สาหรับครูสอนระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๑” จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ และยกระดับคุณภาพการจัดเรียนการสอนภาษาไทย สาหรับโรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ท่ีมีความหลากหลายของแต่ละ บริบทของสถานศึกษา และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนที่จาเป็นต้องอาศัยส่ือการเรียนรู้ และวธิ ีการสอนทีก่ ระตุ้นและสอดคล้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยได้รวบรวมรวบนวัตกรรมส่ือและ วิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่ประสบผลสาเร็จ ซ่ึงได้ทดลองใช้จากประสบการณ์จริง จนเกิดผลสาเร็จในการแก้ปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อครูและศึกษานิเทศก์และผู้ที่สนใจสามารถศึกษาและเลือกใช้ รูปแบบวิธีการสอนและส่ือการสอนท่ีหลากหลาย สามารถนาไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพปัญหา การอ่าน การเขียนของผู้เรียนที่มีความแตกต่างจากภาษาไทย และนาไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสภาพ บรบิ ทของผเู้ รียนในโรงเรยี น สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ขอขอบคุณผู้อานวยการ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาที่ส่งเสริม สนับสนุน และให้คาปรึกษาในการดาเนินงาน ตลอดจนขอขอบคุณ ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน และคณะทางานทุกท่าน ที่ให้ข้อเสนอแนะและผลงาน ประกอบการจัดทาหนังสือเล่มน้ี จนทาให้ประสบผลสาเร็จด้วยดีและหวังเป็นอย่างย่ิงว่าสานักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและโรงเรียนจะนาเทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอน และสื่อการสอนภาษาไทยท่ี ประสบผลสาเร็จไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการอ่านการเขียนโดยเฉพาะกลุ่มผู้เรียนท่ียังมีปัญหา อ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ ใหเ้ กิดการพฒั นาทกั ษะการฟงั – พูด – อา่ น – เขียน ใหส้ ามารถเรียนรู้ได้อย่าง เข้าใจและสามารถเรียนรตู้ ่อยอดในระดบั ท่ีสงู ข้นึ เพือ่ เป็นประชากรท่ดี ีมีความรขู้ องประเทศชาติต่อไป กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ ก

สารบัญ คำนำ ก สำรบญั ข บทนำ ๑ ความเปน็ มา ๑ วัตถปุ ระสงค์ ๒ ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั ๒ กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนภำษำไทย ๓ รปู แบบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนภำษำไทย ๖ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยที่มปี ระสิทธิผล ๑4 วิธกี ำรสอนและสือ่ กำรสอนทปี่ ระสบผลสำเร็จ 18 รูปแบบวธิ กี ารสอนและส่อื การสอน 1. เขียนสวย รวยภาษา : สกุลรตั น์ พูนดงั หวัง ครู โรงเรียนอนบุ าลวานรนิวาส (ราษฎรบ์ ารุง) 19-22 2. การอ่านออกเสยี งโดยการใช้นิทานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๑ : ประภัสสร โพธิกุล 23-25 ครู โรงเรยี นอนุบาลบ้านมว่ ง 3. เสยี งสมั ผัส สมั ผสั การอา่ นแบบสัมผัสเสยี ง : กฤตชพรรณ สที ิศ ครู โรงเรยี นบา้ นดงหม้อทอง 26-29 4. นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการโดยใชส้ ่ือออนไลน์ (Learning Management 30-34 System : LMS) ปยิ าภรณ์ พละศักด์ิ ครู โรงเรยี นบอ่ แกว้ ดงมะไฟ มติ รภาพท่ี ๘๑ฯ นวตั กรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขัน้ ” แกป้ ญั หาเดก็ อา่ นไมอ่ อก-เขยี นไมไ่ ด้ : ปิยาภรณ์ พละศกั ด์ิ 35-40 ครู โรงเรยี นบ่อแก้วดงมะไฟ มติ รภาพที่ ๘๑ฯ 5. คลนิ ิกรกั ษภ์ าษาไทย : แสนภชิ าติ อปุ ระ ครู โรงเรยี นบ่อแกว้ ดงมะไฟ มิตรภาพที่ ๘๑ฯ 42-45 6. อ่านออกเขียนไดง้ า่ ยละเบ้อ : ทศั ศนิ า ทิพย์สรุ ิย์ ครู โรงเรียนอนบุ าลวานรนิวาส(ราษฎร์บารุง) 46-50 7. ร้รู กั อา่ นเขยี นเรียนภาษาไทย : ธดิ ารตั น์ หาญมนตรี ครู โรงเรียนอนบุ าลวานรนิวาส(ราษฎร์บารงุ ) 51-54 8. ฝึกผัน ขยันทวน อ่านและเขียนคาทมี่ ีอักษรกลางเปน็ พยัญชนะต้น : อรณุ ี แกว้ ประเสรฐิ 55-59 ครู โรงเรียนอนุบาลวานรนวิ าส(ราษฎรบ์ ารงุ ) 60-64 9. หลากสอ่ื สรา้ งสรรค์ พัฒนาการอา่ น การเขียน ช้ันป.๑ : ปทั มาพร แก้วอนิ ทร์ตา ครู โรงเรยี นบ้านหนองฮาง ข

สารบัญ รูปแบบวิธกี ำรสอนและส่ือกำรสอน (ตอ่ ) 66-70 71-73 10. นวัตกรรมคุณครูที่บา้ น สอนอา่ นสอนเขยี น สู่การเรยี นรู้เด็กไทยอ่านได้ เขียนถูก 74-79 : สุนนั ทา ก้อนแพง ครู โรงเรยี นบา้ นทงุ่ โพธิ์ 80-84 86-90 11. ก า ร ส อ น ก า ร อ่ า น ก า ร เ ขี ย น โ ด ย “ ก า ร อ่ า น แ จ ก ลู ก ส ะ ก ด ค า ” 91-96 : สงการณ์ อวนปอ้ ง ครู โรงเรยี นบ้านกดุ เรือคา 97-102 12. “การฝึกอา่ นแจกลูกสะกดคาโดยใช้ทฤษฎีสี” : เพชรา เฒ่าอดุ ม ครู โรงเรยี นบ้านแกง้ 13. รู้-อา่ น-เขยี น-ซา้ -ย้าทวน-วเิ คราะห์ และการใช้ส่อื การสอน (แบบเอาจรงิ เอาจัง) : ณรุจน์ธภทั ร ธัญพสิ ิษฐ์กลุ ครู โรงเรยี นบา้ นเมน่ นอ้ ย 14. ไม้บรรทัดประสมคาสระไม่มีตัวสะกดหรรษา : สดุ ารัตน์ แสนไชย ครู โรงเรียนชุมชนบา้ นโพนงาม 15. การสอนแบบ “๕ ส. ๑ช”ผา่ นส่ือท่ีหลากหลาย : รชั นีกร ไชยสุรยิ งค์ ครู โรงเรียนบ้านดอนคา 16. การพัฒนาการอ่านการเขียนภาษาไทยในยุคโควิด ๑๙ โดยใช้เกมการศึกษา และบทเรยี นออนไลน์ “สไตล์ครู : ศริ ญิ าพร จนั ทสิงห์ ครู โรงเรียนบ้านดงบัง ภำคผนวก ค คาสงั่ แต่งตัง้ คณะทางานคณะกรรมการดาเนนิ งาน ง ภาพกิจกรรม คณะกรรมการดาเนนิ งาน คณะผจู้ ัดทำ ข

บทนา ควำมเป็นมำ ตามท่ีรฐั บาลมีนโยบายปฏิรปู ประเทศไทย ไดป้ ระกาศยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ซ่ึงต้อง นาไปสู่การปฏบิ ตั เิ พ่อื ยกระดบั การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ กาหนดให้มีการปฏิรูปกระบวนการ เรียนรู้เพ่ือศตวรรษที่ 21 โดยปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เพ่ือเตรียมประชากรสู่การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 รวมท้ังตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จาเป็นในโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา รู้เท่าทันสื่อ ปรับตัว ส่ือสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีวินัย ใฝ่รู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต รวมท้ังเป็นพลเมืองดี รู้สิทธิหน้าท่ี มีความรับผิดชอบ และมีจิต สาธารณะ ซ่งึ เปน็ กลไกสาคญั ของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การสรา้ งการเรียนร้แู ห่งศตวรรษท่ี 21 นอกจากจะมีการเรียนรู้ ตามเน้ือหาสาระแล้ว ทักษะการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อนาไปใช้ในการเรียนรู้ตลอดจนการดาเนินชีวิตโดยเฉพาะทักษะการ สอื่ สารพน้ื ฐานคอื “การอา่ นออกเขียนได้” นับเป็นทักษะท่ีจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นทักษะการสื่อสารเพ่ือสร้างความ เข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ปราบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ต่างๆ ในการพฒั นาความรู้ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ วิจารณ์ และสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื พฒั นาตนเองและสังคมต่อไป สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กาหนดนโยบายท่ีมุ่งเน้นให้ความสาคัญกับการอ่าน การเขียนภาษาไทยของนักเรียนมาอย่างจริงจังและต่อเน่ือง ในปีการศึกษา 2564 นี้ เพ่ือเป็นการขับเคลื่อนการ พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ให้เป็นไปอย่างเข้มแข็งและเป็นรูปธรรมยิ่งข้ึน จึงกาหนดนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อา่ นออกเขียนไดท้ ุกคน” โดยตงั้ เปา้ หมายความสาเร็จไว้ท่ี 1) นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 ทุกคนต้องอ่านออก เขียนได้ 2) นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 - 6 ทกุ คนต้องอา่ นคล่องเขยี นคล่อง และ 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 –6 ต้องมีสมรรถนะการอ่านข้ันสูง ดังนั้น สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 จึงจัดทา โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ตามนโยบาย “เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน” ท้ังนี้ เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้การอ่านการเขียนเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอ่ืนๆ และใช้ในการดาเนินชีวิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพตอ่ ไป สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ หวังว่าหนังสือ “สื่อ/นวัตกรรมและ วธิ ีการสอนภาษาไทยทีป่ ระสบผลสาเรจ็ เพอ่ื พัฒนาการอ่านออกเขียนได้” จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์ และผู้ทีศ่ กึ ษาในการนาไปประยกุ ต์ใช้และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่เป็นกลุ่มชาติพันธ์ุที่มีสภาพ ปัญหาและบริบทเดียวกันให้มีความพร้อมในการเรียนรู้ เรียนรู้ภาษาไทยอย่างเข้าใจ มีทักษะพร้อมท้ังการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และทักษะการคดิ ในเชงิ สรา้ งสรรค์ สามารถเรียนรู้ในสาระวิชาอืน่ ๆ ไดใ้ นระดับทส่ี ูงข้นึ ตอ่ ไป 1

บทนา วตั ถุประสงค์ ๑ เพ่ือส่งเสริมพัฒนาและเผยแพร่ส่ือ/นวัตกรรมการเรียนรู้ในการพัฒนาการอ่านการเขียนของ นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาที่ 1 ที่ประสบผลสาเรจ็ ๒. เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดเรียนการสอนภาษาไทย ให้ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ อา่ นออกเขียนไดท้ กุ คน ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รับ ๑. ครูผสู้ อนระดับปฐมวัย/ประถมศกึ ษาและศกึ ษานิเทศกไ์ ด้ศึกษาวิธีการจัดการเรยี นการสอน ทปี่ ระสบผลสาเรจ็ เพื่อเป็นแนวทางการการจัดการเรยี นการสอนใหผ้ ูเ้ รยี นอ่านออกเขยี นได้ ๒. ครผู ู้สอนระดบั ปฐมวยั /ประถมศกึ ษามีสือ่ การเรยี นรตู้ น้ แบบท่เี น้นการแก้ไขตามสภาพปญั หา ของผู้เรียน ซึ่งสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพของผู้เรียนอ่ืน ๆ ตามบริบทของ โรงเรียน โดยการสร้างการมสี ่วนร่วมในการผลติ สอื่ จากผเู้ รยี นและชุมชน ๓. สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษานาแนวทางนิเทศการเรยี นการสอนภาษาไทย ที่ประสบผลสาเร็จไปปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของโรงเรียนในสังกัด และใช้ ภาษาไทย เพอ่ื การส่อื สารในชวี ิตประจาวนั 2

บทนา กำรจัดกำรเรียนกำรสอนภำษำไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้เป็นผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อสามารถ ประกอบอาชีพ และศึกษาตลอดชีวิต โดยมีสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเป็นสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาต้องใช้เป็น หลักการจัดการเรียนการสอนเพ่ือสร้างฐานการคิด และเป็นกลยุทธ์ในการแก้ปัญหาและเป็นรากฐานการพัฒนา การศึกษาของคนในชาติ เน่ืองจากภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ใช้เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร เพ่ือสร้างความ เข้าใจ สร้างสัมพันธภาพอันดี เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ เพ่ือพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ นอกจากนี้ภาษายังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษสืบสานภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีอันลา้ คา่ ของชนชาตไิ ทย การพฒั นาทักษะภาษาไทยจงึ ต้องมีการฝึกฝนทั้งการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขยี น ตามหลักการใชภ้ าษาไทย กำรจดั กำรเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรียนและ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูท้ ้ัง ๘ กลมุ่ สาระเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ พฒั นาทักษะตา่ ง ๆ อนั เปน็ สมรรถนะสาคัญท่ีตอ้ งการให้เกดิ แก่ผู้เรยี น โดยยึดหลักการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น ผู้เรยี นเป็นสาคัญซ่ึงยึดประโยชน์ท่ีจะเกิดกับผู้เรียน จึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญท้ังความรู้ และคุณธรรม ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลายเป็นเครื่องมือท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร อาทิ กระบวนการเรียนร้แู บบบรู ณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสังคม กระบวนการเผชิญ สถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการ จัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง และกระบวนการพัฒนาลกั ษณะนิสัย ดังนั้น ผู้สอนจึงต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ชี้วัดสมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แล้วจึงพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิค การสอน/ส่ือ/ แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลมุ าตรฐาน การเรยี นรูซ้ ่งึ เปน็ เป้าหมายท่ีกาหนด 3

บทบาทของผ้สู อนและผเู้ รยี น การจัดการเรียนรเู้ พ่อื ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปา้ หมายของหลักสตู ร ทั้งผ้สู อนและผ้เู รยี นควรมบี ทบาท ดงั น้ี 4

ส่อื การเรยี นรู้ 5

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 6

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 7

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 8

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 9

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 10

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 11

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 12

รปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 13

การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มปี ระสทิ ธิผล 14

การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มปี ระสทิ ธิผล 15

การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มปี ระสทิ ธิผล 16

การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยที่มปี ระสทิ ธิผล 17

วธิ กี ำรสอนและสือ่ กำรสอนท่ปี ระสบผลสำเร็จ สกุลรัตน์ พนู ดังหวงั ประภสั สร โพธิกลุ เขยี นสวย รวยภำษำ กำรอำ่ นออกเสยี งโดยกำรใช้นิทำน ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๑ กฤตชพรรณ สที ศิ ปยิ ำภรณ์ พละศักดิ์ เสียงสมั ผสั สัมผสั กำรอ่ำน นวัตกรรมกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้แบบบรู ณำกำรโดยใช้ แบบสัมผัสเสียง ส่อื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) นวัตกรรมกำรสอนแบบ “บนั ได ๖ ขั้น” แกป้ ัญหำเดก็ อำ่ นไมอ่ อก-เขียนไมไ่ ด้ 18

ชอ่ื ผลงาน เขยี นสวย รวยภาษา โดย นางสาวสกลุ รัตน์ พูนดังหวงั ครโู รงเรยี นอนบุ าลวานรนวิ าส(ราษฎรบ์ ารงุ ) เขยี นสวย รวยภาษา 1.เหตผุ ลและควำมจำเป็น ภาษาเป็นสิ่งท่ีแสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของชาติ ประเทศไทยนับเป็นประเทศหน่ึงที่มี ภาษาเป็นของตนเอง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ซ่ึงเป็นความภาคภูมิใจมายาวนาน แต่ในปัจจุบัน ลายมือของคนไทยผิดเพ้ียนไปจากอักษรไทยแบบมาตรฐานจนอ่านแทบไม่ออก เกิดการเลียนแบบ ตวั อกั ษรจากหนังสือการ์ตนู ตา่ งประเทศ จนมองไมเ่ หน็ ความสาคญั ของตัวอักษรภาษาไทย และเนื่องจาก นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนอนุบาลวานรนิวาส (ราษฎร์บารุง) ตาบลวานรนิวาส อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร มีนักเรียนบางส่วนมีปัญหาการเขียนตัวหนังสือไม่สวยงาม ไม่เป็น ระเบียบอยู่มาก และมีนักเรียนบางส่วนมีปัญหาด้านการอ่านอีกด้วย ทาให้มีปัญหาในการจัดการเรียน การสอน จึงได้ดาเนินกิจกรรมน้ีเพ่ือเป็นการแก้ไขและพัฒนาการอ่านและการเขียนให้กับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ทุกคน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนมีพ้ืนฐานการอ่าน และการเขียน ตัวอักษรทีถ่ ูกตอ้ ง สวยงาม ตามรูปแบบขั้นตอนตามลักษณะวิธี 2.วัตถุประสงค์ 1.เพอื่ ให้นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 สามารถเขียนตวั หนงั สอื ได้สวยงาม ถกู ตอ้ ง และมคี วามเปน็ ระเบยี บ 2.เพ่ือแก้ปญั หาการอ่าน เขียน พยญั ชนะ สระ ไมไ่ ดข้ องนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ทมี่ ีปัญหาทางการเรียนรู้ 3.เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ใหส้ งู ขึน้ 3.กลมุ่ เปำ้ หมำย นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทกุ คนไดร้ บั การพัฒนาทักษะด้านการอ่านและการเขยี น 19

ชือ่ ผลงาน เขียนสวย รวยภาษา โดย นางสาวสกุลรตั น์ พูนดงั หวงั ครูโรงเรยี นอนุบาลวานรนวิ าส(ราษฎรบ์ ารงุ ) 4. วิธีการจดั กิจกรรม/กระบวนการจัดการเรยี นการสอน 5.สอ่ื กำรเรียนกำรสอน 1. บตั รคาพยญั ชนะไทย,สระ,วรรณยุกต์ 2. แบบฝึกทักษะรู้จักพยัญชนะไทย ๔๔ ตัว อา่ นคลอ่ ง เขยี นได้ ลายมอื สวย 3. เกมตัวหนีบร้จู ักพยัญชนะไทย 6.กำรวดั ผลและประเมินผล 1. การทาแบบฝึกทกั ษะ 2. การอา่ นคาผสมสระ 3. การสงั เกตพฤติกรรม ความสนใจของนักเรียน 20

ช่ือผลงาน เขียนสวย รวยภาษา โดย นางสาวสกุลรตั น์ พนู ดงั หวัง ครูโรงเรยี นอนุบาลวานรนิวาส(ราษฎรบ์ ารงุ ) 7.ผลสำเร็จ 7.1 ด้านผเู้ รยี น 1. นักเรียนมีทักษะการอ่านพัฒนาไปในทางท่ีดีและมีลายมือสวยงามขึ้นถูกต้อง ท้ังรูปแบบและอักขรวิธี ส่งผลให้การอ่านและการเขียนของนักเรียนอยู่ในระดับดีต่างจากเดิมที่ยังไม่ได้จัด กิจกรรม นักเรยี นมีความสขุ กับการเรียนรู้และแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา 2. นกั เรียนใหค้ วามสนใจ และมพี ฤตกิ รรม ในการพัฒนาด้านการอ่านและการเขียนดีขึ้น สง่ ผลต่อทกั ษะการเรียนทาใหผ้ ลการเรียนบรรลุตรงตามเป้าหมายทค่ี าดหวงั 7.2 ด้านครผู ู้สอน ครูและนักเรียนได้ทากิจกรรมที่พัฒนาตนเองร่วมกัน และครูมีความกระตือรือร้น ในการสรา้ งนวัตกรรม ส่ือการสอน อยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ ทาให้การเรียน-การสอน มปี ระสทิ ธิภาพดยี ่ิงขน้ึ 7.3 โรงเรียน/ชมุ ชน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความเช่ือมั่น ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนโดยการนาบุตรหลาน มาเขา้ เรยี นเพม่ิ มากขึ้นตามลาดับ 8.ปจั จัยสคู่ วำมสำเรจ็ 1.ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรภายในโรงเรยี นไดใ้ ห้คาปรึกษาและคาแนะนาในการจัดการ เรยี นการสอน 2.ครผู ูส้ อนไดพ้ ัฒนานวตั กรรม ส่ือการสอน ใหม่ๆ อยู่เสมอ เพ่ือการจดั การเรยี น การสอน ท่ีมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ และเกิดประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ ู้เรยี น 9.ข้อเสนอแนะ 1.ขยายแนวคดิ เรือ่ ง การพัฒนานวตั กรรมและกิจกรรมท่หี ลากหลายในกล่มุ สาระการเรียนรู้ สาระอน่ื ๆ 2.สรา้ งเครือขา่ ยระหว่างบุคคลรวมถงึ ส่ืออุปกรณใ์ นการเรียนรตู้ ่างๆ ซึ่งทาให้ผ้เู รียน เกดิ ความสนใจในการเรยี นรู้ 3.มุ่งฝกึ ฝนทกั ษะสาคัญใหก้ ับผู้เรยี น เชน่ การรว่ มมือรว่ มใจในการทางาน การทางานร่วมกับ ผอู้ ื่น นเิ ทศ ติดตามผล เพ่อื หานวตั กรรมใหม่ในการแก้ปญั หา แนะนา สนบั สนนุ รูปแบบการเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพของนักเรยี น 21

ชื่อผลงาน เขยี นสวย รวยภาษา โดย นางสาวสกุลรตั น์ พูนดงั หวงั ครูโรงเรียนอนบุ าลวานรนิวาส(ราษฎร์บารงุ ) ภาพกิจกรรมการจดั การเรียนการสอนและสอ่ื พฒั นา 22

ชอื่ ผลงาน การอา่ นออกเสยี งโดยการใชน้ ทิ านของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ โดย นางประภสั สร โพธกิ ุล ครู โรงเรียนอนบุ าลบ้านมว่ ง การอา่ นออกเสียงโดยการใช้นิทาน ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ 1.เหตผุ ลและควำมจำเป็น สาเหตุของปัญหาอาจจะมาจากตัวเด็กนักเรียนท่ีขาดความสนใจการเรียน อันเน่ืองมาจากสื่อและ ส่ิงแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาท่ีอาจจะดูแลไม่ทั่วถึง โรงเรียนไม่มีระบบรองรับท่ี จะช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาเฉพาะ ด้านส่ือการเรียนการสอนที่มีลักษณะยัดเยียดความรู้ปลีกย่อยที่ไม่จาเป็น ไม่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก หรือจะอยู่ท่ีผู้ปกครองที่ไม่ได้ใช้เวลาท่ีบ้านพัฒนาด้านการอ่านหรือเขียน ไม่จัดหา หนงั สือ หรือส่งเสริมการอ่านของบุตรหลาน จะเห็นได้ว่าสาเหตุของปัญหาเรื่องการอ่านไม่ออกและเขียนไม่ได้น้ันมีครบ แทบทกุ ฝา่ ย ซ่ึงล้วนแต่มีความเก่ียวข้องกันทั้งส้ิน อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่นานมานี้ มีผู้เสนอแนะให้แก้ปัญหา ด้วยการให้ นักเรียนท่ีอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้เรียนซ้าชั้น จนกว่าจะผ่านข้อเสนอนี้ทาให้เกิดคาถามตามมาในทันทีว่า แนวทาง ดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ เพราะเมื่อพิจารณาแล้วก็ไม่ต่างอะไรกับการผลักภาระให้นักเรียน แทนท่ี จะหันมาแกป้ ญั หาในเรือ่ งหลกั สูตรการสอนและวิธกี ารบริหารจัดการของสถานศึกษา จากการเล่านิทานของเด็กวัยน้ีชอบฟังนิทานเป็นชีวิตจิตใจ ชอบคิดชอบจินตนาการ ครูสามารถปลูกฝัง พฤติกรรมที่ดีงามผ่านการซึมซับเข้าไปในจิตใจด้วยนิทานได้ ซ่ึงนิทานจะเป็นตัวแบบที่สาคัญที่มีอิทธิพลต่อเด็กมาก เพราะตวั ละครในนิทานสามารถเร้าความสนใจของเด็ก และมีพลังในการโน้มน้าวเจตคติ ตลอดจนเสริมสร้างพฤติกรรม ทพ่ี งึ ประสงค์ได้ การเล่านิทานจึงเป็นกิจกรรมการสอนวิธีหนึ่งที่นักการศึกษายอมรับว่ามีความสาคัญโดยเฉพาะกับเด็ก ในวัยก่อนประถมศึกษา ซึ่งยังอยู่ในโลกแห่งจินตนาการ นิทานจะเป็นส่ิงท่ีช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ในโลกแห่ง จินตนาการนั้นๆ เช่ือมสู่โลกแห่งความจริงได้ในที่สุด จึงเป็นกิจกรรมหนึ่งท่ีสามารถพัฒนาการใช้ภาษาสาหรับเด็กได้ อย่างเหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องเด็ก กจิ กรรมการเลา่ นทิ านจงึ อาจจะเป็นเคร่ืองมือสาคัญที่ช่วยให้เด็กสนใจและปรับตัว ให้คุ้นเคย ด้วยวิธีการเล่านิทานท่ีถ่ายทอดเร่ืองราวจากบริบทและความเป็นอยู่ท่ีสัมพันธ์กับการดาเนินชีวิตและความ สนใจของเด็ก อันเป็นการส่ือสารอย่างมีความหมายจากครูสู่เด็กในบรรยากาศกิจกรรมสัมพันธ์ท่ีอบอุ่น เด็กจะได้รับ ประสบการณก์ ารใช้คาศพั ท์ ภาษาเช่ือมโยงเข้าสู่ชวี ติ จริงทีละนอ้ ย จนสามารถใช้คาศัพท์ การสะกด และอ่านได้เพ่ิมข้ึน อย่างเป็นธรรมชาติ ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลบ้านมว่ ง สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ เล็งเห็นถึงปัญหา ดังกล่าวจึงพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงโดยการใช้นิทานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เพ่ือเพ่ิมทักษะการอ่าน ออกเสียงของนักเรียนและพฒั นาต่อไป 23

ชอ่ื ผลงาน การอา่ นออกเสยี งโดยการใชน้ ิทานของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ โดย นางประภัสสร โพธกิ ลุ ครู โรงเรยี นอนบุ าลบ้านมว่ ง การอา่ นออกเสยี งโดยการใชน้ ทิ าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ฝกึ ทกั ษะการออกเสยี ง การสะกดคาของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ใหถ้ กู ตอ้ ง ๓. กลมุ่ เป้ำหมำย นกั เรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ๔. วธิ กี ำรจัดกิจกรรม/กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอน การสอนโดยใช้นทิ านมีกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน ( 5 STEPs) ดงั ตอ่ ไปนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 กำรเรยี นรู้ต้งั คำถำม หรอื ข้นั ตงั้ คำถำม เป็นทใ่ี หน้ กั เรียนฝกึ สงั เกตสถานการณ์ ปรากฏการณต์ ่างๆ จนเกดิ ความสงสยั จากนน้ั ฝกึ ให้เด็ก ตัง้ คาถามสาคัญ รวมท้งั การคาดคะเนคาตอบ ดว้ ยการสบื คน้ ความรู้จากแหลง่ ตา่ งๆ และสรปุ คาตอบ ช่วั คราว 24

ชือ่ ผลงาน การอา่ นออกเสียงโดยการใชน้ ิทานของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ โดย นางประภสั สร โพธิกุล ครู โรงเรียนอนุบาลบา้ นมว่ ง การอา่ นออกเสยี งโดยการใชน้ ทิ าน ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ข้ันตอนท่ี 2 กำรเรยี นรู้แสวงหำสำรสนเทศ เป็นข้ันตอนการออกแบบ/วางแผนเพื่อรวบรวมข้อมูล สารสนเทศ จาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมท้ังการทดลองเป็นขั้นที่เด็กใช้หลักการนิรภัย (Deduction reasoning) เพ่ือการออกแบบขอ้ มลู ขั้นตอนท่ี 3 กำรเรยี นรูเ้ พือ่ สรำ้ งองค์ควำมรู้ เป็นข้ันตอนท่ีเด็กมกี ารคิดวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ การสื่อความหมายขอ้ มลู ด้วยแบบ ต่างๆ หรือด้วยผังกราฟิก การแปรผล จนถงึ การสรุปผล หรอื การสร้างคาอธบิ าย เปน็ การสรา้ งองคค์ วามรู้ ซง่ึ เป็น แกน่ ความรู้ประเภท 1. ขอ้ เทจ็ จริง 2. คานยิ าม 3. มโนทัศน์ 4. หลกั การ 5. กฎ 6. ทฤษฎี ขนั้ ตอนท่ี 4 กำรเรียนรเู้ พอ่ื กำรส่อื สำร คือ ข้ันนาเสนอความรู้ดว้ ยการมใชภ้ าษาที่ถกู ตอ้ ง ชดั เจน และเป็นที่เขา้ ใจ อาจเปน็ การนาเสนอภาษา และนาเสนอด้วยวาจา ขนั้ ตอนท่ี 5 กำรเรียนรเู้ พอื่ ตอบแทนสังคม เป็นขั้นตอนการฝึกเด็กให้นาความรู้ที่เข้าใจ นาการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์เพ่ือส่วนรวม หรือเห็นต่อ ประโยชน์ส่วนรวมด้วยการทางานเป็นกลุ่ม ร่วมสร้างผลงานที่ได้จากการแก้ปัญหาสังคมอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งอาจ เป็นความรู้ แนวทางสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งอาจเป็นนวัตกรรม ด้วยตวามรับผิดชอบต่อสังคม อันเป็นการแสดงออกของ การเก้ือกูล และแบ่งปนั ให้สังคมมีสันตอิ ยา่ งย่งั ยืน 25

ชอื่ ผลงาน การอา่ นออกเสียงโดยการใชน้ ิทานของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ โดย นางประภสั สร โพธกิ ุล ครู โรงเรยี นอนบุ าลบ้านมว่ ง การอ่านออกเสียงโดยการใช้นทิ าน ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๕. ส่อื กำรเรยี นกำรสอน 7. ผลสำเร็จ ๑. นิทานจากสมุด 1.ด้ำนผเู้ รียน ๒. นิทานจากคอมด้วยโปรแกรม Scratch ๑. ผ้เู รียนสามารถอา่ นออกเสยี งไดถ้ กู ต้อง ๓. แบบฝึกอา่ นสะกด ๒. ผเู้ รียนสามารถสะกดคาได้และมรความ ๔. แบบทดสอบอ่าน มน่ั ใจในการอ่านและสะกดคา ๖. กำรวัดและประเมินผล 2.ดำ้ นผู้สอน ครสู ามารถจัดกระบวนการเรยี นได้เปน็ ระบบ ๑. แบบทดสอบ และตรงตามความตอ้ งการ ๒. แบบสงั เกตฟัง พูด อา่ น เขยี น 3.โรงเรียน/ชุมชน ผูป้ กครองพึงพอใจทีเ่ ห็นบุตรหลานอ่านได้และ เล็งเหน็ ความสาคญั ของสถานศึกษา ๘. ปจั จัยส่คู วำมสำเรจ็ ๑. ผู้บริหารและบคุ ลากรภายในโรงเรียนให้การสนบั สนุนและใหค้ วามสาคญั ตอ่ ปัญหาของผเู้ รียน ๒. ครผู ้สู อนมคี วามตงั้ ใจและมีความรบั ผดิ ชอบสงู เพ่ือแก้ปญั หาของผู้เรียน ๓. ผ้ปู กครองให้ความสนใจและสนับสนุนในการแก้ปญั หาของผเู้ รียนด้วย ๙. ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมีการพัฒนานิทานให้มีความเหมาะสมกับพฤติกรรมของผู้เรียนในด้านต่างๆ เพ่ือจะได้ นาไปใช้เป็นสือ่ การเรยี นที่ตรงกลุม่ เปา้ หมาย 2. ควรศึกษาถึงข้อจากัดและผลกระทบของการเรียนด้วยนิทานอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงแก้ไข เพือ่ การสอนทม่ี ีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้นึ 3. ควรศกึ ษาเปรียบเทียบการจัดกจิ กรรมโดยใช้นิทานกบั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบอน่ื ๆ 25

ช่อื ผลงาน เสยี งสัมผัส สมั ผัสการอา่ นแบบสมั ผสั เสียง โดย นางสาวกฤตชพรรณ สที ศิ ครู โรงเรยี นบ้านดงหม้อทอง เสยี งสัมผัส สัมผสั การอ่านแบบสมั ผสั เสยี ง 1.เหตุผลและควำมจำเป็น สภาพปญั หาการเรยี นการสอนภาษาไทยในทุกระดับชั้น ของการศึกษาไทย ลดลง ท้ังด้านนโยบายของรัฐบาล ที่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนของครู นโยบายที่ไม่ให้มีเด็กตกช้าช้ัน ทาให้มีตัวเลขนักเรียนอ่านหนังสือไม่ออก เขียนไม่ได้เป็นจานวนมาก และผู้บริหารไม่ให้ความสาคัญกับวิชาภาษาไทย ครูผู้สอนภาษาไทยไม่ได้จบตรงเอก ตัวผู้เรียนเองอ่านหนังสือไม่ออก จับประเด็นไม่ได้ ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ อันเน่ืองมาจากขาดการคิดอย่างเป็น ระบบ และปญั หานวัตกรรมสือ่ การสอนซง่ึ ครูผสู้ อนควรจดั ใหเ้ หมาะสมกับการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านดงหม้อทองเป็นโรงเรียนชายขอบสุดท้ายของจังหวัดสกลนคร การเดินทางลาบาก และคนใน ชุมชนมีจานวนมากทาใหม้ นี กั เรียนมากถึง ๕๓๔ คน และเพื่อสนองนโยบายของภาครัฐ นักเรียนทุกคนต้องอ่านหนังสือ ได้ เขียนหนังสือเป็น โดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ซ่ึงเป็นนักเรียนช้ันเริ่มต้นของการเรียนการสอนแบบ รายวิชา ภาษาไทยนั้นเป็นวิชาที่จาเป็นอย่างมาก เพราะเป็นวิชาพื้นฐานเมื่ออ่านหนังสือได้อ่านเข้าใจจับประเด็นได้ จะทาใหน้ ักเรียนเรยี นวชิ าอ่ืนได้ตามมา ดังนั้นเพ่ือสนองนโยบาย โรงเรียนบ้านดงหม้อทอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ จงึ ได้จัดทานวตั กรรมการสอนแบบเสยี งสัมผัส สมั ผัสการอา่ นแบบสมั ผสั เสยี ง เพื่อพฒั นานักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ให้อา่ นออก เขียนได้ทกุ คน 2.วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อสนองนโยบายภาครฐั ๒.เพ่อื ใหน้ ักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ อ่านหนงั สอื ได้ เขียนหนังสือเปน็ อา่ นเข้าใจจับประเดน็ การอ่านได้ 3.กลมุ่ เปำ้ หมำย นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ โรงเรียนบ้านดงหม้อทอง สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ 26

ชื่อผลงาน เสียงสมั ผัส สมั ผสั การอ่านแบบสัมผัสเสยี ง โดย นางสาวกฤตชพรรณ สที ิศ ครู โรงเรยี นบ้านดงหม้อทอง เสยี งสมั ผสั สัมผัสการอ่านแบบสมั ผัสเสียง ๑. สร้ำงควำมเขำ้ ใจ สรำ้ งข้อตกลง ๑.๑ นกั เรียนและครูทาขอ้ ตกลง ในการเรียนตามรูปแบบ เสียงสมั ผสั สมั ผัสการอ่านแบบสมั ผสั เสยี ง ๑.๒ ครูชีแ้ จงจดุ ประสงค์ให้นักเรยี นตระหนกั ในการอา่ นใหไ้ ด้ เขยี นใหเ้ ป็น ๑.๓ ครนู ักเรยี นวางแผนร่วมกนั 2.ทอ่ งจำพยัญชนะ สระ ก่อนเรม่ิ เรียน ๒.๑ ครูติด พยญั ชนะ ทุกตัว สระ วรรณยุกต์ ใวด้ ้านหน้าของ กระดานดา เพอ่ื ใหน้ ักเรียนอา่ น ทอ่ ง ก่อนเรยี นในทุกเชา้ ทา เปน็ ประจาจนเป็นนสิ ยั 3.อ่ำนแบบฝกึ เสยี งสัมผัส สมั ผสั กำรอำ่ นแบบสัมผัสเสียง ๓.๑ ครใู ช้แบบฝกึ ทไ่ี ลก่ ารผสม สระ โดยเริ่มทีอ่ ักษรกลาง สูง ต่า ตามลาดับ ๓.๒ อ่านพร้อมกัน เป็นเสยี งสมั ผัส คล้องจอง ทอ่ งได้ชินปาก 4.เขียนตำมคำบอก ๔.๑ เขยี นตามคาบอกโดยใช้คาในแบบฝึกทอ่ี ่านเสียงสัมผสั สัมผัสการอา่ นแบบสมั ผัสเสียง ไม่เกนิ ๒๐ คา ทาเป็นการ แข่งขันเอารางวลั หรือ สะสมแตม้ 5.สอน ๕.๑ เปน็ การอธบิ ายความหมายของคา อธบิ ายสง่ิ ทีผ่ เู้ รยี นได้ เรยี นรู้ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทชี่ ดั เจน และถูกต้อง 6.ประเมนิ สรุปผล ๖.๑ เป็นการทาใหผ้ ้เู รียนทาแบบฝึก และการเฉลยคาตอบ ชว่ ยสง่ เสริมให้ผูเ้ รยี นนาความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน และทาให้ผ้เู รียนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซงึ้ 27

ชอ่ื ผลงาน เสยี งสัมผสั สัมผสั การอา่ นแบบสัมผสั เสียง โดย นางสาวกฤตชพรรณ สที ศิ ครู โรงเรียนบา้ นดงหมอ้ ทอง เสียงสมั ผสั สัมผัสการอ่านแบบสมั ผัสเสยี ง 5.ส่ือกำรเรียนกำรสอน ๑.๑ แบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ๑.๒ แบบฝึกประกอบการอ่าน (เปน็ แบบฝึกท่คี รูทาขึน้ ประกอบการสอนจากแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ๑.๓ นิทาน เกม เพลง 6.กำรวดั ผลและประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ จากการทางานของผเู้ รยี น ๒ ประเมินจากการอา่ นทลี ะคนของผ้เู รียน ๓ ประเมนิ จากความเข้าใจของผู้เรียน ๔ สรุปผล เป็นรายบุคคล หากยงั ไม่เขา้ ใจเนือ้ หา เก็บใว้สอนในเวลานักเรยี นพกั ก่อนกลบั บา้ น 7.ผลสำเร็จ ด้ำนผู้เรยี น - นักเรียนสามารถอา่ นออก เขยี นได้ อา่ นเขา้ ใจ จบั ประเด็นการอ่านได้ - นักเรยี นมนี ิสัยรกั การอา่ น - นกั เรยี นกลา้ แสดงออกดว้ ยความมัน่ ใจ มมี นษุ ยสัมพันธท์ ด่ี ตี ่อผู้อน่ื ดำ้ นครผู สู้ อน - ครูสามารถจดั กระบวนการเรยี นรู้ได้อย่างเปน็ ระบบ - ครทู ่านอ่นื สามารถสอนแทนได้ โดยใชแ้ บบฝกึ และใช้ระบบในการสอน - ครสู ามารถเปน็ แบบอยา่ งในการสอนได้ โรงเรยี น/ชุมชน - ผู้ปกครองมคี วามพงึ พอใจ ทบ่ี ตุ รหลานของตนสามารถอ่านออกเขียนได้ ตามความสามารถ ของนกั เรยี น ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - นวตั กรรมท่ีใช้ ทาให้เกดิ ผลกับนักเรยี นจริง และเป็นที่ยอมรบั ในโรงเรียนบ้านดงหม้อทอง สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ 28

ชอื่ ผลงาน เสยี งสมั ผัส สมั ผสั การอ่านแบบสมั ผัสเสยี ง โดย นางสาวกฤตชพรรณ สีทศิ ครู โรงเรียนบา้ นดงหมอ้ ทอง เสียงสมั ผัส สัมผสั การอา่ นแบบสัมผสั เสียง ปจั จยั ส่คู วำมสำเร็จ ภำยใน - ผูบ้ ริหารให้ความสาคัญต่อการแก้ปัญหาการอา่ นออกเขียนไดข้ องผเู้ รียน - ผู้บรหิ ารใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณ - ครผู ูส้ อนมีความต้ังใจและมคี วามรบั ผดิ ชอบสูง ภำยนอก - ผู้ปกครองให้ความสนใจและสนบั สนุนในการแก้ปญั หาอา่ นออกเขยี นได้ของผู้เรยี น - ผู้นาชมุ ชน ใหก้ ารสนบั สนนุ ในการจดั กจิ กรรม เป็นอยา่ งดี ขอ้ เสนอแนะ ๑.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ควรรู้เทคนิคในการสอน เอาใจใส่อย่างตอ่ เนอ่ื ง สอนการอ่าน การเขียน อยา่ งจริงจงั และทุ่มเทใหม้ าก ๒.หมน่ั หาเทคนคิ ใหม่ตลอดเวลาเพ่ือไมใ้ หก้ ารเรยี นเคร่งเครยี ดจนเกินไป ๓.ควรทาสื่อประกอบการสอนเพ่อื ให้นักเรยี นเข้าใจงา่ ยและสนกุ กบั การเรียน ๔.สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนรกั การอ่านให้มากและทาตลอดอยา่ งต่อเนื่อง 29

ชอ่ื ผลงาน นวัตกรรมการจดั กระบวนการเรยี นรู้แบบบรู ณาการโดยใช้สอ่ื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) โดย นางปิยาภรณ์ พละศักดิ์ ครโู รงเรียนบอ่ แก้วดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81(พระเทพญาณวิศิษฏ์ “ชัยทวี”อปุ ถมั ภ์) นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณาการโดยใชส้ อื่ ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) ความเป็นมาและความสาคญั การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบออนไลน์ (Learning Management System : NFE-LMS) คือ การใช้วิธีการเชิงระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถ พัฒนาการ เรียนร้ขู องผูเ้ รยี นและการจัดการเรยี นรูข้ องครูผ้สู อนให้มคี ณุ ภาพข้นึ จดั การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ และ จดั การเรยี นรู้ผ่านเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์อินเทอรเ์ น็ต และสื่อเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้ในการ เรียนการสอน ได้แก่ การเรยี นผ่านเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต และส่ือเทคโนโลยี ซึ่งเป็นนโยบายของ ผู้อานวยการโรงเรียนบ่อ แก้วดงมะไฟมติ รภาพท่ี 81(พระเทพญาณวศิ ิษฏ์ “ชัยทวี”อปุ ถัมภ์) ท่ีไดเ้ ลง็ เหน็ ถึงความสาคญั ของการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบออนไลน์ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ LMSเป็นระบบท่ีนามาใช้กับนักเรียนในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(Covid19)โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบมา อย่างต่อเน่ืองเพื่อให้มีความสะดวกในการใช้งานกับทั้งนักเรียน และครูผู้สอน โดยเฉพาะในช่วง สถานการณ์การ แพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ออนไลน์จึงมีความ จาเป็นและสาคัญอย่างย่ิงสาหรับนักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่ครูจะต้องให้ความสสาคัญ และเพื่อสนอง นโยบายของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดการเรียนการ สอนในรูปแบบออนไลน์ให้มากที่สุด โรงเรียนบ่อแก้วดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81(พระเทพญาณวิศิษฏ์ “ชัยทวี” อุปถัมภ์) มีการพัฒนาบุคลากรด้าน การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ซ่ึงการจดั การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลนจ์ าเป็นต้องพัฒนาครูผ้สู อน ไดแ้ ก่ ข้าราชการครูให้มีความรู้ ความเขา้ ใจในการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบออนไลน์ และสามารถสอนผ่านระบบออนไลน์ได้จริง ครูท่ีผ่าน การอบรมการใช้งานระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ จากการอบรมสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 และผู้บริหารสถานศึกษา เป็นวิทยากรให้ความรู้และทบทวนการใช้งาน ให้กับคณะครู พร้อมทั้งฝึก ภาคปฏิบัติ โดยให้ครูแต่ละคนทดลองสอนกลุ่มเครือข่ายในห้องจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ที่มีอุปกรณ์ในการ Live สด ซ่ึงในขณะที่ครูหนึ่งคนกาลังทดลองสอนผ่าน Classroom Live Video นั้น คณะครทู ่นี งั่ อบรมจะเป็นผเู้ รยี นเพอ่ื ทดลองเข้าเรียนตามลิงก์ที่ครูส่งให้ แลกเปลี่ยนกันทดลองสอน จนครบทุกคน เมื่อทดลองสอนจนครบทุกคนแล้ว จึงร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น จากการเข้าใช้งาน ระบบ เพอ่ื แกป้ ญั หาท่เี กดิ ข้ึนระหว่างการใช้งาน มีการเรียนรู้ที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหาก่อนท่ี จะนาความรู้ท่ีได้จาก การอบรมและปฏบิ ตั ิจรงิ ไปถา่ ยทอดใหก้ บั นักศึกษาตาบลของตนเองต่อไป 30

ชือ่ ผลงาน นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการโดยใชส้ ่อื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) โดย นางปิยาภรณ์ พละศกั ด์ิ ครูโรงเรยี นบอ่ แก้วดงมะไฟมติ รภาพท่ี 81(พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชัยทวี”อปุ ถัมภ์) นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรยี นร้แู บบบูรณาการโดยใช้สอ่ื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ พฒั นารปู แบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ๒. เพือ่ ใหค้ รูได้สรา้ งส่อื อิเล็กทรอนิกสม์ าปรับใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๓. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโนา ๒๐๑๙ กลุ่มเป้ำหมำย ๑. ครูผ้สู อนสามารถจัดการเรียนการสอนผ่าน (Classroom Live Video) ๒. ผู้เรยี นสามารถเข้าเรียนห้องเรยี นออนไลน์ (LMS) ได้อย่างตอ่ เน่อื ง และได้รบั การพฒั นาความรู้ ความสามารถได้ตามหลักสตู ร วิธกี ำรจดั กจิ กรรม/กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน โรงเรยี นบอ่ แก้วดงมะไฟมิตรภำพที่ 81 (พระเทพญำณวศิ ษิ ฏ์”ชยั ทวี”อปุ ถมั ภ์) สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสกลนคร เขต 3 ๑. การสารวจความพร้อมของผู้เรยี นในการเรยี นรู้ดว้ ยระบบออนไลน์ ๒. อบรมพัฒนาบุคลากรด้านการจดั การเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์โครงการ การจัดการศกึ ษาด้วยระบบการบรหิ ารจัดการการเรยี นการสอนออนไลน์ 31

ชือ่ ผลงาน นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการโดยใช้ส่อื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) โดย นางปิยาภรณ์ พละศกั ดิ์ ครูโรงเรยี นบ่อแก้วดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81(พระเทพญาณวิศิษฏ์ “ชัยทวี”อปุ ถมั ภ์) นวตั กรรมการจัดกระบวนการเรียนรแู้ บบบรู ณาการโดยใช้สอ่ื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน 1. ใบงาน /ใบกจิ กรรม ๒. สื่อการเรียนออนไลน์ สือ่ การเรยี นรใู้ น YouTube PowerPoint สื่อการสอน ช่อง DLTV คลปิ วดี โิ อช่วยสอนสาหรบั จัดการเรยี นการสอนรูปแบบออนไลน์ 3. หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ กำรวดั ผลประเมนิ ผล 1.แบบทดสอบ google form 2.การสงั เกตการรว่ มกิจกรรม 3.สังเกตการตอบคาถาม ผลสำเร็จ 1.ด้ำนผเู้ รยี น 1. ผเู้ รียนสามารถอ่านออกเขยี นได้และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารเรียนออนไลนไ์ ด้ 2. ผเู้ รียนสนใจเรยี นแสวงหาความร้จู ากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆได้มากข้ึน ๓. ผู้เรยี นสามารถเข้าเรียนรูผ้ า่ นระบบออนไลน์ตามทค่ี รูผูส้ อนจดั เตรยี มไว้ได้ ๔. ผูเ้ รยี นสามารถส่ือสาร/ส่งงาน/ผ่านช่องทางออนไลน์ได้ 2.ด้ำนครูผูส้ อน 1.ครูสามารถจดั กระบวนการเรยี นรไู้ ด้อย่างเป็นระบบ ๒. ครูพฒั นาชดุ วิชา เนอื้ หาบทเรยี น สอ่ื การเรียนรูเ้ พม่ิ เติม ใบความรู้/คลปิ วีดีโอ /ใบงาน แบบทดสอบ 3.โรงเรยี น/ชุมชน 1. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจและเห็นความสาคัญของการสอนออนไลน์ 2. ผปู้ กครองมีความสนใจใหค้ วามรว่ มมอื กบั โรงเรียนมากขนึ้ 32

ชือ่ ผลงาน นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรยี นร้แู บบบูรณาการโดยใช้สื่อออนไลน์ (Learning Management System : LMS) โดย นางปิยาภรณ์ พละศักดิ์ ครโู รงเรียนบอ่ แกว้ ดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชยั ทวี”อปุ ถัมภ์) นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบรู ณาการโดยใชส้ อ่ื ออนไลน์ (Learning Management System : LMS) ปัจจัยสคู่ วำมสำเรจ็ ภำยใน 1. ผู้บริหารใหค้ วามสาคัญสนบั สนุนในการจัดการเรยี นการสอนนออนไลน์ 2. ผู้บรหิ ารให้การสนับสนุนงบประมาณ 3. ครผู สู้ อนมคี วามตั้งใจและมีความรบั ผิดชอบสงู ภำยนอก 1. ผู้ปกครองให้ความสนใจและสนับสนุนในการเรียนออนไลน์แก้ปัญหาอ่านออกเขียนได้ ของผูเ้ รียน ข้อเสนอแนะ ๑. การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ครูควรมกี ารเตรยี มความพรอ้ มในจดั กจิ กรรม ๒. ครูควรใช้สือ่ ประกอบการสอนทุกขั้นตอน 3. ครคู วรมกี ารเตรยี มการสอนไว้ลว่ งหนา้ 6. ควรให้นักเรียนมโี อกาสนาเสนอผลงานของตนเองบ่อยคร้ัง 33

ชือ่ ผลงาน นวตั กรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขั้น”แกป้ ญั หาเดก็ อ่านไม่ออก-เขียนไมไ่ ด้ โดย นางปิยาภรณ์ พละศักดิ์ ครู โรงเรยี นบอ่ แกว้ ดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81 (พระเทพญาณวศิ ิษฏ์ “ชัยทว”ี อุปถมั ภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ข้ัน” แก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออก-เขยี นไม่ได้ เหตุผลและควำมจำเป็น การอ่านและการเขียนเป็นทักษะหน่ึงท่ีจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับการเรียนรู้ และการพัฒนาชีวิตสู่ ความสาเร็จ เพราะจะนามาซ่ึงความรู้และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ แยกแยะ และประยุกต์ใช้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต พร้อมท้ังสามารถถ่ายทอดส่ือสารความรู้ ความคิดให้ผู้อ่ืนทราบและเข้าใจได้ ซ่ึงเป็นทักษะท่ีสาคัญในศตวรรษที่ ๒๑ หากผู้เรียนบกพร่องหรือขาดความสามารถในการอ่านการเขียนจะส่งผล ให้การเรียนรู้ไม่อาจก้าวหน้าได้ และจะประสบความยากลาบากในการดารงชีวิต จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่ เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาท่ีจะต้องพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการส่ือสารให้แก่ประชาชนตั้งแต่วัยเยาว์ เพื่อให้สามารถเรียนรู้ในระดับท่ีซับซ้อน ขนึ้ เมือ่ เติบใหญ่ และนาไปสู่การเปน็ ผเู้ รยี นรตู้ ลอดชวี ติ จากการการวัดและประเมินผลความสามารถในการอ่าน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖2 (มกราคม ๒๕๖3) ของโรงเรียนบอ่ แกว้ ดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณ วิศิษฏ์ “ชัยทวี”อุปถัมภ์) ซ่ึงใช้แบบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียน โดยสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พบว่า ยังมีนักเรียนส่วนหน่ึงที่อยู่ระดับพอใช้และปรับปรุง จงึ จาเปน็ ตอ้ งได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านการอา่ น การเขียน ดังน้ัน เพ่ือให้โรงเรียนปลอดเด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ จะต้องมีการขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ โดยโรงเรียนจะมีพลังในการขับเคล่ือนมากขึ้น ถ้าได้รับความร่วมมือจากทางบ้านและผู้ปกครอง มิใช่เป็นหน้าที่ ของครูผู้สอนภาษาไทย ซึ่งสำนักงำนสถิติแห่งชำติได้กล่าวถึงนโยบายการสนับสนุนการอ่านว่า วิธีการรณรงค์ ใหค้ นรกั การอา่ นท่ีดที สี่ ุดคือ ปลกู ฝังให้รักการอา่ นผ่านพอ่ แม่ และครอบครวั 34

ชอ่ื ผลงาน นวัตกรรมการสอนแบบ “บนั ได ๖ ขั้น”แก้ปญั หาเด็กอ่านไมอ่ อก-เขยี นไมไ่ ด้ โดย นางปิยาภรณ์ พละศกั ด์ิ ครู โรงเรยี นบ่อแก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวศิ ษิ ฏ์ “ชัยทว”ี อุปถมั ภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขั้น” แกป้ ญั หาเด็กอา่ นไมอ่ อก-เขียนไมไ่ ด้ แนวทางการส่งเสริมให้พ่อแม่ทางบ้านมีส่วนร่วมกับโรงเรียนในการสร้างวัฒนธรรมหรือชุมชนรักการอ่าน การเขียน จึงเป็นการเปิดโอกาสให้มีการแก้ปัญหานักเรียนท่ีมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ได้มีการตั้งคาถามหรือตั้งโจทย์ ปัญหาเก่ียวกับเด็กและพยายามหาทางออกของปัญหาโดยการคิดค้นนวัตกรรมที่เหมาะกับนักเรียนปัจจุบัน และ บริบทของโรงเรียนจากการสอบถามปัญหา ความคิดเห็นของผู้ปกครอง และสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการ แก้ปัญหาระหว่างผู้อานวยการ ครูผู้สอน เพื่อนครูที่มีความเช่ียวชาญ ปราชญ์ท้องถิ่น ตลอดจนศึกษานิเทศก์ ช่วยกันคิดแก้ปัญหาดังกล่าว ช่วยกันคิดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้อย่างแท้จริงด้วยตนเองผ่านประสบการณ์ของ ตนเอง โดยทีน่ ักเรียนมีความสุขกบั การเรยี นรู้ โดยไม่รวู้ ่าตนเองกาลังเรียนอยู่ ซ่ึงเป็นการ “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลา รู้”เกิดเป็นนวัตกรรมซ่ึงเป็น ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ “สื่อคือบันได 6 ข้ัน”น้ี เป็นชุดกิจกรรมที่ประกอบด้วย ซง่ึ ประกอบไปด้วยกจิ กรรมซง่ึ มกี ระบวนการเป็นลาดับขั้น ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 ฝึกอ่านทุกวัน ในช่วงพักกลางวันเพ่ือความ ต่อเน่ือง โดยใช้สื่อหนังสือเรียน นิทาน คา อักษรไทย ข้ันท่ี 2 ฝึกการอ่านควบคู่กับการเขียน โดยใช้อักษรไทย คา ประโยค นทิ าน ขัน้ ที่ 3 การฝึกคดั ลายมือ นอกจากทาให้ลายมือสวยงามแล้วยังเป็นการช่วยในการจดจารูปคา ต่างๆ ได้มากขึ้นด้วย ข้ันที่ 4 การวาดรูป ประกอบคา ด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสนุกไปกับงาน โดยมีการ จาแนกคาออกมาเพื่อให้นักเรียนเข้าใจการผสมคามากขึ้น ข้ันที่ 5 การนาคามาแต่งเป็นประโยคสื่อสารรูปหรือ เหตุการณ์จริง เช่น ใคร + ทาอะไร , ใคร+ทาอะไร+กับใคร ขั้นท่ี 6 การเขียนคาตามภาพวาด โดยให้นักเรียนมี อิสระตามความคิดของนักเรยี นเอง โดยใชส้ อื่ และกระบวนการ 6 ข้นั นี้ เด็กๆ จะต้องผ่านไปทีละข้ึนโดยมีนักเรียน และครคู อยช่วยกนั และเม่อื ครบ 6 ขัน้ แลว้ ก็เรมิ่ สอนขัน้ ที่ 1-6 ใหมจ่ ากขยับยากขนึ้ มาทลี ะน้อยๆ ทาอย่างนี้ทาให้ เห็นผลงานทีอ่ อกมามองเห็นเด็กมคี วามภูมใิ จในตัวเองเพราะการอา่ นออกเขยี นได้ ทั้งน้ีเพ่ือยกระดับความสามารถด้านการเขียนและการอ่านของนักเรียนโรงเรียนบ่อแก้วดงมะไฟมิตรภาพ ท่ี 81 (พระเทพญาณวิศิษฏ์ “ชัยทวี”อุปถัมภ์) ให้สูงข้ึน สร้างเจตคติที่ดีต่อการเขียน อ่าน ของนักเรียน อีกท้ังให้ ผปู้ กครองมีสว่ นร่วมในการพัฒนาการเขยี นและการอ่านของนกั เรยี น ๒. วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ แกป้ ัญหาการอ่านออกเขยี นไดส้ าหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 2. เพอื่ ยกระดบั ความสามารถดา้ นการเขยี นและการอา่ นของนกั เรยี นใหส้ ูงขน้ึ 3. เพือ่ เพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาไทยให้สูงข้ึน 4. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคตทิ ด่ี ีในการเรียนรูแ้ ท้จรงิ ผา่ นประสบการณ์ด้วยตนเอง 35

ชอื่ ผลงาน นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ข้ัน”แกป้ ัญหาเด็กอา่ นไม่ออก-เขยี นไม่ได้ โดย นางปยิ าภรณ์ พละศกั ด์ิ ครู โรงเรยี นบ่อแก้วดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81 (พระเทพญาณวิศิษฏ์ “ชัยทว”ี อุปถมั ภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บนั ได ๖ ข้ัน”แก้ปัญหาเดก็ อ่านไม่ออก-เขยี นไมไ่ ด้ ๓. กลุ่มเป้าหมาย นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ จานวน ๑๔ คน ๔. วิธกี ำรจดั กจิ กรรม/กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน 36

ชือ่ ผลงาน นวตั กรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ข้นั ”แกป้ ัญหาเดก็ อ่านไมอ่ อก-เขยี นไมไ่ ด้ โดย นางปิยาภรณ์ พละศกั ดิ์ ครู โรงเรยี นบอ่ แกว้ ดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81 (พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชยั ทว”ี อุปถัมภ์) นวตั กรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขนั้ ”แกป้ ัญหาเด็กอา่ นไม่ออก-เขยี นไมไ่ ด้ ข้ันท่ี ๑ ฝกึ อำ่ นทกุ วัน ในช่วงพักกลางวันเพ่อื ความตอ่ เน่อื ง โดยใช้ส่ือหนงั สือเรยี น นทิ าน คา อกั ษรไทย ข้ันท่ี 2 ฝกึ กำรอำ่ นควบคู่กับกำรเขียน โดยใช้อักษรไทย คา ประโยค นิทาน ขั้นท่ี 3 กำรฝกึ คดั ลำยมือ นอกจากทาใหล้ ายมือสวยงามแลว้ ยังเปน็ การช่วยในการจดจารปู คาต่างๆ ได้มากขึ้นด้วย ข้ันท่ี 4 กำรวำดรปู ประกอบคำ ด้วยความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ และสนุกไปกับงานโดยมีการจาแนกคา ออกมาเพือ่ ให้นกั เรยี นเข้าใจการผสม คามากข้ึน 37

ชือ่ ผลงาน นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ข้นั ”แกป้ ัญหาเด็กอา่ นไม่ออก-เขียนไม่ได้ โดย นางปยิ าภรณ์ พละศักด์ิ ครู โรงเรียนบอ่ แกว้ ดงมะไฟมิตรภาพที่ 81 (พระเทพญาณวศิ ิษฏ์ “ชัยทว”ี อปุ ถมั ภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บนั ได ๖ ข้นั ”แก้ปญั หาเดก็ อา่ นไม่ออก-เขยี นไม่ได้ ขั้นท่ี 5 กำรนำคำมำแตง่ เปน็ ประโยคสอ่ื สำรรปู หรือเหตุกำรณ์จรงิ เชน่ ใคร + ทาอะไร , ใคร+ทาอะไร+กบั ใคร ข้ันที่ 6 กำรเขียนคำตำมภำพวำด โดยใหน้ ักเรียนมอี สิ ระตามความคดิ ของนักเรียนเอง ๕. ส่ือกำรเรียนกำรสอน ๖. กำรวัดผลประเมินผล 1. แบบฝกึ ต่างๆ 1. แบบทดสอบ 2. บตั รคา 2. การสังเกตการฟัง พดู อ่าน เชยี น 3. หนังสอื อ่านเสรมิ 3. สังเกตการตอบคาถาม 4. ส่อื ออนไลน์ 5. หนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ 38

ชื่อผลงาน นวตั กรรมการสอนแบบ “บนั ได ๖ ขนั้ ”แกป้ ญั หาเด็กอ่านไมอ่ อก-เขียนไมไ่ ด้ โดย นางปยิ าภรณ์ พละศกั ดิ์ ครู โรงเรยี นบอ่ แกว้ ดงมะไฟมิตรภาพท่ี 81 (พระเทพญาณวศิ ษิ ฏ์ “ชยั ทว”ี อปุ ถัมภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขั้น”แกป้ ัญหาเด็กอ่านไมอ่ อก-เขียนไมไ่ ด้ ๗. ผลสำเรจ็ 1.ด้ำนผูเ้ รียน 1. ผู้เรียนสามารถอา่ นออกเขยี นได้และใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้ 2. ผูเ้ รยี นสนใจเรยี นแสวงหาความร้จู ากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆได้มากขึ้น 3. ผู้เรียนมนี ิสยั รักการอา่ น 4. ผูเ้ รยี นกล้าแสดงออกดว้ ยความมั่นใจ ร่างเริงแจ่มใส มีมนษุ ยสมั พันธ์ท่ีดตี ่อผู้อน่ื 5. ผู้เรยี นสามารถเขา้ กับเพือ่ นและสถานการณ์ต่างๆ ได้ดี 2.ดำ้ นครูผสู้ อน 1. ครสู ามารถจดั กระบวนการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบ 2. สามารถเป็นแบบอยา่ งได้ 3. โรงเรียน/ชุมชน 1. ผปู้ กครองมีความพงึ พอใจและเห็นความสาคัญของการศึกษา 2. ผปู้ กครองมีความสนใจใหค้ วามรว่ มมอื กับโรงเรยี นมากข้ึน ๘. ปัจจัยส่คู วำมสำเร็จ 1.ภำยใน 1. ผู้บรหิ ารให้ความสาคญั ต่อการแกป้ ญั หาการอ่านออกเขยี นได้ของผู้เรยี น 2. ผูบ้ รหิ ารให้การสนับสนุนงบประมาณ 3. ครผู สู้ อนมคี วามต้ังใจและมคี วามรบั ผิดชอบสงู 2.ภำยนอก 1. ผู้ปกครองใหค้ วามสนใจและสนับสนุนในการแก้ปญั หาอา่ นออกเขยี นไดข้ องผู้เรยี น 2. อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ง บ ป ร ะ ม า ณ ในการจัดการศึกษา ๙. ข้อเสนอแนะ ๑. การควบคมุ ชั้นเรียนในกิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานที่ ด้วยความอยากรู้อยากเห็นของนักเรียนอาจ ทาใหค้ วบคมุ ชัน้ เรยี นได้ยาก ครูควรมีการเตรียมความพร้อมของร่างกายก่อนจดั กจิ กรรม ๒. ครูควรใชส้ อ่ื ประกอบการสอนทกุ ขน้ั ตอน 3. ครคู วรมกี ารเตรยี มการสอนไวล้ ่วงหน้า 4. ควรมีการจัดเด็กเป็นกลมุ่ เลก็ ๆ ระหวา่ งกิจกรรมการเรยี นร้นู อกหอ้ งเรยี น 39 5. ควรมกี ารประกวดหรือแขง่ ขนั ผลงานของนักเรียน

ชอื่ ผลงาน นวัตกรรมการสอนแบบ “บนั ได ๖ ข้นั ”แกป้ ัญหาเด็กอา่ นไม่ออก-เขยี นไมไ่ ด้ โดย นางปิยาภรณ์ พละศกั ด์ิ ครู โรงเรยี นบอ่ แก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวศิ ษิ ฏ์ “ชัยทว”ี อุปถัมภ์) นวัตกรรมการสอนแบบ “บันได ๖ ขนั้ ”แกป้ ัญหาเด็กอา่ นไมอ่ อก-เขียนไมไ่ ด้ ๙. ข้อเสนอแนะ ๑. การควบคุมช้ันเรียนในกิจกรรมการเรียนรู้นอกสถานท่ี ด้วยความอยากรู้อยากเห็นของ นกั เรยี นอาจทาให้ควบคุมชนั้ เรยี นไดย้ าก ครูควรมีการเตรียมความพรอ้ มของร่างกายกอ่ นจัดกจิ กรรม ๒. ครคู วรใช้ส่ือประกอบการสอนทกุ ขั้นตอน 3. ครูควรมีการเตรยี มการสอนไวล้ ว่ งหน้า 4. ควรมกี ารจัดเดก็ เป็นกล่มุ เลก็ ๆ ระหวา่ งกจิ กรรมการเรียนรนู้ อกห้องเรียน 5. ควรมีการประกวดหรอื แข่งขนั ผลงานของนกั เรยี น 6. ควรใหน้ ักเรยี นมโี อกาสนาเสนอผลงานของตนเองบ่อยครั้ง 40

วิธกี ำรสอนและสือ่ กำรสอนที่ประสบผลสำเร็จ แสนภิชำติ อปุ ระ ธิดำรตั น์ หำญมนตรี คลนิ กิ รกั ษ์ภำษำไทย รู้รักอ่ำนเขียนเรียนภำษำไทย ทศั ศินำ ทิพย์สุริย์ อ่ำนออกเขียนไดง้ ่ำยละเบ้อ อรณุ ี แก้วประเสรฐิ ปทั มำพร แกว้ อินทร์ตำ ฝกึ ผัน ขยนั ทวน อ่ำนและเขยี นคำ หลำกส่ือสร้ำงสรรค์ พฒั นำกำรอ่ำน ทม่ี ีอักษรกลำงเปน็ พยัญชนะตน้ กำรเขียน ชั้นป.๑ 41

ชอ่ื ผลงาน คลินิกรกั ษ์ภาษาไทย โดย นายแสนภิชาติ อุประ ครู โรงเรียนบ่อแก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชยั ทวี”อปุ ถัมภ์) คลนิ ิกรกั ษ์ภาษาไทย 1.เหตผุ ลและควำมจำเป็น เน่ืองจากนกั เรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนบอ่ แกว้ ดงมะไฟมิตรภาพที่ 81 ฯ ตาบลบ่อแกว้ อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ยังมีนักเรียนบางส่วนมีปัญหาด้านการอ่าน การเขียนอยู่มาก ทาให้มีปัญหาในการ จัดการเรยี นการสอน ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนในวิชาภาษาไทยและกลุ่มสาระอ่ืนๆ ต่ากว่าเป้าหมาย จึงได้หา แนวทางแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนโดยเฉพาะวิชาภาษาไทยซ่ึงเป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่นๆ นักเรียนจาเป็นต้องอ่าน ออกเขียนไดท้ กุ คน และเพ่ือให้สอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 ในเร่ือง การอ่านออก เขียนได้ และการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน จึงได้ดาเนินกิจกรรมน้ีเพ่ือเป็นการแก้ไขและพัฒนาการอ่านและการเขียนให้กับนักเรียนระดับชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ทกุ คน 2.วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ใหน้ กั เรียนสามารถอา่ นออกเขยี นไดเ้ หมาะสมกบั วยั ในการเรียนรูใ้ นราย วิชาภาษาไทย ของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ให้มีคณุ ภาพสูงขึน้ 1. เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ให้สงู ขนึ้ 2. เพื่อแกป้ ัญหาการอา่ น เขยี น พยญั ชนะ สระ ไมไ่ ดข้ องนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ท่มี ีปัญหาทาง การเรียนรู้ 3. กลุ่มเป้ำหมำย 1. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ทุกคนไดร้ ับการพัฒนาทกั ษะด้านการอ่านและการเขยี น การเขียนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 สงู ขึ้น 42

ชือ่ ผลงาน คลนิ ิกรักษภ์ าษาไทย โดย นายแสนภิชาติ อปุ ระ ครู โรงเรยี นบอ่ แก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวศิ ษิ ฏ์ “ชยั ทวี”อุปถมั ภ์) คลนิ กิ รกั ษ์ภาษาไทย 4. วิธีกำรจัดกจิ กรรม/กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน 1. ศึกษาปญั หาสภาพปจั จบุ ัน 2. วางแผนการดาเนินงานแกป้ ัญหา 3 สรา้ งนวัตกรรมแบบฝกึ หัดการอ่านและทาสื่อการสอน 4. แลกเปล่ียนเรยี นร้กู อ่ นนาไปใช้ 5. ศกึ ษาปญั หาสภาพปัจจุบนั 6. จดั การเรียนการสอน 7. นเิ ทศติดตามโดยฝ่ายบรหิ าร 8. ประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอน 9. นเิ ทศติดตามโดยฝ่ายบรหิ าร 10.สรปุ ปรบั ปรงุ รายงานผล 43

ชือ่ ผลงาน คลินกิ รักษ์ภาษาไทย โดย นายแสนภิชาติ อปุ ระ ครู โรงเรียนบ่อแก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชัยทวี”อุปถัมภ์) คลินกิ รกั ษภ์ าษาไทย 5. สือ่ กำรเรยี นกำรสอน 1. บตั รคาในบทเรียน 2. แบบฝึกนวัตกรรมการอา่ น 3. แบบฝึกฝกี เขียนและแจกลูกคา 4. เพลงพยัญชนะ สระ 5. บตั รคาตามทฤษฎีสี 6. แบบทดสอบการอ่าน 7. แบบทดสอบการเขยี น 6. กำรวัดผลและประเมินผล 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียนหลงั เรยี น 2. การอ่านคาผสมสระ 3. การเขียนคาตามคาบอก 4. การสงั เกตพฤตกิ รรม ความสนใจของนักเรยี น 7. ผลสำเรจ็ 7.1 ด้ำนผ้เู รียน 1. นักเรียนมีทักษะการอ่านและการเขียนดีข้ึน มีความสนใจในการเรียนรู้ดีข้ึน ซึ่งส่งผลให้กับการเรียนอยู่ในระดับดีต่างจากเดิมที่ยังไม่ได้จัดกิจกรรม นักเรียนมีความสุขกับการเรียนรู้ และแสวงหาความรอู้ ยู่ตลอดเวลา 2. นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาให้ความสนใจ และมีพฤติกรรม ในการพัฒนา ดา้ นการอา่ นและการเขียนดีขึ้นสง่ ผลตอ่ ทักษะการเรียนทาให้ผลการเรยี นบรรลตุ รงตามเปา้ หมายทีค่ าดหวงั 7.2 ดำ้ นครผู สู้ อน ครูมีความกระตือรอื ร้นในการแสวงหานวัตกรรมใหมเ่ พ่อื การสอนทาให้มีประสิทธิภาพ ดยี ิ่งข้ึนมีการจดั ทาส่อื การสอนและแบบฝกึ ใหมๆ่ ในการจดั การเรยี นการสอน 7.3 โรงเรียน/ชุมชน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความช่ืนชม ชื่อมั่น ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนโดยการนา บุตรหลานมาเขา้ เรยี นเพ่ิมมากขน้ึ ตามลาดับ 44

ชือ่ ผลงาน คลนิ ิกรกั ษภ์ าษาไทย โดย นายแสนภิชาติ อปุ ระ ครู โรงเรียนบ่อแก้วดงมะไฟมติ รภาพที่ 81 (พระเทพญาณวิศษิ ฏ์ “ชัยทวี”อปุ ถัมภ์) คลนิ กิ รกั ษภ์ าษาไทย 8. ปจั จัยสูค่ วำมสำเรจ็ 1. ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรภายในโรงเรียนได้ให้คาปรึกษาและคาแนะนาในการ จดั การเรยี นการสอน 2. ครูผู้สอนได้พัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง และนาไปใช้ปรับปรุงแก้ไขเพ่ือเกิดประโยชน์ กบั นกั เรยี น 9 ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนาการเรียนรู้เป็นสิ่งสาคัญท่ีต้องทาอย่างต่อเน่ือง จึงจาเป็นจะต้องพัฒนา บคุ ลากรครใู หม้ คี วามร้คู วามสามารถให้เพมิ่ มากขึน้ 2. นิเทศติดตามผล เพื่อหานวัตกรรมใหม่ในการแก้ปัญหา แนะนา สนับสนุนรูปแบบการ เรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของนักเรยี น 45