ศาสตร์แห่งการพฒั นาจิตและกาย เพอ่ื ความเป็นเลิศ NEURO-LINGUISTIC PROGRAMMING (NLP) โดย ดร.วิชิต แย้มบุญเรือง 1
สารบัญ หน้า ตอนท่ี 1 ความหมายและคาจากัดความของ NLP (Meaning and Definition of Neuro-Linguistic Programming) บทท่ี 1 NLP คอื อะไร บทที่ 2 ปัจจยั ท่ีเอ้ือตอ่ ความสาเร็จในการนา NLP ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวติ ประจาวนั ตอนที่ 2 การนาแนวคดิ และหลกั การของ NLP ไปประยุกต์ใช้ บทที่ 3 กระบวนการต้งั เป้าหมายของชีวิต บทท่ี 4 การลงมือปฏิบตั ิเพ่อื ม่งุ สู่ความสาเร็จ บทที่ 5 เทคนิคการวเิ คราะหเ์ พ่ือเรียนรู้ตวั เอง บทที่ 6 การทาความรู้จกั กบั กรอบของการมองโลก บทท่ี 7 การใชข้ อ้ มลู ป้อนกลบั เพ่ือสอนตวั เองและคนอืน่ ตอนที่ 3 การนา NLP ไปใช้ในการบริหารจดั การ บทที่ 8 ภาวะผนู้ า (Leadership) บทท่ี 9 การบริหารอารมณ์ (Management of Emotions) บทที่ 10 การสร้างทกั ษะของการส่ือความ (Communication Skills) บทที่ 11 เร่ืองของการแกป้ ัญหา (Problem Solving) 2
คานา ศาสตร์ที่ไดร้ ับการพฒั นามาหลายสิบปี อยา่ งเร่ือง NLP น้ี นบั ไดว้ า่ เป็นการ คน้ พบทาง “ประสาทชีวะวิทยา” (Neurobiology) ท่ีย่ิงใหญ่ และมีความสาคญั ต่อ โลกมนุษยเ์ ป็นอยา่ งมาก ววิ ฒั นาการในช้นั ตน้ น้นั ไดใ้ ชเ้ ป็นหลกั คดิ ในการแกป้ ัญหาเกี่ยวกบั \"โรคจิต” ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึนกบั มวลมนุษย์ เนื่องจากมนุษยถ์ ูกกาหนดจากธรรมชาติใหอ้ ยชู่ ้นั บนสุดของ “ห่วงโซ่อาหาร” และโดยท่ีมนุษยม์ วี วิ ฒั นาการที่แตกต่างจากส่ิงมชี ีวติ พนั ธุอ์ ่นื ๆ คือการมี “สมองใหม”่ (Neocortex) ซ่ึงมนุษยส์ ามารถนามาใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ในการวิเคราะห์จาแนกแยกแยะ และตดั สินใจ หลงั การพจิ ารณาไตร่ตรองส่ิงเร้าตา่ ง ๆ ท่ีแวดลอ้ ม และครุ่นคดิ ถึงส่ิงท่ีมี โอกาสเป็นไปได้ ทาให้มนุษยม์ ที างเลือกที่จะหาทางออกที่ดีที่สุดในการมุ่งแสวงหา ความสุข (Seek Pleasures) และหลกี เลย่ี งความทกุ ข์ (Avoid Pains) ในการดารงชีวิต บนโลกใบน้ี อบุ ตั ิการณท์ ี่มคี วามสาคญั อยา่ งย่ิงในส่วนที่เก่ียวกบั กฎเกณฑข์ องธรรมชาติ (Law of Nature) อกี อยา่ งหน่ึงกค็ อื ธรรมชาติไดส้ ร้างความสมดลุ และการเก้ือกลู ระหวา่ งส่ิง ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ในโลกน้ีอยา่ งเป็นระบบ อยา่ งมีนยั ะ สอดคลอ้ ง และยงั่ ยืนฃ ระบบทีส่ าคญั ทีส่ ุด ที่เรากาลงั เผชิญหนา้ อยู่ กค็ อื ระบบของทางเกิดมาเป็นมนุษย์ และมีการใชช้ ีวิตอยไู่ ดน้ านเกือบศตวรรษ (โดยเฉลยี่ ) องคาพยพที่สาคญั ๆ กค็ อื ระบบสื่อประสาท (Representation System) อนั ไดแ้ ก่ ตา หู คอ จมกู และอวยั วะสัมผสั 3
ระบบทส่ี อง คือระบบการทางานของสมอง ซ่ึงไดร้ ับการวิวฒั นาการเรื่อยมาจาก สมองสตั วเ์ ล้ือยคลาน สัตวเ์ ล้ยี งลกู ดว้ ยน้านม จนมาถงึ สมองใหม่ของมนุษย์ ระบบท่ีสาม คอื ระบบเสน้ ประสาทท้งั หมดของร่างกาย ท่ีทาหนา้ ท่ีในการส่ือ สญั ญานระหวา่ งระบบส่ือประสาท กบั ระบบสมองใหม่ ระบบสุดท้าย คือ ระบบของกายภาค และสรีระภาค อนั เก่ียวกบั อวยั วะท้งั 32 ชนิด ตลอดจนโครงสร้าง และความสัมพนั ธ์ของหนา้ ท่ีอวยั วะแต่ละชนิด ภาษา (Linguistic) นบั ไดว้ ่าเป็นอุบตั ิการณ์ท่ีเกิดข้นึ และมวี วิ ฒั นาการที่สาคญั ท่ีสุด ในการทาให้มนุษยส์ ามารถแสดงเจตนารมณ์ โดยท่ีมนุษยม์ ีสมองส่วนหนา้ (Prefrontal Lobe) และแสดงความรู้สึก (จากสมองส่วนที่รับหนา้ ที่เก่ียวกบั อารมณ)์ เพือ่ ให้เพือ่ นมนุษย์ ท่ีอยรู่ ่วมเช้ือชาติ ดินแดน หรือสงั คมเดียวกนั ไดร้ ับทราบความคดิ อา่ น และความรู้สึกของเพ่ือนมนุษยด์ ว้ ยกนั อยา่ งชดั เจน และเขา้ ใจกนั มากข้นึ ภาษาจึงนบั วา่ เป็นตวั กลางท่ีสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการทาใหโ้ ปรแกรมการดาเนินชีวิต ของมนุษย์ ดาเนินไปไดอ้ ยา่ งราบร่ืน (หรือไม่ราบร่ืนกต็ าม) ตามเจตนารมณ์ของการเป็น มนุษย์ NLP จึงเป็นการศกึ ษาถงึ ความสัมพนั ธ์ท่ีเป็นหน่ึง และมคี วามเก้ือกูลซ่ึงกนั และ กนั ระหวา่ งภาษา และการใชภ้ าษา กบั ระบบของสมองใหมข่ องมนุษย์ เพอ่ื ท่ีจะช่วยและ อานวยความสะดวกให้มนุษย์ สามารถดาเนินชีวติ และพฒั นาตนเองไปสู่เป้าหมายของ การใชช้ ีวิตที่มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลตามเจตนารมณ์ไดเ้ ป็นอยา่ งดียงิ่ 4
โครงสร้างของหนงั สือ หนงั สือเลม่ น้ี จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ตอน กล่าวคอื ตอนท่ี 1: จะเป็ นเรื่องท่ีเกย่ี วกับ “ความหมาย และคาจากดั ความของ NLP” โดย จะแบง่ ออกเป็น 2 บทใหญ่ คือ บทท่ี 1 จะพดู ถงึ คาจากดั ความ และความหมายตลอดจนการพฒั นาที่ผา่ นมาของ นกั วิชาการต่าง ๆ จนเป็นรูปลกั ษณข์ องศาสตร์ในปัจจุบนั บทที่ 2 จะกลา่ วถงึ ปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่จะเอ้อื ตอ่ ความสาเร็จในการนา NLP ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ในบทน้ี เราจะกลา่ วถึง คุณสมบตั ิพเิ ศษของระบบสมอง ระบบส่ือประสาท และระบบเส้นประสาทท้งั ส้ิน ท่ีรับหนา้ ที่ตา่ ง ๆในการรับรู้ความ เป็นไปของโลก และประสานงานกนั เพ่อื ใหเ้ กิดการรับรู้ บนั ทึกจดจา และการ แสดงออกของอารมณ์ ผา่ นพฤติกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การใชภ้ าษาพูด ตอนที่ 2: จะเน้นเร่ือง การนาแนวคดิ ของ NLP ไปประยกุ ต์ใช้ในกรณีต่าง ๆ ที่ เป็นเรื่องของปัจเจกบคุ คล กล่าวคอื บทท่ี 3 จะพดู ถึง ความจาเป็นที่เราควรจะมกี ระบวนการต้งั “เป้าหมายของชีวิต” ของเราไว้ โดยเหตทุ ่ีว่า “เรือที่ปราศจากหางเสือ และเขม็ ทิศ” เราไม่สามารถบงั คบั ให้ แลน่ ไปตามทิศทางที่ตอ้ งการได้ บทท่ี 4 จะพดู ถึง “การลงมอื ปฏิบตั ิเพอื่ มุ่งสู่ความสาเร็จ” ตามเป้าหมายในบทท่ี 3 บทท่ี 5 ในกระบวนการตามบทท่ี 3 และบทท่ี 4 เราอาจจะพบกบั ปัญหาและ อปุ สรรค ท่ีจะทาให้มีผลกระทบตอ่ เทคนิคในการดาเนินการตามกระบวนการ เนื่องจาก 5
เราไม่เขา้ ใจตวั เราเองว่า จริง ๆ แลว้ เราตอ้ งการอะไร และเรา “ถนดั ” ที่จะลงมอื ทาโดย วธิ ีการอะไร และอยา่ งไร “การรู้เรา” จะช่วยแกป้ ัญหาในการทาใหก้ ารวางแผน และการลงมอื ทา มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากข้นึ บทที่ 6 เป็นเคร่ืองมอื ท่ีเราสามารถนามาใชใ้ ห้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งย่ิง ร่วมกบั เครื่องมือในบทกอ่ น ๆ เมอื่ เรารู้ และเขา้ ใจเร่ืองของกรอบการมองโลก ซ่ึงจะแตกต่างกนั ตามแตล่ ะปัจเจกบคุ คล บทที่ 7 เป็นการเนน้ ความสาคญั ของขอ้ มลู ป้อนกลบั ซ่ึงเป็นธรรมชาติของมนุษย์ ท่ีจะตอ้ งมีปฏิกิริยากบั การกระทาของเรา ที่แสดงผล หรือผลของการกระทาของ พฤติกรรมของคนอืน่ ๆ เราไมส่ ามารถห้ามขอ้ มูลป้อนกลบั ไม่ใหเ้ กิด แต่เราสามารถนาขอ้ มูลป้อนกลบั มา ใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ ในการเตือน หรือสงั่ สอนตวั เอง หรือใชใ้ นการแนะนาผูอ้ นื่ เช่น ใน การเป็นพ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง ครูบาอาจารย์ หรือเป็นโคช้ เป็นตน้ ตอนที่ 3: การนาเร่ือง NLP ไปประยกุ ต์ในการบริหารจดั การ ในตอนที่ 3 น้ี เราจะมองเร่ืองของการนา NLP ไปประยกุ ตใ์ นมุมมองการเป็น ผบู้ ริหารทีม หรือกล่มุ หรือองคก์ รธุรกิจ หรือของรัฐ โดยจะแบง่ ออกเป็นหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ คือ บทที่ 8 ภาวะผูน้ า (Leadership) การจะนา NLP ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ “ช่วยบง การ” ชีวติ ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งไร 6
บทที่ 9 จะพดู ถึงความจาเป็นที่จะตอ้ งรู้จกั “การบริหารอารมณ์ (Management of Emotions)” ในแนวทางของ Daniel Goleman ท่ีนาเสนอเรื่อง EQ (Emotional Quotients หรือ Intelligence) ไวอ้ ยา่ งน่าสนใจ บทท่ี 10 เป็นเรื่อง “ทกั ษะของการส่ือความ” (Communication Skills) ซ่ึงนบั ว่า มีความสาคญั อยา่ งยิ่งต่อความสาเร็จในชีวติ ของเรา ในแงอ่ าชีพของปัจเจกบคุ คล เช่น นกั ขาย ครู หรือโคช้ ตลอดจนในแงข่ องผนู้ าองคก์ ร ท่ีจะตอ้ งนาพาองคก์ รไปสู่ความ มงั่ คง่ั บทท่ี 11 เป็นบทสุดทา้ ย ท่ีจะพดู ถงึ วธิ ีการแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ของสังคม (Problem Solving) โดยใชศ้ าสตร์ทาง NLP 7
บทที่ 1: NLP (Neuro-Linguistic Programming) คืออะไร (1) NLP ย่อมาจากคาเตม็ 3 คา ทเ่ี ป็ นหวั ข้อของบทที่ 1 อันได้แก่ ก) Neuro คอื เร่ืองที่เกี่ยวขอ้ งกบั เส้นประสาท หรือระบบประสาท และการ รับรู้ ถา้ ใชใ้ นความหมายของ Neurology ก็คอื การศกึ ษาทางดา้ นระบบ ประสาท หรือ ประสาทวทิ ยา ส่วน Neurosis หมายถึง โรคประสาท ต่าง ๆ ข) Linguistic คอื เรื่องท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใชภ้ าษาที่ชนชาติต่าง ๆ ในโลกน้ี ใชพ้ ดู และเขยี นอยตู่ ามทอ้ งถน่ิ ค) Programming คือ การต้งั หรือการสร้างโปรแกรม เพ่ือควบคุมและ กาหนดการทางานของระบบใดระบบหน่ึง ตาราทาง NLP ไดก้ ล่าวถงึ ความรู้ทางดา้ นน้ีว่า มีมานานหลายสิบปี แตเ่ ป็นการ นาไปใชใ้ นทางการแพทย์ เพอ่ื รักษาโรคท่ีเกี่ยวกบั ขอ้ บกพร่องทางจิต ที่เราเรียกกนั ว่า “โรคจิต” ตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาให้เป็นรูปแบบ เพอื่ นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสาขาอื่น ๆ โดย ทา่ นผูร้ ิเร่ิม 2 ท่านแรก คอื Richard Bandler อาจารยผ์ เู้ ช่ียวชาญทางดา้ นคณิตศาสตร์ และจิตวทิ ยา และ John Grinder ผเู้ ช่ียวชาญทางดา้ นภาษาศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลยั แคลฟิ อร์เนีย-ซานตาครู้ซ ประเทศสหรัฐอเมริกา เมือ่ ปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) ต่อจากน้นั ก็ได้มีคณาจารย์จากหลายสานกั ไดน้ ามาขยายความ และปรับปรุง จนไดร้ ูปแบบท่ีค่อนขา้ งสมบูรณ์ เพื่อนาไปใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นอืน่ ๆ เช่นการ เปลยี่ นแปลงและพฒั นาตวั เองดา้ นบุคลิกภาพ และพฤติกรรมการพฒั นา และเพ่มิ ทกั ษะ ในการสื่อความ เป็นตน้ 8
ก่อนที่เราจะไดเ้ ขา้ ไปศึกษาเร่ือง NLP ในรายละเอยี ด อยากจะให้ทา่ นได้ เขา้ ใจแนวคิด หรือปรัชญาเบ้ืองหลงั ของศาสตร์ที่เขาต้งั ช่ือว่า NLP น้ีอยา่ งไรบา้ ง ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี คือ 1.1 จากการศึกษาทางดา้ นมานุษยวทิ ยา และชีวะวทิ ยา และศาสตร์ตา่ ง ๆ ท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั กายภาพของมนุษยช์ าติ ต่างลงความเห็นว่ามนุษยซ์ ่ึงเป็นห่วงบนสุดของ โซ่อาหารตามธรรมชาติ น่าจะถกู สร้างมาอย่างมีนยั (ไม่วา่ ผใู้ ดจะเป็นผสู้ ร้าง) โดยเหตุที่ มนุษยม์ สี มองใหม่ (Neocortex) ท่ีสตั วท์ ้งั หลายไม่มี หรือมีนอ้ ยนิด เช่น ปลาวาฬ ปลาโลมา หรือลิงชิมแปนซี มนุษยจ์ ึงรู้จกั คิด และคาดหวงั ซ่ึงเป้าหมายแรกของตวั เอง กค็ ือ มุ่งสุข และหนีทกุ ข์ การมีสมองใหม่ ทาให้มนุษยเ์ ป็นสิ่งมีชีวิตที่มคี วามอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) และสนใจการสารวจหาคาตอบท่ีดีกว่า (exploration) ใหก้ บั ตวั เอง ท้งั น้ีก็เพื่อเป้าหมาย ชีวติ ในการมงุ่ สุข และหนีทุกข์ ดงั กลา่ วแลว้ NLP จะเกี่ยวขอ้ งอยา่ งย่ิงกบั การทางานของสมองมนุษยท์ ้งั ระบบ โดยเฉพาะ อยา่ งยิง่ สมองใหม่ ซ่ึงไดท้ าหนา้ ท่ีในการโปรแกรม เพอื่ บนั ทึกอบุ ตั ิการณ์ และความ จดจา ตลอดจนอารมณท์ ่ีสนองตอบอบุ ตั ิการณ์ท่ีเกิดข้ึนรอบตวั เราเองทุกเม่ือเชื่อวนั อนั นาไปสู่พฤติกรรมของมนุษยท์ ี่ดารงอยทู่ กุ ๆ วนั อยแู่ ลว้ ฉะน้นั ถา้ มนุษยร์ ู้จกั “เรียนผกู ได”้ (จาก NLP) ก็ควรจะรู้จกั “เรียนแกไ้ ด”้ ใหม้ ี การพฒั นาเปล่ยี นแปลงได้ (จาก NLP) ตามสุภาษิตไทยซ่ึงจะทาอย่างไรน้นั เราจะได้ กล่าวถึงตอ่ ไป 1.2 มนุษยถ์ ูกเล้ียงดจู ากบรรพบุรุษ และถูกกลอ่ มเกลาจากโรงเรียน ชุมชน และ สังคมตา่ ง ๆ ที่เขาอาศยั อยู่ ดว้ ยวิธีการท่ีมที ้งั คลา้ ยคลงึ และแตกตา่ งกนั ฉะน้นั มนุษยจ์ ึง 9
มีกรอบความคดิ (Mental Model) หรือ กรอบโลกทศั น์ (Paradigm) ซ่ึงเป็นตวั กาหนด ศรัทธา ความเชื่อ และแนวความคดิ ตลอดจนพฤติกรรมท่ีแตกต่างกนั ออกไปบา้ ง คลา้ ยคลงึ กนั บา้ ง เป็นตน้ ว่า คฝู่ าแฝด อาจจะมีรูปร่างและหนา้ ตาคลา้ ยกนั ไม่วา่ เราจะจบั เขาแตง่ กายเหมือน ๆ กนั แต่เม่อื เขาเลือกได้ เขาจะมีความรู้ ความชอบพอ และความ ตอ้ งการ ตลอดจนพฤติกรรมต่าง ๆ แตกต่างกนั สาหรับมนุษยท์ ่ีมคี วามคิดในเชิงบวก และค่อนขา้ งเปิ ดใจกวา้ ง มกั จะคลอ้ ยตาม ความเห็นที่วา่ ทกุ ส่ิงทกุ อย่างในโลกน้ี ถา้ มีมนุษยห์ นา้ ไหน (ท่ีมี 2 มอื และ 2 เทา้ ) ทาอะไรสาเร็จได้ ตวั เราเองก็มคี วามสามารถที่จะทาได้ อยทู่ ี่ว่า เรากลา้ ที่จะพยายามทามนั หรือไม่ ทาแลว้ ยงั ไมส่ าเร็จ จะยอมแพก้ ่อนไหม ดงั คาสอนของไทยที่ว่า “ความรู้อาจเรียนทนั กนั หมด” ซ่ึงแน่ละ บางคนก็เรียนไดเ้ ร็ว บางคนก็เรียนไดช้ า้ ไปบา้ ง จะยอมมีความอดทนเรียนต่อ หรือจะหยดุ เสียก่อน NLP เชื่อวา่ คนท่ีเรียนไดเ้ ร็วกวา่ คนท่ีเรียนชา้ หรือเรียนไมไ่ ด้ น่าจะเกิดจากวิธีคดิ หรือวิธีทา หรือกระบวนการท้งั คิด ท้งั ทา แตกต่างจากคนที่ทาไม่สาเร็จ เขาไมเ่ ชื่อในเรื่องของคุณภาพของสมอง ท่ีแตกต่างกนั ซ่ึงจะกลา่ วกนั ว่า “เกิดมา กบั ตวั คน” หรือมาจากพรสวรรค์ NLP จึงนาคาศพั ท์ “Modelling” มาใชใ้ นแง่ที่จะทาให้เกิดการสร้าง Modelling Excellence กล่าวคือ การลอกเลยี นแบบของคนท่ีประสบความสาเร็จ (ความเกง่ ) โดยใช้ วธิ ีการของ NLP 1.3 จากการศกึ ษาเร่ืองสมอง (ซ่ึงเราจะไดม้ กี ารพดู ถงึ กนั อีกต่อไป) ส่วนหน่ึง เขาพบว่า เน่ืองจากสมองถกู สร้างให้มารับใชม้ นุษย์ ฉะน้นั สมองจะชอบอะไรท่ีชดั เจน 10
ส้นั ๆ งา่ ย ๆ และคนุ้ เคย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เรื่อง “เชิงบวก” ส่วนส่ิงที่สร้างความสมั พนั ธ์ ระหว่างมนุษย์ กบั มนุษย์ ก็คือ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมองกบั สมอง ของพวกเขา ฉะน้นั เราจะไดพ้ บเห็นวา่ ความสมั พนั ธ์ท่ีดีระหว่างคน จะเริ่มมาต้งั แตห่ นา้ ตา และกิริยาท่ีคลา้ ยคลึง (ลองสงั เกตหนา้ ตาของคู่สามภี ริยา ดูซิครับวา่ ส่วนใหญ่จะมี หนา้ ตาอยใู่ น “เบา้ ” เดียวกนั ) การพดู จา จะถูกหูหรือไมถ่ กู หู ซ่ึงเกิดมาจากการใชภ้ าษา ซ่ึงหมายถึง ท้งั วาจาที่เป็นคาพดู สาเนียง และทา่ ทาง (ภาษากาย) ฉะน้นั ในการบริหารความสัมพนั ธไ์ ม่วา่ จะเป็นในครอบครัว ในองคก์ ร ใน ชุมชน หรือในประเทศ การส่ือความเป็นเร่ืองที่ NLP ใหค้ วามสาคญั อย่างยิ่ง ในอนั ที่จะ เป็นเครื่องมอื หรือเคลด็ ลบั ที่จะพฒั นาตวั เอง ในแง่ของทกั ษะทางดา้ นการฟังใหเ้ ขา้ ใจ และการจบั ประเด็นการสงั เกตอากปั กริยา ของผูพ้ ูด หรือคสู่ นทนา ตลอดจนการเรียนรู้ วธิ ีการพูด และความถนดั ของการใชภ้ าษาพดู ท้งั น้ี เพื่อสร้างความสมพงศ์ (rapport) ให้เกิดข้ึน ซ่ึงเป็นบนั ไดข้นั แรกของการยอมรับซ่ึงกนั และกนั และเปิ ด ให้มชี ่องทางใน การพดู คุยต่อไป (2) เรื่องท่ีพงึ สังวรณ์ในการศึกษาเร่ือง NLP ประสบการณท์ ่ีมนุษยท์ ุกผทู้ ุกนาม เม่ือเกิดมาใชช้ ีวติ ในโลก จะตอ้ งไดพ้ บ หรือ แลเห็นท่ีทาให้เราเขา้ ใจความเป็นไป ในส่ิงที่เกิดข้นึ และถกู เรียกว่า “ธรรมชาติ” ของ โลก ไม่ว่าจะเกิดจากความนึกคดิ เอาเองของเรา หรือจากการสาเหนียก หรือจาก ประสบการณ์ของตวั เอง หรือไดเ้ รียนรู้จากประสบการณข์ องผอู้ ื่น การศึกษา เร่ือง NLP ไดร้ ะบุถงึ ขอ้ จากดั หรือขอ้ บกพร่องท่ีทาให้การสาเหนียก ดงั กล่าว ไมเ่ ป็นไปตามสภาพท่ีมนั เป็นจริง หรือจะเรียกวา่ “เติมไม่เต็ม” เน่ืองจาก ปรากฏการณ์เหลา่ น้ี คอื 11
2.1 Deletions แปลง่าย ๆ ก็คอื “การผดิ ตกยกเวน้ ” ในการสาเหนียก รับขอ้ มลู ที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะผา่ นส่ือประสาทชนิดใด เน่ืองมาจาก ความสามารถที่มีจากดั ของเคร่ืองรับและเคร่ืองส่งขอ้ ความของมนุษย์ เม่ือเทียบกบั สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ท่ีเกิดข้นึ เป็นแสนเป็นลา้ นชนิดตอ่ วนิ าที ซ่ึงเราจะไดข้ ยายความ เพิ่มเติมในหวั ขอ้ สมมุติฐานที่เกี่ยวกบั แผนที่ และการแสดงอาณาเขตในหวั ขอ้ ต่อไป เมือ่ เป็นดงั น้ี การสื่อความของมนุษยม์ กั จะเพ้ยี น เน่ืองมาจาก การรับที่ไม่ชดั เจน (มีผดิ มีตก มียกเวน้ ) จึงทาให้การส่งขอ้ ความออกไปไม่ชดั เจน เขา้ ทานองสุภาษิตไทยท่ี เลือกรับเฉพาะปรารถนาที่ว่า “ฟังไมศ่ พั ท์ จบั มากระเดียด” เป็นตน้ 2.2 Distortions ความหมายก็คือ การเบ่ียงเบนประเดน็ อนั เนื่องมาจากการเป็น “เจา้ อารมณ์” ท่ีจะเลือกเสพอารมณ์ที่เกิดจาก ฉนั ทะ หรือที่ภาษาเทคนิค เรียกวา่ “กรอบ โลกทศั น”์ (paradigm) ของตวั เอง หรือ ท่ีตวั เองชอบในการสาเหนียกความเป็นไปของ โลก และนามาตีความตามความคดิ ของตวั เอง ทาใหบ้ างคร้ัง เราไปพูดเสมอื นหน่ึงไป เดา หรือไปอ่านความคดิ คนอน่ื ในการส่ือความ ตวั อยา่ งเช่น “ เขาไมม่ าหา เธอเลย NLP ใชศ้ พั ทเ์ ทคนิคท่ีแสดงกรอบการมองโลกหลายคา เช่น Frame, model operator, points of view ซ่ึงเราจะไดก้ ล่าวถึง ตอ่ ไป สงสัยว่า เขาจะไมช่ อบเธอซะแลว้ ” 2.3 Generalization ไดแ้ ก่ การรีบด่วนต้งั ขอ้ สรุป และพูดเหมารวมโดย ปราศจากการไตร่ตรองอย่างดีเสียก่อน ถา้ กลา่ วตามหลกั สถติ ิกค็ อื วา่ การถอื ว่าตวั อย่าง ท่ีไดม้ า (samples) กค็ อื ตวั แทนประชากร (population) ท่ีแทจ้ ริง 12
แต่ในความเป็นจริง การสาเหนียกความเป็นไปของธรรมชาติของมนุษยน์ ้นั ไม่สามารถกระทาไดใ้ นเวลาเดียวกนั หรือหลาย ๆ คร้ังเป็นจานวนมากพอ อยา่ งวิธีการ ของสถิติในอนั ท่ีจะนาขอ้ มลู มากลา่ วสรุปไดเ้ ช่นน้นั ฉะน้นั บางคร้ังบางคราว เราชอบสรุปความเห็นอยา่ งรวดเร็วว่ามนั ไมใ่ ช่แน่ ๆ หรือใช่แน่ ๆ กลา่ วคือ เรามกั สรุปใหค้ วามเห็นถงึ นิสัยใจคอของบุคคลใดบคุ คลหน่ึง เพยี งแตส่ ังเกตเห็นว่า เขามาสายบา้ ง หรือพูดโกหกบา้ ง ก็จะลงความเห็นว่า เขาชอบมา สาย หรือชอบโกหก เป็นตน้ คาโบราณไทย เคยกล่าวไวเ้ สมอว่า ทาดีร้อยคร้ัง แตท่ าชวั่ เพียงคร้ังเดียว ก็หมด ความดีที่เคยทามา (3) ข้อสมมุตฐิ าน หรือ ข้อสันนิษฐานท่เี ป็ นความจริง (Presuppositions) ของ NLP 3.1 มนุษยท์ ุกผทู้ กุ นาม เม่ือกาเนิดเกิดข้ึนมาในโลกน้ี เมอื่ เร่ิมรู้ความ จะมีลกั ษณะ เหมอื นกนั หมด ดงั ไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ วา่ คือ มุ่งและบารุงสุข และจะหนีทกุ ข์ ฉะน้นั ทุกคน จะหาทางเลอื ก ท่ีมีอยตู่ อ่ หนา้ เขา ใหต้ รงกบั หรือเหมาะสมกบั กรอบความคิดท่ีถูกหลอ่ หลอมมาจากครอบครัว และสังคมอยา่ งค่อยเป็นค่อยไป ต้งั แตแ่ รกเกิดจนถึงเจริญวยั ในการมอง และการสาเหนียกความเป็นไป ในโลกรอบตวั เขา ฉะน้นั เราตอ้ งยอมรับ เขา้ ใจ และพร้อมท่ีจะใหอ้ ภยั เขา ในแนวทางการมอง และการเลอื กแนวทางการ ดารงชีวิต นี่กค็ อื การเริ่มตน้ ของการเรียน “รู้เขา” 3.2 NLP จะเนน้ เร่ืองของผลลพั ธ์ (outcome) ท่ีเราสามารถประเมิน หรือวดั ผล ไดเ้ ป็นรูปธรรม ดงั น้นั สมมตุ ิฐานท่ีดี และมีประโยชนก์ ค็ ือว่า การกระทาหรือพฤติกรรม ทุกชนิด ใหถ้ อื วา่ ผลลพั ธท์ ี่เกิดข้ึน (outcome) ไม่มีการบง่ ช้ีว่าการกระทาใดส่อความ ผดิ พลาด หรือลม้ เหลว สิ่งท่ีเกิดข้นึ กค็ อื จะเป็นขอ้ มูลป้อนกลบั (feed back) ใหเ้ ราทราบ 13
เทา่ น้นั อยทู่ ี่วา่ เรา จะนาขอ้ มลู น้นั มาใชใ้ นทางบวก โดยถือเป็นการเรียนรู้ เพื่อนาพา ไปสู่การแกไ้ ขปัญหาคร้ังต่อไป เพื่อการดารงชีวติ ท่ีดีกว่าหรือเปลา่ 3.3 เบ้ืองหลงั พฤติกรรมตา่ ง ๆท่ีมนุษยแ์ สดงออกมา ลว้ นแลว้ แต่แสดงความ ประสงคท์ ี่ดีท้งั น้นั (ท่ีเขาคิดรู้สึก หรือคาดหวงั ) ประเด็นจึงอยทู่ ่ีว่าคณุ จะเลอื กนา พฤติกรรมท่ีเกิดข้นึ มาใชอ้ ยา่ งไร กล่าวคอื ให้เราสนใจใฝ่ รู้สาเหตุ และเรียนรู้จากมนั เพื่อนามาใช้ ดีกวา่ ปล่อยใหก้ ารพฒั นาจิต และกายมงุ่ สู่การทาของเดิม ๆ ใหด้ ขี ้ึน (More or better of the same) แตม่ ิไดม้ ีการปรับปรุงพฒั นาพฤติกรรมใหม่ ๆ ข้ึนมา ยกตวั อย่าง เดก็ ท่ีถูกพอ่ แม่ หรือครูเฆ่ียนตี ถา้ จะมองในมุมมอง ของครู หรือของ พ่อแม่ ก็พอจะอนุมานไดว้ ่า มีความประสงคด์ ีอยากให้เดก็ ประพฤติดี โดยอยากใหเ้ ลิก หรือลดละพฤติกรรมบางอยา่ งท่ีพ่อแม่ และครู เห็นวา่ ไม่ดี หรือไมเ่ หมาะสมกบั เด็ก ในวยั น้ี โดยใชส้ ุภาษิต “รักววั ใหผ้ กู รักลูกใหต้ ี” แตใ่ นแงม่ ุมของเด็ก อาจมองวา่ การถกู เฆี่ยนตี แสดงว่าพ่อแม่ หรือครูไมช่ อบ หรือไมร่ ัก จึงเลือกใชว้ ธิ ีการทาร้าย แทนวิธีอ่ืน ๆ เช่น วิธีโคนนั ทวิศาล เป็นตน้ 3.4 เขาบอกโดยใชว้ ิธีอุปมาอปุ ไมยว่า สิ่งท่ีเราเห็นในแผนท่ีน้นั มนั ไมไ่ ดแ้ สดง (และไมส่ ามารถแสดง) ภูมิประเทศ และอาณาเขต ตลอดจนรายละเอียดต่าง ๆ ทาง ภูมิศาสตร์ของโลกไดอ้ ยา่ งครบถว้ น และสมบูรณ์ฉนั ใด เมอื่ พจิ ารณาจากสิ่งที่มนุษย์ สาเหนียก ความเป็นไปในโลกรอบตวั เรา (โดยการใชป้ ระสาทสมั ผสั ท้งั 6) แลว้ จะ เห็นไดว้ า่ เราไม่สามารถสาเหนียกรับรู้ และเขา้ ใจถงึ ความเป็นจริงในโลก ท่ีเกดิ ข้นึ ตลอดเวลาท้งั หมด เนื่องมาจากปัจจยั 3 ชนิด ทเี่ รากลา่ วไวแ้ ลว้ ในขอ้ 2 ขา้ งตน้ ฉนั น้นั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ใน “มมุ มอง” ของคนอ่ืน ๆ ซ่ึงอาจจะมโี ลกทศั น์ (Paradigm) ท่ีใช้ ในการสาเหนียกความเป็นไปของโลก หรือจะเรียกว่า มี “มมุ มอง” ท่ีเห็นแตกต่างจากเรา 14
เขา้ ทานอง “หลายคนยลตามช่อง” ทางวิชาการภาษาองั กฤษกล่าววา่ “The Map is not the territory” 3.5 จุดประสงคส์ ุดทา้ ยของการส่ือความ ซ่ึงเป็นเรื่องสาคญั ในชีวติ ประจาวนั ของสงั คมมนุษย์ ท่ีจะตอ้ งมีการติดตอ่ สื่อสารกนั ทกุ วนั ไมว่ ่าวิธีใดวิธีหน่ึง กค็ อื ว่า ตอ้ งการให้เห็นผลของการสื่อความน้นั เป็นที่เขา้ ใจถูกตอ้ งท้งั ของผูร้ ับขอ้ ความ และ ตามที่ผูส้ ื่อความตอ้ งการสื่อความ ฉะน้นั ตวั ผูส้ ่ือความ ควรจะตอ้ งรับผดิ ชอบใน กระบวนการส่ือความดว้ ย เช่น ในเร่ืองขอ้ ความ วา่ ชดั เจนหรือไม่ และท่ีสาคญั น้าเสียง ที่พดู ออกมา อนั จะเป็นการบอกวา่ พดู อะไร และในขณะเดียวกนั จะตอ้ งระวงั ดว้ ยวา่ คณุ ไดแ้ สดง “ภาษากาย” (body language) อนั ไดแ้ ก่ กิริยาทา่ ทางของคุณ ซ่ึงพอจะส่ง ความหมายใหผ้ ฟู้ ังไดร้ ับทราบดว้ ยวา่ คุณคดิ และพูดอยา่ งไร ฉะน้นั จึงมีคาพงั เพยของฝรั่งท่ีว่า “การกระทาของคุณ พดู ดงั กว่า คาพดู ของคุณ” (Actions speak louder than words) 3.6 มนุษยท์ ุกผทู้ กุ นาม ตา่ งกม็ ที ุนทรัพยากรท่ีธรรมชาติสร้างติดตวั มาใหต้ ้งั แต่ เกิดเทา่ เทียมกนั อยทู่ ี่วา่ ใครจะมปี ัญญาไปหยิบฉวยอะไรมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ ฉะน้นั ถา้ ในโลกน้ี มอี ะไรกต็ ามท่ีบางคนสามารถจะทาหรือสร้างมนั ได้ คนอน่ื ๆ ก็จะสามารถ ที่จะคน้ ควา้ และเรียนรู้ ท่ีจะทาอยา่ งเดียวกนั ได้ โดยอาศยั วิธีท่ี NLP เรียกว่า การ ลอกเลียนแบบ (Modelling) จากตวั อยา่ งที่เกิดข้นึ พงึ สงั เกตว่า ส่ิงท่ีกาลงั พดู ถงึ น้ี กค็ อื กระบวนการคน้ หา “พรแสวง” ไมใ่ ช่ นงั่ นอ้ ยใจในวาสนาวา่ เราไมม่ ีพรสวรรคเ์ ทา่ น้นั 15
3.7 อะไรก็ตามที่เราสังเกตเห็นวา่ เป็นเรื่องที่เกิดข้ึนจริง และจบั ตอ้ งไดข้ องคนอื่น (ที่คนอื่นกระทา) ก็ยอ่ มจะเป็นจริงสาหรับเราดว้ ย กลา่ วคอื ถา้ เราไมม่ สี ่ิงน้นั อยใู่ นตวั หรือเราไม่ไดค้ ิดถึงสิ่งน้นั เราจะมองออกไดอ้ ย่างไรว่าเขามี 3.8 ทกุ ปัญหายอ่ มมีคาตอบท้งั น้นั ท้งั น้ีและท้งั น้นั ข้ึนอยกู่ บั ว่า ก) เราจะหาปัญหาพบไหม หรือ เราจะระบปุ ัญหาไดไ้ หม ข) เราหยดุ คิด หรือเราคิดในแบบ หรือในระนาบเดิม ก็จะไดค้ าตอบเดิม ถา้ เราเปลี่ยนวิธีคดิ เป็นการคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking De Be No) หรือคดิ ในทางบวก (Positive Thinking) เราอาจจะไดค้ าตอบ ใหม่ ๆ กไ็ ด้ 3.9 คนที่มีความยดื หยนุ่ สูง กล่าวคอื ใจเปิ ดกวา้ ง และยอมรับการเปล่ียนแปลง ยอ่ มมีทางเลอื กในการแสดงพฤติกรรมตอบสนองมากกวา่ พวกเขาจึงกลายเป็นคนที่มี อิทธิพลต่อผอู้ ่นื สูง ฉะน้นั ถา้ เราสร้าง หรือเตรียมทางเลือกไวม้ าก เพ่อื การตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าภายนอกท่ีเกิดข้นึ ยอ่ มจะเป็นการดีแกต่ วั เราเอง ในการเลอื กตดั สินใจ หรือเลอื ก ทางเดิน 3.10 จิต และกาย เป็นหน่ึงเดียวกนั และสมั พนั ธก์ นั ท้งั ระบบในแงท่ ี่วา่ อนั ใด อนั หน่ึงเปล่ียนแปลง อกี อนั กจ็ ะเปล่ยี นแปลงตามดว้ ย ทางพระบอกว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบา่ ว” แต่ทาง NLP บอกว่า “กายเป็นนาย จิตเป็นบา่ วได”้ ถา้ รู้จกั วธิ ีการ ตวั อยา่ ง เช่น การถือศีลอยอู่ ยา่ งสม่าเสมอ (พฤติกรรมหรือกาย) นาน ๆ เขา้ จิตก็รับทราบ และสั่ง ให้มกี ารเปลย่ี นแปลงโปรแกรมในสมองเพ่ือเปลยี่ นพฤติกรรมได้ ซ่ึงเราจะไดเ้ รียนรู้ ต่อไป 16
บทท่ี 2: ปัจจัยท่ีเอื้อต่อความสาเร็จในการนาหลกั NLP มาประยกุ ต์ใช้ใน ชีวิตประจาวนั ตามคาจากดั ความของ NLP ดงั กล่าวขา้ งตน้ เราจะเห็นไดว้ า่ อบุ ตั ิการณ์ที่เกิดข้นึ ประกอบดว้ ยการทางานของระบบสมองท่ีรับรู้ข่าวสาร และความเป็นไปของ สิ่งแวดลอ้ มภายนอก ผา่ นระบบส่ือประสาทท้งั 5 และจากการนึกคดิ และจินตนาการ ของสมองส่วนหนา้ อนั เปรียบเสมือนส่ือประสาทชนิดท่ี 6 ตลอดจนมีความสามารถใน การแปลความหมาย และเปรียบเทียบกบั การจดจาอารมณ์เดิมที่เกิดข้นึ จากความหมายท่ี บนั ทึกไว้ จนทาให้เกิดพฤติกรรมได้ เปรียบเสมือนการมโี ปรแกรมคลา้ ย ๆ กบั ซอ้ ฟแวร์ ของระบบคอมพิวเตอร์ ในการอานวยความสะดวกในการบนั ทึก และแปลความหมาย (Coding and un coding) สาหรับกรณีน้ี ภาษาพูดผ่านทางโสติ (Auditory) และภาษากาย (Body Language) ท่ีใชแ้ สดงร่วมกบั การพดู ก็คือ ตวั ปัจจยั ที่สาคญั ในการกาหนด “โปรแกรม ชีวติ ” ของมนุษย์ กเ็ ห็นจะไม่ผิดความจริงนกั เมอื่ อุบตั ิการณ์ต่าง ๆ เหล่าน้ีถูกสะสมมาเป็นเวลานานในหน่วยความจาของสมอง จึงกลายเป็นอปุ นิสัย และบุคลกิ ภาพที่แสดงความเป็นตวั เราเฉกเช่น ภูมปิ ระเทศที่แสดง ถงึ ภูเขา แม่น้า และแผน่ ดิน ที่เกิดข้นึ จากฝีมือธรรมชาติ เช่นแผน่ ดินไหว ภเู ขาไฟระเบิด การเคลื่อนไหวของภเู ขาน้าแขง็ ฝนตก และการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิ และลมฟ้าอากาศ หรือจากฝีมือมนุษยใ์ นการสร้างแหล่งหากิน และท่ีอยอู่ าศยั โดยไปบกุ เบิกถางป่ า เป็นตน้ ภูมปิ ระเทศที่เกิดข้ึนกเ็ ฉกเช่น สิ่งที่เกิดข้ึนในสมอง จากอบุ ตั ิการณ์ ฉะน้นั การที่เราจะได้ รับรู้เร่ืองของสมอง และการทางานของสมองโดยสงั เขป น่าจะเป็นประโยชนต์ ่อ การศึกษาเรื่อง NLP 17
(1) องค์ประกอบของสมองมนุษย์ มอี ยู่ 3 ส่วน คอื ก) สมองด้งั เดมิ (Reptilian Brain) เป็นสมองที่พบไดท้ ้งั ในสมองของมนุษย์ และ สตั วเ์ ล้ือยคลานทุกชนิด หนา้ ที่หลกั ของสมองด้งั เดิม ก็คอื การควบคมุ การเคลอ่ื นไหว ของร่างกาย ระบบการทางานของหวั ใจ และปอด และระบบป้องกนั ตวั ในยามคบั ขนั กล่าวคอื การตดั สินใจวา่ จะหนี หรือจะสู้ ข) สมองสัตว์เลีย้ งลกู ด้วยนม (Mammalian Brain) สิ่งที่ไดร้ ับการเพม่ิ เติมข้ึนจาก สมองสตั วเ์ ล้ือยคลาน ก็คือ สมองของสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม (รวมท้งั ของมนุษยก์ ็มี) อปุ กรณห์ ลกั ที่ถกู พฒั นาเพิ่มเติมข้ึนมาไดแ้ ก่สมองที่มคี วามสามารถในการจดจา และมี องคป์ ระกอบของความรู้สึก หรือมีอารมณ์ ซ่ึงเกิดจากระบบ Limbic System รวมอยู่ ดว้ ย Limbic System มคี วามสาคญั อยา่ งยิ่งต่อการดารงชีวติ ซ่ึงเราจะกลา่ วถึงใน รายละเอยี ดต่อไป ค) สมองใหม่ (Neo-Cortex หรือ Cerebrum) สมองน้ี เป็นสมองใหม่ ท่ีถกู พฒั นาข้นึ มา เพอ่ื มวลมนุษยอ์ ย่างแทจ้ ริง หนา้ ที่หลกั ๆ ของสมองใหม่ ก็คอื 1. รู้จกั สร้างกระบวนความคดิ สร้างสรรค์ มกี ารใชเ้ หตุผล และมกี ารทบทวน ประเมนิ ผลสิ่งท่ีเคยทาไวใ้ นอดีต 2. เกิดการรับรู้ และสร้างพฤติกรรมท่ีเก่ียวกบั อารมณ์ของเราอย่างสมบรู ณ์แบบ มากกว่าสตั วท์ ี่เล้ียงลูกดว้ ยนมอน่ื ๆโดยจากการวิจยั พบวา่ อารมณข์ องมนุษยท์ ว่ั โลก อาจจะมีต้งั แต่ 200-3000 อารมณ์ แลว้ แตค่ วามซบั ซอ้ นในการใชภ้ าษาจาแนกความ แตกตา่ งของมนุษยเ์ หลา่ ต่าง ๆ วา่ กนั ว่าสมองใหม่น้ี มโี ครงสร้างซอ้ นทบั กนั อยู่ 6 ช้นั แต่ละช้นั เรียกว่า Cortex บา้ งก็มสี ีเทา บา้ งก็เป็นสีขาวซ้อนทบั กนั ต้งั แต่กา้ นสมอง (brain stem) จนถึงกะโหลก 18
ศีรษะดา้ นบน แต่ละช้นั กร็ ับหนา้ ท่ีแตกต่างกนั ไป และยงั แบ่งหนา้ ที่แยกกนั อกี แต่ละซีก (ผา่ ตามแนวซ้ายขวา) เช่น ซีกหนา้ ติดกะโหลกหนา้ ผาก ซีกหลงั ติดทา้ ยทอย ท่ีสาคญั สมองของเรายงั แบง่ ออกเป็น 2 ซีก (ผา่ ตามแนวเหนือใต)้ คือ ซีกซา้ ย (Left Hemisphere) เป็นสมองที่เรียกว่าเป็น “สมองผชู้ าย (Masculine) กลา่ วคอื มี หนา้ ท่ีดูแล หรือคิดเรื่องเหตุ และผล ความคดิ อ่าน และการวิเคราะห์ท่ีเป็นระบบ เช่น การคานวณทางวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แบบเสน้ ตรง (Linear processing) ส่วนซีกขวา (right hemisphere) เป็น”สมองผหู้ ญิง” (Feminine) เน่ืองจากเป็นดา้ นท่ี ถนดั ทางคดิ ฝัน มีความคดิ ริเริ่ม และเป็นการมองเร่ืองราวต่าง ๆ ในภาพรวมและท่ี คานึงถงึ คณุ ธรรม และมโนธรรม ตลอดจนสนใจเรื่องความห่วงใย รักใคร่ดูแล (สัญชาติญาณความเป็นแม่) และความสามารถในการเขา้ สังคม อยา่ งไรก็ตาม สมองท้งั 2 ซีก จะตอ้ งทางานร่วมกนั ถา้ มีความหนกั แน่น หรือ เอียงไปทางใดทางหน่ึงมาก กจ็ ะไมค่ อ่ ยเป็นผลดีนกั เป็นตน้ ว่า ถา้ “หนกั ซา้ ย” อยา่ งเดียว ก็จะค่อนขา้ งเห็นแก่ตวั เป็นหลกั ส่วนการ “หนกั ขวา” กจ็ ะกลายเป็นคนท่ีมอี ารมณ์ อ่อนไหว ง่ายเกินไป เป็นตน้ (2) การทางานของสมองโดยสังเขป สมองจะทางานร่วมกบั หรืออาศยั สื่อประสาท (Senses) หรือระบบสื่อประสาท (Representation System) ท้งั 6 ชนิด ในการรับรู้ความเป็นไปหรือส่ิงท่ีเกิดข้ึนรอบ ตวั เรา 2.1 Representation System: ระบบส่ือประสาทมอี ยู่ 6 ชนิด (Six Senses) ซ่ึงประกอบดว้ ย ก) ตา ซ่ึงทาให้เราไดม้ องเห็น (Visual) 19
ข) หู ซ่ึงกค็ อื การไดย้ ิน (Auditory) ค) ปากและลนิ้ ไดแ้ กก่ ารรับรู้รสชาติของอาหาร (Taste) ง) จมูก ทาใหไ้ ดก้ ลิ่น (Smell) จ) มือเท้า และผิวหนังร่างกาย ทาใหเ้ กิดความรู้สึก (Feeling หรือ Kinesthetic หรือ Tactile) ฉ) สมอง ทาใหเ้ รารู้จกั คดิ และจินตนาการ 2.2 การทางานในภาพรวม: การทางานของสมองสามารพจิ ารณาไดเ้ ป็น 2 หนา้ ที่หลกั ดว้ ยกนั คอื ก) ระบบควบคุมการทางานของร่างกายโดยอตั โนมตั ิ ระบบน้ีคือ ระบบ การควบคุมการดารงชีวติ ประจาวนั เช่น การเตน้ ของหวั ใจ การหายใจ ง่วง หิว การ ขบั ถ่าย การปรับตวั ทนั ทีเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมใิ นร่างกาย และระบบภูมิ ต่อตา้ นโรค เป็นตน้ ข) ระบบการรับรู้ความเป็นไปจากภายนอก ไดแ้ กก่ ารรับรู้ผา่ นระบบส่ือ ประสาทตามขอ้ 2.1 โดยที่จะมกี ารเชื่อมเส้นประสาทตา่ ง ๆ หรือเซลลข์ องสมอง (Neuron) เขา้ ดว้ ยกนั โดยอาศยั สารสื่อประสาท (Neuro Transmitters) ซ่ึงบา้ งก็เป็น ฮอร์โมน (Hormones) และไมใ่ ช่ฮอร์โมน และบา้ งกเ็ ป็นท้งั 2 ชนิด ค) จากการคดิ พจิ ารณาไตร่ตรอง และจินตนาการของสมองเอง การเชื่อมต่อของเซลลเ์ หลา่ น้ี เปรียบเสมือนการบนั ทึกการรับรู้ส่ิงที่เกิดข้ึนเพ่ือ การจดจาไวใ้ ชอ้ า้ งอิงในอนาคต 20
การรับรู้และการจดจาจะนาไปสู่ “การเกิดอารมณ”์ ตอบสนอง ส่ิงท่ีเกิดข้นึ จาก การรับรู้ว่าสิ่งเหล่าน้นั คืออะไร และทาให้เรารู้สึกอยา่ งไร และจะมพี ฤติกรรมตอบสนอง อะไร หรือไม่ ตวั อยา่ งเช่น ในกรณีท่ีเราไดก้ ลิ่นดอกไม้ หรือเครื่องหอมต่าง ๆ ส่วนใหญก่ ็จะ รู้สึกพอใจ และสบายกาย สบายใจ คงจะมีบา้ งท่ีรู้สึกเวยี นหวั หรือไมช่ อบ หรือการไดอ้ ยทู่ า่ มกลางธรรมชาติ และพบเห็นความงดงามของดอกไมต้ ่าง ๆ เป็นธรรมชาติของเราที่จะมคี วามสุข และมคี วามจดจาท่ีดีที่บนั ทึกไว้ ในกรณีที่เราไดย้ นิ เสียงเพลงกบั เสียงก่นดา่ เราคงจะรู้สึกแตกตา่ งกนั แน่นอน ตวั อยา่ งของประสบการณ์บางอย่างตอ้ งอาศยั การบอกเลา่ สง่ั สอน เช่นการเห็น สิงโต หรือเสือ ถา้ ไม่เคยทราบมาก่อนว่าเป็นสัตวด์ รุ ้าย เราก็อาจคดิ ว่าเป็นสัตวเ์ ชื่อง ๆ เช่นแมว หรือสุนขั เด็กเลก็ ๆ ทก่ี าลงั เติบโต จะเปรียบเสมอื นหมไู ม่กลวั น้าร้อน เพราะยงั ไม่เคยทราบ ของบางอย่างร้อน ถา้ ไปจบั ตอ้ งมนั ก็จะตอ้ งปวดแสบปวดร้อน จากน้นั จึงจะเร่ิมเขา้ ใจ หรือในกรณีที่เห็นยานพาหนะวิ่งมาหาเราอยา่ งรวดเร็ว ถา้ ไมเ่ คยทราบ หรือไม่ เคยเห็นรถชนคนบาดเจ็บ หรือตาย เราจะหลบหนีหรือไม่ อุบตั ิการณ์ท่ีเกิดข้นึ เป็นประสบการณ์ในชีวิต จะเร่ิมตน้ ต้งั แต่การกอ่ ตวั ของกรอบ การมอง ซ่ึง NLP ใชค้ าว่า Frame ศพั ทค์ าอนื่ ที่ใชก้ นั อยโู่ ดยทวั่ ไปกม็ ี เช่นคาว่า paradigm (กรอบโลกทศั น)์ จากน้นั ส่ิงที่ควบคู่ไปกบั กรอบการมอง ก็คือ การใชเ้ คร่ืองมอื การรับรู้ และส่ือ ประสาท (Modalities) ซ่ึงอาจจะเกิดจากองคป์ ระกอบของระบบประสาทสัมผสั หรือ อายตนะ หรือทวาร ท้งั 6 อนั ใดอนั หน่ึง 21
กรอบการมองน้นั เกิดเป็นรูปเป็นร่างข้ึนโดยมีขอ้ สันนิษฐานท่ีว่า เมอ่ื มนุษยม์ ี ความเชื่อ (beliefs) หรือ ศรัทธา (faith) อนั เกิดมาจากคาบอกเลา่ และการเรียนรู้จาก อุบตั ิการณด์ งั กลา่ วขา้ งตน้ ซ้าซากและตอกย้าอยนู่ านพอที่จะสร้างความจดจาไวใ้ น ระบบตา่ ง ๆ ของสมองท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การจดจา เทา่ กบั วา่ เรากาลงั เสริมสร้างความเช่ือใน สิ่งที่เราเห็น (ไม่ว่าจะไดพ้ สิ ูจน์ แลว้ หรือไม่อยา่ งไร) จากน้นั ความเชื่อเหล่าน้ีก็จะทาใหเ้ ราจดจา และเร่ิมคดั เลือก (ผา่ นกรอบการมอง) พิจารณาเฉพาะสิ่งท่ีเราชอบ และคุน้ เคย เท่ากบั วา่ เรากาลงั “เห็นในสิ่งที่เราเช่ือ” เป็น ส่วนใหญ่ ซ่ึงอาจจะถูกหรือผิดไปจากความเป็นจริง เม่ือเป็นดงั น้ี พฤติกรรมของมนุษยท์ ่ีเกิดข้นึ ซ้าแลว้ ซ้าเลา่ กจ็ ะกลายเป็นนิสัย หรือ บคุ ลกิ ภาพซ่ึงก็คอื ผลพวงของโปรแกรมการใชช้ ีวิตของมนุษยท์ ่ีเกิดจากอิทธิพลของจิต ท่ีมตี ่อกาย ผสมกบั ความสามารถของมนุษยใ์ นการทบทวนความจดจา อารมณ์เหล่าน้นั และสามารถดึงออกมาสร้าง “กรอบอารมณ”์ ของมนั เองให้เราทราบ หรืออาจจะเกิด ความสามารถของ “จิตใตส้ านึก” ซ่ึงเราเองยงั ไมค่ ่อยจะรู้จกั มนั ดีสักเทา่ ไหร่ แตจ่ ิตใต้ สานึกมกั จะช่วยดึงประสบการณบ์ างอยา่ งที่เราอาจลมื เลอื น หรือละเลยออกมาให้เรา เห็นในจินตนาการได้ การคน้ พบที่สาคญั อีกชิ้นหน่ึง ของนกั ชีวะประสาทวิทยา กค็ อื ความยดื หยนุ่ ของ สมอง (Neuro Plasticity) ท่ีเขาพบว่า เราสามารถเปลยี่ นความคดิ ความเชื่อ หรือความจา เหล่าน้นั ได้ และในขณะเดียวกนั เราก็สามารถท่ีจะสร้างโปรแกรมทกั ษะ และพฤติกรรม ใหมบ่ างอยา่ งทดแทนของเดิม หรือปรับปรุงทกั ษะ และพฤตกิ รรมเดิม ๆ ให้ดีข้ึนอีกได้ ดว้ ย ถา้ เรารู้จกั ที่จะ “ส่ือความ” กบั สมองของเรา โดยวธิ ีการวางโปรแกรมทางดา้ น จินตนาการความคิด และการกระทาลงไปเพอ่ื กระตนุ้ ให้เกิดการสร้างเสน้ ทางเช่ือม 22
และเกิดมวลของสื่อประสาทกลุม่ ใหมท่ ่ีสมองจดจาอารมณ์ และสร้างพฤติกรรมซ้าซาก จนกลายเป็นอปุ นิสยั (คอ่ นขา้ งถาวร) และบุคลกิ ภาพใหม่ในท่ีสุด นน่ั ก็คือ อาศยั ความสัมพนั ธ์เดิมระหว่างจิตกบั กาย แต่พยายามยกเลิกโปรแกรม เก่า และเปลีย่ นไปสร้างโปรแกรมใหมใ่ ห้เป็น “กายมอี ทิ ธิพลเหนือจิต” ไดต้ ามสภาวะ การยืดหยนุ่ ของสมอง เขา้ ทานองเรียนผูกได้ ก็ตอ้ งเรียนแกไ้ ด้ 2.3 Neurogenesis และ Neuroplasticity ก) Neurogenesis ศพั ทค์ าน้ี ในทางชีวะประสาทวทิ ยา (Bio-Neurology) ให้ คาอธิบายไวว้ า่ เป็นสถานการณท์ ี่สมองซ่ึงประกอบไปดว้ ย Stem Cells ที่สามารถแตก ตวั และพฒั นาเป็นเซลลป์ ระสาท ทีเ่ รียกวา่ นิวรอน (Neuron) นิวรอนต่าง ๆ ท่ีเป็นองคป์ ระกอบของระบบการพฒั นาของสมองต่าง ๆ หลาย ชนิด ต้งั แต่สมองในสตั วเ์ ล้อื ยคลาน (Reptilian Brain) และพฒั นาต่อเป็นสมองของ สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนม (Mammalian Brain) ตลอดจนโครงสร้างส่วนสุดทา้ ยท่ีทบั ลงไป บนสมองท้งั 2 ส่วนท่ีเป็นของสัตวเ์ ล้อื ยคลาน และสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม และกลายเป็น สมองท่ีมีการพฒั นาจนเป็นสมองของมนุษยท์ ี่เรียกวา่ Cerebrum หรือ Cerebral Cortex หรือ บา้ งก็นิยมเรียกส้ัน ๆ ว่า Neo-Cortex ที่เราไดก้ ลา่ วถงึ ในขอ้ 2.1 ในการทาหนา้ ที่เพ่อื ควบคุมการทางานของร่างกายน้ี สมองส่วนต่าง ๆ จะถกู เช่ือมกนั ดว้ ยเซลลน์ ิวรอน ซ่ึงในสมองมนุษยก์ ล่าวกนั วา่ ทีจานวนระหว่าง 100-300 พนั ลา้ น หรือ 1-3 แสนลา้ นเซลล์ เซลลข์ องสมองแตล่ ะส่วนเหลา่ น้ี จะมกี ารเชื่อมตอ่ กนั ตรงปลายของเซลลท์ ี่ เรียกว่า แอคซอน (Axon) และท่ีปลายเซลลน์ ้ีก็จะมกี ารแตกตวั ออกเป็นเครือขา่ ยเซลล์ ฝอยเป็นสายโยงใยที่เรียกว่าเดนไดร้ท์ (Dendrites) การเชื่อมต่อก็จะเร่ิมจากการเช่ือมต่อ 23
กนั ของเดนไดร้ทข์ องแต่ละเซลล์ เพือ่ ส่งสญั ญาณ หรือแจง้ ข่าว หรือควบคุมการทางาน ทุกอยา่ งของร่างกาย ไมว่ า่ จะเป็นระบบอตั โนมตั ิ หรือ ระบบที่มีการตอบสนองจากสิ่ง เร้าภายนอกc ระบบอตั โนมตั ิตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การหายใจ และการเตน้ ของหวั ใจ ซ่ึงร่างกายจะตอ้ ง ทาหนา้ ท่ีตามปกติเพื่อความมชี ีวิต แตก่ ็จะมีการเชื่อมกบั ระบบการควบคมุ และการส่งั การในกรณีท่ีมคี วามกดดนั ให้ตอ้ งทางานเพิม่ เช่น กรณีของการออกกาลงั กาย หรือ การ เลน่ กฬี า ซ่ึงจะเป็นส่วนหน่ึงของการตอบสนองจากส่ิงเร้าภายนอกที่มนุษยส์ าเหนียกได้ จากระบบประสาทสมั ผสั ท้งั 5 รวมท้งั ระบบที่ 6 คือการส่งั จากสมอง หรือ จากความคดิ ของมนุษยเ์ รานนั่ เอง ผรู้ ู้บอกวา่ จากการคน้ ควา้ ท่ีเกิดจากความเจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ ทาให้มนุษยส์ ามารถสร้างเครื่องมือที่ใชใ้ นการวดั คลน่ื สมอง และ กิจกรรมตา่ ง ๆ ในสมองข้ึนมาได้ ตวั อยา่ ง เช่น เครื่องมอื ที่ชื่อวา่ Electro Encephalogram (EEG) และเครื่องมือท่ีเรียกวา่ Functional Magnetic Resonance Imaging (fMRI) และ Functional Near-Infared Spectro Scopy (fNIRS) เพอ่ื สามารถนาไปใชใ้ นทางการแพทยเ์ พ่ือสังเกตุ และวดั การทางานของส่วนตา่ ง ๆ ท่ี สาคญั ๆ ของสมองท่ีเกิดความบกพร่องได้ เขาคน้ พบวา่ สมองจะไมห่ ยดุ พฒั นาตามอายขุ องร่างกาย หรือ ตามขนาดของ สมองเลก็ หรือสมองใหญอ่ ยา่ งที่เคยเชื่อกนั การหยดุ พฒั นา (หยดุ การเชื่อมต่อ) หรือ หยดุ การส่งสญั ญาณบนทางเชื่อมเดิม ซ่ึงจะทาใหท้ างเช่ือมเดิมเส่ือม (ท่ีเรียกว่า อลั ไซเมอร์) ฉะน้นั ถา้ เรามีการใชอ้ ยเู่ สมอ หรือ เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ อยเู่ สมอ สมองกจ็ ะมี การพฒั นาโดยการเพิม่ ทางหลวง (high way) ใหม่อีกโดยอาศยั FGF2 (Fibroblast 24
Growth Factor) และ VEGF (Vascular Endothelial Growth Factor) เป็นตวั กระตนุ้ stem cells สร้างเซลลป์ ระสาทข้ึนมาใหม่ ข) Neuroplasticity เป็นขอ้ สรุปที่ไดจ้ ากการคน้ ควา้ หลงั จากการพฒั นาเครื่องมือ ใหม่ดงั ไดก้ ล่าวแลว้ นกั ประสาทวทิ ยาพบว่า สมองมคี วามยดื หยนุ่ (Plastic) สูง ซ่ึง นอกจากจะถกู พฒั นาไดแ้ ลว้ เซลลน์ ิวรอนที่จบั ตวั กนั จนเป็นโครงสร้างต่าง ๆ ท่ีถาวร สามารถถกู เปลย่ี นแปลงและปรับปรุงได้ จากความรู้และความเช่ือท่ีว่า สมองเป็นตวั ควบคุม ส่ังการ และเป็นตวั กาหนด พฤติกรรมของมนุษยใ์ นระยะยาวน้นั ถูกตอ้ งเพยี งคร่ึงเดียว จากขอ้ ความขา้ งบน พออุปมาเป็นแนวคดิ แบบพุทธศาสนา ไดก้ ค็ ือ ขอ้ ความท่ี กล่าวว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” แตใ่ นปัจจบุ นั น้ี ไดม้ กี ารคน้ พบเพมิ่ เติมวา่ สมองมคี วามยดื หยนุ่ มากกวา่ ที่เราคดิ กล่าวคอื เราสามารถที่จะใชอ้ ิทธิพล หรือการนา้ วโนม้ ในทางกลบั กนั ซ่ึงกค็ ือ การใชก้ าย หรือ พฤติกรรมของเราในการสร้างใหม่ เปล่ียนแปลง และพฒั นาโครงสร้างเซลลส์ มอง ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยการใชก้ ารเคลือ่ นไหวของร่างกายอยา่ งถูกวิธี กลา่ วคือ เรา สามารถทาใหเ้ กิด “กายเป็นนาย จิตเป็นบ่าว” ไดบ้ า้ ง ดงั เช่น บรรพบุรุษมนุษยข์ องเราที่ ไดร้ ับพรสวรรคจ์ ากธรรมชาติที่ไดห้ ยิบยืน่ ให้มนุษยช์ าติ โดยการสร้างความสัมพนั ธ์ ระหว่างสมองกบั การเคลอ่ื นไหวของร่างกาย เพอื่ ทาใหม้ นุษยม์ คี วามสามารถในการ ปรับตวั เขา้ กบั สิ่งแวดลอ้ มท่ีเปลีย่ นแปลง และสามารถเอาชีวติ รอดอยู่ไดอ้ ย่างสบาย การศกึ ษาทางวิชาการดา้ นจิตวทิ ยา (Psychology) ประสาทวทิ ยา (Neurology) และประสาทชีวะวิทยา (Neurobiology) ไดอ้ ธิบายถึงความสาคญั และความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งจิตใจ (Mind) กบั กายซ่ึงกค็ ือพฤติกรรม ซ่ึงก็คือ การทางานของสมอง รวมท้งั 25
องคาพยพท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั พฤติกรรมทางร่างกายว่า เม่ือสมองไดร้ ับสิ่งเร้าจากภายนอก ร่างกายผา่ นประสาทสัมผสั ท้งั 5 (หู ตา จมกู ลิ้น และสมั ผสั ) ตลอดจนประสาทสัมผสั ที่ 6 ซ่ึงกค็ อื ความคดิ ของเรา สมองจะเริ่มขบวนการวิเคราะห์สิ่งเร้าตา่ ง ๆ ชนิดที่เกิดข้ึน รอบตวั โดยการเปรียบเทียบกบั “ประวตั ิเดิม” หรือ บนั ทึกเก่า ๆ วา่ เราเคย “รู้สึก” หรือมี “อารมณ์” หรือ “เขา้ ใจ” ว่า ส่ิงเร้าน้นั คอื อะไร เคยทาอะไรไวใ้ หเ้ ราประทบั ใจ หรือ ไม่ประทบั ใจบา้ ง จากน้นั สมองจึงสง่ั การไปตามขอ้ มลู ท่ีวเิ คราะห์ไดจ้ ากบนั ทึกในคลงั สมองว่า สิ่งน้นั เก่ียวขอ้ งกบั อารมณ์ หรือความรู้สึกที่เคยรับรู้ไวอ้ ย่างไร สมองจะสื่อสารกนั โดย ใช้ ฮอร์โมน และ “สารส่ือประสาท” (Neurotransmitters) ส่งไปจากเซลลห์ น่ึงไปอีก เซลลห์ น่ึง ผา่ นแอ๊คซอน และเด็นไดรท้ ์ ไปยงั จดุ เชื่อมตอ่ ท่ีเรียกวา่ ซีแนปส์ (Synapse) ถา้ หากมกี ารส่งสารสื่อประสาทในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงอยตู่ ลอดเวลา เซลล์ หรือ องคป์ ระกอบส่วนย่อยของเซลลท์ ี่มีลกั ษณะเป็นฝอยท่ีเรียกว่า Dendrites น้นั กจ็ ะจบั ตวั กนั เป็นโยงใยแน่นหนา และเป็นแผง ๆ ซ่ึงนกั วิชาการใชค้ าเปรียบเทียบว่า เป็นถนน มอเตอร์เวย์ หรือ ไฮเวย์ ท้งั น้ีเพอื่ อานวยความสะดวกในการทางานของสมองในคร้ัง ตอ่ ไป เฉกเช่น การอานวยความสะดวกในการใชร้ ถยนต์ สารสื่อประสาท มีมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดจะทาหนา้ ที่ “กาหนดอารมณ์” อะไรบา้ ง ซ่ึงเราจะไดล้ องยกตวั อย่างมาดูกนั เทา่ ที่จาเป็นในโอกาสต่อไป ส่ิงที่สาคญั คอื ผเู้ ช่ียวชาญบอกว่า การจบั ตวั กนั เป็นโยงใยแน่นหนาเท่าไหร่ ก็จะช่วยให้เรา (สมอง) จดจาความรู้สึกน้นั ๆ ไดน้ านข้ึน ผา่ นการทางานของสมองส่วน ท่ีเรียกวา่ Hippocampus ซ่ึงควรจะถูกจดจาไวว้ า่ เป็นส่วนสาคญั ในการจดจา และการ เรียนรู้ 26
ขณะที่ทางฝรั่งเขาวิจยั ว่า ของเขามีอารมณอ์ ยเู่ กือบ 10,000 ชนิด แตข่ องไทยน่าจะ ประมาณไม่เกิน 3,000 ชนิด เส้นโยงใยจะมีการผกู โยงกนั มากตามชนิดของอารมณ์ น้นั ๆ การจบั ตวั ของเซลลค์ งยงุ่ เหยิงน่าดู นี่คอื การกอ่ ตวั ของพฤติกรรม หรือบคุ ลกิ ภาพ หรือนิสัยของมนุษยท์ ่ีทาจากความ เคยชิน เพราะสมองช่วย 2.4 การนาคุณสมบตั เิ ด่นบางอย่างของสมองมาใช้ ก) สมองจะทางานผา่ นระบบส่ือประสาทท้งั 6 อยา่ งจริงจงั และเคร่งครัด ฉะน้นั เราสามารถสื่อสารกบั สมองผา่ นทางความคิด และจินตนาการต่าง ๆ ของเราใหส้ มอง รับทราบ และส่งั การให้ร่างกายมีการเสวยอารมณ์ ไม่ว่าเรื่องท่ีเกิดข้ึนจากการจินตนาการ หรือความคิดของเรา จะเป็นเร่ืองซ่ึงเกิดข้ึนจริงหรือไม่ก็ตาม ข) สมองจะทางานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน หากว่าขอ้ ความ หรือส่ิงท่ีส่ือถงึ สมอง มีความชดั เจน ท้งั ภาษา และคาพูด (ไดท้ างหู) และมรี ูปธรรม หรือเป็นภาพ ที่มี สีสนั ที่เห็นไดช้ ดั เจน และต่ืนตา ต่ืนใจ ค) สมองชอบการสื่อสารทางคาพูดที่เป็นเชิงบวก มากกวา่ ภาษา หรือคาพูดที่เป็น เชิงลบ หรือการปฏิเสธ ตรรกะอนั น้ี สามารถอนุมานไปในทานองเดียวกนั กบั ขอ้ ก) ได้ ไหมวา่ สมองชอบช่วยมนุษยด์ า้ นมุ่งสุข มากกว่าดา้ นหนีทุกข์ ง) จากตรรกะที่สมองมีหนา้ ท่ีช่วยมนุษยใ์ นการมามงุ่ สุข และหลกี เลย่ี งทกุ ข์ ฉะน้นั สิ่งท่ีเป็นผลตามมาก็คอื ส่ิงใดที่เราถือวา่ เป็น “สุข” สมองก็จดจา และมแี รงจงู ใจ หรือจะกระตุน้ ใหเ้ ราทาซ้าใหม่อีก สารสื่อประสาทตวั สาคญั ที่ทาหนา้ ท่ีน้ี คือ สารชื่อ “โดบ้ พามนี (dopamine)” ซ่ึง บางส่วนร่างกายผลิตเองได้ และบางส่วนไดจ้ ากการทาปฏิสนธิระหว่างเซลลข์ องสมอง 27
กบั สารต้งั ตน้ ท่ีช่ือ ไทโรซีน (tyrosine) ซ่ึงจะไดจ้ ากอาหารท่ีอดุ มดว้ ยโปรตีนบางชนิด เช่น แอลมอนด์ อะโวคาโด เป็นตน้ จากการศึกษาทางดา้ นชีวะประสาทวิทยา (Neuro Biology) พบวา่ โดบ้ พามนี จะมีการหลง่ั ออกมาจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่นการออกกาลงั กาย การทาสมาธิ การฟังเพลง หรือการอาบแดด เป็นตน้ จากน้นั ร่างกายก็จะหลงั่ เซโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเป็นสารยบั ย้งั การกระตนุ้ ซ่ึงร่างกายจะหลง่ั ออกมา เพือ่ ทาใหเ้ กิดความสมดลุ ระหว่าง โดบ้ พามนี กบั เซโรโทนิน ทาใหร้ ่างกายเกิดความพงึ พอใจ หรือความสบายพอดีไมม่ ากไม่น้อยเกินไป นี่คือความมหศั จรรยข์ องการเกิดเป็นมนุษยท์ ่ีธรรมชาติไดส้ ร้างความสมดุลให้ เกิดข้นึ ในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย 28
บทท่ี 3: กระบวนการต้งั เป้าหมายชีวิต (1) เทคนิคในการต้ังเป้าหมาย การท่ีจะต้งั เป้าหมายให้ “ขลงั ” ทางผูร้ ู้เสนอให้นึกถึงคายอ่ SMART ซ่ึงจะขยาย ความคาย่อท้งั 5 คา ไดด้ งั น้ี 1.1 S คือ Specific: (ชัดเจน) ไม่ว่าคณุ จะไดต้ ้งั เป้าหมายดว้ ยวิธีไหนก็ตาม เป้าหมายดงั กลา่ ว ตอ้ งมโี ฟกสั ท่ีชดั เจนว่าตอ้ งการอะไรแน่ และเขาแนะนาวา่ อยา่ ใชก้ าร ต้งั เป้าหมายทางลบ กล่าวคอื เป็นการต้งั ว่า ไมต่ อ้ งการโน่น นี่ เพราะว่า จิตเรากย็ งั คานึง (เพราะมองเห็น และรู้สึก) วา่ โน่น และน่ียงั อยู่ เช่น อยากเลิกสูบบุหร่ี แตค่ าวา่ บหุ รี่ ยงั คงอยู่ เป็นตน้ ตอ้ งต้งั ในทางกลบั กนั หรือเป็นทางบวกเช่นว่า เราอยากมปี อดที่สะอาด(ปราศจาก นิโคติน กพ็ ดู ไมไ่ ด)้ เพื่อสุขภาพที่ดี เป็นตน้ ส่วนเวลาต้งั ให้จินตนาการเห็นปอดที่ขาว สะอาดท่ีอยากได้ 1.2 M คือ Measurable: (วดั ได้เป็ นรูปธรรม) ขอ้ น้ีสาคญั เพราะเหตวุ ่า นอกจากจะช่วยเร่ืองความชดั เจนแลว้ ยงั ช่วยในการประเมนิ ว่า เราจะทาไดห้ ่างจาก เป้าหมาย หรือไม่ และห่างไปเทา่ ไหร่ 1.3 A คือ Achievable: (แปลว่า เป็ นไปได้) เมอ่ื พิจารณาจากปัจจยั ต่าง ๆ ท่ี เก่ียวขอ้ งท้งั ในแง่ของ “ทรัพยากร” ที่เรามอี ยทู่ ้งั หมด และท้งั ในแง่สิ่งแวดลอ้ มรอบ ตวั เรา แลว้ มีโอกาสทาไดส้ าเร็จ ไม่ใช่ต้งั เป้าหมายจน “เว่อร์” ไป 1.4 R คือ Relevant: เป้าหมายตวั น้ี หมายถึงความเกี่ยวขอ้ ง และสัมพนั ธ์กบั ความเป็นมนุษยข์ องเรา กล่าวคอื เป้าหมายน่าจะถกู ตอ้ งตามทานองคลองธรรม 29
ดว้ ยเหตวุ ่า การบรรลุเป้าหมายท่ีมีคุณธรรมน้นั จะสร้างคุณค่า และความพอใจใหก้ บั มนุษยอ์ ยา่ งเรา ๆ ท่าน ๆ ไดม้ ากกว่าเป้าหมายพ้ืน ๆ 1.5 T คือ Time Dimension: ขอ้ น้ีหมายถงึ การกาหนดเวลาท่ีเราจะดาเนินการ ตามเป้าหมายใหส้ าเร็จ เช่น ภายใน 6 เดือน 1 ปี 5 ปี หรือ 10 ปี เป็นตน้ ซ่ึงควรจะตอ้ ง กาหนดไว้ มฉิ ะน้นั กจ็ ะไมร่ ู้ว่าจะวดั ความสาเร็จไดเ้ มอ่ื ใด มีผเู้ สนอทางเลอื กในการใชค้ ายอ่ อีก 2 ชุด ที่แตกตา่ งออกไปแตส่ ามารถนามา วิเคราะห์ และสงั เคราะหใ์ หอ้ ยใู่ นแนวทางที่เราจะนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ่อไปใน ชีวิตประจาวนั ท้งั ในฐานะส่วนบุคคล หรือในฐานะผบู้ ริหาร หรือ ผนู้ าองคก์ ร คายอ่ ดงั กลา่ ว คือคาว่า PURE และ CLEAR PURE: ขยายความไดด้ งั น้ี คือ 1) P = Positively stated: คือ เป็นการระบเุ ป้าหมาย เป็นเชิงบวก ดงั ที่เราพดู ถงึ ใน Specific 2) U = Understood: ขอ้ น้ี ขยายวงออกไปให้คลอบคลุมวา่ เป้าหมายของเราน้ี ควรเป็นท่ีเขา้ ใจของคนรอบขา้ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนในครอบครัว หรือ มิตรสหาย เพอื่ เขาจะไดม้ ีโอกาสสนบั สนุน ช่วยเหลือใหเ้ ราบรรลุเป้าหมาย ไม่ขดั ขวาง หรือไม่ แปลกใจในพฤติกรรมบางอยา่ งที่เราจะแสดงออก ขอ้ น้ี จะมคี วามจาเป็นอยา่ งย่ิงในกรณีที่เราเป็นผนู้ าองคก์ รที่จะตอ้ งมีหนา้ ที่นา องคก์ รไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง และกา้ วหนา้ จะตอ้ งช้ีแจงเป้าหมายขององคก์ รให้เป็น ที่ทราบทว่ั กนั ท้งั องคก์ ร 30
3) R = Realistic: หมายถงึ เป้าหมายท่ีสมเหตสุ มผล จะเห็นไดว้ ่า เป้าหมายขอ้ น้ี กค็ อื เป้าหมายขอ้ 2 Measurable และเป้าหมายขอ้ 3 Achievable ของกลุม่ SMART มารวมกนั 4) E = Ethical: หมายถงึ เป้าหมายที่ถูกตอ้ งตามทานองคลองธรรม ที่มคี ุณธรรม และจริยธรรม คลา้ ย ๆ กบั Relevant ใน SMART ที่เรากล่าวถึง CLEAR: ขยายความไดด้ งั น้ี คอื 1) C = Challenging: ขอ้ น้ีน่าจะเป็นการขยายความเพิม่ เติมจากขอ้ Realistic ให้มีน้าหนกั วา่ น่าสนใจ และค่อนขา้ งทา้ ทาย บางแห่งใชค้ าว่า Compelling ซ่ึงก็มี ความหมายในทานองเร้าใจ และจงู ใจให้เราทาให้ได้ ตามหลกั ชีวะประสาทซ่ึง บอกว่าสมองชอบอะไรที่ต่ืนเตน้ ทา้ ทาย 2) L = Legal: หมายถงึ การต้งั เป้าหมายควรจะเป็นเป้าหมายที่ถกู ตอ้ งตาม กฎหมายในแง่ส่วนตวั น้นั เราพดู ถงึ Relevant ในกลมุ่ ที่ 1 และ Ethical ในกลมุ่ ที่ 2 ในกลมุ่ ท่ี 3 น้ี น่าจะระบใุ ห้ชดั เจนในส่วนที่เป็นองคก์ รธุรกิจ ว่าจะดาเนินงานธุรกิจ เฉพาะท่ีถกู ตอ้ งตามกฎหมายเท่าน้นั 3) E = Environment: ถา้ เป็นส่วนตวั เขาให้คานึงส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั ซ่ึงทาง NLP ใชค้ าว่า Ecology ซ่ึงมงุ่ ใหร้ ะวงั ผลกระทบกบั คนใกลช้ ิดรอบขา้ ง ส่วนในแง่ธุรกิจ น้นั คอ่ นขา้ งทนั สมยั ในแง่ที่เตือนใหค้ านึงถงึ ส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั ในการทาธุรกิจดว้ ยว่า เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม (Environmental Friendly) หรือไม่ อยา่ งไร Environment: ใน NLP จะใชค้ าวา่ Ecology ซ่ึงมคี วามหมายตรงกนั ในการ ระบุสิ่งแวดลอ้ ม ซ่ึงลอ้ มรอบ หรือขวากหนามที่ก้นั อยู่ ระหวา่ งสถานะภาพปัจจบุ นั กบั เป้าหมาย หรือสถานะภาพที่เราอยากมี อยากเป็นในอนาคต 31
ประเดน็ ก็คือว่า ในกระบวนการมุ่งสู่เป้าหมายน้นั เราจะตอ้ งคานึงถงึ ดว้ ยว่า การ กระทาหรือพฤติกรรมที่เราจะกระทาเพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย จะไปกระทบกระเทือนกบั อะไร และใครทีมคี วามหมายต่อชีวิตของเรามากนอ้ ยแค่ไหนดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น ถา้ เราต้งั ใจวา่ จะมุง่ มนั่ ทางานทุกวนั วนั ละ 12-15 ชว่ั โมง โดยไม่มี การหยดุ เราจะมเี วลาให้ครอบครัว (ในกรณีท่ีแตง่ งานแลว้ ) ไดเ้ ทา่ ไหร่ และอยา่ งไร หรือถา้ เป็นโสด เราจะมีเวลาท่ีจะไปออกกาลงั กายเล่นกีฬา หรือเวลาท่ีจะไปพกั ผอ่ น หยอ่ นใจ หรือสงั สรรคก์ บั เพ่อื นฝูงไดต้ อนไหน และสุขภาพร่างกาย และจิตใจของเรา จะเป็นอยา่ งไร ส่ิงที่สาคญั อกี ประการหน่ึง คือ ในบางคร้ัง เราไมท่ ราบจริง ๆ ว่าในส่วนลึก ๆ ของเราน้นั เราแคร์กบั ส่ิงหน่ึงสิ่งใดเป็นพเิ ศษ หรือมแี รงบนั ดาลใจอะไรเป็นพิเศษ ซ่อนอยลู่ ึก ๆ กน้ บ้ึงของหวั ใจ หรือเปลา่ เป็นตน้ ว่า ต้งั ใจจะเรียนให้จบปริญญาตรี ภายใน 4 ปี แตใ่ นส่วนลกึ อยากเป็น นกั กีฬาอาชีพ หรืออยากจะใชช้ ีวิตกบั ครอบครัวทุกวนั สุดสปั ดาห์ แต่ในส่วนลกึ อยากกา้ วหนา้ ในหนา้ ที่การงาน จึงตอ้ งเอาใจเจา้ นายทกุ วิถีทาง โดยการทางานใน วนั หยดุ แลว้ กต็ อ้ งทิง้ ครอบครัวไวใ้ ห้อยกู่ บั บา้ น พดู งา่ ย ๆ ก็คอื วา่ ถา้ เราไม่ไตร่ตรองให้ดีกอ่ น เราก็จะไดแ้ ตท่ าไปแบบขอไปที เลยไมไ่ ดท้ ้งั สองอยา่ ง แต่ถา้ เราสามารถนง่ั ตรึกตรอง และทาความเขา้ ใจมนั ก่อน เราก็ สามารถที่จะแบง่ เวลาโดยที่ทาใหเ้ กิด “บวั ไมใ่ ห้ช้า น้าไมใ่ ห้ขนุ่ ” ได้ 4) A = Agreed: เป็นการบ่งบอก หรือขยายความเพม่ิ เติม ทานองเดียวกนั กบั Understood วา่ เป็นที่ตกลง และยอมรับกนั แลว้ ไม่ว่าจะเป็นในครอบครัว ในสงั คม หรือในองคก์ ร 32
5) R = Recorded: หมายถงึ การเตือนใหม้ ีการบนั ทึกไวเ้ ป็นหลกั ฐานว่า เป้าหมายควรเขียน หรือบนั ทึก เพอ่ื เตือนตวั เราว่าเรากาลงั จะทาอะไร หากลมื เลือน ก็จะกลบั มาดไู ด้ ถา้ พดู ถงึ เรื่องขององคก์ ร หรือสงั คม จะเห็นไดช้ ดั ข้ึนว่าขอ้ ตกลงน้ี หรือเป้าหมาย น้ีไดบ้ อกกลา่ วเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรไวแ้ ลว้ (2) การต้ังเป้าหมายท่ีเหมาะสมและท้าทาย ทาอยา่ งไร จึงจะเรียกว่า ต้งั เป้าหมายไดด้ ี เหมาะสม และทา้ ทาย ประการแรก NLP สอนให้เราเช่ือว่า ไม่ว่าอะไร หรือสิ่งใดกต็ าม ที่คนอืน่ เขา ทาได้ เรามีความสามารถเตม็ เป่ี ยมอยแู่ ลว้ ท่ีจะทามนั ไดเ้ หมอื นอย่างเขา ดงั น้นั เราตอ้ งต้งั ตน้ สารวจตวั เองถึงศรัทธา ความเช่ือ หรือ อุดมการณ์ท่ีเราเคย มอี ยวู่ ่าเป็นอยา่ งไร (Self-Awareness) เราเคยจริงจงั กบั การคิดจะต้งั เป้าหมายชีวติ กบั เขาบา้ งไหม หรือไดแ้ ต่ฝันลม ๆ แลง้ ๆ ไปตามเรื่อง และไมเ่ คยเริ่มตน้ ทาอะไรจริงจงั เราเคยมคี วามมนั่ ใจอะไรบา้ งไหมว่า เราทาอะไรไดบ้ า้ ง ส่วนที่เราไมก่ ลา้ หรือ กลวั ว่าจะทาไม่ได้ หรือไม่ชอบทา เป็นเพราะอะไร ขอ้ สาคญั อยา่ ไดค้ ิดลาเอียงเขา้ ขา้ งตวั เราเองเป็นอนั ขาด ประการทส่ี อง ตอ้ งรู้วา่ ตวั เราเองมอี านาจเตม็ ท่ีที่จะควบคุมผลของการกระทา ของเรา ฉะน้นั การต้งั เป้าหมาย จะตอ้ งพจิ ารณาดูว่า การกระทาใด ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อม่งุ สู่ เป้าหมายน้นั ถา้ เราควบคมุ ไม่ไดเ้ ลย เป้าหมายน้นั คงไมส่ มเหตุสมผล และยากที่จะ 33
สาเร็จ ฉะน้นั เราจะตอ้ งพจิ ารณาปรับปรุงเสียใหมใ่ ห้อยใู่ นวิสัยของการกระทา ที่เราควบคมุ ไดเ้ ท่าน้นั ในขณะเดียวกนั การต้งั เป้าหมายท่ีเราคิดว่าอยใู่ นวสิ ัยของการกระทาที่ไม่ ยากเขญ็ นกั เป้าหมายเหล่าน้นั จะง่ายเกินไปแลว้ มนั จะทา้ ทายความสามารถอะไร จงอยา่ ไดห้ ลอกตวั เองเป็นอนั ขาด ประการที่สาม ควรศึกษาวจิ ยั ตวั เราอยา่ งละเอยี ดตามขอ้ แรกวา่ เรามีทกั ษะ อะไรบา้ งท่ีเด่น ๆ ที่จะช่วยทาใหง้ าน มุ่งสู่เป้าหมายง่ายข้นึ ขอ้ ควรจา คือ อยา่ ลาเอยี ง ประการที่ส่ี การต้งั เป้าหมาย ควรจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั อุดมการณส์ ูงสุดในการ ดารงชีวติ และมกี ารกาหนดความสาคญั เร่งดว่ นว่าควรอยตู่ ่ากว่า หรือสูงกว่าอะไร นอกจากน้ี ควรมกี าหนดผลลพั ธ์ หรือขอ้ มูลป้อนกลบั ของการกระทาเหลา่ น้นั เพ่ือช่วย ประเมนิ ผลการทางานของเรา ประการสุดท้าย ควรพิจารณาดว้ ยว่า เป้าหมายที่เราต้งั ไว้ มีความหมายต่อชีวิต อยา่ งไร ทาไดแ้ ลว้ เราจะพอใจ และภมู ใิ จมากนอ้ ยแค่ไหน ความพอใจยง่ิ สูง จะทาใหม้ ี แรงจงู ใจสูงตามไปดว้ ย ถา้ ไมม่ ีแรงจูงใจ งานสาเร็จยาก (3) การทาความรู้จัก และเข้าใจเกย่ี วกับเป้าหมายของเรา ในกระบวนการต้งั เป้าหมายเพ่ือให้ไดเ้ ป้าหมายท่ีเหมาะสมดงั ท่ีตอ้ งการ การใช้ วิธีวเิ คราะหอ์ ย่างมีระบบ และเหตุผลเป็นข้นั ตอน (Logical Levels) จะประกอบดว้ ย ข้นั ตอนต่าง ๆ ดงั น้ี คือ 3.1 วัตถปุ ระสงค์ (Purpose) ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนของการระบวุ า่ เราอยากจะเป็นใคร หรือเป็นอยา่ งใคร หรืออยากมีหรืออยากไดอ้ ะไร การจะต้งั เป้าหมายใหม้ คี วามขลงั น้นั ดงั ไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ วา่ เป้าหมาย หรือวตั ถปุ ระสงคจ์ ะตอ้ งชดั เจน มีรูปธรรม ชนิดท่ีเป็น 34
ทางบวก และควรจะไดม้ กี ารสร้างจินตนาการให้ตวั เราไดร้ ับอารมณ์ของความพอใจไม่ วา่ จะเป็นทางดา้ นภาพ และเสียง เมอ่ื ไดบ้ รรลุถงึ เป้าหมายน้นั ท้งั น้ีเพื่อให้จิตใตส้ านึก ทางาน ดงั ไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ 3.2 ตัวตน และบคุ ลกิ ภาพ (Identity หรือ Personality) ตอ้ งถามตวั เองว่า มอี ะไรบา้ งท่ีแสดงถงึ ความเป็นตวั ตนของเราในขณะน้ี และถา้ จะดาเนินการใหไ้ ด้ ตามเป้าหมาย ลกั ษณะของตวั ตน ควรจะอยใู่ นลกั ษณะที่สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายหรือไม่ เช่น ถา้ อยากจะเป็นนกั กีฬาที่ดี แต่ยงั ชอบเท่ียวเตร่ตอนกลางคนื อยู่ หรือยงั ชอบสูบบุหร่ี หรือกินเหลา้ อยู่ ดงั น้ีเป็นตน้ 3.3 ค่านยิ ม และความเช่ือ หรือศรัทธา (Beliefs and Value) ในกระบวนการ ต้งั เป้าหมาย ตอ้ งอย่าลืมวา่ การวเิ คราะห์ และสารวจตวั เอง ถงึ ประเดน็ ท่ีว่า เราคือใคร เรามีหลกั อะไรในการยึดเหน่ียวจิตใจ และการแสดงพฤติกรรม ของเราในการดารงชีพ เราควรเลือกจดั ลาดบั ความสาคญั ของเป้าหมายที่เราเลอื กใหอ้ ยใู่ นกรอบของค่านิยม และ ความเช่ือมน่ั ของเรา เทา่ กบั เป็นการตอบคาถามท่ีว่า เราคือใคร (ในขอ้ ที่ 2) และทาไม เราจะตอ้ ง “ทามนั เพ่ืออะไร” ถา้ คิดไดถ้ ูกตอ้ งก่อน เริ่มจะไปไดด้ ี 3.4 ทกั ษะ (Skills) และขดี ความสามารถ (Capabilities) คุณจาเป็นท่ีจะตอ้ ง รวบรวมขดี ความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื นามาพิจารณาว่าทกั ษะไหนบา้ ง ที่จะช่วยทา ให้เราทางานสาเร็จตามเป้าหมาย ไม่ว่าทกั ษะน้นั จะตรง หรือตอ้ งนามาประยกุ ตใ์ ชพ้ ูด งา่ ย ๆ กค็ ือ เราตอ้ งเลือก “ตวั ช่วย” ที่เรามอี ยบู่ า้ งแลว้ กอ่ นที่จะตอ้ งไปพฒั นาหาทกั ษะ หรือความสามารถเพิ่มเติม เป็นการตอบคาถามที่วา่ “เราจะทามนั อยา่ งไร” ใหส้ าเร็จ 3.5 พฤติกรรม (Behaviors): ข้นั ตอนน้ีกค็ อื การท่ีเราจะม่งุ โฟกสั ลงไปใน พฤติกรรมประจาวนั ว่าเรากาลงั ทาอะไรอยู่ เราจะตอ้ งปรับเปลีย่ นพฤติกรรมอนั ไหน บา้ ง เพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมาย เป็นตน้ วา่ ถา้ อยากผอมกจ็ ะตอ้ งปรับเปลี่ยนวิธีการ 35
รับประทานอาหารใหเ้ ป็นกิจจะลกั ษณะ เป็นม้อื เป็นคราว และเลือกอาหารท่ีจะ รับประทาน ไม่ใช่กินจุกจิก อยา่ งที่เราเคย เป็นตน้ 3.6 ส่ิงแวดล้อมรอบตัว (Environment): เป็นการพจิ ารณาวา่ พฤติกรรมที่ เลือกสรรแลว้ เราจะทาในจงั หวะ หรือสถานการณไ์ หนบา้ ง และจะมผี ลกระทบ อยา่ งไรบา้ ง เป็นตน้ ว่า ถา้ อยากจะเป็นนกั กีฬา การมีอาชีพเป็นพนกั งานรักษาความ ปลอดภยั ตอนกลางคืนคงจะไม่เหมาะสม เป็นตน้ (4) การลบล้างความเช่ือผดิ ๆ เป็นเรื่องปกติที่มนุษยท์ ่ีเกิดมาในโลกน้ี จะหลงเชื่ออะไรอกี มากมายท่ียงั ไม่เป็น ความจริง หรือยงั พิสูจน์ไมไ่ ดว้ า่ เป็นความจริง ความเช่ือดงั กลา่ ว มอี ยหู่ ลายรูปแบบ เป็นตน้ วา่ 4.1 ความเช่ือตามคาบอกเลา่ หรือตานานท่ีถา่ ยทอดกนั มาต้งั แตโ่ บราณ เร่ือง ผีสาง นางไม้ ตลอดจนความเชื่อในคาสอนของระบบศาสนาต่าง ๆ 4.2 ความเช่ือที่เกิดข้นึ ตามที่ป่ ยู า่ ตายายบอกเล่า หรือตามประเพณีปฏิบตั ิของแต่ ละทอ้ งถน่ิ เช่น ฝร่ังเช่ือวา่ เลข 13 เป็นเลขท่ีไมค่ ่อยจะเป็นมงคล หรือวา่ เห็นแมวดาว่ิง ตดั หนา้ รถแลว้ จะไมม่ โี ชค หรือโชคร้าย หรือการถูกหมอผี ช้ีหนา้ วา่ จะตอ้ งตายตาม ประเพณีของอาฟริกา เป็นตน้ 4.3 ความเชื่อที่เกิดข้นึ เพราะเห็นตวั อย่างของการกระทาของคนอ่นื หรือของ ตวั เองท่ีเคยทดลองทามาหลายคร้ังหลายหน แตท่ าไม่สาเร็จ เลยเชื่อวา่ ตวั เองคงทาไม่ได้ เราขอจะไม่พูดถึงเร่ืองความเช่ือตามขอ้ 4.1 ส่วนขอ้ 4.2 น้นั น่าจะไดพ้ ูดไดเ้ พียง ส้นั ๆ วา่ ถา้ เรามีจิตใจหนกั แน่นเพียงพอ เราไม่จาเป็นตอ้ งนามาคิดพิจารณาต้งั แต่แรก 36
ท่ีเราอยากจะพดู ถงึ มากกค็ อื ขอ้ 4.3 เป็นขอ้ ที่เราสามารถควบคมุ มนั ไดใ้ นแงท่ ี่วา่ มนั อยทู่ ่ีเราจะยดึ ถือความเช่ือน้นั ต่อไป หรือจะเปิ ดใจกวา้ ง ที่จะยอมรับการเปลยี่ นแปลง วา่ เราจะคิดใหม่ และกล้าจะทาใหม่ บางคร้ัง สาเหตขุ องความเช่ือน้นั อาจจะมาจากความกลวั เป็นตน้ ว่า *กลวั เขาจะว่าไมเ่ กง่ จริง กลวั จะเสียฟอร์ม (พวกข้แี อ๊ค) *กลวั ความลม้ เหลวจะเกิดข้นึ แลว้ ตวั เองจะอบั อาย (พวกข้ีกลวั ) *กลวั ลาบาก กลวั เหน่ือยยาก (พวกข้เี กยี จ) *กลวั เขาว่า ว่าจะเกง่ หรือดีเกินกว่าเขา (พวกข้ถี อ่ มตวั ) *ไม่เห็นจาเป็นตอ้ งไปทาอะไรใหมเ่ ลย เทา่ น้ีก็ดีอยแู่ ลว้ ฝรั่งเรียกวา่ อยใู่ น comfort zone อนั น้ีกค็ ลา้ ย ๆ กบั พวกข้เี กียจ ว่าที่จริง ความเชื่อ (ผดิ ๆ) เหล่าน้ี ตา่ งก็มีเจตนารมณ์ (มองในแงด่ ี) ในอนั ท่ีช่วย ปกป้องตวั เราไม่ตอ้ งมาเสี่ยงชีวิตทามนั หรือสอนให้เราระมดั ระวงั อยา่ ประมาท เป็นการ ประสงคด์ ีท่ีเคยกลา่ วถึง ดว้ ยเหตุน้ี ขอให้เรานาเร่ืองการมอง (ปัญหาจาก 3 ตาแหน่ง (Perceptual Positions) ในบทท่ี 4 มาใชป้ ระโยชนโ์ ดยการนามาวเิ คราะหห์ าเหตุผล และความเขา้ ใจ ในแตล่ ะตาแหน่ง เพอื่ ดูซิว่า เราจะขจดั ความหลงเช่ือผิด ๆ ออกไปจากจิตใจเราได้ อยา่ งไร ส่วนในเรื่องการเอาชนะความกลวั น้นั เรามีวธิ ีการที่จะขจดั มนั ไดด้ ว้ ยข้นั ตอน ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 37
- เตือนตวั เองว่า ส่ิงท่ีทาแลว้ ไม่ไดผ้ ล นน่ั ไม่ใช่ความลม้ เหลวนะ มีแต่ขอ้ มลู ป้อนกลบั วา่ ทาแลว้ ไมส่ าเร็จให้ลองใหม่ ถอื ว่า “ผิดเป็ นครู” คนอ่ืนทาได้ เรากต็ อ้ งทาไดซ้ ิ - สร้างแรงจูงใจโดยการใชจ้ ินตนาการ หรือการพูดกบั ตวั เอง ถงึ ความสาเร็จท่ี รออยเู่ บ้ืองหนา้ จินตนาการถงึ ความรู้สึกในตอนท่ีเราทามนั ไดส้ าเร็จ เราจะมี ความลิงโลดใจแค่ไหน - ในกรณีที่เป็นของใหม่ หรือ เรื่องใหมท่ ่ีเรายงั ไมเ่ คยทามาก่อนน้นั ก็ เช่นเดียวกนั เขาบอกวา่ มนั ยาก เรากต็ อ้ งนาเรื่องการรับรู้อารมณต์ ามตาแหน่ง ต่าง ๆ 3 ตาแหน่ง โดยเฉพาะตาแหน่งที่สองมาใชเ้ พ่อื สร้างมมุ มองท่ีแตกตา่ ง และกาหนดอารมณ์ของความสาเร็จดงั ที่กลา่ วไวใ้ นขอ้ (2) ขา้ งตน้ มาร่วม ปฏิบตั ิดว้ ย อยา่ งไรก็ตาม ขอแนะนาว่า กอ่ นจะดาเนินการ ให้ใชก้ ารนง่ั สมาธิก่อน หรือใน ระหวา่ งกระบวนการพจิ ารณา 3 ตาแหน่งดงั กล่าว อนั จะทาใหเ้ กิดความสงบ และปลอด โปร่ง เน่ืองจากมีฮอร์โมนมาช่วย (เป็นตวั dopamine และ serotonin) จะทาใหก้ ารใช้ ตาแหน่งรับทราบอารมณ์ ทาไดส้ ะดวก และราบร่ืนมากข้ึน 38
บทที่ 4: การลงมือปฏบิ ัติเพื่อมุ่งสู่ความสาเร็จ ประโยชนข์ องคนรุ่นหลงั หรือผมู้ าทีหลงั ไดร้ ับ กค็ ือ การเรียนรู้ขอ้ ผดิ พลาด และ ความลม้ เหลวต่าง ๆ และจากความสาเร็จตา่ ง ๆ ที่คนรุ่นกอ่ นไดท้ าไวเ้ ป็นตวั อยา่ ง แกน่ หลกั ของ NLP ขอ้ หน่ึงดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ กค็ ือ ความเชื่อในส่ิงท่ีเขาใชค้ าวา่ การลอกเลียนแบบ (Modelling) ที่ถกู ตอ้ งจากตน้ แบบท่ีประสบความสาเร็จ จะนาผู้ เลียนแบบให้ทางานตามแบบอยา่ งท่ีสาเร็จได้ ถา้ หากรู้ชดั เจนวา่ เขาคิดอยา่ งไร และทา อยา่ งไรจนสาเร็จ (1) การเลือกต้นแบบ ข้อแนะนา ขอให้สังเกตดใู ห้ดีว่า เราจะเลอื กตน้ แบบของเราว่าเป็นใคร พฤติกรรม หรือวธิ ีกระทา หรือวิธีคดิ ของเขาน้นั แตกต่างไปจากของคนอ่นื แลว้ ทาให้ เกิดผลแตกต่างอยา่ งไรในแงข่ องการส่งผลให้เกิดความสาเร็จ กลา่ วคอื ใหส้ นใจในเร่ืองความเชื่อ และกระบวนความคิดของเขาว่า เขามเี คลด็ ลบั อยา่ งไร เขานึกคิดอยา่ งไรในระหวา่ งการดาเนินการจนกระทงั่ แลว้ เสร็จ ส่ิงเหล่าน้ีตอ้ งหาเอาจากการคน้ ควา้ หาอา่ นขอ้ เขยี น หรือการใหส้ ัมภาษณข์ อง ตน้ แบบ หรือสอบถามจากผใู้ กลช้ ิดตน้ แบบ ท่ีประสบความสาเร็จ ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะมี การแต่ง หรือเขียนหนงั สือเลา่ ประสบการณ์ หรือเคลด็ ลบั ที่เขาชอบใชเ้ พ่อื ทางานให้ สาเร็จ 39
(2) การเลือกต้นแบบนักกีฬา สมมตุ ิว่า คณุ เป็นนกั กีฬาประเภทใดประเภทหน่ึง และคุณมดี ารายอดนิยมท่ีคุณ ช่ืนชอบ และอยากจะเล่นใหเ้ ก่งไดอ้ ยา่ งเขา คุณไดล้ องพยายามเอาอยา่ งวิธีการเลน่ ของ เขามาลองทาทกุ อยา่ งแลว้ แต่คุณก็ยงั ทาไม่ได้ ขอใหค้ ุณลองใหม่ โดยการสังเกต และศึกษารายละเอยี ดทุกข้นั ตอนของการ เคลื่อนไหวของร่างกายของเขา โดยดใู หล้ ะเอยี ดถึงการเคล่ือนไหวทุกสดั ส่วน ที่ เก่ียวขอ้ งในการเล่นของเขา การฉายภาพยอ้ นกลบั อยา่ งชา้ ๆ (Slow motion) ที่ทากนั อยเู่ สมอในการถ่ายทอด กีฬาทางทีวี นบั วา่ เป็นประโยชน์ในการศกึ ษาอย่างย่ิง ข้นั ต่อไปท่ีสาคญั อยา่ งย่ิง กค็ ือ การศึกษาถงึ ตน้ แบบของเราวา่ เวลาเขาเล่นกีฬา เขามคี วามเช่ือหรือความมนั่ ใจอย่างไร เขาเตรียมการฝึกซอ้ มอยา่ งไร เขาเตรียมจิต และ การนึกคดิ อยา่ งไร ตอนที่เขาลงมอื ทา (เลน่ อยใู่ นระหว่างการแข่งขนั ) เวลาที่เขาพบกบั สถานการณต์ ่าง ๆ ที่คู่ต่อสู้ใชเ้ ล่น หรือกระทาในสนามแข่งขนั เขาตอบสนอง หรือ รับมอื กบั มนั อยา่ งไร ดว้ ยวธิ ีไหนบา้ ง เป็นตน้ ในเรื่องน้ี บทบาทของโคช้ จะมีส่วนช่วยอยา่ งย่ิง ในขณะที่โคช้ ท่ีมีความสามารถ และเคยเป็นผูเ้ ล่นท่ีเกง่ และผา่ นเกมส์เหลา่ น้ีมา กจ็ ะสามารถเลา่ ให้เราฟังได้ ในขณะท่ี โคช้ ที่เล่นไม่เก่งนกั กอ็ าจช่วยสอนใหเ้ รารู้ว่า เราจะปรับปรุงหรือฝึกฝนอะไร เพ่อื ใหเ้ กง่ เหมือนเขา เพราะตวั เองอาจมี “พรสวรรค”์ นอ้ ย แต่มี “พรแสวง” เยอะเป็นตน้ (3) การทาให้เป้าหมายอยู่ในความควบคมุ ของเรา ประการแรก ขอใหท้ บทวนขอ้ แนะนาตา่ ง ๆ ท่ีกลา่ วมาแลว้ ในบทกอ่ น เช่น 40
ก) ให้รักษาความเชื่อท่ีวา่ เมอื่ เขาทาได้ เราก็ตอ้ งทาได้ ข) ศึกษาเร่ืองตน้ แบบ และการเลียนแบบอยา่ งละเอยี ดถถ่ี ว้ น ค) หดั ใชก้ ารจินตนาการ หรือ หดั ใชว้ ธิ ีติ้งต่างวา่ พิจารณาดูเป้าหมายของเราว่า มนั เป็นส่วนหน่ึงของชีวติ เรา เราจะคิดใหม่ ทาใหม่ จนมนั สาเร็จ ประการท่สี อง เรียนรู้วิธีการอีกชนิดหน่ึงท่ีเรียกวา่ NLP แนะนา คอื การใช้ “กรอบ” หรือเฟรม (Frame) มองดูสถานการณท์ ี่เกิดข้ึนจาก 3 ตาแหน่ง หรือ สถานการณ์ ดงั น้ี คอื ก) ตาแหน่งแรก (First Position): ตาแหน่งน้ี คือ ตาแหน่งตามปกติท่ีเราใช้ สาเหนียก และรับรู้อารมณ์จากสิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนเราจะเรียกมนั ว่าเป็น สถานะการณ์ที่เรามี “อารมณร์ ่วม” (Associated) กไ็ ด้ ข) ตาแหน่งที่สอง (Second Position): ติง้ ต่างว่า เราดึงตวั เองออกจาก สถานการณท์ ่ีเราสาเหนียกในกรอบแรก (Disassociate) เพอ่ื สมมตุ ิดวู า่ ถา้ เรา เป็นคนอื่น หรือ ค่ตู อ่ สู้ของเรา เขา้ ทานองว่า ถา้ เราเป็นเขา เราจะคดิ อย่างไร หรือเขา้ ลกั ษณะที่กล่าวกนั ว่า “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” เราจะนึกคดิ ต่างไปไหม และอยา่ งไร การรู้เขา รู้เราเย่ยี งน้ี ไดร้ ับการสงั่ สอนกนั มาเป็นเวลาชา้ นาน ไม่ว่าจะเป็น ในสงคราม การรบ หรือ ธุรกิจการคา้ ค) ตาแหน่งท่ี 3 (Third Position): เพอื่ ใหค้ รบถว้ น ขอใหท้ าความรู้จกั กบั การ ใชต้ าแหน่งที่ 3 คอื การสมมตุ ิ วา่ เราเป็นตวั กลอ้ งวงจรปิ ด (CCTV) ใหเ้ รา ลองสังเกตดวู า่ ในแต่ละตาแหน่งท้งั สองน้นั จะคิดอ่านกนั อยา่ งไรในแต่ละ สถานการณ์ 41
การเรียนรู้ และทาความเขา้ ใจ ในส่ิงที่กลา่ วมาน้ี ยอ่ มเป็นประโยชน์อยา่ งยิง่ ใน การขยายขอบเขตของแนวความคิดใหก้ วา้ งขวาง ถงึ ทางเลือกตา่ ง ๆ ที่เราจะใช้ในการ ตดั สินใจเลอื กทางเดินทางใดทางหน่ึง เพอ่ื มุง่ สู่เป้าหมาย ไมใ่ ช่เลือกท่ีจะรีบสรุปเอา ง่าย ๆ ในทางใดทางหน่ึง (4) การเผชิญหน้ากับสิ่งทเี่ ราควบคุมไม่ได้ ในกรณีที่เกิดความจาเป็นว่า การกระทาของเราน้นั อาจจะมผี ลกระทบหรือไป เกี่ยวพนั กบั คนรอบขา้ ง เช่น พ่อ แม่ พน่ี อ้ ง และมติ รสหายใกลช้ ิด โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ จากการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมใหม่ ๆ ของเรา หรือในกรณีท่ีเราจาเป็นตอ้ งการ การสนบั สนุนของเขา เช่น เราอยากมีความกา้ วหน้า โดยการถูกเล่ือนตาแหน่ง แต่ไม่รู้จะทาอยา่ งไรดีให้หวั หนา้ สนบั สนุน หรือตอ้ งการใหค้ รอบครัวเขา้ ใจว่าเวลาของ เราท่ีจะให้กบั ครอบครัวตอ้ งน้อยลง เพราะเราจะตอ้ งทางานหนกั ข้ึน เป็นตน้ การสร้าง หรือทาใหเ้ กิดสมั พนั ธภาพท่ีดี เพอ่ื ประโยชน์ในการดาเนินการตาม เป้าหมายของเรา NLP เสนอให้ใชว้ ิธีการสร้างความสมพงศ์ (Rapport) ระหวา่ งเรา กบั เขา ก) ความสมพงศ์ทางจิต (ความนกึ คดิ ): ความสมพงศจ์ ะเกิดข้นึ ไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื เรา ทราบว่าคสู่ นทนา หรือคนท่ีเราตอ้ งการความสนบั สนุนกด็ ี เขาคดิ อะไรอยู่ นอกจากเรา จะไดจ้ ากการสนทนา ซ่ึงเราจะไดก้ ลา่ วตอ่ ไป เราจะตอ้ งหดั สังเกตความรู้สึกของเขา โดยดูจากท่าทาง (NLP ใช้คาว่า Gesture) และวธิ ีพูด ตลอดจนภาษาท่ีเขาแสดงออกว่า เขากาลงั “เสวยอารมณ”์ โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ประเภทไหนมาก (ตา หรือ หู หรือ ความรู้สึก) หรือชอบใชอ้ ะไร เป็นหลกั สิ่งเหลา่ น้ีจะไดม้ ีการพูดถงึ ต่อไปในบทท่ี เก่ียวขอ้ ง 42
ข) ความสมพงศ์ทางกาย: ในกรณีการใชก้ ารเลยี นแบบ (Modelling) ขอให้ พยายามเลียนแบบการนงั่ ยืน เดิน หรือพูด ตลอดจนท่าทางของเขา (แตอ่ ยา่ ใหน้ ่าเกลยี ด จนเขารู้ตวั ) และในระหว่างการสนทนาใหร้ ู้จกั วิธีการของการเป็นนกั ฟังที่ดี กลา่ วคือ 1) พดู ให้นอ้ ย พดู เท่าท่ีจาเป็น นอกน้นั ให้ต้งั ใจฟัง 2) ให้เกียรติเขา โดยการสบตา และมองหนา้ ผพู้ ดู ตลอดเวลา 3) พยายามเลอื กใชส้ ุ้มเสียง หรือท่วงทีการพูด ตลอดจนภาษาท่ีใชใ้ หอ้ ยู่ ในแนวเดียวกบั เขา เพ่อื แสดงความเป็นพวกเดียวกนั หรือมีอะไรๆ เหมอื นกนั (5) การใช้ “อุปมาอปุ ไมย” เพ่ือเพ่มิ ความหนกั แน่นในการต้ังเป้าหมายชีวิต ดงั เป็นท่ีทราบกนั อย่วู ่า การใช้ “อปุ มาอปุ ไมย” หรือ สุภาษิต เป็นการใชเ้ พือ่ เลอื ก คาบรรยาย ที่จะส่ือความหมายบางอยา่ งที่อาจจะดูวา่ เป็นคนละเร่ือง แตม่ คี วามคลา้ ยคลึง หรือนามาเปรียบเทียบ เพ่ือช่วยอธิบายถอ้ ยคาที่เราต้งั ใจอยากจะบรรยาย หรือส่ือความ ต้งั แตแ่ รก อยา่ งที่มกี ารกล่าวกนั ว่า “คนละเร่ืองเดียวกนั ” NLP หรือทางตะวนั ตก ใชค้ าวา่ Metaphors ซ่ึงจะกินความรวมถึงนิทานตา่ ง ๆ สุภาษิต หรือเร่ืองที่มีการกล่าวสรุปแบบหกั มุม หรือขาขนั เพื่อช่วยการสื่อความใหผ้ ูร้ ับ สื่อเกิดจินตนาการ เกิดความติดตา ตรึงใจ หรือ กินใจ ความจดจาในลกั ษณะน้ี วา่ กนั วา่ จะทาให้เราเกิดอารมณ์ร่วม และจดจาอยใู่ นจิต ใตส้ านึก และจะถูกระลึกถงึ โดยอตั โนมตั ิ ทนั ทีที่มีเหตกุ ารณ์ หรือสถานการณ์ท่ี คลา้ ยคลึงในอดีตเกิดข้ึนใหเ้ ราพบเห็นเสมือนเป็นการ “ทอดสมอ” (Anchoring) ให้เรือ หยดุ น่ิง และเป็นอปุ มา ให้เราจดจา 43
ในวฒั นธรรม การส่งั สอนลกู หลาน และการเล่าเรียนในระบบสามญั ศึกษาของ ไทยน้นั การใชส้ ุภาษติ หรืออาขยาน ตลอดจนการใชโ้ คลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ใน การศกึ ษาเล่าเรียนของเยาวชน นอกจากจะเป็นการเสริมสร้างพฒั นาสมอง (ซีกขวา) ใหม้ ีศกั ยภาพ ในการจดจา ซ่ึงส่ิงน้ีเราสังเกตไดจ้ ากประสบการณช์ ีวิต ก็คือ เราสามารถ ท่ีจะจดจาสุภาษติ อาขยาน หรือ โคลงฉนั ทต์ ่าง ๆ ที่เราเรียนมาต้งั แต่เดก็ ๆ ไดด้ ีจนถึง บดั น้ี (เขา้ วยั สว.) โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ถอ้ ยคาที่ประทบั ใจเรา นอกจากน้ี การใชอ้ ปุ มาอปุ ไมยในลกั ษณะไทย ๆ น้ีจะช่วยทาให้เกิดการพฒั นา บคุ ลกิ ภาพของปัจเจกบคุ คล ที่มีจริยธรรมนุ่มนวล และมคี วามคดิ ริเริ่ม และความจดจา ท่ีดี เน่ืองมาจากการพฒั นาของสมองท่ีสมดุลท้งั 2 ซีก แต่เป็นท่ีน่าเสียดาย และเสียใจท่ีไดร้ ับขา่ วว่า สิ่งเหล่าน้ีกาลงั จะถกู ลดความสาคญั ในระบบการศกึ ษาสามญั ของประเทศไทยของเรา (6) โฟกสั แต่ส่ิงท่เี ราหวังเท่าน้นั ในช้นั น้ี ทา่ นคงพอเห็นแนวทางในการต้งั เป้าหมายตามหลกั ของ NLP แลว้ วา่ ประการแรก คงจาไดว้ า่ ใน “กรอบผลลพั ธ”์ (Outcome Frame) ที่เราไดเ้ รียนรู้ มาแลว้ ย้าเรื่องเป้าหมายที่เป็นทางบวก เท่าน้นั ยกตวั อยา่ งเช่น เราอยากจะเลกิ บุหรี่ หรือเลิกกินเหลา้ (แบบเมาหวั ราน้า) จะเห็น ไดว้ า่ ตวั “เหลา้ ” หรือ “บหุ ร่ี” คือตวั ปัญหา ถา้ เราอยากจะลดละ หรือเลิก แต่เราไปต้งั เป้าตรง ๆ วา่ อยากจะเลกิ แตค่ าวา่ เหลา้ หรือบหุ ร่ี กย็ งั คงปรากฏอยใู่ นเป้าหมาย และจะ ติดตามมาหลอกหลอนจิตของเราอยเู่ สมอ 44
ฉะน้นั ตอ้ งหาวิธีต้งั เป้าท่ีเป็นผลลพั ธ์ของการลดละเลกิ กินเหลา้ และสูบบุหรี่ ซ่ึงไม่มีอะไรจะดีไปกว่า การที่เราตอ้ งการสุขภาพท่ีแขง็ แรง มีบุคลกิ ภาพท่ีดี และมี สัมพนั ธภาพท่ีดีกบั คนรอบขา้ งที่เรารักและแคร์ ห้ามพดู เร่ืองของตบั แขง็ หรือปอดดา แต่ใหอ้ ยใู่ นจินตนาการตลอดเวลาว่า ตบั แขง็ หรือปอดดา น่าเกลยี ดน่ากลวั อยา่ งไร ประการที่สอง ให้ใชจ้ ินตนาการ หรืออุปมาอปุ ไมย ทาใหจ้ ิตเสวยอารมณ์ของ ความพอใจ สุขใจ กบั สภาพร่างกายใหม่ (ตามเป้าหมายใหม)่ อยเู่ สมอ เพ่ือตอกย้าความ ตอ้ งการ (ใหจ้ ิตใตส้ านึกรับไปจดจา) ท้งั น้ี เบ้ืองหลงั พฤติกรรมใหม่ ๆ เหลา่ น้ี ก็คอื การ เปล่ยี นความ เชื่อ และค่านิยมเดิม ๆ ใหไ้ ดว้ ่า พฤติกรรมเดิม ๆ น้นั ไมด่ ีต่อเรา เราไม่ ตอ้ งการ และเราตอ้ งการเป็น “คนใหม”่ ยง่ิ ทาภาพในจินตนาการให้ชดั เจนท้งั “เสียง สี แสง เท่าไหร่” เรายิ่งมโี อกาส บรรลุเป้าหมายไดเ้ ร็วข้นึ เท่าน้นั ประการทีส่ าม อยา่ ทอ้ ใจงา่ ย ๆ ขอใหน้ ึกถึงขอ้ สมมุติฐานที่ว่า การกระทาใด ๆ ก็ตามท่ีเราไดเ้ ริ่มดาเนินการตามเป้าหมายไปแลว้ แตย่ งั มบิ งั เกิดผล ไม่ไดแ้ สดงว่าเรา ลม้ เหลว ใหเ้ อาขอ้ มลู ที่ไดม้ าตรวจสอบดูวา่ มีอะไรบา้ งที่น่าจะเป็นทางบวกท่ีจะช่วยเรา ในการกระทาใหม่ขา้ งหนา้ อยา่ เพิ่งรีบสรุป หรือเหมาเอาว่า ก) เรา คอื คนข้ีแพ้ ทาอะไรไมส่ าเร็จ ข) เรา คือพวกสมองทึบ โงด่ กั ดาน ข้ีขลาด ข้ีเกียจฯ ค) เรา คอื คนท่ีไมม่ ีความมน่ั ใจในตวั เอง ความคิด หรือคาพดู ท่ีเราราพงึ กบั ตวั เองเช่นน้ี ลว้ นแลว้ แต่เป็น “แนวลบ” ไม่ได้ ช่วยอะไรใหด้ ีข้ึน 45
อยา่ ลืมท่ี NLP ย้าเรื่องไม่มคี าวา่ ลม้ เหลวอยใู่ น “พจนานุกรม” ของเรา สิ่งที่ เกิดข้นึ เป็นแต่เพียง “ขอ้ มูลป้อนกลบั ” จากการกระทาของเราอยา่ งหน่ึงเทา่ น้นั ตอ้ งลอง สอบทาน หรือ ทบทวนอยเู่ สมอ ๆ คงจะจาเรื่องเล่าท่ีพดู ถงึ Thomas Edison ผคู้ น้ พบกระแสไฟฟ้า (และอยา่ งอนื่ อกี มากมาย) ที่เคยพดู ทานองว่า “ถงึ ผมจะทาพลาดไปคร้ังท่ี 1,000 แตผ่ มถอื วา่ ผมยงั ไม่ ลม้ เหลว ผมเพยี งแต่เรียนรู้ท่ีจะไม่ทาแบบน้ีอีก” ข้อแนะนาสุดท้าย เรื่องบางอยา่ งอาจจะตอ้ งใชเ้ วลา (มี Time Lag) กอ่ นท่ีจะ บงั เกิดผล ควรใชค้ วามอดทนรอคอย อาจไดผ้ ลไมเ่ สียหลาย 46
บทท่ี 5: เทคนคิ การวเิ คราะห์เพื่อเรียนรู้ตัวเอง ดงั ที่ไดก้ ลา่ วไวใ้ นบทกอ่ นว่า การทาความเขา้ ใจ และรับรู้ความเป็นไปของโลก อยา่ งที่ เราอปุ มาเอาไวว้ ่า เปรียบเสมือน “แผนท่ีโลก” ของเราน้นั เราสามารถมองแผนท่ี โลกฉบบั น้ี ไดจ้ ากหลายมุมมอง จากหลายมมุ มอง (Positions) หรือจากหลายทศั นะ (Perspectives) สามารถใช้ อธิบายหลกั การมองได้ 3 ตาแหน่งคอื (1) ตาแหน่งแรก (First Position) ตาแหน่งน้ีคอื ตาแหน่งเจา้ ประจาท่ีเราใชอ้ ยู่ ทุกเมอื่ เช่ือวนั เพ่อื บ่งบอกความรู้สึกนึกคดิ หรือความเช่ือต่าง ๆ ของเราในการมองโลก ในมมุ มองของเราในขณะใดขณะหน่ึง กลา่ วคือ เราอยใู่ นภาวะที่พร้อมท้งั สติ และ สมั ปชญั ญะ (2) ตาแหน่งท่ีสอง (Second Position) ทาง NLP สอนให้เราสนใจในตาแหนง่ ที่สอง ซ่ึงเป็นตาแหน่งที่คนอืน่ (ไม่วา่ จะเป็นใคร) กาลงั มองสถานการณ์เดียวกนั ท่ีเรา กาลงั สาเหนียกอยู่ ถา้ เราไม่ถอนตวั เองออกจากตาแหน่ง (ท่ีหน่ึง) และลองเขา้ ไปนงั่ ในตาแหน่ง (ที่สอง) ของเขาแลว้ เราจะรู้ไดอ้ ยา่ งไรวา่ เขามคี วามคดิ อยา่ งไร และมีเหตผุ ลอะไร ที่มาสนบั สนุนความคดิ ของเขา การใหค้ วามสนใจในตาแหน่งที่สองน้ี จะช่วยเปิ ดมา่ นมิติใหม่ ใหเ้ ราพิจารณาว่า ทาไมนะคนอื่นเขาจึงมอง และสาเหนียกอย่างน้ี (ซ่ึงอาจจะแตกตา่ ง หรือเหมอื นกบั เรา) ทาให้เราตอ้ งนัง่ ทบทวนว่า สิ่งท่ีเรามอง สาเหนียกหรือคิดน้นั จะถูกตอ้ งและเหมาะสม แลว้ หรือ 47
เม่อื เป็นดงั น้ี เราก็จะกลายเป็นคนที่มีจิตใจกวา้ ง รู้จกั เห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืน แมว้ า่ จะมี มมุ มองที่แตกต่างกนั ออกไป (3) ตาแหน่งทสี่ าม (Third Position) ตาแหน่งน้ี NLP เปรียบเทียบไว้ คอื ตาแหน่งที่เรียกวา่ ท่ีต้งั กลอ้ งวงจรปิ ด หรือ CCTV (Closed Circuit TV) กลา่ วคือ เป็นการมองจากคนท่ี 3 ซ่ึงถอื เสมือนวา่ เป็นคนกลาง มองดสู ถานการณอ์ ย่างไม่มี ความรู้สึกเอนเอียงไปทางใดทางหน่ึง เท่ากบั วา่ เป็นการเรียนรู้เพ่อื การศึกษามุมมอง ของสองตาแหน่งแรก ว่ามีความเห็น หรือความรู้สึกแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ให้ลองใชค้ วามพยายามในลกั ษณะของการสมมตุ ิตวั เองว่าเป็น CCTV เพือ่ ฝึก ให้ตวั เองมีความสุขมุ รอบคอบ และไม่ใชแ้ ต่อารมณใ์ นการตีความหมาย หรือแปลเจตนา คาพดู หรือพฤติกรรมผูอ้ น่ื อนั อาจมผี ลทาใหก้ ารสนทนา หรือการเจรจาดุเดือดข้นึ ทาให้บรรลุเป้าหมายไดย้ ากข้นึ เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ าม เพ่ือประโยชนส์ ูงสุดท่ีจะเกิดข้นึ กบั ตวั เรา เราควรฝึกหดั ทาทุกจดุ สลบั ไปมาจนสามารถที่จะปรับเปลีย่ นการมอง และปรับอารมณท์ ่ีผกู พนั อยใู่ นแต่ละ สถานการณ์ให้มคี วามยดื หยนุ่ ไดต้ ลอดเวลา การนาไปประยุกต์ในการฝึ กสอนกฬี า ในการเรียนรู้ทางการกีฬาเพ่ือปรับปรุงตวั เอง หรือเป็นผแู้ นะนาลกู ทีมในการ ปรับปรุง การใชก้ ารวเิ คราะห์จากตาแหน่งท่ี 1 ซ่ึงจะวเิ คราะห์ทบทวนสิ่งท่ีไดฝ้ ึกฝน และ ทาไปแลว้ เพ่อื คน้ หาวา่ วธิ ีไหน หรือการกระทาคร้ังใด ที่เป็นขอ้ ผดิ พลาด และช่วงไหน คอื ช่วงความสาเร็จ จากน้นั เรานาช่วงความสาเร็จน้นั มาสร้างอารมณ์ร่วมกบั จิต โดย การเพ่ิมสีสนั หรือแสงเสียงเพ่ือจดจาห้วงอารมณ์ของความสาเร็จน้นั และสามารถ นามาใชไ้ ดโ้ ดยการใช้ “การทอดสมอ” ไม่วา่ รูปแบบใดดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ 48
ส่วนการวเิ คราะห์สภาพส่ิงแวดลอ้ มจากจดุ ที่ 2 น้นั ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ ว่า ฝึกทาเพือ่ ลดความลาเอียง หรือลดการบิดเบือนขอ้ มลู จากการมองตามตาแหน่งที่หน่ึง การวเิ คราะห์โดยปราศจากความเบี่ยงเบน (ท้งั 3 ขอ้ ) เช่นน้ี จะทาให้เราเขา้ ใจ ความรู้สึก ความตอ้ งการ หรือเจตนารมณข์ องคนอ่ืน โดยท่ีเราติ๊งต่างไดว้ ่าเราเป็นเขา หรือเขาเป็นเรา เขาจะคดิ ตอบโตก้ ารเล่นของเราอยา่ งไร เมื่อไดข้ อ้ มูลจาก 2 ตาแหน่งแลว้ การนาขอ้ มลู ดงั กลา่ วมาพิจารณาจากตาแหน่ง ท่ี 3 (CCTV) ซ่ึงเป็นการวิเคราะห์ในภาพรวม จะนาไปสู่การวางแผนยทุ ธศาสตร์ เพือ่ ปรับปรุง และเปล่ยี นแปลงประสิทธิภาพของผเู้ ล่น (หรือตวั เราเองกแ็ ลว้ แต่) และแนวทางการเลน่ (ของตวั เอง) หรือของทีมตอ่ ไป สิ่งท่ีควรจดจา และนามาเตือนตวั เองอยู่เสมอ ๆ ก็คือ การท่ีเรานึกวา่ เราเป็นคน หนกั แน่น มองอะไรอยา่ งตรงไปตรงมา หรือเป็นแบบที่เรียกว่า “เถรตรง” จะเป็น เอกลกั ษณท์ ี่ดี มีประโยชนน์ ้นั ขอให้คดิ เสียใหมว่ า่ การเป็นคนท่ีมี “ทางเลอื ก” ในการ เลอื ก การตดั สินใจหลายทางน้นั แตกต่างกบั การเป็นคนเหลาะแหละที่ตดั สินใจแลว้ กลบั เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา การมี “ทางเลอื ก” และความยืดหยนุ่ ในการตดั สินใจ จะทาใหเ้ ป็นคนมอี านาจ หรืออิทธิพลในการเจรจา ไมว่ ่าจะเป็นกบั ตวั เอง หรือกบั คนอ่ืน ๆ เพ่ือบรรลุขอ้ ตกลงท่ี ดีกวา่ ในมมุ มองของท้งั สองฝ่ าย 49
บทท่ี 6: การทาความรู้จักกับ “กรอบ” ของการมองโลก มคี าศพั ทท์ ่ีเก่ียวขอ้ งทางดา้ นน้ีอยหู่ ลายคา (1) NLP ใชค้ าว่า “Mental Map” หรือ Mental Model ซ่ึงถกู นามาใช้ เพ่ือแสดงถึงการ ใช้ “สภาวะของจิต” ในขณะใดขณะหน่ึง เพอื่ การสาเหนียกความเป็นไปของโลก ส่วนคาว่า Frame หรือกรอบ ถา้ เปรียบเทียบให้ครอบคลมุ ความอยา่ งกวา้ ง ๆ กจ็ ะคลา้ ย ๆ กบั กรอบโลกทศั น์ (Paradigm) หรือจะมองใหแ้ คบลงก็คอื กรอบของ ภาวะจิตท่ีเราใชม้ องดูสถานการณใ์ ดสถานการณห์ น่ึง ในเวลาใดเวลาหน่ึงโดยมี สมมุติฐานของอดุ มการณ์ ความเชื่อ หรือศรัทธา ท่ีเรายึดถอื มาต้งั แตเ่ กิด ไมว่ า่ จะรู้ตวั หรือไม่รู้ตวั ก็ตาม เป็นผบู้ งการอยเู่ บ้ืองหลงั (2) NLP ให้เหตุผลว่า ถา้ เราเปลี่ยนกรอบอนั ใหม่มาแทนที่กรอบการมองโลก หรือ กรอบความคิดเดิมน้ีได้ เราก็สามารถท่ีจะไดค้ วามหมายอนั ใหม่ เสมือนหน่ึงสุภาษติ ไทย ท่ีกล่าวไวว้ ่า “สองคน (หรือหลายคน) ยลตามช่อง คนหน่ึงเห็น โคลนตม.....” เราจาเป็นท่ีตอ้ งเรียนรู้เทคนิคของการเปลี่ยนกรอบ หรือท่ีทางเทคนิคใชค้ าวา่ “Reframe” ดว้ ยเหตทุ ี่วา่ การเปลี่ยนกรอบจะทาให้เรามีโอกาสพิจารณาทางเลือก หรือ มมี ุมมองถงึ ความเป็นไปไดอ้ ่นื ๆ ในการท่ีจะช่วยให้เราเปลี่ยนเป้าหมายของชีวติ หรือ พฤติกรรมไดง้ ่ายข้ึน ขอยกตวั อย่าง นิทานเรื่อง คนตาบอดหกคนไดร้ ับการแนะนาใหร้ ู้จกั กบั ชา้ ง เป็นคร้ังแรก โดยการใชม้ อื คลา ซ่ึงพวกเราคงคนุ้ เคยกนั ดีกบั นิทานอีสป เร่ืองคนตาบอด คลาชา้ ง คนหน่ึงจบั ถกู หาง ก็นึกวา่ ชา้ งเหมอื นงู คนหน่ึงจบั ถกู หู กส็ าเหนียกว่าเป็นพดั หรือจบั ขา กส็ นั นิษฐานว่า เหมือนตน้ ไม้ เป็นตน้ ซ่ึงแตล่ ะกรอบจะให้ หรือแสดง ความหมายที่แตกตา่ งกนั 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135